Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือรายวิชาภาษาไทยพื้นฐาน ประจำปีการศึกษา ๒๕๖๓

คู่มือรายวิชาภาษาไทยพื้นฐาน ประจำปีการศึกษา ๒๕๖๓

Published by กิติศักดิ์ ส., 2020-04-11 01:39:26

Description: คู่มือรายวิชาภาษาไทยพื้นฐาน ประจำปีการศึกษา ๒๕๖๓

Search

Read the Text Version

ก คู่มือรายวิชา ภาษาไทยชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ นายกติ ิศักดิ์ สุขวโรดม

ก คำนำ หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน เป็นหลักสูตรแกนกลางของประเทศที่มีมาตรฐานการเรียนรู้ในข้อกำหนด คุณภาพของผูเ้ รยี นท้งั ตัวความรู้ ทักษะ กระบวนการ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม และค่านิยม สาระการเรียนรู้เป็นการกำหนดองค์ความรู้ที่เป็นเนื้อหาสาระครอบคลุมการศึกษา และภาษาไทยเป็น เอกลกั ษณข์ องชาติ เปน็ สมบตั ทิ างวัฒนธรรมอันกอ่ ใหเ้ กิดความเปน็ เอกภาพและเสรมิ สรา้ งบคุ ลกิ ภาพของคนในชาติ ให้มีความเป็นไทย เปน็ เครอ่ื งมือในการติดตอ่ ส่ือสารเพื่อสรา้ งความเข้าใจและความสัมพันธท์ ่ีดีตอ่ กัน ทำให้สามารถ ประกอบกิจธรุ ะ การงาน และดำรงชีวิตร่วมกัน ในสงั คม ภาษาไทยเป็นทักษะที่ต้องฝึกฝนจนเกิดความชำนาญในการใช้ภาษาเพื่อการสื่อสาร การเรียนรู้อย่างมี ประสทิ ธิภาพ และเพื่อนำไปใช้ในชวี ิตจรงิ ดังนนั้ ข้าพเจ้า ผู้สอนรายวิชาภาษาไทย ระดบั ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ ๔ จึงตระหนกั ในความจำเป็น และเห็น ความสำคัญของภาษาไทย จงึ จดั ทำคมู่ ือหลักสตู รระดบั ชั้นเรยี น ข้าพเจ้าไดว้ เิ คราะห์ตัวชวี้ ัด /ผลการเรียนรู้ คำอธิบาย รายวชิ า โครงสร้างรายวิชา เพื่อจดั ทำหนว่ ยการเรยี นรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ ซงึ่ สอดคล้องกับหลกั สูตรสถานศึกษา โดยมีกจิ กรรมการเรียนการสอนที่เน้นผ้เู รยี นเป็นสำคญั เพอ่ื พัฒนาคุณภาพผเู้ รียนใหบ้ รรลเุ ป้าหมายของหลักสูตร ข้าพเจ้าหวังเป็นอย่างยิ่งว่าการจัดทำคู่มือหลักสูตรวิชาภาษาไทย ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ จะเป็น ประโยชน์ต่อการนำไปใชเ้ ป็นแนวทางในการพฒั นาผ้เู รียนให้มคี ุณภาพ กติ ิศักดิ์ สุขวโรดม คณะผูจ้ ัดทำ คู่มือรายวิชา ภาษาไทยชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี ๔ นายกติ ิศักดิ์ สุขวโรดม

ก สารบญั หน้า คำนำ......................................................................................................................................................................ก ทำไมต้องเรียนภาษาไทย....................................................................................................................................... ๑ เรยี นรู้อะไรในภาษาไทย........................................................................................................................................ ๑ สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้............................................................................................................................... ๒ คุณภาพผู้เรียน...................................................................................................................................................... ๓ คำอธิบายรายวิชา ................................................................................................................................................. ๔ โครงสร้างรายวชิ าภาษาไทย.................................................................................................................................. ๕ อภิธานศัพท์ ....................................................................................................................................................... ๒๓ กระบวนการเขยี น.......................................................................................................................................... ๒๓ กระบวนการอา่ น ........................................................................................................................................... ๒๔ การเขียนเชงิ สรา้ งสรรค์.................................................................................................................................. ๒๔ การด.ู ............................................................................................................................................................. ๒๕ การตีความ..................................................................................................................................................... ๒๕ การเปลีย่ นแปลงของภาษา ............................................................................................................................ ๒๕ การสรา้ งสรรค์ ............................................................................................................................................... ๒๕ ขอ้ มลู สารสนเทศ ........................................................................................................................................... ๒๖ ความหมายของคำ ......................................................................................................................................... ๒๖ คุณคา่ ของงานประพนั ธ์ ................................................................................................................................. ๒๖ โครงงาน ........................................................................................................................................................ ๒๗ ทักษะการส่ือสาร ........................................................................................................................................... ๒๗ ธรรมชาติของภาษา........................................................................................................................................ ๒๗ แนวคดิ ในวรรณกรรม..................................................................................................................................... ๒๘ บรบิ ท ............................................................................................................................................................ ๒๘ ค่มู ือรายวิชา ภาษาไทยชั้นประถมศกึ ษาปีที่ ๔ นายกิตศิ ักด์ิ สขุ วโรดม

ข พลังของภาษา................................................................................................................................................ ๒๘ ภาษาถิน่ ........................................................................................................................................................ ๒๘ ภาษาไทยมาตรฐาน ....................................................................................................................................... ๒๘ ภาษาพูดกบั ภาษาเขียน.................................................................................................................................. ๒๙ ภมู ปิ ญั ญาทางภาษา....................................................................................................................................... ๒๙ ระดับภาษา.................................................................................................................................................... ๒๙ วิจารณญาณ .................................................................................................................................................. ๓๐ คณะผู้จดั ทำ....................................................................................................................................................... ๓๑ ค่มู ือรายวิชา ภาษาไทยช้ันประถมศกึ ษาปีที่ ๔ นายกติ ิศักด์ิ สุขวโรดม

๑ ทำไมต้องเรยี นภาษาไทย ภาษาไทยเปน็ เอกลักษณ์ของชาตเิ ป็นสมบัติทางวฒั นธรรมอันกอ่ ให้เกดิ ความเป็นเอกภาพและเสริมสร้าง บุคลิกภาพของคนในชาติให้มีความเป็นไทย เป็นเครื่องมือในการติดต่อสื่อสารเพื่อสร้างความเข้าใจและ ความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน ทำให้สามารถประกอบกิจธุระ การงาน และดำรงชีวิตรว่ มกนั ในสังคมประชาธิปไตยได้ อยา่ งสันตสิ ุข และเปน็ เครอ่ื งมอื ในการแสวงหาความรู้ ประสบการณ์จากแหล่งขอ้ มูลสารสนเทศตา่ ง ๆ เพือ่ พัฒนา ความรู้ พัฒนากระบวนการคิดวิเคราะห์ วิจารณ์ และสร้างสรรค์ให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคม และ ความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี ตลอดจนนำไปใช้ในการพัฒนาอาชีพให้มีความมั่นคงทางเศรษฐกิจ นอกจากน้ียังเป็นสอ่ื แสดงภมู ปิ ญั ญาของบรรพบรุ ษุ ด้านวฒั นธรรม ประเพณี และสุนทรยี ภาพ เป็นสมบัติล้ำค่า ควรแก่การเรียนรู้ อนุรกั ษ์ และสบื สาน ใหค้ งอยคู่ ู่ชาติไทยตลอดไป เรียนรูอ้ ะไรในภาษาไทย ภาษาไทยเป็นทักษะที่ต้องฝึกฝนจนเกิดความชำนาญในการใช้ภาษาเพื่อการสื่อสาร การเรียนรู้อย่าง มีประสทิ ธภิ าพ และเพือ่ นำไปใชใ้ นชวี ิตจริง การอ่าน การอา่ นออกเสียงคำ ประโยค การอ่านบทร้อยแกว้ คำประพนั ธช์ นดิ ตา่ ง ๆ การอ่านในใจเพื่อสร้างความเข้าใจ และการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ความรู้จากสิ่งที่อ่าน เพื่อนำไปปรับใช้ใน ชีวิตประจำวัน การเขียน การเขยี นสะกดตามอกั ขรวิธี การเขียนสื่อสาร โดยใช้ถ้อยคำและรูปแบบตา่ ง ๆ ของการเขียน ซง่ึ รวมถงึ การเขียนเรยี งความ ยอ่ ความ รายงานชนดิ ตา่ ง ๆ การเขยี นตามจินตนาการ วิเคราะหว์ ิจารณ์ และเขียน เชิงสร้างสรรค์ การฟัง การดู และการพูด การฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ การพูดแสดงความคิดเห็น ความรู้สึก พูดลำดับเรือ่ งราวตา่ ง ๆ อยา่ งเปน็ เหตเุ ปน็ ผล การพดู ในโอกาสต่าง ๆ ทงั้ เป็นทางการและ ไมเ่ ป็นทางการ และการ พูดเพอื่ โนม้ น้าวใจ หลักการใช้ภาษาไทย ธรรมชาติและกฎเกณฑ์ของภาษาไทย การใช้ภาษาให้ถูกต้องเหมาะสมกับโอกาส และบุคคล การแต่งบทประพนั ธ์ประเภทต่าง ๆ และอทิ ธิพลของภาษาตา่ งประเทศในภาษาไทย วรรณคดีและวรรณกรรม วิเคราะห์วรรณคดีและวรรณกรรมเพ่อื ศกึ ษาขอ้ มลู แนวความคดิ คุณคา่ ของงาน ประพันธ์ และความเพลิดเพลิน การเรียนรู้และทำความเข้าใจบทเห่ บทร้องเล่นของเด็ก เพลงพืน้ บ้านที่เป็นภูมิ ปัญญาทม่ี ีคณุ คา่ ของไทย ซ่ึงได้ถ่ายทอดความรูส้ ึกนึกคิด คา่ นยิ ม ขนบธรรมเนยี มประเพณี เรื่องราวของสังคมใน อดีต และความงดงามของภาษา เพ่ือให้เกดิ ความซาบซ้ึงและภูมใิ จ ในบรรพบรุ ษุ ท่ไี ดส้ ง่ั สมสบื ทอดมาจนถึงปจั จบุ ัน คู่มือรายวิชา ภาษาไทยช้ันประถมศึกษาปที ี่ ๔ นายกิตศิ ักด์ิ สุขวโรดม

๒ สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ สาระที่ ๑ การอ่าน มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอา่ นสรา้ งความรแู้ ละความคดิ เพอื่ นำไปใช้ตัดสนิ ใจ แกป้ ญั หาในการ ดำเนินชีวติ และมนี สิ ัยรกั การอา่ น สาระท่ี ๒ การเขยี น มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขยี นเขียนส่อื สาร เขยี นเรยี งความ ย่อความ และเขยี นเร่อื งราวใน รปู แบบตา่ ง ๆ เขยี นรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศกึ ษาคน้ ควา้ อย่าง มปี ระสิทธภิ าพ สาระท่ี ๓ การฟัง การดู และการพูด มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลอื กฟงั และดอู ยา่ งมวี จิ ารณญาณ และพดู แสดงความรู้ ความคิด และ ความรู้สกึ ในโอกาสต่าง ๆ อย่างมวี ิจารณญาณและสรา้ งสรรค์ สาระที่ ๔ หลกั การใช้ภาษาไทย มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาตขิ องภาษาและหลกั ภาษาไทย การเปลีย่ นแปลงของภาษาและพลงั ของภาษา ภูมิปัญญาทางภาษา และรกั ษาภาษาไทยไว้เป็นสมบตั ิของชาติ สาระท่ี ๕ วรรณคดีและวรรณกรรม มาตรฐาน ท ๕.๑ เขา้ ใจและแสดงความคดิ เหน็ วิจารณว์ รรณคดแี ละวรรณกรรมไทยอยา่ งเห็นคณุ คา่ และนำมาประยุกตใ์ ชใ้ นชวี ิตจริง ค่มู ือรายวิชา ภาษาไทยช้ันประถมศกึ ษาปีที่ ๔ นายกติ ิศักดิ์ สขุ วโรดม

๓ คุณภาพผู้เรียน จบช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ ๖ อ่านออกเสียงบทร้อยแกว้ และบทร้อยกรองเป็นทำนองเสนาะได้ถูกตอ้ ง อธิบายความหมาย โดยตรงและ ความหมายโดยนัยของคำ ประโยค ข้อความ สำนวนโวหารจากเรื่องที่อ่าน เข้าใจคำแนะนำ คำอธิบายในคู่มือ ต่าง ๆ แยกแยะข้อคิดเห็นและข้อเท็จจริง รวมทั้ง จับใจความสำคัญของเรือ่ งท่ีอ่านและนำความรู้ความคดิ จาก เรือ่ งทีอ่ ่านไป ตัดสนิ ใจ แกป้ ญั หาในการดำเนินชวี ิตได้ มมี ารยาทและ มีนสิ ยั รกั การอา่ นและเห็นคุณค่าสิง่ ที่อ่าน มีทักษะในการตัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด เขียนสะกดคำ แต่งประโยคและเขียน ข้อความ ตลอดจนเขียนสือ่ สารโดยใชถ้ ้อยคำท่ีชัดเจนเหมาะสม ใช้แผนภาพโครงเรอื่ ง และแผนภาพความคดิ เพื่อ พัฒนางานเขียน เขียนเรียงความ ย่อความ จดหมายส่วนตวั กรอกแบบรายการต่าง ๆ เขียนแสดงความรู้สึกและ คดิ เห็น เขยี นเรอื่ งตามจนิ ตนาการอยา่ งสรา้ งสรรค์ และมีมารยาทในการเขียน พูดแสดงความรู้ ความคิดเกี่ยวกับเรื่องทฟ่ี ังและดู เล่าเร่อื งย่อหรือสรปุ จากเรื่องท่ีฟังและดู ต้ังคำถาม ตอบ คำถามจากเรือ่ งทีฟ่ ังและดู รวมทั้งประเมินความนา่ เชือ่ ถอื จากการฟงั และดโู ฆษณาอย่างมีเหตุผล พูดตามลำดับ ขน้ั ตอนเร่อื งต่าง ๆ อยา่ งชัดเจน พดู รายงานหรอื ประเด็นคน้ ควา้ จากการฟงั การดกู ารสนทนาและพูดโน้มน้าวได้ อย่างมีเหตผุ ล รวมท้งั มีมารยาทในการฟัง ดูและพดู สะกดคำและเขา้ ใจความหมายของคำ สำนวน พงั เพย และสุภาษติ รู้และเข้าใจชนดิ และหน้าท่ีของคำใน ประโยค ชนิดของประโยค คำภาษาถ่นิ และคำภาษาต่างประเทศในภาษาไทย ใช้คำราชาศพั ท์และคำสภุ าพได้อย่าง เหมาะสม แต่งประโยค แต่งบทร้อยกรองประเภทกลอนสี่ กลอนสภุ าพและกาพยย์ านี ๑๑ เข้าใจและเหตุคุณคา่ วรรณคดแี ละวรรณกรรมท่ีอ่าน เล่านทิ านพนื้ บา้ น ร้องเพลงพ้นื บา้ นของท้องถ่ิน นำ ข้อคิดเหน็ จากเรอ่ื งทอ่ี า่ นไปประยกุ ต์ใชใ้ นชวี ติ จรงิ และทอ่ งจำบทอาขยานตามที่กำหนดได้ คู่มือรายวิชา ภาษาไทยช้ันประถมศึกษาปที ่ี ๔ นายกติ ิศักดิ์ สุขวโรดม

