Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore โครงสร้างรายวิชาเสริมทักษะ ประถมศึกษาปีที่ ๔ ปีการศึกษา ๒๕๖๒

โครงสร้างรายวิชาเสริมทักษะ ประถมศึกษาปีที่ ๔ ปีการศึกษา ๒๕๖๒

Published by กิติศักดิ์ ส., 2020-04-08 23:59:39

Description: โครงสร้างรายวิชาเสริมทักษะ ประถมศึกษาปีที่ ๔ ปีการศึกษา ๒๕๖๒

Search

Read the Text Version

ค่มู ือรายวชิ า เสรมิ ทกั ษะภาษา (ท ๑๔๒๐๒) ก

คำนำ หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานเป็นหลักสูตรแกนกลางของประเทศที่มีมาตรฐานการเรียนรู้ใน ข้อกำหนดคุณภาพของผเู้ รียนท้ังตัวความรู้ ทกั ษะ กระบวนการ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม และค่านิยม สาระการเรียนรูเ้ ปน็ การกำหนดองคค์ วามรู้ที่เปน็ เน้ือหาสาระครอบคลุมการศึกษา และภาษาไทย เป็นเอกลกั ษณ์ของชาติ เป็นสมบตั ิทางวัฒนธรรมอันกอ่ ให้เกิดความเป็นเอกภาพและเสริมสร้างบุคลิกภาพ ของคนในชาติให้มคี วามเป็นไทย เป็นเครอื่ งมอื ในการตดิ ต่อสอ่ื สารเพือ่ สรา้ งความเข้าใจและความสมั พันธ์ทดี่ ี ตอ่ กนั ทำให้สามารถประกอบกิจธรุ ะ การงาน และดำรงชวี ิตรว่ มกนั ในสังคม ภาษาไทยเปน็ ทกั ษะทีต่ ้องฝึกฝนจนเกิดความชำนาญในการใช้ภาษาเพ่ือการสื่อสาร การเรยี นรอู้ ยา่ ง มีประสทิ ธิภาพและเพอ่ื นำไปใชใ้ นชวี ติ จรงิ ดังนั้นขา้ พเจ้า ผู้สอนรายวชิ าภาษาไทย ระดับชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ ๔ จึงตระหนักในความจำเป็น และเห็นความสำคัญของภาษาไทย จงึ จัดทำคู่มอื หลักสตู รระดับชน้ั เรยี น ขา้ พเจา้ ไดว้ เิ คราะห์ตัวช้ีวัด /ผลการ เรียนรู้ คำอธิบายรายวชิ า โครงสร้างรายวิชา เพ่ือจัดทำหน่วยการเรียนรู้ แผนการจัดการเรยี นรู้ ซ่งึ สอดคล้อง กับหลักสูตรสถานศกึ ษา โดยมกี จิ กรรมการเรยี นการสอนทเี่ น้นผูเ้ รยี นเปน็ สำคญั เพอ่ื พัฒนาคุณภาพผู้เรียน ใหบ้ รรลุเป้าหมายของหลกั สตู ร ข้าพเจ้าหวังเป็นอย่างยิ่งว่าการจัดทำคู่มือหลักสูตรวิชาภาษาไทย ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ จะเปน็ ประโยชนต์ อ่ การนำไปใช้เปน็ แนวทางในการพัฒนาผเู้ รียนให้มคี ณุ ภาพ กติ ิศักด์ิ สุขวโรดม คณะผจู้ ัดทำ ค่มู อื รายวชิ า เสรมิ ทกั ษะภาษา (ท ๑๔๒๐๒) ก

สารบัญ หนา้ ทำไมต้องเรียนภาษาไทย ......................................................................................................................... ๑ เรยี นรอู้ ะไรในภาษาไทย .......................................................................................................................... ๑ คุณภาพผ้เู รียน ........................................................................................................................................ ๒ คำอธบิ ายรายวิชา.................................................................................................................................... ๓ โครงสรา้ งรายวชิ า.................................................................................................................................... ๕ อภิธานศัพท์............................................................................................................................................. ๗ กระบวนการเขียน ............................................................................................................................... ๗ กระบวนการอา่ น................................................................................................................................. ๘ การเขยี นเชงิ สร้างสรรค์....................................................................................................................... ๘ การดู................................................................................................................................................... ๙ การตีความ.......................................................................................................................................... ๙ การเปลยี่ นแปลงของภาษา.................................................................................................................. ๙ การสรา้ งสรรค์..................................................................................................................................... ๙ ขอ้ มูลสารสนเทศ.............................................................................................................................. ๑๐ ความหมายของคำ............................................................................................................................ ๑๐ คณุ ค่าของงานประพันธ์.................................................................................................................... ๑๐ โครงงาน........................................................................................................................................... ๑๑ ทักษะการสอ่ื สาร.............................................................................................................................. ๑๑ ธรรมชาติของภาษา.......................................................................................................................... ๑๑ แนวคิดในวรรณกรรม....................................................................................................................... ๑๒ บรบิ ท............................................................................................................................................... ๑๒ พลงั ของภาษา .................................................................................................................................. ๑๒ ภาษาถ่นิ ........................................................................................................................................... ๑๒ คมู่ ือรายวิชา เสรมิ ทกั ษะภาษา (ท ๑๔๒๐๒) ก

ภาษาไทยมาตรฐาน.......................................................................................................................... ๑๓ ภาษาพดู กับภาษาเขยี น.................................................................................................................... ๑๓ ภูมิปัญญาทางภาษา ......................................................................................................................... ๑๓ ระดบั ภาษา ...................................................................................................................................... ๑๔ วิจารณญาณ..................................................................................................................................... ๑๔ คณะผจู้ ดั ทำ ......................................................................................................................................... ๑๕ คูม่ อื รายวิชา เสรมิ ทักษะภาษา (ท ๑๔๒๐๒) ข

