Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Best practice สืบสายใย สร้างคุณค่า ผ้าทอมัดหมี่ กศน.ตำบลวังท่าดี

Best practice สืบสายใย สร้างคุณค่า ผ้าทอมัดหมี่ กศน.ตำบลวังท่าดี

Description: Best practice สืบสายใย สร้างคุณค่า ผ้าทอมัดหมี่ กศน.ตำบลวังท่าดี

Search

Read the Text Version

รายงานผลการปฏบิ ตั ิงานที่ดี (Best practices) “สบื สายใย สรา้ งคุณค่า ผา้ ทอมดั หม”ี่ กล่มุ ทอผา้ บา้ นโคกกลาง ตาบลวงั ท่าดี อาเภอหนองไผ่ จงั หวดั เพชรบูรณ์ นางสาวอรษิ า สงิ หเ์ ส ครู กศน.ตาบล ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอหนองไผ่ สานกั งานส่งเสริมการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั จงั หวดั เพชรบรู ณ์ สานกั งานสง่ เสริมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั สานกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธิการ กระทรวงศกึ ษาธิการ

บนั ทึกขอ้ ความ สว่ นราชการ กศน.ตาบลวงั ท่าดี ที่ 245/2564 วันที่ 23 สงิ หาคม 2564 เร่ือง รายงานผลการดาเนินงานไปส่ผู ลการปฏบิ ตั งิ านท่ีด(ีBest Practice) เรยี น ผู้อานวยการศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภอหนองไผ่ ตามที่ ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาเภอหนองไผ่ มอบหมายให้ นางสาวอริษา สงิ หเ์ ส ครู กศน.ตาบล ดาเนินการจัดการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน การจัดการศึกษาต่อเน่อื ง การจัดการ ศึกษาตามอัธยาศัย การจัดการศกึ ษาตลอดชวี ิตใหก้ บั ประชาชนในพน้ื ทีอ่ ย่างทัว่ ถงึ และจัดทา ผลการ ปฏบิ ัตงิ านทด่ี ี (Best Practice) นัน้ เพอื่ ให้การดาเนนิ งานเป็นไปด้วยความเรยี บร้อย จึงขอรายงานผลการดาเนนิ งานไปสผู่ ลการ ปฏิบัติงานท่ดี ี (Best Practice) ชื่อผลงาน สบื สายใย สร้างคณุ ค่า ผา้ ทอมัดหมี่ รายละเอียดตามเอกสารทีแ่ นบ มาพรอ้ มน้ี จงึ เรียนมาเพอื่ โปรดทราบ (นางสาวอรษิ า สิงหเ์ ส) ครู กศน.ตาบล

คานา เอกสารรายงานฉบับน้ี จดั ทา ขึ้นเพอื่ รายงานผลการปฏิบตั ิงานที่ ดี (Best Practices) ชอ่ื ผลงาน สืบสายใย สรา้ งคุณคา่ ผ้าทอมดั หมี่ ได้ดาเนนิ งานตามแนวทางการ จัดการศกึ ษาต่อเน่อื ง โดยได้รับความ ร่วมมือจากวทิ ยากรและผู้นาชุมชนเป็นอย่างดจี นประสบผลสาเร็จ และสรา้ งความพึงพอใจตอ่ ผู้เรียนและชุมชน เป็นอยา่ งมาก กศน.ตาบลวงั ท่าดี หวงั เปน็ อย่างยิ่งว่า เอกสารรายงานการปฏิบตั งิ าน เล่มน้ี จะเปน็ แนวทางใน การ ดาเนินงาน จัดการศกึ ษาต่อเน่อื ง เพอ่ื ประโยชน์ในการพัฒนาทักษะชีวติ และสรา้ ง อาชพี ตอ่ ไป ขอขอบคณุ วิทยากร และผมู้ ีส่วนเกี่ยวขอ้ งที่ได้ร่วมกนั ดาเนนิ การใหส้ าเรจ็ ลุล่ วงไปได้ด้วยดไี ว้ ณ โอกาสน้ี หากมี ข้อเสนอแนะประการใด โปรดแจง้ คณะผ้จู ัดทาเพ่อื เปน็ ข้อมลู ในการปรบั ปรงุ ในครัง้ ตอ่ ไป นางสาวอริษา สิงหเ์ ส ครู กศน.ตาบล