๔ ท๑๔๑๐๑ ภาษาไทยพน้ื ฐาน คำอธิบายรายวชิ า กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปที ่ี ๔ เวลา ๑๖๐ ช่ัวโมง รายวชิ า พื้นฐาน การอ่านออกเสียงบทร้อยแกว้ และบทร้อยกรอง ความหมายของคำ ประโยคและสำนวนจากเรอื่ งทอี่ า่ น อ่านเรือ่ งสั้นๆ ตามเวลาทกี่ ำหนด การแยกข้อเท็จจริงและขอ้ คิดเห็น การคาดคะเนเหตุการณ์ และการสรุปความรู้ และขอ้ คิดจากเรอ่ื งทอ่ี า่ น เพือ่ นำไปใช้ในชวี ิตประจำวนั เลือกอ่านหนงั สือที่มีคณุ คา่ ตามความสนใจอยา่ งสม่ำเสมอ และแสดงความคิดเหน็ เกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน การคัดลายมือตัวบรรจงเตม็ บรรทัดและครึ่งบรรทัด การเขยี นสือ่ สาร โดยใชถ้ อ้ ยคำได้ถูกต้อง ชัดเจน เหมาะสม การเขียนแผนภาพโครงเร่อื งและแผนภาพความคดิ เพ่ือนำมาใช้พัฒนา งานเขยี นของตนเอง การเขยี นจดหมายถึงเพอ่ื นและบดิ ามารดา การเขยี นบนั ทกึ และเขยี นรายงานจากการศึกษา ค้นคว้า และการเขียนเรื่องตามจินตนาการ การจำแนกข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็นและพูดสรุปจากเรื่องที่ฟังและดู การพูดแสดงความรู้ ความคดิ เหน็ และความรู้สึกเก่ยี วกับเรื่องท่ีฟงั และดู การต้ังคำถามและตอบคำถามเชิงเหตุผล และรายงานเรือ่ งหรอื ประเด็นทศ่ี ึกษาคน้ ควา้ จากการฟัง การดู และการสนทนา การสะกดคำ และบอกความหมาย ของคำในบริบทต่าง ๆ ระบุชนิดและหน้าที่ของคำในประโยค การใช้พจนานุกรมค้นหาความหมายของคำ การแต่งประโยคได้ถูกต้องตามหลักภาษา การแต่งร้อยกรองและคำขวัญ การบอกความหมายของสำนวน และ เปรียบเทียบภาษาไทยมาตรฐานกับภาษาถิ่น การระบุข้อคิดจากนิทานพื้นบ้านหรือนิทานคติธรรม การอธิบาย ข้อคิดจากการอ่าน เพื่อนำไปใช้ในชีวิตจริง การร้องเพลงพ้ืนบ้าน และการท่องจำบทอาขยานตามที่กำหนดหรือ ตามความสนใจ โดยใช้กระบวนการอ่าน การเขียน การแสวงหาความรู้ การคิดวิเคราะห์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการสรุปความรู้ การสื่อความ การแก้ปัญหา และการทำงานกลุ่ม โดยการฝึกปฏิบัติ บอก อธิบาย แยกแยะ เลอื ก ระบุ บันทกึ และเปรียบเทยี บ โดยใชท้ กั ษะ การอ่านออกเสียง การเขียนสือ่ ความ การพดู แสดงความคิดเห็น การฟงั และการดูอย่างมีวจิ ารณญาณ มีกระบวนการสร้างความคิดรวบยอดและคดิ สรา้ งสรรค์ เพอ่ื ทำให้เกิดความรู้ ความคิด ความเขา้ ใจ ส่ือสารไดถ้ ูกต้อง และรักการเรยี นภาษาไทย เห็นคุณคา่ ของการอนุรักษ์ภาษาไทย ตัวเลขไทย มีวินัย ซื่อสัตยส์ ุจริต ใฝ่เรียนรู้ มุ่งม่ันในการทำงาน อยู่อย่างพอเพยี ง มจี ติ สาธารณะ การไหว้ตามอตั ลักษณข์ องโรงเรียน และตระหนกั ถึงมารยาทในการอ่าน เขียน ฟัง พูด และดู สามารถนำความรไู้ ปใช้ให้เกดิ ประโยชนใ์ นชวี ติ ประจำวนั ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง และเหมาะสม รหัสตวั ชว้ี ัด ท ๑.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖, ป.๔/๗, ป.๔/๘ ท ๒.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖, ป.๔/๗, ป.๔/๘ ท ๓.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖ ท ๔.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖, ป.๔/๗ ท ๕.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔ รวมทงั้ หมด ๓๓ ตัวชี้วัด ค่มู ือรายวิชา ภาษาไทยช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี ๔ นายกติ ิศักด์ิ สุขวโรดม

๕ โครงสร้างรายวชิ าภาษาไทย ระดบั ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี ๔ เวลา ๑๖๐ ช่วั โมง/ปี อัตราส่วนคะแนนระหว่างเรยี น ๗๐ : ๓๐ ที่ ชอ่ื หนว่ ย มาตรฐานการ สาระสำคัญ เวลา นำ้ หนัก ภาระงาน/ เรียน คะแนน ชิ้นงานรวบ การเรยี นรู้ เรยี นรู้/ตัวช้ีวดั ยอด (ชั่วโมง) ๑ สำนวน ท ๑.๑ ป.๔/๑ สุภาษิต หมายถึง คำพูดที่พูดออกมา ไม่ ๑๒ ๔ - เขียน สภุ าษติ นา่ รู้ ท ๑.๑ ป.๔/๒ ว่าจะเป็นทำนอง สำนวนโวหาร ที่มี แผนภาพ (ขนมไทยไร้ ท ๒.๑ ป.๔/๑ ความหมายที่ดี ส่วนใหญ่คนไทยเราจะหยิบ ความคดิ เทียมทานและ ท ๒.๑ ป.๔/๓ ยกคำสุภาษิตมาเป็นตัวอย่างในการอบรมสง่ั - สมุด ออมไวก้ ำไร ท ๒.๑ ป.๔/๘ สอนลูกหลาน หรือบางครั้งใช้แส ด ง รวบรวม ชีวติ ) ท ๓.๑ ป.๔/๑ เปรียบเทียบประกอบการสนทนา สุภาษิต ปรศิ นาคำ ท ๓.๑ ป.๔/๕ ดังนั้นผู้อ่านต้องใช้สมาธิในการอ่านและอ่าน ทานขนม ท ๓.๑ ป.๔/๖ อยา่ งพินิจพจิ ารณาจะทำใหต้ อบคำถามลำดับ ไทย ท ๔.๑ ป.๔/๔ เหตุการณ์และสรุปเรื่องพร้อมทั้งข้อคิดจาก ท ๕.๑ ป.๔/๒ การอ่าน การทำแผนภาพความคิดของเรื่อง อย่างถูกต้องจะช่วยตอบคำถามและข้อคิด จากเรื่องได้อย่างต่อเนื่องการอ่านออกเสียง บทรอ้ ยแก้วและบทรอ้ ยกรองท่ีชดั เจนถูกต้อง ตามหลักการอ่านทำให้ผู้อ่านสื่อความหมาย กับผู้ฟังได้อย่างชัดเจน การพูดที่ถูกต้อง ชัดเจน ทำให้ผู้พูดและผู้ฟังได้อย่างชัดเจน การอ่านบทรอ้ ยกรองได้ถูกตอ้ งไพเราะ การสื่อสารด้วยการเขียนสำนวน สุภาษิต คำพังเพย ซึ่งสื่อสารด้วยแผนภาพความคิด เพื่อนำไปใช้ในงานเขียนอื่น ๆ ต่อไป พร้อม กับจำแนกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจาก สำนวนสุภาษิต หรือ/และเรื่องที่ฟัง และดู โดยมีการศึกษาจากสื่ออิเล็กทรอนิกส์ที่มี ความหลากหลาย และ/หรือนำสำนวนสภุ าษติ คำพังเพยนำมาแตง่ เป็นประโยคในการสือ่ สาร หรือและใช้ในการสั่งสอน พร้อมกับอธิบาย คูม่ อื รายวิชา ภาษาไทยช้ันประถมศึกษาปีที่ ๔ นายกติ ิศักด์ิ สขุ วโรดม

๖ ท่ี ชอ่ื หน่วย มาตรฐานการ สาระสำคญั เวลา นำ้ หนกั ภาระงาน/ เรยี น คะแนน ช้ินงานรวบ การเรียนรู้ เรียนร/ู้ ตวั ช้ีวดั ยอด (ชัว่ โมง) ข้อคดิ ที่ไดจ้ ากการเรยี นรู้สำนวน สุภาษิต และ คำพังเพย เพอ่ื นำไปปรบั ใชใ้ นชีวติ ประจำวัน ๒ นิทานอา่ น ท ๑.๑ ป.๔/๑ การอ่านออกเสียงวรรณคดี ประเภท ๑๐ ๒ - ใบงาน สนกุ ท ๑.๑ ป.๔/๒ นิทานคำกลอน เรื่อง พระอภัยมณี การผจญ - แบบฝึก (การผจญภยั ท ๑.๑ ป.๔/๓ ภัยของสุดสาคร พร้อมกับอธิบายความหมาย หดั ของสุดสาคร) ท ๑.๑ ป.๔/๘ ของคำ ประโยค สำนวนจากเรื่อง พระอภัย - เขียนเร่อื ง ท ๒.๑ ป.๔/๑ มณี โดยอา่ นเรอื่ งตามเวลาที่กำหนดพรอ้ มกับ ตามจนิ ตนา ท ๒.๑ ป.๔/๒ ตอบคำถามจากเรือ่ งทอี่ า่ น การ ท ๒.๑ ป.๔/๓ การเขียนสื่อสารโดยใช้คำศัพท์จาก เรื่อง - วาดภาพ ท ๒.๑ ป.๔/๗ พระอภยั มณี โดยเลือกใช้คำที่ถูกตอ้ ง ชัดเจน ประกอบ ท ๒.๑ ป.๔/๘ และเหมาะสม เรอ่ื ง ท ๓.๑ ป.๔/๔ การเขียนเขียนภาพโครงเรื่องจาก - สมุด ท ๓.๑ ป.๔/๖ วรรณคดี ประเภทนิทานคำกลอน เรื่อง พระ รวบรวม ท ๔.๑ ป.๔/๑ อภัยมณี การผจญภัยของสุดสาคร เพื่อนำมา ตวั ละครใน ท ๔.๑ ป.๔/๓ พฒั นางานเขยี นต่อไป เรอื่ ง ท ๔.๑ ป.๔/๔ การเขียนเรื่องตามจินตนาการเป็นการ สดุ สาคร ท ๕.๑ ป.๔/๑ ถ่ายทอดเรื่องราวตามความรู้สึกนึกคิด พรอ้ ม ท ๕.๑ ป.๔/๒ ประสบการณ์และ ความคิดสรา้ งสรรคอ์ อกมา คำอธิบาย ท ๕.๑ ป.๔/๔ เป็นภาษาท่เี ขยี นอย่างสละสลวย มีคตสิ อนใจ ลกั ษณะ คณุ ธรรม จรยิ ธรรมสอดแรกในเรือ่ ง นิสัย การตงั้ คำถามและตอบคำถามโดยยึดเหตุ ของตัว และผลจากฟงั และดู วิดโี อ เรื่อง พระอภัยมณี ละคร การสะกดคำและบอกความของคำศัพท์ ใน เรื่อง พระอภัยมณี ซึ่งค้นหาคำศัพท์จาก พจนานกุ รม การระบแุ ละอธิบายข้อคิดจากเรื่อง พระ อภัยมณี เพื่อนำไปปรับใช้ให้เหมาะสมกับ ชีวิตประจำวันของตนเอง และสามารถท่อง บทอาขยานจากเรื่อง พระอภัยมณี ได้อย่าง ถูกตอ้ งตามหลักการทอ่ งบทอาขยาน คู่มือรายวิชา ภาษาไทยช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ ๔ นายกติ ศิ ักด์ิ สุขวโรดม