ทำไมตอ้ งเรยี นภาษาไทย ภาษาไทยเป็นเอกลักษณ์ของชาติเป็นสมบัติทางวัฒนธรรมอันก่อให้เกิดความเป็นเอกภาพและ เสริมสร้างบุคลิกภาพของคนในชาติใหม้ คี วามเป็นไทย เป็นเครื่องมือในการตดิ ต่อสื่อสารเพื่อสร้างความ เขา้ ใจและความสัมพนั ธท์ ี่ดตี อ่ กัน ทำให้สามารถประกอบกจิ ธรุ ะ การงาน และดำรงชีวติ ร่วมกนั ในสังคม ประชาธิปไตยได้อย่างสันติสุข และเป็นเครื่องมือในการแสวงหาความรู้ ประสบการณ์จากแหล่งข้อมูล สารสนเทศต่าง ๆ เพ่ือพัฒนาความรู้ พฒั นากระบวนการคิดวิเคราะห์ วจิ ารณ์ และสรา้ งสรรค์ให้ทันตอ่ การ เปลี่ยนแปลงทางสังคม และความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี ตลอดจนนำไปใช้ในการพัฒนา อาชีพให้มีความม่ันคงทางเศรษฐกิจ นอกจากน้ียังเป็นสือ่ แสดงภูมิปัญญาของบรรพบุรุษ ด้านวัฒนธรรม ประเพณี และสนุ ทรียภาพ เป็นสมบัติล้ำค่าควรแกก่ ารเรียนรู้ อนุรักษ์ และสืบสาน ให้คงอยู่คูช่ าติไทย ตลอดไป เรียนรอู้ ะไรในภาษาไทย ภาษาไทยเปน็ ทักษะที่ต้องฝึกฝนจนเกดิ ความชำนาญในการใช้ภาษาเพ่ือการส่ือสาร การเรียนรู้ อย่าง มีประสทิ ธิภาพ และเพื่อนำไปใช้ในชวี ิตจรงิ การอ่าน การอ่านออกเสยี งคำ ประโยค การอา่ นบทรอ้ ยแกว้ คำประพนั ธ์ชนดิ ตา่ ง ๆ การอา่ นใน ใจเพื่อสร้างความเข้าใจ และการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ความรู้จากสิ่งที่อ่าน เพื่อนำไปปรับใช้ใน ชวี ติ ประจำวัน การเขียน การเขียนสะกดตามอักขรวิธี การเขยี นสื่อสาร โดยใช้ถ้อยคำและรปู แบบตา่ ง ๆ ของ การเขียน ซึ่งรวมถึงการเขียนเรียงความ ย่อความ รายงานชนดิ ต่าง ๆ การเขยี นตามจินตนาการ วเิ คราะห์ วจิ ารณ์ และเขียนเชิงสรา้ งสรรค์ การฟงั การดู และการพูด การฟงั และดอู ย่างมีวจิ ารณญาณ การพดู แสดงความคิดเห็น ความรู้สึก พูดลำดบั เรือ่ งราวต่าง ๆ อย่างเป็นเหตุเป็นผล การพูดในโอกาสตา่ ง ๆ ทัง้ เปน็ ทางการและ ไม่เปน็ ทางการ และการพดู เพ่อื โนม้ น้าวใจ หลกั การใชภ้ าษาไทย ธรรมชาติและกฎเกณฑ์ของภาษาไทย การใช้ภาษาใหถ้ ูกต้องเหมาะสมกับ โอกาสและบคุ คล การแต่งบทประพนั ธป์ ระเภทตา่ ง ๆ และอิทธิพลของภาษาตา่ งประเทศในภาษาไทย วรรณคดีและวรรณกรรม วิเคราะห์วรรณคดีและวรรณกรรมเพื่อศึกษาข้อมูล แนวความคิด คุณค่าของงานประพันธ์ และความเพลิดเพลิน การเรียนรู้และทำความเข้าใจบทเห่ บทร้องเล่นของเด็ก เพลงพืน้ บา้ นท่ีเป็นภมู ิปัญญาทีม่ คี ุณคา่ ของไทย ซึง่ ไดถ้ ่ายทอดความรสู้ ึกนกึ คิด คา่ นิยม ขนบธรรมเนียม ประเพณี เรื่องราวของสังคมในอดีต และความงดงามของภาษา เพื่อให้เกิดความซาบซึ้งและภูมิใจ ใน บรรพบรุ ุษท่ไี ด้สั่งสมสบื ทอดมาจนถึงปจั จุบนั คมู่ ือรายวชิ า เสรมิ ทกั ษะภาษา (ท ๑๔๒๐๒) ๑

คณุ ภาพผูเ้ รียน จบชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี ๖ อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองเป็นทำนองเสนาะได้ถูกต้อง อธิบายความหมาย โดยตรงและความหมายโดยนยั ของคำ ประโยค ขอ้ ความ สำนวนโวหารจากเรือ่ งที่อ่าน เขา้ ใจคำแนะนำ คำอธิบายในคู่มอื ต่าง ๆ แยกแยะข้อคิดเห็นและขอ้ เทจ็ จริง รวมท้ัง จับใจความสำคัญของเรือ่ งท่อี า่ น และนำความรูค้ วามคิดจากเรือ่ งที่อ่านไป ตัดสินใจ แก้ปัญหาในการดำเนินชีวิตได้ มีมารยาทและ มีนิสยั รักการอา่ นและเห็นคณุ ค่าส่ิงทอ่ี า่ น มีทักษะในการคัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทดั และครึง่ บรรทัด เขียนสะกดคำ แต่งประโยคและ เขียนขอ้ ความ ตลอดจนเขียนสือ่ สารโดยใช้ถอ้ ยคำท่ชี ัดเจนเหมาะสม ใช้แผนภาพโครงเรือ่ ง และแผนภาพ ความคดิ เพือ่ พัฒนางานเขียน เขยี นเรียงความ ยอ่ ความ จดหมายส่วนตวั กรอกแบบรายการต่าง ๆ เขยี น แสดงความรสู้ ึกและคดิ เห็น เขียนเรื่องตามจนิ ตนาการอย่างสร้างสรรค์ และมีมารยาทในการเขียน พูดแสดงความรู้ ความคิดเกี่ยวกับเรื่องที่ฟังและดู เล่าเรื่องย่อหรือสรุปจากเรื่องที่ฟังและดู ตั้งคำถาม ตอบคำถามจากเรือ่ งท่ฟี งั และดู รวมท้ังประเมนิ ความนา่ เชือ่ ถือจากการฟังและดูโฆษณาอย่างมี เหตุผล พูดตามลำดบั ขั้นตอนเร่ืองต่าง ๆ อย่างชัดเจน พูดรายงานหรือประเดน็ คน้ คว้าจากการฟัง การดู การสนทนาและพูดโนม้ น้าวได้อยา่ งมีเหตุผล รวมท้ังมมี ารยาทในการฟงั ดแู ละพูด สะกดคำและเข้าใจความหมายของคำ สำนวน พังเพย และสุภาษติ รู้และเข้าใจชนิดและหน้าท่ี ของคำในประโยค ชนิดของประโยค คำภาษาถิ่นและคำภาษาต่างประเทศในภาษาไทย ใช้คำราชาศัพท์ และคำสุภาพได้อยา่ งเหมาะสม แต่งประโยค แต่งบทร้อยกรองประเภทกลอนส่ี กลอนสุภาพและกาพย์ ยานี ๑๑ เข้าใจและเหตุคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรมที่อ่าน เล่านิทานพื้นบ้าน ร้องเพลงพื้นบ้านของ ท้องถิ่น นำขอ้ คดิ เหน็ จากเรือ่ งที่อ่านไปประยุกต์ใชใ้ นชีวิตจรงิ และทอ่ งจำบทอาขยานตามท่กี ำหนดได้ คมู่ อื รายวิชา เสรมิ ทักษะภาษา (ท ๑๔๒๐๒) ๒