สารบญั หน้า เร่อื ง ๑ 1 คานา 1 1 การปฏบิ ัตงิ านทีเ่ ป็นเลิศ (Best Practice) 1 ๑. ชื่อผลงาน 2 ๒. ผู้จัดทาแนวปฏบิ ัติทีด่ ี 2 ๓. คณะทางานพัฒนาแนวปฏบิ ตั ิท่ดี ี 3 ๔. ความสอดคล้อง 3 ๕. ท่มี าและความสาคญั ของผลงาน 3 6. วัตถุประสงค์ 3 7. วิธกี ารดาเนินการ 3 8. ตัวชวี้ ัดความสาเรจ็ 3 9. การประเมนิ ผลและเครอื่ งมอื การประเมิน 10. ผลการดาเนนิ งาน 11. บทสรุป 12. กลยทุ ธห์ รอื ปจั จยั ทีท่ าใหป้ ระสบผลสาเรจ็ 13. ข้อเสนอแนะ 14. การอา้ งอิง 15. ภาคผนวก

1 Best practice 1. ชื่อผลงาน สบื สายใย สรา้ งคณุ ค่า ผา้ ทอมัดหม่ี 2. ผูจ้ ดั ทาแนวปฏบิ ัตทิ ีด่ ี นางสาวอริษา สงิ หเ์ ส ครู กศน.ตาบลวังท่าดี กศน.อาเภอหนองไผ่ 3. คณะทางานแนวปฏิบัติท่ดี ี นางยพุ ิน นามแดง วทิ ยากร นายบาหยนั โพธิเ์ ส็ง ผู้นาชุมชน 4. ความสอดคล้อง จดุ เน้นการดาเนนิ งานประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 ภารกิจต่อเนือ่ ง ข้อ 1. ดา้ นการจดั การศึกษาและการเรียนรู้ 1.3 การศกึ ษาต่อเนอ่ื ง จัดการศกึ ษาอาชีพเพื่อการมงี านทาอย่างย่งั ยืน โดยใหค้ วามสาคญั กบั การจัดการศกึ ษาอาชพี เพ่ือ การมีงานทาในกลมุ่ อาชีพเกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณชิ ยกรรม คหกรรม และอาชพี เฉพาะทางหรือการ บริการรวมถงึ การเนน้ อาชีพช่ างพน้ื ฐาน ท่สี อดคล้องกับศกั ยภาพของผเู้ รยี น ความตอ้ งการและศกั ยภาพของ แตล่ ะพื้นทม่ี ีคณุ ภาพไดม้ าตรฐานเปน็ ทยี่ อมรับ สอดรบั กับความตอ้ งการของตลาดแรงงาน และการพฒั นา ประเทศ ตลอดจนสร้างความเขม้ แข็งให้กับศูนยฝ์ กึ อาชพี ชมุ ชน โดยจัดใหม้ ีการส่งเสริมการรวมกลุม่ วิสาหกจิ ชุมชน การพัฒนาหน่ึงตาบลหน่งึ อาชพี เด่น การประกวดสนิ ค้าดีพรเี มย่ี ม การสรา้ งแบรนดข์ อง กศน. รวมถงึ การส่งเสรมิ และจดั หาชอ่ งทางการจาหน่ายสินคา้ และผลิตภัณฑ์ และให้มกี ารกากบั ตดิ ตาม และรายงานผล การจดั การศกึ ษาอาชพี เพือ่ การมงี านทาอย่างเป็นระบบและตอ่ เนือ่ ง 5. ท่ีมาและความสาคญั ของผลงาน ผ้ามดั หมี่ คือ ผา้ ทีท่ อจากดา้ ยหรอื ไหมทผ่ี ูกมัดแลว้ ยอ้ มโดยการคดิ ผูกให้เปน็ ลวดลาย แลว้ นาไปย้อมสี กอ่ นทอ เป็นศิลปะการทอผ้าพืน้ เมอื งชนดิ หนง่ึ ทีน่ ิยมทา กันมานาน ผ้ามัดหม่ีมบี ทบาทในวิถีชีวติ ต้งั แต่เกดิ จน ตาย หญงิ สาวต้องทอผา้ เพือ่ ทาเป็นเครือ่ งนงุ่ หม่ วัสดุเส้นใยทัง้ ฝา้ ยและไหมบ่งบอกถงึ ศกั ยภาพทางการคา้ เพราะเป็นวสั ดทุ ่ีใช้แลกเปลยี่ นซ้อื ขายมาแตโ่ บราณ ส่วนวัสดยุ ้อมสธี รรมชาตสิ ะทอ้ นใหเ้ ห็นถงึ ความอดุ ม สมบรู ณ์ของพันธุพ์ ืชในปร ะเทศไทยทีม่ ีความหลากหลาย ซ่งึ ช่วยใหผ้ า้ มัดหมข่ี องไทยมสี ีสนั เฉพาะตัว และยงั สะทอ้ นไปถึงความเชี่ยวชาญของแตล่ ะกลุม่ ชนในการย้อมสธี รรมชาติ การทาผ้ามดั หมีเ่ ป็นศลิ ปะการทอผา้ พน้ื เมืองชนดิ หนง่ึ นิยมทากันมาช้านานในบริเวณภาค ตะวนั ออกเฉียงเหนอื ของประเทศไทยและบางจังหวดั ในภาคกลาง ชาวบ้านจะใช้เวลาว่างจากการทานาและ การเกบ็ เกีย่ วมาทอผา้ ไว้ใช้ในครวั เรือน หรือทอผา้ เอาไวใ้ ชใ้ นงานประเพณีต่างๆ ลวดลายสว่ นใหญม่ าจา ก อิทธิพลของธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ มรอบตวั การทาผ้ามดั หมี่ในภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื นน้ั ส่วนใหญน่ ยิ มทา ดว้ ยไหม ศิลปะการทาผา้ มัดหมน่ี น้ั ทาไดโ้ ดยการมดั ยอ้ มเสน้ ไหมใหเ้ กิดสแี ละลวดลายกอ่ นแลว้ จงึ นาไปเรียงทอ บนกอี่ อกมาเป็นผนื ผา้ วัฒนธรรมการทาผา้ มัดหมี่ของไทยนั้นนิยมทากันท่ีไหมเส้นพุ่งเทา่ นั้น