๗ ที่ ช่ือหนว่ ย มาตรฐานการ สาระสำคัญ เวลา น้ำหนัก ภาระงาน/ เรยี น คะแนน ชนิ้ งานรวบ การเรียนรู้ เรยี นรู/้ ตวั ช้ีวัด ยอด (ชวั่ โมง) ๓ อา่ นเข้าใจได้ ท ๑.๑ ป.๔/๑ การฝึกอ่านออกเสียงคำให้ถูกต้อง และรู้ ๑๑ ๓ คำตอบ ท ๑.๑ ป.๔/๒ ความหมายของคำ จะชว่ ยใหน้ ักเรียนสามารถ (ภมู ใิ จมรดก ท ๑.๑ ป.๔/๓ นำคำไปใช้ได้ถูกต้อง สามารถสื่อสารได้ โลก และ ท ๑.๑ ป.๔/๘ รวดเร็วมีประสิทธิภาพ ซึ่งการค้นหาคำศัพท์ นำ้ ผ้งึ หยด ท ๒.๑ ป.๔/๑ นั้น จะต้องค้นหาให้ถูกต้องตามหลักการ เดยี ว) ท ๒.๑ ป.๔/๒ ค้นหาคำศัพท์จากพจนานุกรม ท ๒.๑ ป.๔/๓ การอ่านในใจเป็นการอ่านที่เข้าใจ ท ๒.๑ ป.๔/๔ เรื่องราวได้เพียงคนเดียว ผู้อ่านต้องใช้สมาธิ ท ๒.๑ ป.๔/๘ ในการอ่าน ศึกษาคำยาก ตั้งจุดหมายในการ ท ๔.๑ ป.๔/๑ อ่าน อ่านอย่างพินิจ พิจารณา จะทำให้จับ ท ๔.๑ ป.๔/๓ ใจความสำคัญของเรื่องที่อ่าน สามารถตอบ ท ๔.๑ ป.๔/๔ คำถาม ลำดับเหตุการณ์ของเรื่องการศึกษา ท ๕.๑ ป.๔/๑ เรียนรู้เรื่อง อักษรนำ จะสามารถทำให้อ่าน ท ๕.๑ ป.๔/๒ เขียน และใช้คำได้อย่างถูก ต้องการศึกษา เรื่องคำที่มีตัวการันต์ ( ไม้ทัณฑฆาต ) จะทำ ให้อา่ น เขยี น และนำคำไปใช้ได้อยา่ งถกู ตอ้ ง การฝึกอ่านผันคำ เปน็ การเพ่มิ ทักษะการ อ่านและเขียน และการเขียนสื่อสารด้วย ข้อความที่ถูกต้อง ชัดเจนและเหมาะสม เพื่อ นำมาพฒั นางานเขียนต่อไป การคัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัดน้ัน เป็นการฝึกสมาธิ ซึ่งจะต้องเขียนให้ถูกต้อง ตามหลักการเขียนตามทก่ี ระทรวงศึกษาธิการ กำหนด พร้อมกบั เขียนสือ่ สาร โดยใช้คำศัพท์ จากทีค่ น้ หาจากพจนานุกรม การเขยี นยอ่ ความ เป็นการเก็บเรอื่ งราวที่ ได้อ่านโดยใช้วิธีการอ่านแบบออกเสียงและ อ่านแบบในใจ ซึ่งย่อความนั้นเก็บเฉพาะ ข้อความหรือประเด็นท่ีมีความสำคัญของเน้ือ เรื่องนัน้ คู่มอื รายวิชา ภาษาไทยชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ ๔ นายกิติศักด์ิ สุขวโรดม

๘ ที่ ชือ่ หน่วย มาตรฐานการ สาระสำคญั เวลา น้ำหนัก ภาระงาน/ เรยี น คะแนน ชนิ้ งานรวบ การเรยี นรู้ เรียนร/ู้ ตัวชี้วดั ยอด (ชั่วโมง) การระบุและอธิบายข้อคิดจากการอ่าน เร่ือง น้ำผึ้งหยดเดียว เพื่อนำสาระความรู้ ข้อคิด นำมาปรับใช้ในชีวิตประจำวันอย่าง ถูกต้อง เหมาะสมและสร้างสรรค์กับ สถานการณ์ปัจจุบัน ๔ ประโยคเพ่อื ท ๑.๑ ป.๔/๑ การเรยี นรู้คำใหม่และหาความหมายของ ๑๒ ๔ การสอื่ สาร ท ๑.๑ ป.๔/๒ คำใหม่ในบทเรียน ช่วยให้อ่านและเข้าใจ (ชวี ติ ที่ถูกเมนิ ) ท ๑.๑ ป.๔/๓ เรื่องราวดียิ่งขึ้น ซึ่งการค้นหาคำศัพท์น้ัน ท ๑.๑ ป.๔/๘ จะต้องค้นหาให้ถูกต้องตามหลักการค้นหา ท ๒.๑ ป.๔/๑ คำศัพท์จากพจนานุกรม ท ๒.๑ ป.๔/๒ การอ่านในใจที่ดี ผู้อ่านจะต้องสามารถ ท ๒.๑ ป.๔/๘ จับใจความสำคัญของเรื่อง และ ลำดับ ท ๓.๑ ป.๔/๓ เหตุการณ์ของเรื่องได้อย่างรวดเร็ว และ ท ๓.๑ ป.๔/๖ ถูกต้อง การอ่านออกเสียงที่ชัดเจน ถูกต้อง ท ๔.๑ ป.๔/๑ ตามหลักการอ่าน ทำให้ผฟู้ ังเขา้ ใจเรอื่ งทอ่ี ่าน ท ๔.๑ ป.๔/๒ ได้อยา่ ง ถกู ต้องชดั เจน ท ๔.๑ ป.๔/๓ การคัดลายมือด้วยตัวบรรจงเต็มบรรทดั ท ๔.๑ ป.๔/๔ นั้นเป็นการฝึกทักษะการเขียนได้เป็นอย่างดี ในวัยนี้ และเพ่ือเป็นการฝึกสมาธิโดยการคดั ด้วยลายมือครึ่งบรรทัด โดยยึดหลักความ ถูกต้องตามแบบการเขียนและการคัดตาม แบบอักษรไทยของกระทรวงศกึ ษาธิการ การเขียนสื่อสารนั้นจะต้องมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับชนิดของคำ เพื่อนำมา แต่งประโยคเพื่อการสื่อสารได้ ซึ่งการเขียน สอ่ื สารน้ันจะตอ้ งส่ือดว้ ยความหมายที่ชัดเจน ใช้คำที่มีความสุภาพ เหมาะสมกับฐานะ บคุ คล และสามารถวิเคราะหห์ นา้ ทข่ี องคำใน ประโยคนั้น ๆ ได้อยา่ งเขา้ ใจ คู่มือรายวิชา ภาษาไทยชั้นประถมศึกษาปที ี่ ๔ นายกติ ศิ ักดิ์ สขุ วโรดม

๙ ที่ ชอื่ หน่วย มาตรฐานการ สาระสำคญั เวลา นำ้ หนัก ภาระงาน/ เรียน คะแนน ชน้ิ งานรวบ การเรียนรู้ เรียนร/ู้ ตวั ช้ีวดั ยอด (ชวั่ โมง) การระบุชนิดของคำนั้นมีความสำคัญ อย่างยิ่งเนื่องจากเป็นการต่อความสู่การ วิเคราะห์ หนา้ ทีข่ องคำในประโยค ซง่ึ คำท่ี นำมาแต่งเป็นประโยคนั้น จะมีหน้าที่ท่ี แตกต่างกันออกเป็น ถึงคำนั้นจะเป็นคำ เดียวกันก็ตาม แต่เมื่อบรรจุคำนั้นลงไปใน ประโยคในส่วนต่าง ๆ หน้าที่ของคำก็จะ เปล่ียนไปตามโครงสร้างของประโยค การพูดแสดงความรู้ ความคิดที่ถูกต้อง ชัดเจน จะทำให้ ผู้พูดและผู้ฟัง มีความ เขา้ ใจตรงกนั คำในภาษาไทยมีหลายชนิด การเรียนรู้ เรื่องคำและชนิดของคำ เพื่อนำมาใช้ให้ ถกู ต้องตามหน้าทขี่ องคำในการส่ือสาร เพอ่ื ให้ ผู้พูดและผู้ฟังมีความเข้าใจตรงกัน ต้อง เลอื กใชป้ ระโยคให้ตรงตามจุดประสงค์ คู่มอื รายวิชา ภาษาไทยชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ นายกิติศักด์ิ สขุ วโรดม

๑๐ ที่ ช่ือหนว่ ย มาตรฐานการ สาระสำคัญ เวลา นำ้ หนัก ภาระงาน/ การเรียนรู้ เรียนร/ู้ ตวั ช้ีวัด เรียน คะแนน ช้นิ งานรวบ สอบก่อนกลางปี (ช่วั โมง) ท ๑.๑ ป.๔/๑ ๑๐ ยอด ท ๑.๑ ป.๔/๒ ๑.๓๐ ท ๑.๑ ป.๔/๓ ท ๑.๑ ป.๔/๘ ท ๒.๑ ป.๔/๑ ท ๒.๑ ป.๔/๒ ท ๒.๑ ป.๔/๓ ท ๒.๑ ป.๔/๔ ท ๒.๑ ป.๔/๘ ท ๔.๑ ป.๔/๑ ท ๔.๑ ป.๔/๓ ท ๔.๑ ป.๔/๔ ท ๕.๑ ป.๔/๑ ท ๕.๑ ป.๔/๒ คู่มอื รายวิชา ภาษาไทยชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี ๔ นายกติ ิศักด์ิ สุขวโรดม

๑๑ ท่ี ช่อื หนว่ ย มาตรฐานการ สาระสำคัญ เวลา น้ำหนัก ภาระงาน/ เรยี น คะแนน ช้นิ งานรวบ การเรยี นรู้ เรียนรู/้ ตัวชว้ี ดั ยอด (ช่วั โมง) ๕ เรียนรู้ ท ๑.๑ ป.๔/๑ การเรียนรู้คำใหม่และหาความหมายของ ๑๑ ๓ ประจกั ษ์ ท ๑.๑ ป.๔/๒ คำใหม่ในบทเรียน ช่วยให้อ่านและเข้าใจ หลักการเขียน ท ๑.๑ ป.๔/๔ เรื่องราวได้ดียิ่งขึ้น ซึ่งการค้นหาคำศัพท์น้ัน (โอม! พินจิ หา ท ๑.๑ ป.๔/๔ จะต้องค้นหาให้ถูกต้องตามหลักการค้นหา พจิ ารณาละ ท ๑.๑ ป.๔/๖ คำศพั ทจ์ ากพจนานกุ รม ระบำสายฟา้ ) ท ๑.๑ ป.๔/๘ การอ่านในใจที่ดี ผู้อ่านจะต้องสามารถ ท ๒.๑ ป.๔/๒ จับใจความสำคัญของเรื่อง และ ลำดับ ท ๒.๑ ป.๔/๘ เหตุการณ์ของ เรื่องได้อย่างรวดเร็วและ ท ๓.๑ ป.๔/๑ ถูกต้อง ท ๓.๑ ป.๔/๒ การอ่านออกเสียงที่ชัดเจน ถูกต้องตาม ท ๓.๑ ป.๔/๓ หลักการอ่าน ทำให้ผู้ฟังเข้าใจเรื่องที่อ่านได้ ท ๓.๑ ป.๔/๖ อยา่ งถูกต้องชดั เจน ท ๔.๑ ป.๔/๔ การเขียนสื่อสารนั้น เป็นการเขียนที่ คำนึงถึงหลักภาษา โดยมีชนิดของคำและ หน้าที่ของคำ เพื่อให้ประโยคนั้นมีความ สมบูรณ์ ซึ่งประโยค ประกอบด้วย ประธาน กริยา กรรม ซึ่งเป็นพื้นฐานของการเขียนทกุ รปู แบบ การเขียนเรียงความนัน้ มีองคป์ ระกอบ ๓ ส่วน ส่วนนำ ส่วนเนื้อเรื่อง ส่วนสรุป ซึ่งเปน็ การเขียนในขั้นสูงมาจากการเขียนสื่อสาร ซึ่ง การเขียนเรียงความเป็นการเสนอความรู้ ความบันเทงิ และการจินตนาการเรอ่ื งราวตา่ ง ๆ ผ่านการเขียน โดยคำนึงถึงความถูกต้อง ตามหลกั การเขยี นเรยี งความ การแสดงความคิดเห็นเชิงวิจารณ์ เป็น การพูดสนับสนุนหรือโต้แย้งเรื่องที่อ่านหรือ ฟัง โดยปราศจากอคติ ซึ่งการพูดนั้นจะมี ส่วนประกอบของข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็น คู่มอื รายวิชา ภาษาไทยช้ันประถมศึกษาปีที่ ๔ นายกิตศิ ักดิ์ สุขวโรดม

๑๒ ท่ี ชือ่ หนว่ ย มาตรฐานการ สาระสำคัญ เวลา น้ำหนัก ภาระงาน/ เรยี น คะแนน ช้นิ งานรวบ การเรยี นรู้ เรยี นร้/ู ตัวชวี้ ัด ยอด (ชัว่ โมง) ซ่งึ อาจจะนำเสนอในรูปแบบของความคดิ เห็น ความรู้ และความรสู้ กึ การเว้นวรรคตอนคือการแบ่งช่วงเนื้อหา สาระของประโยคหรือข้อความต่าง ๆ ใน ภาษาไทย ถ้าเว้นวรรคตอนผิดจะทำให้ ความหมายเปลี่ยนแปลงไป ผใู้ ชภ้ าษาต้องเว้น วรรคตอนให้ถูกต้อง เพื่อให้การสื่อสารตรง ประเดน็ และมปี ระสทิ ธภิ าพ ๖ สร้างสรรค์ ท ๑.๑ ป.๔/๑ การเรียนรู้คำใหม่และความหมายของคำ ๑๐ ๒ งานเขียน ท ๑.๑ ป.๔/๒ ใหม่มีความจำเปน็ เพราะคำใหมเ่ หลา่ นน้ั ทำให้ (แรงพโิ รธจาก ท ๑.๑ ป.๔/๔ นักเรียนสามารถอ่านเรื่องราวที่กำหนดให้ได้ ฟา้ ดินและ ท ๑.๑ ป.๔/๔ ถกู ตอ้ งและเข้าใจเรอื่ งราวไดด้ ี ไวรัส วายร้าย) ท ๑.๑ ป.๔/๖ การอ่านในใจเป็นการอ่านท่ี ผอู้ ่านต้องใช้ ท ๑.๑ ป.๔/๘ สมาธิในการอ่าน ศึกษาคำยากต้ังจุดหมายใน ท ๒.๑ ป.๔/๒ การอ่าน อ่านอย่างพินิจ พิจารณา จะทำให้ ท ๒.๑ ป.๔/๘ จับใจความสำคัญของเรื่องที่อ่าน สามารถ ท ๓.๑ ป.๔/๑ ตอบคำถามลำดับเหตุการณ์ของเรื่อง และ ท ๓.๑ ป.๔/๒ นำไปเขียนเป็นแผนภาพโครงเรื่อง เพื่อเล่า ท ๓.๑ ป.๔/๓ เรื่องและเขียนเร่ืองได้ ท ๓.๑ ป.๔/๖ การอ่านออกเสียงที่ชัดเจน ถูกต้องตาม ท ๔.๑ ป.๔/๔ หลกั การอ่าน ทำใหผ้ ู้ฟงั เข้าใจเร่ืองที่อ่าน ได้ถูกต้อง การใช้หลักการคัดลายมือด้วยตัวบรรจง มีหลักเกณฑ์ การคัด ต้องพิจารณาเลือกใช้ ให้เหมาะสม เพื่อให้การคัดลายมือได้อย่าง ถกู ตอ้ งและสวยงาม คำพ้อง มีหลายชนิด เช่น พ้องรูป พ้อง เสียง พ้องความ ควรใช้ให้ถูกต้องตามบริบท ของประโยค คู่มอื รายวิชา ภาษาไทยชั้นประถมศึกษาปที ่ี ๔ นายกิตศิ ักด์ิ สขุ วโรดม