คำอธิบายรายวิชา วิชา เสรมิ ทักษะภาษาไทย กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ ๔ เวลา ๔๐ ช่วั โมง จำนวน ๑.๐ หน่วยกิต ศกึ ษาหลกั การอ่านออกเสยี งรอ้ ยแก้วและรอ้ ยกรอง การบอกความหมายของคำจากประโยค หลักการแยกและจำแนกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากการอ่าน การฟังและการดู หลักการคาดคะเน เหตุการณ์จากเรื่องทีอ่ ่าน หลักการสรปุ ความรู้และข้อคิดจากเรือ่ ง หลักการเขียนคำขวัญ หลักการเขยี น คำแนะนำ หลักการเขียนแผนภาพโครงเร่ือง หลักการเขียนยอ่ ความ หลักการเขยี นบนั ทึกความรจู้ ากเร่อื ง ทอี่ ่าน หลกั การเขยี นเรื่องตามจินตนาการ หลักการพูดสรุปความรแู้ ละข้อคิดจากเรอื่ งทฟ่ี ังและดู หลักการ พูดแสดงความรู้และข้อคิด พร้อมกับหลักการพูดรายงานประเด็นที่ศึกษา ชนิดของคำ หน้าที่ของคำใน ประโยค มาตราตัวสะกด และหลกั การอธบิ ายข้อคดิ จากวรรณคดีและวรรณกรรมทีไ่ ดอ้ ่าน อา่ นออกเสียงบทรอ้ ยแก้วและบทรอ้ ยกรอง อธบิ ายความหมายของคำจากประโยค แยกและ จำแนกขอ้ เท็จจริงและขอ้ คดิ เหน็ จากการอา่ น การฟังและการดู คาดคะเนเหตกุ ารณ์จากเรื่องท่ีอา่ น สรุป ความรู้และขอ้ คิดจากเรอ่ื งที่อา่ น เขยี นคำขวญั คำแนะนำ เขียนแผนภาพโครงเรอ่ื ง เขียนยอ่ ความ พร้อม กับเขียนบันทกึ ความรูจ้ ากเร่อื ทอ่ี ่าน เขียนตามจินตนาการ พรอ้ มกบั พดู สรุปความรแู้ ละข้อคิดจากเรื่องท่ี ฟงั และดู พูดแสดงความรแู้ ละข้อคดิ พูดรายงานประเด็นที่ศึกษา ระบแุ ละหน้าที่ชนดิ ของคำจากประโยค หรือข้อความ สะกดตรงตามมาตราตัวสะกด และอธบิ ายขอ้ คิดจากวรรณคดีและวรรณกรรมทไี่ ดอ้ า่ น ตระหนักถึงมารยาทในการอา่ น การเขียน การฟัง การดแู ละการพูด มคี วามรกั ความเป็นไทย อนุรักษ์และสืบสานการใช้ภาษาไทยให้ถูกต้องเหมาะสมตามกาลเทศะ พร้อมกับตระหนักรู้เกี่ยวกับ อัตลกั ษณก์ ารไหว้ พรอ้ มกบั นอ้ มนำหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งนำมาปรบั ใช้ในชวี ิตประจำวันอย่าง ถกู ตอ้ งหลักและสร้างสรรค์ ผลการเรียนรู้ ๑. อา่ นออกเสียงบทรอ้ ยแกว้ และร้อยกรองได้ ๒. อธบิ ายความหมายของคำจากประโยคได้ ๓. แยกข้อเทจ็ จรงิ และและคิดเหน็ จากเร่ืองทีอ่ า่ นได้ ๔. คาดคะเนเหตกุ ารณจ์ ากเร่ืองที่อา่ นได้ ๕. สรุปความร้จู ากเร่ืองทอี่ ่านได้ ๖. สรปุ ข้อคิดจากเร่ืองท่ีอา่ น เพอื่ นำไปใช้ในชีวิตจริงได้ ๗. เขยี นคำขวัญ คำแนะนำได้ ๘. เขยี นแผนภาพโครงเรอ่ื งเพ่ือไปพฒั นางานเขยี นได้ ๙. เขยี นย่อความจากนิทานได้ ๑๐. เขียนบนั ทกึ ความรู้จากเรอ่ื งทอี่ ่านได้ ๑๑. เขยี นเรอื่ งตามจนิ ตนาการได้ ๑๒. จำแนกข้อเทจ็ จรงิ และขอ้ คดิ เหน็ จากเรือ่ งทีฟ่ งั ได้ คมู่ อื รายวชิ า เสรมิ ทักษะภาษา (ท ๑๔๒๐๒) ๓