2 ลกั ษณะเฉพาะของผา้ มัดหม่ี อยูท่ ีร่ อยซมึ ของสีทว่ี ิ่งไปตามบรเิ วณของลวดลายทถี่ ูกมดั ถงึ แมจ้ ะใช้ ความแมน่ ยาในการทอมากเพียงไร ก็จะเกิดลกั ษณะความเหลื่อมล้าของสีบนเส้นไหมใหเ้ ห็นตา่ งไปจากผ้าทอ มอื ชนดิ อนื่ ๆ นับเปน็ เอกลกั ษณข์ องผา้ ไทยมดั หม่โี ดยแท้ ผา้ มัดหมี่แต่ละชน้ิ นนั้ มกั ไม่มกี ารซา้ กัน ถงึ แม้วา่ จะมีสสี ันลวดลายเดิมวางไวเ้ ปน็ ตัวอย่างกต็ าม ท้ังน้ี เพราะว่าทุกขน้ั ตอนของการประดิษฐ์ ล้วนเกดิ จากน้ามอื และนา้ พกั นา้ แรงของคนทั้งส้ิน ความมเี สนห่ ข์ องผ้า ไหมมดั หมใ่ี นแตล่ ะชน้ิ ก็คอื “ความเปน็ ช้นิ เดยี วในโลก” นัน้ เอง จงึ นบั วา่ เป็นงานศลิ ปะอันทรงคณุ คา่ ย่ิง บ้านโคกกลาง เป็นหมูบ่ ้านอยู่ในพืน้ ท่ตี าบลวังท่าดี ประชากรประกอบอาชพี เกษตรกรเปน็ ส่วนใหญ่ ได้แกก่ ารทานา ทาไร่และทาสวน ในช่วงหลังฤดูเก็บเกี่ยวชาวบ้านก็จะทางานที่อยู่ทบ่ี ้านของตนเองปลูกผกั กนิ และหาปลาในห้วย หนอง คลอง บงึ ผู้ชายหาปลา เวลาวา่ งมกั จะจกั สานไมไ้ ผ่ใช้ประกอบอาชีพ และซ่อมแซม อปุ กรณก์ ารเกษตร สว่ นผู้หญิงก็จะถกั ทอผา้ ทาหมอน ทาผา้ ห่ม ไวใ้ ชใ้ น และได้ไปศึกษาดงู านการทอผ้า ของชาวบ้านเพชรละคร อาเภอหนองไผ่ และไดม้ วี ทิ ยากรมาใหค้ วามรู้ ในการทอผา้ มัดหมี่ ยอ้ มสีและการมดั ลายผา้ มัดหมแี่ ละนามาฝกึ ฝนดว้ ยตนเองประกอบกบั มคี วามรเู้ ดมิ และได้ซักชวนเพือ่ นบ้านมาฝึกทาและโดย สว่ นใหญ่จะมีพ้ืนฐานในการทอผ้าอยแู่ ลว้ และได้เป็นศนู ยฝ์ กึ อาชพี และแหล่งเรยี นรู้กลุ่มทอผ้าบา้ นโคกกลาง เป็นตน้ มา 6. วตั ถปุ ระสงค์ เพื่อพฒั นากลุ่มอาชีพทอผา้ มัดหมีใ่ ห้สามารถผลิตและจาหน่ายผลิตภณั ฑ์จากผ้าทออย่างมคี ณุ ภาพ และมีรายได้เพ่ิมข้นึ 7. วิธดี าเนนิ การ ๑. ข้ันวางแผน (Plan) -ประชุมวางแผนการดาเนนิ งาน -สารวจความตอ้ งการของประชาชน -รบั สมัครผู้เรียน -ตดิ ต่อประสานงานวิทยากร -ขออนมุ ัติการจัดกิจกรรม -ขออนุมัติหลักสูตร -แตง่ ต้งั วิทยากร 2. ขน้ั ดาเนนิ งาน (Do) -ดาเนินการจดั กิจกรรมการศกึ ษาตอ่ เน่ือง (1 อาเภอ 1 อาชพี ) หลักสูตรวิชา การทอผ้าลายมัดหมี่ จานวน 40 ชว่ั โมง 3. ขนั้ ตรวจสอบ (Check) -การประเมนิ ผล กอ่ นและหลังการดาเนนิ งาน 4. ขัน้ ปรบั ปรุงแกไ้ ข (Action) -รวบรวม วเิ คราะห์ สรปุ และจัดทารายงานผลการดาเนินงาน -ประชุมเพอ่ื นาข้อมูลจากการดาเนนิ งานไปใชใ้ นการปรบั ปรุง แกไ้ ข และพัฒนาการ ดาเนนิ งานตอ่ ไป