๑๓ ที่ ชือ่ หนว่ ย มาตรฐานการ สาระสำคัญ เวลา นำ้ หนัก ภาระงาน/ เรียน คะแนน ช้นิ งานรวบ การเรยี นรู้ เรียนรู้/ตัวช้วี ดั ยอด (ชว่ั โมง) การอ่านออกเสียงที่ชัดเจน ถูกต้องตาม หลักการอ่าน ทำให้ผู้ฟังเข้าใจเรื่องที่อ่านได้ ถูกตอ้ ง การเขียนเรียงความเป็นการนำเรื่องราว ขอ้ คดิ เหน็ ข้อเทจ็ จรงิ หรอื ความรสู้ ึก มาเรียบ เรยี งดว้ ยภาษาท่ีถูกตอ้ ง ชดั เจนและสละสลวย จะสามารถส่ือให้ผูอ้ ่านเขา้ ใจได้ตามที่ผู้เขียน ตอ้ งการ ๗ เรียนรู้ ท ๑.๑ ป.๔/๑ การเรียนรู้คำใหม่และความหมายของคำ ๑๑ ๓ วรรณกรรม ท ๑.๑ ป.๔/๒ ใหม่มคี วามจำเป็นเพราะคำใหม่เหลา่ นัน้ ทำให้ แสนสำราญ ท ๑.๑ ป.๔/๔ นักเรียน สามารถอ่านเรื่องราวได้เข้าใจมาก (เรอ่ื งเล่าจาก ท ๑.๑ ป.๔/๔ ข้ึน พทั ลงุ ) ท ๑.๑ ป.๔/๖ การอ่านในใจเป็นการอ่านทีผ่ ู้อ่านต้องใช้ ท ๑.๑ ป.๔/๘ สมาธิในการอ่าน ศึกษาคำยากต้ังจุดหมายใน ท ๒.๑ ป.๔/๒ การอ่าน อ่านอย่างพินิจ พิจารณา จะทำให้ ท ๒.๑ ป.๔/๘ จับใจความสำคัญของเรื่องที่อ่าน สามารถ ท ๓.๑ ป.๔/๑ ตอบคำถามลำดับเหตุการณ์ของเรื่องและ ท ๓.๑ ป.๔/๒ นำไปเขียนเป็นแผนภาพโครงเรื่อง เพื่อเล่า ท ๓.๑ ป.๔/๓ เรือ่ งและเขียนเร่ืองได้ ท ๓.๑ ป.๔/๖ การใช้หลักการคัดลายมือด้วยตัวบรรจง ท ๔.๑ ป.๔/๔ มีหลกั เกณฑ์ การคดั ตอ้ งพจิ ารณาเลอื กใชใ้ ห้ ท ๕.๑ ป.๔/๑ คดั ตอ้ งพิจารณาเลือกใชใ้ ห้ ท ๕.๑ ป.๔/๒ เหมาะสม เพื่อให้การคัดลายมือได้อย่าง ท ๕.๑ ป.๔/๔ ถูกต้องและสวยงาม การอ่านบทละคร ผู้อ่านจะต้องมีความรู้ ความเข้าใจลักษณะของกลอนบทละคร การ สัมผัส การแบ่งวรรคตอน และการแบง่ จังหวะ ในการอ่าน ซึ่งจะช่วยให้อ่านได้ถูกต้อง และ ซาบซง้ึ ในเรือ่ งท่อี า่ นมากย่ิงขึน้ พร้อมท้ังระบุ คู่มือรายวิชา ภาษาไทยชั้นประถมศึกษาปที ี่ ๔ นายกติ ศิ ักดิ์ สขุ วโรดม

๑๔ ที่ ชื่อหนว่ ย มาตรฐานการ สาระสำคญั เวลา นำ้ หนัก ภาระงาน/ เรยี น คะแนน ช้นิ งานรวบ การเรียนรู้ เรยี นร/ู้ ตัวชวี้ ัด ยอด (ช่ัวโมง) และอธิบายข้อคิดจากเรื่องและนำไปปรับใช้ ในชีวติ ประจำวันอยา่ งสร้างสรรค์ ท ๑.๑ ป.๔/๑ ทดสอบกลางปี ๑.๓๐ ๑๐ ท ๑.๑ ป.๔/๒ ท ๑.๑ ป.๔/๔ ท ๑.๑ ป.๔/๔ ท ๑.๑ ป.๔/๕ ท ๑.๑ ป.๔/๖ ท ๑.๑ ป.๔/๘ ท ๒.๑ ป.๔/๒ ท ๒.๑ ป.๔/๓ ท ๒.๑ ป.๔/๔ ท ๒.๑ ป.๔/๗ ท ๒.๑ ป.๔/๘ ท ๓.๑ ป.๔/๑ ท ๓.๑ ป.๔/๒ ท ๓.๑ ป.๔/๓ ท ๓.๑ ป.๔/๖ ท ๔.๑ ป.๔/๑ ท ๔.๑ ป.๔/๒ ท ๔.๑ ป.๔/๓ ท ๔.๑ ป.๔/๔ ท ๕.๑ ป.๔/๑ ท ๕.๑ ป.๔/๒ ท ๕.๑ ป.๔/๔ คู่มือรายวิชา ภาษาไทยช้ันประถมศึกษาปที ี่ ๔ นายกิตศิ ักด์ิ สุขวโรดม

๑๕ ท่ี ช่อื หนว่ ย มาตรฐานการ สาระสำคัญ เวลา นำ้ หนกั ภาระงาน/ เรียน คะแนน ชิน้ งานรวบ การเรียนรู้ เรยี นร/ู้ ตวั ช้ีวัด ยอด (ช่ัวโมง) ๘ สนกุ สนานกับ ท ๑.๑ ป.๔/๑ การเรียนรู้คำใหม่และความหมายของคำ ๑๐ ๒ - ใบงาน การเล่น ท ๑.๑ ป.๔/๒ ใหมม่ คี วามจำเป็นเพราะคำใหม่เหลา่ นนั้ ทำให้ - แบบฝึกหดั ท ๑.๑ ป.๔/๓ นักเรียนสามารถอ่านเร่ืองราวที่กำหนดให้ได้ - การละเลน่ ท ๑.๑ ป.๔/๖ ถูกตอ้ งและเขา้ ใจเรอ่ื งราวได้ดี ของไทย ท ๑.๑ ป.๔/๗ การอ่านในใจเป็นการอ่านที่ผู้อ่านต้องใช้ ท ๑.๑ ป.๔/๘ สมาธิในการอ่าน ศึกษาคำยากต้ังจุดหมายใน ท ๒.๑ ป.๔/๑ การอ่าน อ่านอย่างพินิจ พิจารณา จะทำให้ ท ๒.๑ ป.๔/๒ จับใจความสำคัญของเรื่องที่อ่าน สามารถ ท ๒.๑ ป.๔/๓ ตอบคำถามลำดับเหตุการณ์ของเรื่อง และ ท ๒.๑ ป.๔/๘ นำไปเขียนเป็นแผนภาพโครงเรื่อง เพื่อเล่า ท ๔.๑ ป.๔/๑ เร่ืองและเขียนเรอื่ งได้ ท ๔.๑ ป.๔/๒ การอ่านออกเสียงที่ชัดเจน ถูกต้องตาม หลักการอ่าน ทำให้ผู้ฟังเข้าใจเรื่องที่อ่านได้ ถกู ต้อง ประโยค คือคำหรือกลุ่มคำที่นำมาเรียง กันสื่อความได้ ประโยคประกอบด้วยส่วน สำคัญ ๒ ส่วน คือ ส่วนที่เป็นประธาน กับ สว่ นที่เปน็ ภาคแสดง การเขียนจดหมายเป็นการสื่อสารวิธีหนง่ึ จดหมายท่ีเขยี น ถึงบุคคลต่าง ๆ ย่อมใช้ภาษาที่แตกต่างกัน และใช้ภาษาสุภาพ เขียนด้วยลายมือที่อ่าน ง่าย สะอาด เรียบร้อย จ่าหน้าซองให้ถูกต้อง ชดั เจน การละเล่นของเด็กเป็นการเล่นเพื่อความ สนุกสนาน การออกกาลังกาย การสร้าง ความรกั ความสามัคคี การอ่านหนังสือเพิ่มเติมหรืออ่านเสริม บทเรียน จะช่วยให้นักเรียนรักการอ่านและ เกิดนสิ ยั รกั การอา่ น คู่มือรายวิชา ภาษาไทยช้ันประถมศึกษาปที ี่ ๔ นายกิติศักดิ์ สุขวโรดม

๑๖ ที่ ชอื่ หนว่ ย มาตรฐานการ สาระสำคัญ เวลา น้ำหนกั ภาระงาน/ เรยี น คะแนน ชน้ิ งานรวบ การเรยี นรู้ เรยี นรู/้ ตวั ช้วี ัด ยอด (ชวั่ โมง) ๙ หนูเอยจะบอก ท ๑.๑ ป.๔/๑ การเรียนรู้คำใหม่และความหมายของคำ ๑๐ ๒ - ใบงาน ให้ ท ๑.๑ ป.๔/๒ ใหมม่ ีความจำเป็นเพราะคำใหมเ่ หล่าน้ันทำให้ - แบบฝึกหดั ท ๑.๑ ป.๔/๓ นักเรียนสามารถอ่านเร่ืองราวที่กำหนดให้ได้ - เขยี น ท ๑.๑ ป.๔/๖ ถูกตอ้ งและเขา้ ใจเร่อื งราวได้ดี บันทกึ ท ๑.๑ ป.๔/๗ การอ่านในใจเป็นการอ่านที่เข้าใจ ความรู้ ท ๒.๑ ป.๔/๓ เรื่องราวได้เพียงคนเดียว ผู้อ่านต้องใช้สมาธิ - พูด ท ๒.๑ ป.๔/๔ ในการอ่าน ศึกษาคำยาก ตั้งจุดหมายในการ รายงาน ท ๒.๑ ป.๔/๖ อ่าน อ่านอย่างพินิจ พิจารณาจะทำให้จับ ความรู้ ท ๒.๑ ป.๔/๗ ใจความสำคัญของเรื่องที่อ่าน สามารถตอบ - อ่านออก ท ๒.๑ ป.๔/๘ คำถาม เสยี ง ท ๓.๑ ป.๔/๓ ลำดับเหตกุ ารณข์ องเรอื่ ง และนำไปเขียนเป็น บทรอ้ ยแก้ว, ท ๓.๑ ป.๔/๕ แผนภาพโครงเรื่อง เพื่อเล่าเรื่องและเขียน คำ, ข้อความ ท ๔.๑ ป.๔/๑ เรอ่ื งได้ ท ๔.๑ ป.๔/๓ การอ่านออกเสียงที่ชัดเจน ถูกต้องตาม ท ๕.๑ ป.๔/๑ หลักการอ่าน ทำให้ผู้ฟังเข้าใจเรื่องที่อ่านได้ ท ๕.๑ ป.๔/๒ ถกู ต้อง ท ๕.๑ ป.๔/๓ การเขยี นบนั ทกึ ความรูอ้ ยา่ งสม่ำเสมอ จะ ท ๕.๑ ป.๔/๔ ช่วยทำให้ทักษะการเขียนของนักเรียน พัฒนาขึ้นตามลำดับ อีกทั้งจะเป็นข้อมูลเกบ็ ไว้อา้ งองิ ในโอกาสต่อไป การเขียนย่อความเป็นการสรุปใจความ สำคัญของเรื่อง ทำได้โดยการอ่านเรื่องที่จะ ย่อให้เข้าใจอย่างถ่องแท้ หาคำ กลุ่มคำ หรือ ประโยคสำคัญในเรื่อง เพื่อจับใจความสำคัญ ใช้ภาษาง่ายๆ กะทัดรัด เป็นสำนวนของ ตนเองเขียนให้ได้ใจความครบถ้วน และบอก ที่มาของเรอื่ งทย่ี อ่ การรู้จักเลอื กหนังสืออ่านทีใ่ ห้ความรู้ ให้ ความสนุก และเพลดิ เพลินด้วยแล้ว จะทาให้ มี ความรอบรู้ มีสติปัญญาเฉลียวฉลาดย่งิ ข้ึน คู่มอื รายวิชา ภาษาไทยชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี ๔ นายกิติศักด์ิ สขุ วโรดม

๑๗ ที่ ช่อื หน่วย มาตรฐานการ สาระสำคัญ เวลา น้ำหนกั ภาระงาน/ การเรยี นรู้ เรยี นรู้/ตวั ชี้วัด คะแนน ชิน้ งานรวบ เรยี น ๑๐ ดวงจนั ทรข์ อง ท ๑.๑ ป.๔/๑ ๒ ยอด ลำเจียก ท ๑.๑ ป.๔/๒ (ช่ัวโมง) ท ๑.๑ ป.๔/๓ - ใบงาน ท ๑.๑ ป.๔/๖ และนาสิง่ ท่ีมีคุณค่าจากการอ่านมาปรับใชใ้ น - แบบฝกึ หดั ท ๑.๑ ป.๔/๘ - ออกเสยี ง ท ๒.๑ ป.๔/๑ ชีวติ ประจำวนั บทรอ้ ย ท ๒.๑ ป.๔/๓ กรอง ท ๓.๑ ป.๔/๓ การอ่านหนังสือเพิ่มเติมหรืออ่านเสริม ท ๓.๑ ป.๔/๖ ท ๔.๑ ป.๔/๑ บทเรียน จะช่วยให้นักเรียนรักการอ่านและ ท ๔.๑ ป.๔/๓ ท ๕.๑ ป.๔/๒ เกิดนิสยั รกั การอ่านตามมา การเรียนรู้คำใหม่และความหมายของคำ ๑๐ ใหมม่ ีความจาเปน็ เพราะคำใหม่เหลา่ น้ันทำให้ นักเรียนสามารถอ่านเรื่องราวที่กำหนดให้ได้ ถกู ตอ้ งและเขา้ ใจเร่อื งราวไดด้ ี การอ่านในใจเป็นการอ่านที่เข้าใจ เรื่องราวได้เพียงคนเดียว ผู้อ่านต้องใช้สมาธิ ในการอ่าน ศึกษาคำยาก ตั้งจุดหมายในการ อ่าน อ่านอย่างพินิจ พิจารณา จะทำให้จับ ใจความสำคัญของเรื่องที่อ่าน สามารถตอบ คำถามลำดับเหตุการณ์ของเรื่อง และนำไป เขียนเป็นแผนภาพโครงเรอื่ ง เพื่อเลา่ เร่ืองและ เขียนเร่อื งได้ การอ่านออกเสียงที่ชัดเจน ถูกต้องตาม หลักการอ่าน ทำให้ผู้ฟงั เขา้ ใจเรอ่ื งทอ่ี า่ นได้ ถกู ต้อง การเรียนเรื่องกลอนสุภาพ ถือเป็นการ พัฒนาทักษะทางภาษาท่ีผู้เรียนควรได้รับการ ฝึกฝน เพื่อ พัฒนาทักษะให้ถูกต้อง จึงจะทำ ให้การเรียนรู้ภาษาเป็นไปด้วยดีและเกิดการ พฒั นาขึ้นตามมา การอ่านหนังสือเพิ่มเติมหรืออ่านเสริม บทเรียน จะช่วยให้นักเรียนรักการอ่านและ เกดิ นิสยั รกั การอา่ นตามมา คมู่ อื รายวิชา ภาษาไทยช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ ๔ นายกติ ิศักด์ิ สขุ วโรดม