๑๓. พูดสรปุ ความรจู้ ากการฟงั และดูได้ ๑๔. พูดแสดงความคดิ เหน็ จากเร่ืองทฟ่ี งั และดไู ด้ ๑๕. พูดรายงานประเดน็ ทศ่ี กึ ษาได้อยา่ งถูกตอ้ ง ๑๖. สะกดคำมาตราตัวสะกดไดถ้ ูกตอ้ ง ๑๗. บอกความหมายของคำเป็น/คำตายได้ ๑๘. ระบุชนดิ และหน้าท่ีของคำในประโยคได้ ๑๙. แตง่ ประโยคได้ถกู ตอ้ งตามหลกั ภาษา ๒๐. ระบขุ ้อคิดจากนทิ านพน้ื บา้ น/นทิ านคตธิ รรม/เพลงพ้นื บ้านได้ ๒๑. อธบิ ายข้อคดิ จากการอ่าน เพอื่ นำไปใชใ้ นชีวิตจริงได้ คู่มือรายวชิ า เสรมิ ทักษะภาษา (ท ๑๔๒๐๒) ๔

โครงสรา้ งรายวิชา วิชา เสริมทกั ษะภาษาไทย กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ ๔ เวลา ๔๐ ชวั่ โมง จำนวน ๑.๐ หน่วยกติ ลำดับ ช่ือหน่วยการเรยี นรู้ ผลการเรียนรู้ สาระสำคญั เวลา น้ำหนกั ภาระงาน/ ที่ เรียน คะแนน ชน้ิ งาน ๑. อ่านออกเสยี งบทรอ้ ยแก้ว การอ่านออกเสยี งต้องออก (ชั่วโมง) ๑ ฝกึ ฝนทักษะการอา่ น และรอ้ ยกรองได้ เสียงคำใหช้ ดั เจนถูกต้อง เว้น ๑๖ - ๒. อธิบายความหมายของคำ วรรคตอนหรอื จังหวะให้ ๘ ๒ ฝึกฝนทักษะการเขยี น จากประโยคได้ ถูกต้องตามเนื้อความของเร่ือง ๑๕ ๓. แยกขอ้ เท็จจรงิ และและ และลักษณะของคำประพันธ์ ๖ ๓ ฝกึ ฟัง ดู พดู อย่าง คดิ เห็นจากเร่ืองทีอ่ ่านได้ พรอ้ มกับอธบิ ายความหมาย ๑๐ สรา้ งสรรค์ ๔. คาดคะเนเหตกุ ารณ์จากเร่อื ง ของคำจากประโยค แยก ๑ ๑๔ ท่อี า่ นได้ ข้อเท็จจริงและข้อคดิ เหน็ จาก ๖ ๕. สรุปความรู้จากเร่ืองท่ีอา่ นได้ เรื่องท่ีอ่าน คาดเหตกุ ารณจ์ าก ๖. สรปุ ขอ้ คดิ จากเร่อื งที่อา่ น เรื่อง สรปุ ความรแู้ ละข้อคิด เพ่อื นำไปใชใ้ นชวี ิตจริงได้ จากเรื่องท่ีอ่าน เพ่ือนำไปปรบั ใชใ้ นชีวิตประจำวัน ๑. เขยี นคำขวัญ คำแนะนำได้ ๒. เขยี นแผนภาพโครงเรื่องเพื่อ การเขียนสื่อสารเปน็ สิ่งที่มี ไปพัฒนางานเขียนได้ ความสำคญั ในการดำเนนิ ๓. เขยี นย่อความจากนทิ านได้ ชวี ิตประจำวัน ทั้งการเขียนคำ ๔. เขียนบันทึกความรจู้ ากเร่ือง ขัวญ เขียนแนะนำ เขียน ที่อา่ นได้ แผนภาพโครงเรื่อเพ่ือนำไป ๕. เขยี นเรือ่ งตามจินตนาการได้ พัฒนางานเขียนของตนเอง เขียนย่อความจากนทิ านหรือ ทดสอบกลางภาค เรื่องสน้ั ๆ ท่กี ำหนด เขยี น ๑. จำแนกข้อเทจ็ จรงิ และ บันทึกความรูจ้ ากเร่ือง และ ขอ้ คิดเห็นจากเรอื่ งท่ีฟังได้ เขยี นเร่ืองตามจนิ ตนาการ ๒. พูดสรุปความรจู้ ากการฟัง และดูได้ การฟงั ดแู ละพดู น้ัน ควร ๓. พูดแสดงความคดิ เห็นจาก มกี ารตระหนักและสามารถ เรอ่ื งที่ฟงั และดูได้ จำแนกข้อเท็จจริงแล ๔. พดู รายงานประเด็นที่ศึกษา ข้อคิดเหน็ จากการฟัง พดู สรปุ ได้อย่างถูกตอ้ ง ความรู้ ความคดิ เหน็ และ ความร้สู ึกให้น่าเช่ือถือ ตอ้ งมี เหตุผประกอบ เพอ่ื นำมาตง้ั คำถามและตอบคำถามเชงิ คู่มอื รายวิชา เสรมิ ทักษะภาษา (ท ๑๔๒๐๒) ๕

ลำดับ ช่อื หน่วยการเรียนรู้ ผลการเรยี นรู้ สาระสำคญั เวลา นำ้ หนกั ภาระงาน/ ท่ี เรยี น คะแนน ช้ินงาน ๑. สะกดคำมาตราตวั สะกดได้ เหตุผล ทำให้เขา้ ใจเรื่องท่ฟี ัง (ช่ัวโมง) ๔ หลกั การใช้ภาษาไทย ถูกตอ้ ง และดูไดด้ ีย่งิ ขึ้น พรอ้ มกับพดู ๑๓ - ๒. บอกความหมายของคำเป็น รายงานประเดน็ ที่ได้ศึกษามา ๘ ๕ เรียนรู้วรรณคดีและ คำตายได้ อย่างสร้างสรรค์ ๑๒ วรรณกรรม ๓. ระบุชนดิ และหน้าท่ีของคำใน ๔ ประโยคได้ หลกั การใช้ภาษาไทยนั้น ๒๐ ๔. แตง่ ประโยคไดถ้ กู ต้องตาม มคี วามจำเป็นเพราะเป็นการ ๑ ๑๐๐ หลกั ภาษา ทราบถึงโครงสร้างของ ๔๐ ภาษาไทย เพื่อนำไปปรบั ใชใ้ น ๑. ระบุขอ้ คดิ จากนิทานพ้ืนบา้ น การส่ือสารได้อย่างถูกต้อง จงึ ได้ ต้องศึกษาเกีย่ วกบั การสะกด ๒. อธิบายขอ้ คดิ จากการอา่ น คำตามมาตราตวั สะกด บอก เพ่ือนำไปใชใ้ นชีวติ จริงได้ ความหมายของคำเปน็ คำตาย ๓. ระบขุ อ้ คิดจากนิทานคตธิ รรม ระบชุ นดิ และหนา้ ทีข่ องคำ ได้ พร้อมกับแต่งประโยคได้ ๔. ระบขุ อ้ คดิ จากเพลงพื้นบ้าน ถูกต้องตามหลักการใชภ้ าษา ได้ วรรณคดีและวรรณกรรม ทดสอบปลายภาค น้นั เป็นหนงั สือทไ่ี ด้มีการ รวม ยอมรบั ปละเปน็ ทยี่ กย่องว่า แต่งดี และไดข้ อ้ คดิ จาก วรรณคดีและวรรณกรรม ดงั น้นั จำเปน็ ต้องมีการระบุ ข้อคิดจากนทิ านพื้นบ้าน นิทานคติธรรม และเพลง พนื้ บา้ น เพ่ือนำข้อคิดน้ัน ๆ ไปปรับใช้ในชีวิตประจำวัน พร้อมกบั อธิบายขอ้ คิดจาก เรื่องท่อี า่ น เพือ่ นำไปใช้ในชีวิต จรงิ ค่มู ือรายวิชา เสรมิ ทกั ษะภาษา (ท ๑๔๒๐๒) ๖