3 8. ตัวช้ีวดั ความสาเร็จ ประชาชนมคี วามรู้ เกิดทักษะในการผลติ สามารถนาความรู้และรายไดไ้ ปพัฒนาคุณภาพชีวติ และ ครอบครัว 9. การประเมินผลและเครือ่ งมือการประเมิน แบบประเมินผลการจัดการศกึ ษาตอ่ เนือ่ ง 10. ผลการดาเนนิ งาน 1. ผู้เรยี นเกดิ ทกั ษะจากกระบวนการเรยี นรู้ การทอผา้ มดั หม่ี สามารถทอผ้ามัดหมไี่ ด้ละเอียดและ ปราณตี มากย่ิงขึ้น 2. ผูเ้ รยี นมคี วามรู้ เกดิ ทักษะในการผลติ สามารถนาความรู้และรายได้ไปพัฒนาคุณภาพชีวติ และ ครอบครัว 3. ดาเนินการเผยแพร่ โดยจดั ทาเอกสาร ได้แกห่ ลกั สตู ร การประเมินผลการดาเนนิ งาน และรายงาน สรุปผลการดาเนินงาน ใหก้ ับ กศน.อาเภอหนองไผ่ และเครือข่ายท่ีเกี่ยวขอ้ งทราบ และให้ชุมชนศูนยเ์ รยี นรู้ เรือ่ งการทอผา้ มดั หมีใ่ ห้กับผทู้ สี่ นใจและชุมชนอื่นๆ 11. บทสรปุ ผูเ้ รยี นมีพ้นื ฐานความรูแ้ ละทักษะในการเรียนรู้แตกต่างกนั จึงทาให้เกดิ อปุ สรรคในการเรยี นรู้ 12. กลยุทธ์หรอื ปจั จยั ที่ทาใหป้ ระสบความสาเร็จ การเรยี นทอผ้ามัดหมี่มีวิทยากร 1 คน ต่อผู้เรยี น 12 คน ผู้เรียนมพี น้ื ฐานการทอผา้ เปน็ บางส่วน จงึ ใหผ้ ู้เรยี นกลุม่ นี้ชว่ ยเป็นพเี่ ล้ียงให้กบั ผู้ทไ่ี มม่ ีพนื้ ฐานในการทอผา้ เลย ผูเ้ รยี นก็จะรู้บทบาทหน้าที่ของตน เกดิ การมสี ่วนร่วมมากขนึ้ และเกิดการเรยี นรไู้ ปพรอ้ มๆกนั 13. ขอ้ เสนอแนะ พฒั นารูปแบบการจัดกจิ กรรมผา่ นช่องทางออนไลนใ์ หม้ ากข้ึน 14. การอ้างอิง - http://thaladmudmee.bcsnru.com ประวัตคิ วามเป็นมาของผ้ามดั หมี่

ภาคผนวก

รายงานผลการดาเนินงาน การศกึ ษาต่อเนือ่ ง (๑ อาเภอ ๑ อาชพี ) หลักสูตรวชิ าการทอผ้าลายมัดหมี่ จานวน ๔๐ ชั่วโมง กศน.ตาบลวงั ท่าดี ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอหนองไผ่ สานักงานส่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั จงั หวดั เพชรบูรณ์ สานักงานสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร กระทรวงศึกษาธกิ าร

อปุ กรณใ์ นการทอผา้ มัดหมี่ ลายผ้าทอมัดหมี่

การมัดหม่ี การยอ้ มสี

การทอผา้ ลายมดั หม่ี

























ที่ปรึกษา คณะผจู้ ัดทา นางมาลี เพ็งดี นางสาวกัญจนา จูเกล้ยี ง ผูอ้ านวยการ กศน.อาเภอหนองไผ่ นางสาวฐติ ิกานต์ นกสงา่ ครูผู้ช่วย นางสมุ าลา นาคนายม ครูผู้ช่วย เจา้ พนกั งานหอ้ งสมดุ ชานาญงาน คณะทท่ี างาน/รวบรวมข้อมูล นางยพุ นิ นามแดง วทิ ยากร นายบาหยัน โพธ์ิเส็ง ผนู้ าชุมชน นางสาวอรษิ า สิงห์เส ครู กศน.ตาบล นางสาวสุวภัทร ศรแี ก้วพันธ์ุ ครูประจาศนู ยก์ ารเรียนชุมชน ผปู้ ระสานงานและผูจ้ ัดทา ครู กศน.ตาบล นางสาวอรษิ า สงิ หเ์ ส ครปู ระจาศนู ย์การเรยี นชมุ ชน นางสาวสุวภทั ร ศรีแกว้ พันธ์ุ