๑๘ ท่ี ชอ่ื หน่วย มาตรฐานการ สาระสำคญั เวลา น้ำหนกั ภาระงาน/ เรยี น คะแนน ชน้ิ งานรวบ การเรียนรู้ เรยี นรู/้ ตวั ชว้ี ัด ยอด (ชั่วโมง) ๑๑ การพูด ท ๑.๑ ป.๔/๑ การเรียนรู้คำใหมแ่ ละความหมายของคำ ๑๒ ๔ - ใบงาน โฆษณา ท ๑.๑ ป.๔/๒ ใหม่มคี วามจำเปน็ เพราะคำใหมเ่ หล่าน้นั ทำ - แบบฝึกหดั ท ๑.๑ ป.๔/๓ ให้นักเรยี นสามารถอา่ นเรอื่ งราวทก่ี ำหนดให้ - พูด ท ๑.๑ ป.๔/๖ ไดถ้ กู ตอ้ งและเข้าใจเร่ืองราวไดด้ ี รายงาน ท ๑.๑ ป.๔/๘ การอ่านในใจ ผอู้ า่ นต้องใช้สมาธใิ นการ โฆษณา ท ๒.๑ ป.๔/๓ อา่ น และอา่ นอย่างพินจิ พิจารณาจะทำให้ - พูดโน้ม ท ๒.๑ ป.๔/๘ ตอบคำถาม ลำดบั เหตุการณ์ และสรปุ เรอ่ื ง นา้ ว ท ๓.๑ ป.๔/๒ พรอ้ มท้ังระบขุ ้อคิดจากเรื่องที่อ่าน ท ๓.๑ ป.๔/๓ การอ่านออกเสยี ง เปน็ ทกั ษะการสอื่ สาร ท ๓.๑ ป.๔/๔ ท่ที ำให้คนอน่ื สามารถรบั ร้เู รือ่ งราว เนือ้ หา ท ๓.๑ ป.๔/๖ สาระจากผอู้ า่ นได้ดว้ ย ดังน้ันควรอ่านให้ ท ๔.๑ ป.๔/๑ ถูกตอ้ งตามหลกั การอา่ น จงึ จะทำให้การอ่าน ท ๕.๑ ป.๔/๒ ประสบความสำเร็จ กระทำไดโ้ ดยฝกึ อ่านคำ ยาก ฝกึ อา่ นตามลักษณะของเสยี งและคำ ประพนั ธ์ รจู้ ักใชน้ ำ้ เสียงตาม อารมณ์ของตวั ละคร เนน้ จงั หวะหนกั เบาเหมือนเสยี งพดู จะ ทำใหอ้ า่ นไดถ้ กู ต้อง คล่องแคลว่ และช่วยให้ สอ่ื สารไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ การพูดเปน็ ทักษะในการสือ่ สารประเภท หนึ่ง ผ้พู ดู ตอ้ งใชส้ มาธใิ นการพูด ศึกษา คน้ คว้าในเร่อื งทจี่ ะพูด ตง้ั จุดหมายในการพดู อยา่ งพนิ จิ พิจารณา จะทำใหผ้ ูฟ้ งั สามารถจบั ใจความสำคญั ของเรอื่ งทีพ่ ดู คู่มือรายวิชา ภาษาไทยช้ันประถมศึกษาปีที่ ๔ นายกติ ศิ ักด์ิ สุขวโรดม

๑๙ ที่ ชื่อหน่วย มาตรฐานการ สาระสำคัญ เวลา นำ้ หนัก ภาระงาน/ เรียน คะแนน ชิน้ งานรวบ การเรียนรู้ เรียนรู/้ ตัวชีว้ ดั ยอด (ช่ัวโมง) ท ๑.๑ ป.๔/๑ ทดสอบก่อนปปี ลาย ๑.๓๐ ๑๐ ท ๑.๑ ป.๔/๒ ท ๑.๑ ป.๔/๓ ท ๑.๑ ป.๔/๖ ท ๑.๑ ป.๔/๘ ท ๒.๑ ป.๔/๓ ท ๒.๑ ป.๔/๘ ท ๓.๑ ป.๔/๒ ท ๓.๑ ป.๔/๓ ท ๓.๑ ป.๔/๔ ท ๓.๑ ป.๔/๖ ท ๔.๑ ป.๔/๑ ท ๕.๑ ป.๔/๒ ๑๒ เรยี นรู้ ท ๑.๑ ป.๔/๑ การเรยี นร้คู ำใหม่และความหมายของคำ ๑๒ ๓ - ใบงาน มารยาท ท ๑.๑ ป.๔/๒ ใหมม่ ีความจำเป็นเพราะคำใหมเ่ หล่านน้ั ทำให้ - แบบฝกึ หดั จากการฟงั ท ๑.๑ ป.๔/๓ นักเรยี นสามารถอ่านเรอ่ื งราวท่กี ำหนดใหไ้ ด้ - แสดง และดู ท ๑.๑ ป.๔/๖ ถูกต้องและเข้าใจเรื่องราวไดด้ ี ละคร ท ๑.๑ ป.๔/๘ การอ่านในใจผู้อา่ นตอ้ งใชส้ มาธใิ นการ มารยาทการ ท ๒.๑ ป.๔/๓ อา่ นและอา่ นอยา่ งพินิจพจิ ารณา จะทำให้ตอบ ฟงั และดู ท ๒.๑ ป.๔/๘ คำถามลำดับเหตกุ ารณแ์ ละสรปุ เร่ืองพร้อมทงั้ ท ๓.๑ ป.๔/๒ ระบขุ อ้ คิดจากเรื่องที่อ่าน ท ๓.๑ ป.๔/๓ การอ่านหนังสอื เพม่ิ เตมิ หรอื อา่ นเสรมิ ท ๓.๑ ป.๔/๔ บทเรียน จะชว่ ยใหน้ กั เรยี นรกั การอา่ นและ ท ๓.๑ ป.๔/๖ เกดิ นสิ ัยรกั การอา่ นตามมา ท ๔.๑ ป.๔/๑ การพูดเปน็ ทกั ษะในการสื่อสารประเภท ท ๕.๑ ป.๔/๒ หนึ่ง ผู้พดู ตอ้ งใช้สมาธใิ นการพูด ศกึ ษาคน้ ควา้ ในเร่ืองทจ่ี ะพดู ตง้ั จดุ หมายในการพดู อยา่ ง พนิ จิ พจิ ารณา จะทำใหผ้ ฟู้ ังสามารถจบั ใจความสำคัญของเรอื่ งทพ่ี ูด คมู่ อื รายวิชา ภาษาไทยช้ันประถมศึกษาปที ่ี ๔ นายกติ ศิ ักด์ิ สุขวโรดม

๒๐ ที่ ช่อื หน่วย มาตรฐานการ สาระสำคัญ เวลา น้ำหนัก ภาระงาน/ เรียน คะแนน ช้นิ งานรวบ การเรยี นรู้ เรียนรู้/ตวั ช้วี ัด ยอด (ช่ัวโมง) ๑๓ เรียนรู้ ท ๑.๑ ป.๔/๑ การเรียนรู้คำใหมแ่ ละความหมายของคำ ๑๒ ๓ - ใบงาน ประจกั ษ์ ท ๑.๑ ป.๔/๒ ใหมม่ ีความจำเปน็ เพราะคำใหมเ่ หล่านน้ั ทำให้ - แบบฝกึ หดั การเขียน ท ๑.๑ ป.๔/๓ นกั เรยี นสามารถอา่ นเรือ่ งราวทกี่ ำหนดให้ได้ - เขยี น รายงาน ท ๑.๑ ป.๔/๖ ถกู ต้องและเขา้ ใจเรือ่ งราวไดด้ ี รายงาน ท ๑.๑ ป.๔/๘ การอา่ นในใจผ้อู า่ นตอ้ งใชส้ มาธิในการ ท ๒.๑ ป.๔/๓ อา่ นและอา่ นอย่างพนิ ิจพจิ ารณา จะทำให้ ท ๒.๑ ป.๔/๘ ตอบคำถาม ลำดบั เหตุการณ์และสรปุ เรอื่ ง ท ๓.๑ ป.๔/๒ พรอ้ มทัง้ ระบขุ อ้ คิดจากเรอื่ งที่อ่าน ท ๓.๑ ป.๔/๕ การอา่ นออกเสยี ง เป็นทกั ษะการส่อื สาร ท ๓.๑ ป.๔/๖ ที่ทำให้คนอนื่ สามารถรบั รเู้ รอ่ื งราว เนือ้ หา ท ๔.๑ ป.๔/๑ สาระจากผ้อู า่ นไดด้ ว้ ย ดังน้ันควรอา่ นให้ ท ๔.๑ ป.๔/๓ ถกู ตอ้ งตามหลกั การอา่ น จงึ จะทำใหก้ ารอา่ น ท ๔.๑ ป.๔/๔ ประสบความสำเรจ็ กระทำได้โดยฝกึ อา่ นคำ ยาก ฝกึ อ่านตามลกั ษณะของเสยี งและคา ประพันธ์ รจู้ กั ใช้นำ้ เสยี งตามอารมณ์ของตวั ละคร เนน้ จังหวะหนกั เบาเหมือนเสยี งพูด จะ ทำให้อา่ นไดถ้ กู ต้อง คล่องแคลว่ และช่วยให้ สื่อสารไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธิภาพ คมู่ อื รายวิชา ภาษาไทยชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๔ นายกิตศิ ักดิ์ สุขวโรดม

๒๑ ที่ ชื่อหนว่ ย มาตรฐานการ สาระสำคญั เวลา นำ้ หนัก ภาระงาน/ เรียน คะแนน ชิ้นงานรวบ การเรยี นรู้ เรียนร/ู้ ตวั ชี้วดั ยอด (ช่วั โมง) ๑๔ เรียนรู้ ท ๑.๑ ป.๔/๑ การเรียนรคู้ ำใหม่และหาความหมายของ ๑๑ ๓ - ใบงาน ประจักษ์ ท ๑.๑ ป.๔/๒ คำใหมใ่ นบทเรยี น ช่วยใหอ้ ่านและเขา้ ใจ - แบบฝึกหดั ภาษาพดู ท ๑.๑ ป.๔/๓ เรื่องราวดยี ิ่งข้ึน - ภาษาพดู ภาษาเขยี น ท ๑.๑ ป.๔/๖ การอ่านในใจผูอ้ ่านจะต้องสามารถจบั ภาษาเขยี น ท ๑.๑ ป.๔/๘ ใจความสำคัญของเรอื่ งและลำดบั เหตุการณ์ ท ๒.๑ ป.๔/๒ ของเรอ่ื งไดอ้ ย่างรวดเรว็ และถูกตอ้ ง ท ๒.๑ ป.๔/๓ การออกเสียงทช่ี ดั เจน ถกู ตอ้ งตาม ท ๒.๑ ป.๔/๖ หลักการ ทำใหผ้ ฟู้ งั เข้าใจเรอื่ งท่อี า่ นได้อยา่ ง ท ๒.๑ ป.๔/๘ ถูกต้องชดั เจน ท ๓.๑ ป.๔/๑ การอา่ นหนงั สอื เพมิ่ เตมิ หรอื อ่านเสรมิ ท ๓.๑ ป.๔/๒ เรียน จะชว่ ยใหน้ ักเรยี นรกั การอา่ นและเกดิ ท ๓.๑ ป.๔/๓ นิสัยรกั การอ่านตามมา ท ๓.๑ ป.๔/๔ ทักษะการฟงั เปน็ การสรา้ งประสบการณ์ ท ๓.๑ ป.๔/๕ อยา่ งหนึง่ ทท่ี ำใหม้ ีความรู้จากสงิ่ ทฟ่ี งั ท ๓.๑ ป.๔/๖ สามารถเล่าเรือ่ งและตอบคำถามจากเรอื่ งได้ ท ๔.๑ ป.๔/๑ ถูกตอ้ ง ท ๔.๑ ป.๔/๒ กราฟมหี ลายชนิด เช่น กราฟรปู ภาพ ท ๔.๑ ป.๔/๓ กราฟเส้น กราฟแท่ง ฯลฯ ใชแ้ สดง ท ๔.๑ ป.๔/๔ เปรยี บเทยี บ ข้อมลู ทนี่ ำเสนอใหเ้ ห็นอย่าง ท ๕.๑ ป.๔/๑ ชัดเจน ท ๕.๑ ป.๔/๒ การพูดแสดงความรู้ ความคดิ ทีถ่ กู ต้อง ชดั เจน จะทำให้ผู้พูดและผู้ฟัง มีความเข้าใจ ตรงกัน คมู่ อื รายวิชา ภาษาไทยช้ันประถมศกึ ษาปีที่ ๔ นายกติ ิศักดิ์ สุขวโรดม