อภิธานศัพท์ กระบวนการเขียน กระบวนการเขียนเป็นการคิดเร่ืองทีจ่ ะเขยี นและรวบรวมความรู้ในการเขยี น กระบวนการเขยี น มี ๕ ขน้ั ดังน้ี ๑. การเตรยี มการเขียน เป็นขั้นเตรยี มพร้อมที่จะเขียนโดยเลอื กหัวข้อเรอื่ งทจี่ ะเขยี นบนพืน้ ฐาน ของประสบการณ์ กำหนดรูปแบบการเขียน รวบรวมความคิดในการเขยี น อาจใช้วิธีการอ่านหนังสือ สนทนา จัดหมวดหมู่ความคิด โดยเขียนเปน็ แผนภาพความคิด จดบนั ทึกความคิดทีจ่ ะเขยี นเป็นรูปหัวข้อ เร่ืองใหญ่ หวั ขอ้ ย่อย และรายละเอียดคร่าวๆ ๒. การยกรา่ งข้อเขยี น เม่ือเตรียมหวั ข้อเรอื่ งและความคิดรูปแบบการเขียนแลว้ ใหน้ ำความคิด มาเขียนตามรูปแบบที่กำหนดเป็นการยกร่างข้อเขียน โดยคำนึงถึงว่าจะเขียนให้ใครอ่าน จะใช้ภาษา อย่างไรให้เหมาะสมกับเรื่องและเหมาะกับผู้อื่น จะเริ่มต้นเขียนอย่างไร มีหัวข้อเรื่องอย่างไร ลำดับ ความคิดอย่างไร เชอ่ื มโยงความคดิ อยา่ งไร ๓. การปรับปรุงข้อเขียน เมื่อเขียนยกร่างแลว้ อ่านทบทวนเรื่องท่ีเขียน ปรับปรุงเรื่องที่เขียน เพิ่มเติมความคิดให้สมบูรณ์ แก้ไขภาษา สำนวนโวหาร นำไปให้เพื่อนหรือผู้อืน่ อ่าน นำข้อเสนอแนะมา ปรับปรุงอกี คร้งั ๔. การบรรณาธกิ ารกิจ นำข้อเขียนทปี่ รบั ปรุงแล้วมาตรวจทานคำผิด แก้ไขให้ถูกตอ้ ง แลว้ อ่าน ตรวจทานแก้ไขข้อเขียนอกี คร้งั แกไ้ ขข้อผดิ พลาดท้ังภาษา ความคิด และการเว้นวรรคตอน ๕. การเขียนให้สมบูรณ์ นำเรื่องทีแ่ ก้ไขปรับปรุงแล้วมาเขียนเร่ืองให้สมบูรณ์ จัดพิมพ์ วาดรปู ประกอบ เขียนให้สมบูรณ์ดว้ ยลายมือทส่ี วยงามเป็นระเบียบ เมอ่ื พิมพห์ รือเขียนแล้วตรวจทานอีกคร้ังให้ สมบรู ณ์ก่อนจัดทำรูปเล่ม กระบวนการคิด การฟัง การพูด การอ่าน และการเขียน เป็นกระบวนการคิด คนที่จะคดิ ไดด้ ีต้องเป็นผู้ฟัง ผู้พดู ผู้อ่าน และผูเ้ ขียนที่ดี บุคคลท่ีจะคิดได้ดจี ะต้องมีความรู้และประสบการณ์พื้นฐานในการคิด บุคคลจะมี ความสามารถในการรวบรวมขอ้ มลู ข้อเทจ็ จรงิ วเิ คราะห์ สังเคราะห์ และประเมนิ คา่ จะตอ้ งมีความร้แู ละ ประสบการณ์พื้นฐานที่นำมาช่วยในการคิดทั้งสิ้น การสอนให้คิดควรให้ผู้เรียนรู้จักคัดเลือกข้อมูล ถ่ายทอด รวบรวม และจำข้อมูลตา่ ง ๆ สมองของมนษุ ย์จะเปน็ ผู้บริโภคข้อมลู ข่าวสาร และสามารถแปล ความข้อมลู ข่าวสาร และสามารถนำมาใชอ้ า้ งอิง การเป็นผูฟ้ ัง ผู้พดู ผูอ้ า่ น และผู้เขยี นท่ดี ี จะต้องสอนให้ เป็นผู้บริโภคข้อมูลขา่ วสารที่ดีและเป็นนักคิดทีด่ ีด้วย กระบวนการสอนภาษาจึงต้องสอนให้ผูเ้ รียนเป็นผู้ รบั รู้ข้อมูลขา่ วสารและมที ักษะการคดิ นำข้อมูลข่าวสารทีไ่ ดจ้ ากการฟงั และการอ่านนำมาสู่การฝึกทักษะ การคิด นำการฟัง การพูด การอ่าน และการเขยี น มาสอนในรูปแบบบูรณาการทักษะ ตัวอย่าง เช่น การ เขียนเป็นกระบวนการคิดในการวิเคราะห์ การแยกแยะ การสังเคราะห์ การประเมินค่า การสร้างสรรค์ ค่มู อื รายวชิ า เสรมิ ทกั ษะภาษา (ท ๑๔๒๐๒) ๗

ผู้เขียนจะนำความรู้และประสบการณ์สู่การคิดและแสดงออกตามความคิดของตนเสมอ ต้องเป็นผู้อ่าน และผ้ฟู ังเพ่ือรบั รขู้ า่ วสารท่ีจะนำมาวเิ คราะห์และสามารถแสดงทรรศนะได้ กระบวนการอา่ น การอ่านเป็นกระบวนการซึง่ ผอู้ า่ นสร้างความหมายหรอื พฒั นา การตีความระหวา่ งการอ่านผอู้ ่าน จะต้องรูห้ ัวขอ้ เรอ่ื ง รจู้ ดุ ประสงค์ของการอ่าน มีความรูท้ างภาษาที่ใกลเ้ คยี งกบั ภาษาทใ่ี ชใ้ นหนังสือที่อ่าน โดยใช้ประสบการณ์เดิมเปน็ ประสบการณ์ทำความเขา้ ใจกับเร่ืองทอี่ า่ น กระบวนการอา่ นมดี งั นี้ ๑. การเตรียมการอ่าน ผู้อ่านจะต้องอ่านชื่อเรื่อง หัวข้อย่อยจากสารบัญเรื่อง อ่านคำนำ ให้ ทราบจุดมุ่งหมายของหนังสือ ตั้งจุดประสงค์ของการอ่านจะอ่านเพ่ือความเพลิดเพลินหรืออ่านเพื่อหา ความรู้ วางแผนการอา่ นโดยอ่านหนังสอื ตอนใดตอนหนง่ึ วา่ ความยากง่ายอยา่ งไร หนงั สอื มีความยากมาก น้อยเพียงใด รูปแบบของหนังสอื เป็นอย่างไร เหมาะกับผ้อู า่ นประเภทใด เดาความวา่ เป็นเรื่องเก่ียวกับ อะไร เตรยี มสมดุ ดินสอ สำหรับจดบนั ทึกขอ้ ความหรอื เน้อื เร่อื งท่สี ำคัญขณะอ่าน ๒. การอ่าน ผอู้ ่านจะอ่านหนังสอื ใหต้ ลอดเลม่ หรือเฉพาะตอนทต่ี อ้ งการอา่ น ขณะอา่ นผอู้ า่ นจะ ใชค้ วามรจู้ ากการอ่านคำ ความหมายของคำมาใชใ้ นการอ่าน รวมทัง้ การร้จู กั แบง่ วรรคตอนด้วย การอ่าน เร็วจะมสี ว่ นชว่ ยให้ผอู้ า่ นเขา้ ใจเร่ืองไดด้ ีกวา่ ผู้อา่ นชา้ ซึง่ จะสะกดคำอา่ นหรอื อ่านย้อนไปยอ้ นมา ผอู้ ่านจะ ใชบ้ ริบทหรือคำแวดลอ้ มช่วยในการตีความหมายของคำเพ่อื ทำความเข้าใจเร่อื งทีอ่ ่าน ๓. การแสดงความคิดเห็น ผู้อ่านจะจดบันทึกข้อความที่มีความสำคัญ หรือเขียนแสดงความ คิดเห็น ตคี วามข้อความท่ีอา่ น อา่ นซ้ำในตอนท่ีไมเ่ ข้าใจเพื่อทำความเข้าใจให้ถกู ต้อง ขยายความคิดจาก การอ่าน จับคู่กับเพือ่ นสนทนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ตั้งข้อสังเกตจากเรื่องที่อ่านถ้าเป็นการอา่ นบท กลอนจะต้องอ่านทำนองเสนาะดงั ๆ เพ่อื ฟงั เสียงการอ่านและเกิดจนิ ตนาการ ๔. การอ่านสำรวจ ผูอ้ ่านจะอ่านซ้ำโดยเลอื กอ่านตอนใดตอนหน่งึ ตรวจสอบคำและภาษา ท่ีใช้ สำรวจโครงเรอ่ื งของหนงั สือเปรยี บเทียบหนงั สอื ที่อา่ นกบั หนงั สือทเ่ี คยอ่าน สำรวจและเชื่อมโยงเหตุการณ์ ในเร่ืองและการลำดบั เรื่อง และสำรวจคำสำคญั ที่ใช้ในหนังสอื ๕. การขยายความคิด ผอู้ ่านจะสะทอ้ นความเขา้ ใจในการอ่าน บนั ทึกขอ้ คดิ เห็น คุณคา่ ของเรื่อง เชื่อมโยงเรือ่ งราวในเรื่องกับชีวิตจริง ความรูส้ ึกจากการอ่าน จัดทำโครงงานหลักการอา่ น เช่น วาดภาพ เขยี นบทละคร เขียนบันทกึ รายงานการอ่าน อ่านเรอ่ื งอน่ื ๆ ที่ผูเ้ ขียนคนเดียวกันแต่ง อ่านเรื่องเพ่ิมเติม เรอื่ งที่เกี่ยวโยงกบั เรื่องท่อี า่ น เพ่ือใหไ้ ดค้ วามร้ทู ีช่ ัดเจนและกวา้ งขวางข้นึ การเขยี นเชงิ สรา้ งสรรค์ การเขียนเชิงสร้างสรรค์เป็นการเขียนโดยใช้ความรู้ ประสบการณ์ และจินตนาการในการเขยี น เช่น การเขียนเรียงความ นิทาน เรื่องสั้น นวนิยาย และบทร้อยกรอง การเขียนเชิงสร้างสรรค์ ผู้เขียน จะต้องมีความคิดดี มีจินตนาการดี มีคลังคำอย่างหลากหลาย สามารถนำคำมาใช้ในการเขยี น ต้องใช้ เทคนิคการเขยี น และใช้ถอ้ ยคำอยา่ งสละสลวย คู่มอื รายวชิ า เสรมิ ทักษะภาษา (ท ๑๔๒๐๒) ๘