๒๒ ท่ี ช่อื หนว่ ย มาตรฐานการ สาระสำคญั เวลา น้ำหนัก ภาระงาน/ การเรียนรู้ เรียนร/ู้ ตวั ชว้ี ัด เรียน คะแนน ชิ้นงานรวบ ทดสอบปลายปี (ชว่ั โมง) ท ๑.๑ ป.๔/๑ ๓๐ ยอด ท ๑.๑ ป.๔/๒ รวม ๑.๓๐ ท ๑.๑ ป.๔/๓ ท ๑.๑ ป.๔/๖ ท ๑.๑ ป.๔/๘ ท ๒.๑ ป.๔/๒ ท ๒.๑ ป.๔/๓ ท ๒.๑ ป.๔/๖ ท ๒.๑ ป.๔/๘ ท ๓.๑ ป.๔/๑ ท ๓.๑ ป.๔/๒ ท ๓.๑ ป.๔/๓ ท ๓.๑ ป.๔/๔ ท ๓.๑ ป.๔/๕ ท ๓.๑ ป.๔/๖ ท ๔.๑ ป.๔/๑ ท ๔.๑ ป.๔/๒ ท ๔.๑ ป.๔/๓ ท ๔.๑ ป.๔/๔ ท ๕.๑ ป.๔/๑ ท ๕.๑ ป.๔/๒ ๑๖๐ ๑๐๐ คู่มือรายวิชา ภาษาไทยชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ ๔ นายกติ ศิ ักด์ิ สุขวโรดม

๒๓ อภธิ านศัพท์ กระบวนการเขยี น กระบวนการเขียนเปน็ การคดิ เรอ่ื งทจ่ี ะเขยี นและรวบรวมความรใู้ นการเขยี น กระบวนการเขยี น มี ๕ ข้ัน ดงั นี้ ๑. การเตรียมการเขียน เป็นขั้นเตรียมพร้อมที่จะเขียนโดยเลือกหัวข้อเรื่องที่จะเขียนบนพื้นฐานของ ประสบการณ์ กำหนดรูปแบบการเขียน รวบรวมความคิดในการเขียน อาจใช้วิธีการอ่านหนังสือ สนทนา จัด หมวดหมู่ความคิด โดยเขียนเป็นแผนภาพความคิด จดบันทึกความคดิ ที่จะเขียนเป็นรูปหัวข้อเรื่องใหญ่ หัวข้อย่อย และรายละเอยี ดคร่าวๆ ๒. การยกรา่ งข้อเขียน เม่ือเตรียมหวั ข้อเรอื่ งและความคิดรปู แบบการเขยี นแล้ว ใหน้ ำความคดิ มาเขียนตาม รูปแบบท่ีกำหนดเป็นการยกร่างขอ้ เขียน โดยคำนึงถึงว่าจะเขียนให้ใครอ่าน จะใช้ภาษาอยา่ งไรใหเ้ หมาะสมกับเรื่อง และเหมาะกบั ผอู้ น่ื จะเร่ิมต้นเขยี นอย่างไร มีหัวขอ้ เรอ่ื งอยา่ งไร ลำดับความคิดอยา่ งไร เช่อื มโยงความคิดอย่างไร ๓. การปรับปรุงข้อเขียน เมื่อเขียนยกร่างแล้วอ่านทบทวนเรื่องที่เขียน ปรับปรุงเรื่องที่เขียนเพิ่มเติม ความคิดให้สมบูรณ์ แกไ้ ขภาษา สำนวนโวหาร นำไปใหเ้ พอ่ื นหรอื ผ้อู ่นื อา่ น นำข้อเสนอแนะมาปรบั ปรงุ อีกคร้ัง ๔. การบรรณาธิการกจิ นำข้อเขียนที่ปรับปรุงแลว้ มาตรวจทานคำผิด แก้ไขใหถ้ ูกต้อง แล้วอ่านตรวจทาน แก้ไขขอ้ เขียนอกี คร้งั แก้ไขขอ้ ผดิ พลาดทง้ั ภาษา ความคิด และการเว้นวรรคตอน ๕. การเขยี นใหส้ มบรู ณ์ นำเรื่องทแี่ กไ้ ขปรบั ปรุงแลว้ มาเขยี นเร่อื งให้สมบูรณ์ จดั พิมพ์ วาดรูปประกอบ เขยี น ใหส้ มบรู ณ์ด้วยลายมอื ทส่ี วยงามเปน็ ระเบยี บ เมื่อพิมพห์ รือเขียนแล้วตรวจทานอกี ครัง้ ใหส้ มบรู ณ์กอ่ นจดั ทำรปู เล่ม กระบวนการคิด การฟัง การพูด การอ่าน และการเขียน เป็นกระบวนการคิด คนที่จะคดิ ไดด้ ีต้องเป็นผู้ฟัง ผู้พูด ผู้อ่าน และ ผู้เขียนที่ดี บุคคลที่จะคิดได้ดีจะต้องมีความรู้และประสบการณ์พื้นฐานในการคิด บุคคลจะมีความสามารถในการ รวบรวมขอ้ มลู ขอ้ เทจ็ จรงิ วเิ คราะห์ สังเคราะห์ และประเมนิ คา่ จะตอ้ งมคี วามร้แู ละประสบการณพ์ ้นื ฐานทนี่ ำมาชว่ ย ในการคิดท้ังสิ้น การสอนให้คิดควรให้ผู้เรียนรู้จักคัดเลือกข้อมูล ถ่ายทอด รวบรวม และจำข้อมูลตา่ ง ๆ สมองของ มนษุ ยจ์ ะเป็นผ้บู ริโภคขอ้ มูลข่าวสาร และสามารถแปลความข้อมลู ข่าวสาร และสามารถนำมาใชอ้ ้างองิ การเป็นผู้ฟัง ผู้พูด ผู้อ่าน และผู้เขียนท่ีดี จะต้องสอนให้เป็นผู้บริโภคข้อมูลข่าวสารที่ดแี ละเป็นนกั คดิ ท่ีดีด้วย กระบวนการสอน ภาษาจงึ ตอ้ งสอนใหผ้ เู้ รยี นเป็นผูร้ ับรู้ข้อมลู ขา่ วสารและมีทกั ษะการคิด นำข้อมูลขา่ วสารท่ีไดจ้ ากการฟังและการอ่าน นำมาสู่การฝึกทักษะการคิด นำการฟัง การพูด การอ่าน และการเขียน มาสอนในรูปแบบบูรณาการทักษะ ตัวอยา่ ง เช่น การเขียนเป็นกระบวนการคิดในการวิเคราะห์ การแยกแยะ การสงั เคราะห์ การประเมนิ คา่ การสรา้ งสรรค์ ผู้เขียน จะนำความรู้และประสบการณ์สู่การคิดและแสดงออกตามความคิดของตนเสมอ ต้องเป็นผู้อ่านและผู้ฟังเพื่อรับรู้ ขา่ วสารที่จะนำมาวเิ คราะหแ์ ละสามารถแสดงทรรศนะได้ คมู่ ือรายวิชา ภาษาไทยชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ นายกิติศักด์ิ สขุ วโรดม

๒๔ กระบวนการอา่ น การอ่านเป็นกระบวนการซึ่งผู้อ่านสร้างความหมายหรือพัฒนา การตีความระหว่างการอ่านผูอ้ ่านจะต้องรู้ หัวข้อเร่ือง รู้จุดประสงค์ของการอ่าน มคี วามรูท้ างภาษาที่ใกลเ้ คียงกับภาษาทีใ่ ชใ้ นหนังสือท่ีอ่าน โดยใช้ประสบการณ์ เดมิ เปน็ ประสบการณท์ ำความเขา้ ใจกบั เรอ่ื งทีอ่ ่าน กระบวนการอ่านมดี งั นี้ ๑. การเตรียมการอ่าน ผู้อ่านจะต้องอ่านชื่อเรื่อง หัวข้อย่อยจากสารบัญเรื่อง อ่านคำนำ ให้ทราบ จุดมุ่งหมายของหนังสือ ตั้งจุดประสงค์ของการอ่านจะอ่านเพื่อความเพลิดเพลินหรืออ่านเพื่อ หาความรู้ วาง แผนการอ่านโดยอ่านหนังสือตอนใดตอนหนึ่งว่าความยากง่ายอย่างไร หนังสือมคี วามยากมากน้อยเพยี งใด รูปแบบ ของหนงั สือเป็นอย่างไร เหมาะกับผอู้ ่านประเภทใด เดาความว่าเป็นเร่อื งเก่ียวกบั อะไร เตรยี มสมดุ ดินสอ สำหรับ จดบันทกึ ข้อความหรือเนอื้ เร่ืองทสี่ ำคัญขณะอ่าน ๒. การอ่าน ผู้อ่านจะอ่านหนังสือให้ตลอดเล่มหรือเฉพาะตอนที่ต้องการอ่าน ขณะอ่านผู้อา่ นจะใช้ความรู้ จากการอ่านคำ ความหมายของคำมาใช้ในการอ่าน รวมทั้งการรู้จักแบง่ วรรคตอนด้วย การอา่ นเร็วจะมีสว่ นชว่ ยให้ ผู้อา่ นเข้าใจเร่ืองได้ดกี วา่ ผู้อา่ นช้า ซงึ่ จะสะกดคำอ่านหรืออา่ นย้อนไปยอ้ นมา ผู้อ่านจะใชบ้ ริบทหรือคำแวดล้อมช่วย ในการตคี วามหมายของคำเพ่อื ทำความเข้าใจเร่อื งทีอ่ ่าน ๓. การแสดงความคิดเหน็ ผู้อา่ นจะจดบนั ทกึ ข้อความทมี่ คี วามสำคัญ หรือเขียนแสดงความคดิ เห็น ตีความ ข้อความที่อ่าน อ่านซ้ำในตอนที่ไม่เข้าใจเพื่อทำความเข้าใจให้ถูกต้อง ขยายความคิดจากการอ่าน จับคู่กับเพื่อน สนทนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ตงั้ ขอ้ สังเกตจากเร่อื งทีอ่ ่านถ้าเป็นการอ่านบทกลอนจะต้องอา่ นทำนองเสนาะดัง ๆ เพ่อื ฟงั เสยี งการอา่ นและเกดิ จินตนาการ ๔. การอ่านสำรวจ ผู้อ่านจะอ่านซ้ำโดยเลือกอ่านตอนใดตอนหน่ึง ตรวจสอบคำและภาษา ที่ใช้ สำรวจ โครงเรื่องของหนังสอื เปรียบเทียบหนังสือที่อา่ นกบั หนังสือที่เคยอ่าน สำรวจและเชื่อมโยงเหตกุ ารณ์ในเรือ่ งและการ ลำดบั เรอ่ื ง และสำรวจคำสำคญั ที่ใช้ในหนังสอื ๕. การขยายความคิด ผ้อู า่ นจะสะทอ้ นความเขา้ ใจในการอา่ น บันทกึ ขอ้ คดิ เห็น คุณค่าของเรอื่ ง เชือ่ มโยง เรอ่ื งราวในเร่อื งกับชีวิตจริง ความรู้สึกจากการอา่ น จดั ทำโครงงานหลกั การอา่ น เชน่ วาดภาพ เขยี นบทละคร เขียน บันทึกรายงานการอา่ น อ่านเรื่องอื่น ๆ ที่ผู้เขียนคนเดียวกันแต่ง อ่านเรื่องเพิ่มเติม เรื่องที่เก่ียวโยงกับเรือ่ งท่อี า่ น เพอ่ื ให้ไดค้ วามรู้ทช่ี ัดเจนและกวา้ งขวางข้นึ การเขยี นเชิงสรา้ งสรรค์ การเขียนเชิงสร้างสรรค์เป็นการเขยี นโดยใช้ความรู้ ประสบการณ์ และจินตนาการในการเขียน เช่น การ เขียนเรียงความ นิทาน เรื่องสั้น นวนิยาย และบทร้อยกรอง การเขียนเชิงสร้างสรรค์ผู้เขียนจะต้องมีความคิดดี มี จินตนาการดี มีคลังคำอย่างหลากหลาย สามารถนำคำมาใช้ในการเขียน ต้องใช้เทคนคิ การเขียน และใช้ถ้อยคำ อย่างสละสลวย ค่มู อื รายวิชา ภาษาไทยช้ันประถมศึกษาปีที่ ๔ นายกิติศักด์ิ สุขวโรดม