การดู การดูเปน็ การรบั สารจากสอื่ ภาพและเสียง และแสดงทรรศนะได้จากการรบั รสู้ าร ตคี วาม แปล ความ วิเคราะห์ และประเมนิ คุณค่าสารจากสื่อ เช่น การดโู ทรทศั น์ การดูคอมพวิ เตอร์ การดลู ะคร การดู ภาพยนตร์ การดูหนงั สือการต์ นู (แมไ้ มม่ เี สียงแต่มถี อ้ ยคำอ่านแทนเสียงพูด) ผดู้ ูจะต้องรบั ร้สู าร จากการดู และนำมาวเิ คราะห์ ตีความ และประเมนิ คณุ ค่าของสารทเี่ ป็นเนอื้ เรอื่ งโดยใช้หลกั การพิจารณาวรรณคดี หรือการวเิ คราะหว์ รรณคดีเบอื้ งต้น เชน่ แนวคดิ ของเรื่อง ฉากทปี่ ระกอบเร่อื งสมเหตสุ มผล กริ ิยาทา่ ทาง และการแสดงออกของตัวละครมีความสมจรงิ กบั บทบาท โครงเรอ่ื ง เพลง แสง สี เสียง ท่ีใช้ประกอบการ แสดงให้อารมณ์แก่ผู้ดูสมจริงและสอดคล้องกับยุคสมัยของเหตุการณ์ที่จำลองสู่บทละคร คุณค่าทาง จริยธรรม คุณธรรม และคุณค่าทางสังคมท่ีมีอิทธิพลต่อผู้ดูหรือผู้ชม ถ้าเป็นการดูข่าวและเหตุการณ์ หรือการอภิปราย การใชค้ วามรู้หรือเรอื่ งทเี่ ปน็ สารคดี การโฆษณาทางส่ือจะตอ้ งพจิ ารณาเน้อื หาสาระวา่ สมควรเชื่อถือไดห้ รือไม่ เป็นการโฆษณาชวนเชื่อหรือไม่ ความคิดสำคญั และมีอทิ ธิพลต่อการเรียนรูม้ าก และการดลู ะครเวที ละครโทรทัศน์ ดูข่าวทางโทรทัศน์จะเป็นประโยชน์ได้รบั ความสนุกสนาน ต้องดูและ วิเคราะห์ ประเมนิ คา่ สามารถแสดงทรรศนะของตนไดอ้ ยา่ งมเี หตุผล การตคี วาม การตีความเปน็ การใช้ความรู้และประสบการณข์ องผู้อา่ นและการใช้บริบท ได้แก่ คำที่แวดล้อม ขอ้ ความ ทำความเขา้ ใจขอ้ ความหรอื กำหนดความหมายของคำใหถ้ กู ต้อง พจนานุกรมฉบับราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๒๕ ให้ความหมายว่า การตีความหมาย ชี้หรอื กำหนด ความหมาย ให้ความหมายหรอื อธบิ าย ใชห้ รือปรบั ใหเ้ ขา้ ใจเจตนา และความมุง่ หมายเพ่ือความถกู ต้อง การเปลยี่ นแปลงของภาษา ภาษาย่อมมีการเปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลา คำคำหนึ่งในสมัยหนึ่งเขียนอย่างหนึ่ง อีกสมัยหนง่ึ เขยี นอีกอยา่ งหนึ่ง คำว่า ประเทศ แต่เดิมเขยี น ประเทษ คำวา่ ปกั ษใ์ ต้ แต่เดมิ เขยี น ปักใต้ ในปัจจุบนั เขียน ปกั ษ์ใต้ คำว่า ลุ่มลึก แต่กอ่ นเขยี น กลุ่ม ภาษาจงึ มกี ารเปลย่ี นแปลง ทง้ั ความหมายและการเขียน บางคร้งั คำบางคำ เช่น คำวา่ หล่อน เป็นคำสรรพนามแสดงถงึ คำพดู สรรพนามบรุ ุษท่ี ๓ ทเ่ี ป็นคำสุภาพ แตเ่ ด๋ียวนี้คำวา่ หลอ่ น มีความหมายในเชงิ ดูแคลน เป็นต้น การสรา้ งสรรค์ การสร้างสรรค์ คือ การรู้จักเลือกความรู้ ประสบการณ์ที่มีอยู่เดิมมาเป็นพื้นฐานในการสร้าง ความรู้ ความคิดใหม่ หรือสิ่งแปลกใหม่ที่มีคุณภาพและมีประสิทธิภาพสูงกว่าเดิม บุคคลที่จะมี ความสามารถในการสร้างสรรคจ์ ะตอ้ งเป็นบุคคลทมี่ คี วามคิดอิสระอย่เู สมอ มคี วามเชอ่ื ม่นั ในตนเอง มอง โลกในแง่ดี คิดไตร่ตรอง ไม่ตัดสินใจสิ่งใดง่ายๆ การสร้างสรรค์ของมนุษย์จะเกี่ยวเน่ืองกนั กับความคดิ การพดู การเขียน และการกระทำเชิงสร้างสรรค์ ซงึ่ จะต้องมกี ารคดิ เชงิ สรา้ งสรรค์เปน็ พนื้ ฐาน คูม่ ือรายวิชา เสรมิ ทักษะภาษา (ท ๑๔๒๐๒) ๙