๒๕ การดู การดูเป็นการรับสารจากสื่อภาพและเสียง และแสดงทรรศนะได้จากการรับรู้สาร ตีความ แปลความ วิเคราะห์ และประเมินคณุ ค่าสารจากส่ือ เช่น การดูโทรทศั น์ การดูคอมพิวเตอร์ การดูละคร การดูภาพยนตร์ การดู หนังสือการ์ตูน (แมไ้ มม่ เี สยี งแต่มถี อ้ ยคำอา่ นแทนเสยี งพูด) ผู้ดจู ะตอ้ งรับร้สู าร จากการดแู ละนำมาวิเคราะห์ ตีความ และประเมินคณุ คา่ ของสารที่เปน็ เนื้อเรือ่ งโดยใช้หลักการพิจารณาวรรณคดีหรอื การวิเคราะห์วรรณคดีเบื้องต้น เช่น แนวคิดของเรื่อง ฉากที่ประกอบเรื่องสมเหตุสมผล กิริยาท่าทาง และการแสดงออกของตัวละครมคี วามสมจริงกับ บทบาท โครงเรื่อง เพลง แสง สี เสียง ที่ใช้ประกอบการแสดงให้อารมณ์แก่ผู้ดูสมจริงและสอดคล้องกับยุคสมัยของ เหตุการณ์ท่ีจำลองสู่บทละคร คุณค่าทางจริยธรรม คุณธรรม และคุณค่าทางสงั คมที่มีอทิ ธิพลต่อผู้ดูหรือผู้ชม ถ้า เป็นการดูข่าวและเหตุการณ์ หรือการอภิปราย การใช้ความรู้หรือเรื่องที่เป็นสารคดี การโฆษณาทางสื่อจะต้อง พิจารณาเนื้อหาสาระวา่ สมควรเชื่อถอื ได้หรือไม่ เปน็ การโฆษณาชวนเช่ือหรือไม่ ความคิดสำคัญและมีอิทธิพลต่อการ เรียนรูม้ าก และการดูละครเวที ละครโทรทัศน์ ดูข่าวทางโทรทศั น์จะเป็นประโยชน์ได้รับความสนกุ สนาน ต้องดูและ วิเคราะห์ ประเมินค่า สามารถแสดงทรรศนะของตนไดอ้ ยา่ งมเี หตผุ ล การตคี วาม การตคี วามเปน็ การใช้ความรู้และประสบการณข์ องผอู้ ่านและการใช้บรบิ ท ไดแ้ ก่ คำทแี่ วดล้อมขอ้ ความ ทำ ความเขา้ ใจข้อความหรอื กำหนดความหมายของคำให้ถูกต้อง พจนานกุ รมฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๒๕ ใหค้ วามหมายว่า การตคี วามหมาย ช้หี รือกำหนดความหมาย ให้ ความหมายหรอื อธิบาย ใชห้ รือปรับใหเ้ ขา้ ใจเจตนา และความมุง่ หมายเพื่อความถกู ตอ้ ง การเปลย่ี นแปลงของภาษา ภาษายอ่ มมีการเปล่ยี นแปลงไปตามกาลเวลา คำคำหนึ่งในสมัยหน่ึงเขยี นอย่างหนง่ึ อีกสมยั หน่ึงเขียนอีกอย่าง หนึ่ง คำว่า ประเทศ แตเ่ ดิมเขียน ประเทษ คำว่า ปักษ์ใต้ แตเ่ ดิมเขยี น ปักใต้ ในปจั จุบนั เขียน ปักษใ์ ต้ คำวา่ ลุ่ม ลึก แตก่ อ่ นเขียน กลุ่ม ภาษาจึงมกี ารเปล่ยี นแปลง ทั้งความหมายและการเขียน บางครัง้ คำบางคำ เชน่ คำวา่ หลอ่ น เป็นคำสรรพนามแสดงถึงคำพูด สรรพนามบุรุษที่ ๓ ที่เป็นคำสุภาพ แต่เดี๋ยวนี้คำวา่ หล่อน มีความหมายในเชิงดู แคลน เปน็ ต้น การสรา้ งสรรค์ การสรา้ งสรรค์ คือ การรูจ้ ักเลอื กความรู้ ประสบการณ์ที่มอี ย่เู ดมิ มาเป็นพ้นื ฐานในการสรา้ งความรู้ ความคิด ใหม่ หรอื ส่ิงแปลกใหมท่ ม่ี คี ุณภาพและมปี ระสิทธิภาพสูงกว่าเดมิ บุคคลที่จะมคี วามสามารถในการสร้างสรรค์จะต้อง เป็นบุคคลที่มคี วามคิดอิสระอยู่เสมอ มีความเชื่อมั่นในตนเอง มองโลกในแง่ดี คิดไตร่ตรอง ไม่ตัดสินใจสิง่ ใดง่ายๆ การสร้างสรรคข์ องมนษุ ยจ์ ะเก่ยี วเนือ่ งกนั กับความคดิ การพูด การเขียน และการกระทำเชิงสรา้ งสรรค์ ซึง่ จะต้อง มกี ารคิดเชงิ สร้างสรรค์เป็นพนื้ ฐาน คู่มือรายวิชา ภาษาไทยช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี ๔ นายกติ ศิ ักดิ์ สุขวโรดม

๒๖ ความคิดเชิงสรา้ งสรรค์เป็นความคดิ ทีพ่ ัฒนามาจากความรูแ้ ละประสบการณ์เดมิ ซึ่งเป็นปัจจัยพื้นฐานของ การพูด การเขยี น และการกระทำเชงิ สรา้ งสรรค์ การพูดและการเขียนเชิงสร้างสรรค์เป็นการแสดงออกทางภาษาที่ใช้ภาษาขัดเกลาให้ไพเราะ งดงาม เหมาะสม ถกู ตอ้ งตามเนอ้ื หาท่พี ูดและเขียน การกระทำเชงิ สร้างสรรค์เปน็ การกระทำท่ไี ม่ซำ้ แบบเดิมและคิดค้นใหมแ่ ปลกไปจากเดมิ และเปน็ ประโยชน์ท่ี สงู ข้ึน ข้อมูลสารสนเทศ ขอ้ มูลสารสนเทศ หมายถงึ เรือ่ งราว ข้อเท็จจริง ข้อมูล หรือสิง่ ใดสิ่งหนง่ึ ท่สี ามารถ สอ่ื ความหมายด้วยการ พูดบอกเล่า บันทึกเป็นเอกสาร รายงาน หนังสือ แผนที่ แผนภาพ ภาพถ่าย บันทึกด้วยเสยี งและภาพ บันทึกด้วย เครอื่ งคอมพวิ เตอร์ เปน็ การเก็บเรอื่ งราวตา่ ง ๆ บนั ทกึ ไว้เปน็ หลักฐานด้วยวิธตี า่ ง ๆ ความหมายของคำ คำทีใ่ ช้ในการตดิ ตอ่ ส่อื สารมีความหมายแบ่งได้เปน็ ๓ ลกั ษณะ คอื ๑. ความหมายโดยตรง เป็นความหมายทใ่ี ชพ้ ดู จากนั ตรงตามความหมาย คำหนึ่งๆ น้ัน อาจมีความหมายได้ หลายความหมาย เช่น คำวา่ กา อาจมคี วามหมายถึง ภาชนะใสน่ ้ำ หรืออาจหมายถึง นกชนดิ หนงึ่ ตัวสีดำ ร้อง กา กา เปน็ ความหมายโดยตรง ๒. ความหมายแฝง คำอาจมีความหมายแฝงเพิ่มจากความหมายโดยตรง มักเป็นความหมายเกี่ยวกับ ความรู้สกึ เช่น คำว่า ขี้เหนียว กับ ประหยัด หมายถึง ไม่ใช้จ่ายอย่างสุรุ่ยสรุ ่าย เป็นความหมายตรง แต่ความรูส้ กึ ตา่ งกัน ประหยดั เป็นสิ่งดี แต่ข้เี หนยี วเป็นสงิ่ ไม่ดี ๓. ความหมายในบรบิ ท คำบางคำมคี วามหมายตรง เมือ่ รว่ มกับคำอ่นื จะมีความหมายเพิ่มเติมกวา้ งขึ้น หรือ แคบลงได้ เช่น คำว่า ดี เด็กดี หมายถงึ วา่ นอนสอนง่าย เสียงดี หมายถึง ไพเราะ ดนิ สอดี หมายถึง เขียนได้ดี สขุ ภาพ ดี หมายถึง ไม่มโี รค ความหมายบริบทเปน็ ความหมายเช่นเดยี วกบั ความหมายแฝง คณุ ค่าของงานประพนั ธ์ เมอ่ื ผอู้ า่ นอ่านวรรณคดหี รือวรรณกรรมแล้วจะตอ้ งประเมนิ งานประพันธ์ ใหเ้ ห็นคณุ ค่าของงานประพันธ์ ทำ ใหผ้ อู้ ่านอ่านอย่างสนกุ และได้รบั ประโยชนจ์ าการอ่านงานประพนั ธ์ คณุ คา่ ของงานประพันธแ์ บ่งไดเ้ ป็น ๒ ประการ คือ ๑. คุณค่าด้านวรรณศิลป์ ถ้าอ่านบทร้อยกรองกจ็ ะพิจารณากลวิธีการแตง่ การเลือกเฟ้นถ้อยคำมาใช้ได้ ไพเราะ มคี วามคดิ สร้างสรรค์ และใหค้ วามสะเทือนอารมณ์ ถา้ เป็นบทร้อยแก้วประเภทสารคดี รูปแบบการเขียน จะเหมาะสมกับเน้ือเรื่อง วิธีการนำเสนอน่าสนใจ เนื้อหามีความถูกต้อง ใช้ภาษาสละสลวยชัดเจน การนำเสนอมี ความคิดสร้างสรรค์ ถ้าเป็นรอ้ ยแกว้ ประเภทบนั เทิงคดี องค์ประกอบของเรือ่ งไมว่ า่ เรือ่ งสัน้ นวนยิ าย นทิ าน จะมแี ก่น เรื่อง โครงเรื่อง ตัวละครมีความสัมพันธ์กัน กลวิธีการแต่งแปลกใหม่ น่าสนใจ ปมขัดแย้งในการแต่งสร้าง คมู่ ือรายวิชา ภาษาไทยช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๔ นายกติ ิศักดิ์ สขุ วโรดม

๒๗ ความสะเทือนอารมณ์ การใช้ถ้อยคำสร้างภาพได้ชัดเจน คำพูดในเรื่องเหมาะสมกับบุคลิกของตัวละครมีความคิด สร้างสรรค์เก่ียวกับชวี ิตและสังคม ๒. คณุ ค่าด้านสงั คม เป็นคุณคา่ ทางด้านวฒั นธรรม ขนบธรรมเนยี มประเพณี ศิลปะ ชีวติ ความเป็นอยู่ของ มนษุ ย์ และคุณค่าทางจรยิ ธรรม คณุ ค่าด้านสังคม เป็นคณุ คา่ ทผ่ี ูอ้ า่ นจะ เขา้ ใจชีวิตทง้ั ในโลกทัศนแ์ ละชีวทัศน์ เข้าใจ การดำเนินชวี ิตและเข้าใจเพื่อนมนุษยด์ ขี ึ้น เนื้อหาย่อมเก่ยี วขอ้ งกบั การชว่ ยจรรโลงใจแกผ่ ูอ้ ่าน ชว่ ยพฒั นาสงั คม ช่วย อนรุ ักษส์ งิ่ มคี ุณคา่ ของชาตบิ า้ นเมือง และสนบั สนนุ ค่านยิ มอันดงี าม โครงงาน โครงงานเปน็ การจัดการเรียนรู้วิธหี นึง่ ทสี่ ่งเสรมิ ใหผ้ ้เู รียนเรียนด้วยการค้นคว้า ลงมือปฏบิ ัติจริงในลักษณะของ การสำรวจ ค้นคว้า ทดลอง ประดิษฐ์คดิ คน้ ผู้เรยี นจะรวบรวมข้อมูล นำมาวิเคราะห์ ทดสอบเพ่ือแก้ปัญหาขอ้ งใจ ผเู้ รยี นจะนำความรูจ้ ากชั้นเรยี นมาบรู ณาการในการแกป้ ัญหา ค้นหาคำตอบ เป็นกระบวนการคน้ พบนำไปสกู่ ารเรยี นรู้ ผู้เรียนจะเกิดทักษะการทำงานร่วมกบั ผู้อื่น ทักษะการจดั การ ผู้สอนจะเข้าใจผู้เรยี น เหน็ รูปแบบการเรียนรู้ การคิด วิธีการทำงานของผู้เรยี น จากการสงั เกตการทำงานของผู้เรยี น การเรยี นแบบโครงงานเปน็ การเรยี นแบบศกึ ษาค้นควา้ วธิ กี ารหนึง่ แตเ่ ป็นการศกึ ษาคน้ คว้าทใี่ ช้กระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์มาใช้ในการแก้ปญั หา เปน็ การพฒั นาผ้เู รยี นใหเ้ ปน็ คนมีเหตุผล สรปุ เรือ่ งราวอยา่ งมกี ฎเกณฑ์ ทำงาน อย่างมีระบบ การเรียนแบบโครงงานไม่ใชก่ ารศึกษาค้นคว้าจัดทำรายงานเพียงอย่างเดียว ต้องมีการวิเคราะห์ข้อมูล และมีการสรุปผล ทกั ษะการสอื่ สาร ทกั ษะการสอื่ สาร ไดแ้ ก่ ทกั ษะการพดู การฟงั การอา่ น และการเขียน ซึง่ เปน็ เครือ่ งมือของการส่งสารและ การรบั สาร การส่งสาร ไดแ้ ก่ การส่งความรู้ ความเชื่อ ความคิด ความร้สู ึกดว้ ยการพูด และการเขียน สว่ นการรบั สาร ไดแ้ ก่ การรับความรู้ ความเชอื่ ความคิด ดว้ ยการอา่ นและการฟัง การฝึกทักษะการสื่อสารจงึ เปน็ การฝกึ ทกั ษะการพดู การฟงั การอ่าน และการเขยี น ให้สามารถ รับสารและส่งสารอย่างมีประสิทธภิ าพ ธรรมชาตขิ องภาษา ธรรมชาตขิ องภาษาเป็นคณุ สมบัติของภาษาท่ีสำคญั มีคุณสมบัติพอสรุปได้ คือ ประการที่หน่ึง ทุกภาษาจะ ประกอบด้วยเสยี งและความหมาย โดยมรี ะเบยี บแบบแผนหรอื กฎเกณฑใ์ นการใชอ้ ยา่ งเปน็ ระบบ ประการทส่ี อง ภาษามี พลงั ในการงอกงามมิรสู้ นิ้ สดุ หมายถึง มนษุ ยส์ ามารถใช้ภาษา สื่อความหมายไดโ้ ดยไม่สิน้ สุด ประการที่สาม ภาษา เป็นเรือ่ งของการใชส้ ัญลกั ษณ์ร่วมกันหรือสมมติร่วมกัน และมกี ารรับรู้สัญลักษณ์หรือสมมติรว่ มกนั เพื่อสร้างความ เข้าใจตรงกัน ประการที่สี่ ภาษาสามารถใช้ภาษาพูดในการติดต่อส่ือสาร ไม่จำกัดเพศของผู้ส่งสาร ไม่ว่าหญิง ชาย เด็ก ผู้ใหญ่ สามารถผลัดกันในการส่งสารและรับสารได้ ประการที่ห้า ภาษาพูดย่อมใช้ได้ทั้งในปัจจุบัน อดีตและ อนาคต ไม่จำกัดเวลาและสถานที่ ประการที่หก ภาษาเป็นเครื่องมือการถ่ายทอดวัฒนธรรมและวิชาความรู้ นานาประการทำให้เกดิ การเปลย่ี นแปลงพฤตกิ รรมและการสร้างสรรคส์ ิ่งใหม่ คมู่ อื รายวิชา ภาษาไทยชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ ๔ นายกิตศิ ักดิ์ สขุ วโรดม

๒๘ แนวคิดในวรรณกรรม แนวคิดในวรรณกรรมหรือแนวเรื่องในวรรณกรรมเปน็ ความคิดสำคญั ในการผูกเรื่องให้ ดำเนินเรื่องไปตาม แนวคิด หรือเป็นความคดิ ทีส่ อดแทรกในเรือ่ งใหญ่ แนวคิดย่อมเก่ียวข้องกบั มนุษย์และสังคม เป็นสารท่ีผู้เขียนส่งให้ ผู้อ่าน เช่น ความดียอ่ มชนะความชั่ว ทำดีได้ดีทำชวั่ ไดช้ วั่ ความยุตธิ รรมทำใหโ้ ลกสนั ตสิ ขุ คนเราพ้นความตายไปไม่ได้ เป็นตน้ ฉะน้ันแนวคดิ เป็นสารทีผ่ เู้ ขียนตอ้ งการสง่ ให้ผู้อ่ืนทราบ เชน่ ความดี ความยตุ ธิ รรม ความรัก เป็นตน้ บรบิ ท บริบทเป็นคำที่แวดล้อมข้อความที่อา่ น ผู้อ่านจะใช้ความรู้สึกและประสบการณ์มากำหนดความหมายหรือ ความเข้าใจ โดยนำคำแวดลอ้ มมาช่วยประกอบความรแู้ ละประสบการณ์ เพอ่ื ทำความเข้าใจหรือความหมายของคำ พลงั ของภาษา ภาษาเป็นเครื่องมือในการดำรงชีวิตของมนุษย์ มนุษย์จึงสามารถเรียนรู้ภาษาเพื่อการดำรงชีวิต เป็น เคร่อื งมือของการสอ่ื สารและสามารถพัฒนาภาษาของตนได้ ภาษาชว่ ยใหค้ นรู้จักคดิ และแสดงออกของความคิดด้วย การพูด การเขียน และการกระทำซ่งึ เปน็ ผลจากการคดิ ถา้ ไมม่ ีภาษา คนจะคิดไม่ได้ ถา้ คนมภี าษานอ้ ย มคี ำศพั ท์น้อย ความคิดของคนก็จะแคบไม่กว้างไกล คนที่ใช้ภาษาได้ดีจะมีความคิดดีด้วย คนจะใช้ความคิดและแสดงออกทาง ความคดิ เป็นภาษา ซ่งึ ส่งผลไปสู่การกระทำ ผลของการกระทำส่งผลไปส่คู วามคิด ซ่ึงเป็นพลังของภาษา ภาษาจึงมี บทบาทสำคัญต่อมนษุ ย์ ชว่ ยใหม้ นษุ ยพ์ ัฒนาความคิด ชว่ ยดำรงสงั คมให้มนษุ ยอ์ ยรู่ ่วมกนั ในสงั คมอย่างสงบสุข มี ไมตรีต่อกนั ช่วยเหลอื กนั ดว้ ยการใช้ภาษาติดต่อสื่อสารกัน ชว่ ยให้คนปฏิบัตติ นตามกฎเกณฑ์ของสงั คม ภาษาช่วยให้ มนุษยเ์ กดิ การพฒั นา ใช้ภาษาในการแลกเปลย่ี นความคิดเห็น การอภปิ รายโต้แย้ง เพอื่ นำไปสผู่ ลสรปุ มนุษย์ใช้ภาษา ในการเรยี นรู้ จดบันทึกความรู้ แสวงหาความรู้ และช่วยจรรโลงใจ ด้วยการอา่ นบทกลอน รอ้ งเพลง ภาษายังมีพลังใน ตวั ของมันเอง เพราะภาพย่อมประกอบด้วยเสียงและความหมาย การใช้ภาษาใช้ถ้อยคำทำใหเ้ กดิ ความร้สู ึกต่อผ้รู บั สาร ใหเ้ กิดความจงเกลียดจงชงั หรอื เกดิ ความชื่นชอบ ความรักยอ่ มเกิดจากภาษาท้ังส้นิ ทนี่ ำไปสู่ผลสรุปทม่ี ีประสิทธภิ าพ ภาษาถ่นิ ภาษาถ่นิ เปน็ ภาษาพื้นเมืองหรือภาษาที่ใช้ในทอ้ งถ่นิ ซึง่ เป็นภาษาดงั้ เดมิ ของชาวพ้ืนบ้านท่ีใช้พูดจากันในหมู่ เหล่าของตน บางครั้งจะใช้คำท่ีมีความหมายตา่ งกันไปเฉพาะถิ่น บางครั้งคำที่ใช้พูดจากันเป็นคำเดียว ความหมาย ต่างกันแลว้ ยังใช้สำเนียงที่ต่างกนั จงึ มคี ำกล่าวทว่ี ่า “สำเนยี งบอกภาษา” สำเนียงจะบอกวา่ เปน็ ภาษาอะไร และผู้พูด เป็นคนถ่ินใด อย่างไรกต็ ามภาษาถิน่ ในประเทศไทยไม่ว่าจะเป็นภาษาถิน่ เหนอื ถ่นิ อีสาน ถ่นิ ใต้ สามารถส่อื สารเข้าใจ กันได้ เพียงแตส่ ำเนียงแตกต่างกันไปเท่านนั้ ภาษาไทยมาตรฐาน ภาษาไทยมาตรฐานหรอื บางทีเรยี กวา่ ภาษาไทยกลางหรอื ภาษาราชการเป็นภาษาที่ใช้ สือ่ สารกนั ท่ัวประเทศ และเป็นภาษาทีใ่ ช้ในการเรียนการสอน เพ่ือใหค้ นไทยสามารถใชภ้ าษาราชการในการตดิ ตอ่ ส่อื สารสรา้ งความเป็นชาติไทย ภาษาไทยมาตรฐานก็คือภาษาท่ีใช้กันในเมืองหลวง ที่ใช้ตดิ ต่อกันท้ังประเทศ มีคำและสำเนยี งภาษาที่เปน็ มาตรฐาน ต้องพูดใหช้ ัดถ้อยชัดคำไดต้ ามมาตรฐานของภาษาไทย ภาษากลางหรอื ภาษาไทยมาตรฐานมีความสำคญั ในการสร้าง คมู่ ือรายวิชา ภาษาไทยช้ันประถมศึกษาปที ่ี ๔ นายกติ ศิ ักด์ิ สุขวโรดม

๒๙ ความเป็นปึกแผน่ วรรณคดมี ีการถา่ ยทอดกันมาเป็นวรรณคดปี ระจำชาตจิ ะใช้ภาษาทเี่ ป็นภาษาไทยมาตรฐานในการ สรา้ งสรรค์งานประพนั ธ์ ทำให้วรรณคดีเป็นเคร่อื งมอื ในการศึกษาภาษาไทยมาตรฐานได้ ภาษาพูดกบั ภาษาเขยี น ภาษาพูดเป็นภาษาที่ใช้พูดจากัน ไม่เป็นแบบแผนภาษา ไม่พิถีพิถันในการใช้แต่ใช้สื่อสารกันได้ดี สร้าง ความรูส้ ึกทเ่ี ป็นกนั เอง ใช้ในหมเู่ พ่อื นฝูง ในครอบครัว และติดต่อสอ่ื สารกันอยา่ งไมเ่ ปน็ ทางการ การใช้ภาษาพูดจะ ใชภ้ าษาที่เป็นกันเองและสุภาพ ขณะเดียวกนั ก็คำนงึ ว่าพูดกบั บคุ คลท่ีมฐี านะต่างกัน การใชถ้ ้อยคำกต็ ่างกนั ไปดว้ ย ไม่ คำนึงถงึ หลักภาษาหรือระเบยี บแบบแผนการใชภ้ าษามากนกั ส่วนภาษาเขียนเป็นภาษาที่ใช้เคร่งครัดต่อการใช้ถ้อยคำ และคำนึงถึงหลักภาษา เพื่อใช้ในการสื่อสารให้ ถูกต้องและใช้ในการเขียนมากกว่าพูด ต้องใช้ถ้อยคำที่สุภาพ เขียนให้เป็นประโยค เลือกใช้ถ้อยคำที่เหมาะสมกับ สถานการณ์ในการสือ่ สาร เปน็ ภาษาท่ีใช้ในพธิ ีการตา่ ง ๆ เช่น การกลา่ วรายงาน กล่าวปราศรัย กล่าวสดุดี การประชุม อภิปราย การปาฐกถา จะระมัดระวังการใช้คำที่ไม่จำเป็นหรือ คำฟุ่มเฟือย หรือการเล่นคำจนกลายเป็นการพูดหรือ เขยี นเลน่ ๆ ภูมิปัญญาท้องถิ่น (Local Wisdom) บางครั้งเรียกว่า ภูมิปัญญาชาวบ้าน เป็นกระบวนทัศน์ (Paradigm) ของคนในท้องถิ่นที่มีความสัมพันธ์ระหว่างคนกับคน คนกับธรรมชาติ เพื่อความอยู่รอด แต่คนในท้องถิ่นจะสร้าง ความรู้จากประสบการณ์และจากการปฏิบัติ เป็นความรู้ ความคิด ที่นำมาใช้ในท้องถิ่นของตนเพื่อการดำรงชีวิตที่ เหมาะสมและสอดคลอ้ งกับธรรมชาติ ผู้รจู้ ึงกลายเปน็ ปราชญช์ าวบ้านทีม่ ีความรเู้ ก่ยี วกบั ภาษา ยารักษาโรคและการ ดำเนนิ ชีวติ ในหมบู่ า้ นอย่างสงบสขุ ภมู ิปญั ญาทางภาษา ภมู ิปญั ญาทางภาษาเปน็ ความรู้ทางภาษา วรรณกรรมท้องถิน่ บทเพลง สุภาษติ คำพังเพยในแตล่ ะท้องถ่ิน ท่ี ไดใ้ ช้ภาษาในการสร้างสรรค์ผลงานต่าง ๆ เพอื่ ใชป้ ระโยชน์ในกจิ กรรมทางสังคมท่ีต่างกัน โดยนำภมู ปิ ัญญาทางภาษา ในการสั่งสอนอบรมพิธีการต่าง ๆ การบันเทิงหรือการละเลน่ มีการแต่งเป็นคำประพนั ธ์ในรูปแบบต่าง ๆ ทั้งนิทาน นิทานปรมั ปรา ตำนาน บทเพลง บทรอ้ งเลน่ บทเห่กล่อม บทสวดตา่ ง ๆ บททำขวญั เพ่ือประโยชน์ทางสงั คมและเปน็ สว่ นหน่งึ ของวัฒนธรรมประจำถ่นิ ระดับภาษา ภาษาเปน็ วัฒนธรรมทคี่ นในสังคมจะต้องใช้ภาษาให้ถกู ตอ้ งกับสถานการณ์และโอกาสที่ใช้ภาษา บคุ คลและ ประชุมชน การใช้ภาษาจึงแบ่งออกเป็นระดับของการใช้ภาษาได้หลายรูปแบบ ตำราแต่ละเล่มจะแบ่งระดับภาษา แตกต่างกนั ตามลกั ษณะของสมั พนั ธภาพของบคุ คลและสถานการณ์ การแบง่ ระดับภาษาประมวลไดด้ งั น้ี ๑. การแบง่ ระดบั ภาษาทเี่ ป็นทางการและไม่เป็นทางการ ๑.๑ ภาษาที่ไม่เป็นทางการหรือภาษาท่ีเป็นแบบแผน เช่น การใช้ภาษาในการประชุม ในการกล่าวสุนทร พจน์ เป็นต้น คูม่ ือรายวิชา ภาษาไทยชั้นประถมศึกษาปที ี่ ๔ นายกิตศิ ักดิ์ สุขวโรดม

๓๐ ๑.๒ ภาษาท่ไี ม่เปน็ ทางการหรือภาษาทีไ่ ม่เป็นแบบแผน เช่น การใช้ภาษาในการสนทนา การใช้ภาษาใน การเขียนจดหมายถงึ ผ้คู ุ้นเคย การใช้ภาษาในการเลา่ เรือ่ งหรือประสบการณ์ เป็นต้น ๒. การแบ่งระดับภาษาที่เป็นพธิ กี ารกบั ระดบั ภาษาท่ีไม่เปน็ พิธกี าร การแบง่ ภาษาแบบนเี้ ป็นการแบ่งภาษา ตามความสมั พันธร์ ะหวา่ งบคุ คลเปน็ ระดับ ดังน้ี ๒.๑ ภาษาระดบั พิธกี าร เปน็ ภาษาแบบแผน ๒.๒ ภาษาระดบั ก่งึ พิธีการ เปน็ ภาษาก่งึ แบบแผน ๒.๓ ภาษาระดับทไ่ี มเ่ ป็นพธิ ีการ เป็นภาษาไม่เปน็ แบบแผน ๓. การแบ่งระดบั ภาษาตามสภาพแวดล้อม โดยแบ่งระดบั ภาษาในระดับยอ่ ยเปน็ ๕ ระดับ คือ ๓.๑ ภาษาระดบั พิธกี าร เช่น การกลา่ วปราศรัย การกลา่ วเปดิ งาน ๓.๒ ภาษาระดับทางการ เช่น การรายงาน การอภิปราย ๓.๓ ภาษาระดบั ก่ึงทางการ เช่น การประชมุ อภิปราย การปาฐกถา ๓.๔ ภาษาระดับการสนทนา เช่น การสนทนากบั บคุ คลอยา่ งเป็นทางการ ๓.๕ ภาษาระดบั กนั เอง เช่น การสนทนาพดู คุยในหมเู่ พอ่ื นฝงู ในครอบครวั วจิ ารณญาณ วจิ ารณญาณ หมายถงึ การใช้ความรู้ ความคิด ทำความเขา้ ใจเรื่องใดเรื่องหนึง่ อย่างมเี หตผุ ล การมวี ิจารณญาณ ตอ้ งอาศัยประสบการณใ์ นการพิจารณาตดั สินสารด้วยความรอบคอบและอย่างชาญฉลาดเปน็ เหตุเป็นผล คู่มือรายวิชา ภาษาไทยช้ันประถมศึกษาปที ่ี ๔ นายกติ ศิ ักด์ิ สขุ วโรดม

๓๑ คณะท่ีปรึกษา นางปยิ าภรณ์ คณะผู้จัดทำ ผชู้ ่วยผู้อำนวยการโรงเรียนวัดเขยี นเขต คณะทำงาน นายรัชพล ธรรมรักษา หวั หนา้ งานหลักสูตร คณะบรรณาธกิ าร นางสาวสนุ ิษฐา หัวหนา้ กลุ่มสาระฯ ภาษาไทย นายกติ ิศักด์ิ ผลพูล ครโู รงเรยี นวัดเขียนเขต พาขนุ ทด นางสาวสุนษิ ฐา สขุ วโรดม หัวหนา้ กลมุ่ สาระฯ ภาษาไทย พาขนุ ทด คมู่ ือรายวิชา ภาษาไทยชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ ๔ นายกติ ิศักดิ์ สุขวโรดม