ความคิดเชิงสร้างสรรค์เป็นความคิดที่พัฒนามาจากความรู้และประสบการณ์เดิม ซึ่งเป็น ปจั จยั พนื้ ฐานของการพูด การเขียน และการกระทำเชิงสรา้ งสรรค์ การพูดและการเขียนเชิงสร้างสรรค์เป็นการแสดงออกทางภาษาที่ใช้ภาษาขัดเกลาให้ไพเราะ งดงาม เหมาะสม ถกู ตอ้ งตามเน้ือหาทีพ่ ูดและเขียน การกระทำเชิงสร้างสรรค์เป็นการกระทำที่ไม่ซ้ำแบบเดิมและคิดค้นใหม่แปลกไปจากเดิม และ เปน็ ประโยชน์ท่สี ูงขึ้น ข้อมลู สารสนเทศ ข้อมูลสารสนเทศ หมายถึง เรื่องราว ข้อเท็จจริง ข้อมูล หรือสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่สามารถ ส่ือ ความหมายด้วยการพูดบอกเล่า บันทึกเปน็ เอกสาร รายงาน หนังสือ แผนที่ แผนภาพ ภาพถ่าย บันทึก ด้วยเสยี งและภาพ บนั ทกึ ด้วยเคร่อื งคอมพิวเตอร์ เป็นการเกบ็ เรอื่ งราวตา่ ง ๆ บนั ทกึ ไว้เป็นหลกั ฐานด้วย วิธตี ่าง ๆ ความหมายของคำ คำท่ีใชใ้ นการตดิ ต่อสือ่ สารมีความหมายแบ่งไดเ้ ปน็ ๓ ลกั ษณะ คือ ๑. ความหมายโดยตรง เป็นความหมายที่ใช้พูดจากันตรงตามความหมาย คำหนึ่งๆ นั้น อาจมี ความหมายได้หลายความหมาย เชน่ คำวา่ กา อาจมีความหมายถึง ภาชนะใสน่ ำ้ หรืออาจหมายถึง นก ชนิดหน่งึ ตวั สดี ำ รอ้ ง กา กา เปน็ ความหมายโดยตรง ๒. ความหมายแฝง คำอาจมีความหมายแฝงเพิ่มจากความหมายโดยตรง มักเป็นความหมาย เกย่ี วกับความร้สู กึ เช่น คำวา่ ขี้เหนียว กับ ประหยัด หมายถึง ไม่ใช้จ่ายอยา่ งสุร่ยุ สรุ า่ ย เป็นความหมาย ตรง แตค่ วามรสู้ ึกต่างกัน ประหยดั เปน็ สิง่ ดี แตข่ ้ีเหนียวเปน็ สิง่ ไมด่ ี ๓. ความหมายในบริบท คำบางคำมีความหมายตรง เมื่อร่วมกับคำอื่นจะมีความหมายเพิ่มเตมิ กว้างขึ้น หรือแคบลงได้ เช่น คำว่า ดี เด็กดี หมายถงึ ว่านอนสอนง่าย เสียงดี หมายถึง ไพเราะ ดินสอดี หมายถึง เขียนไดด้ ี สขุ ภาพดี หมายถึง ไมม่ โี รค ความหมายบรบิ ทเปน็ ความหมายเชน่ เดียวกับความหมาย แฝง คุณค่าของงานประพนั ธ์ เมื่อผู้อ่านอ่านวรรณคดีหรือวรรณกรรมแล้วจะตอ้ งประเมินงานประพันธ์ ให้เห็นคุณค่าของงาน ประพนั ธ์ ทำให้ผอู้ า่ นอ่านอย่างสนกุ และได้รบั ประโยชนจ์ าการอา่ นงานประพันธ์ คุณค่าของงานประพนั ธ์ แบ่งได้เปน็ ๒ ประการ คอื ๑. คุณค่าด้านวรรณศลิ ป์ ถา้ อ่านบทร้อยกรองกจ็ ะพจิ ารณากลวิธีการแตง่ การเลอื กเฟน้ ถ้อยคำ มาใช้ได้ไพเราะ มคี วามคิดสรา้ งสรรค์ และใหค้ วามสะเทือนอารมณ์ ถา้ เป็นบทร้อยแกว้ ประเภทสารคดี รูปแบบการเขียนจะเหมาะสมกับเนื้อเรื่อง วิธีการนำเสนอน่าสนใจ เนื้อหามีความถูกต้อง ใช้ภาษา สละสลวยชัดเจน การนำเสนอมีความคดิ สร้างสรรค์ ถ้าเป็นร้อยแก้วประเภทบันเทิงคดี องค์ประกอบ ของเรอื่ งไม่ว่าเร่อื งส้ัน นวนิยาย นทิ าน จะมแี ก่นเร่ือง โครงเร่ือง ตัวละครมีความสัมพันธ์กัน กลวิธีการ คู่มือรายวิชา เสรมิ ทักษะภาษา (ท ๑๔๒๐๒) ๑๐

แต่งแปลกใหม่ น่าสนใจ ปมขัดแย้งในการแต่งสร้างความสะเทือนอารมณ์ การใช้ถ้อยคำสร้างภาพ ได้ชดั เจน คำพูดในเรอ่ื งเหมาะสมกบั บุคลิกของตวั ละครมคี วามคดิ สร้างสรรคเ์ กย่ี วกับชีวิตและสงั คม ๒. คณุ คา่ ดา้ นสังคม เปน็ คณุ คา่ ทางด้านวฒั นธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี ศิลปะ ชีวติ ความ เป็นอยู่ของมนุษย์ และคุณคา่ ทางจริยธรรม คุณค่าด้านสังคม เป็นคุณค่าที่ผู้อ่านจะ เข้าใจชีวิตทั้งในโลก ทัศน์และชีวทัศน์ เข้าใจการดำเนินชีวิตและเข้าใจเพื่อนมนุษย์ดีขึ้น เนื้อหาย่อมเกี่ยวข้องกับการช่วย จรรโลงใจแก่ผอู้ ่าน ชว่ ยพฒั นาสงั คม ช่วยอนุรกั ษส์ ่งิ มีคุณค่าของชาติบา้ นเมอื ง และสนับสนุนค่านยิ มอนั ดี งาม โครงงาน โครงงานเปน็ การจัดการเรียนรู้วธิ ีหน่งึ ท่ีส่งเสริมใหผ้ ู้เรียนเรียนด้วยการคน้ คว้า ลงมือปฏิบัติจริงใน ลักษณะของการสำรวจ ค้นคว้า ทดลอง ประดิษฐ์คิดค้น ผู้เรียนจะรวบรวมข้อมูล นำมาวิเคราะห์ ทดสอบเพ่ือแก้ปัญหาขอ้ งใจ ผเู้ รยี นจะนำความร้จู ากช้นั เรยี นมาบรู ณาการในการแกป้ ญั หา คน้ หาคำตอบ เป็นกระบวนการค้นพบนำไปสู่การเรยี นรู้ ผเู้ รียนจะเกิดทกั ษะการทำงานร่วมกับผ้อู น่ื ทักษะการจัดการ ผสู้ อนจะเข้าใจผู้เรยี น เหน็ รปู แบบการเรยี นรู้ การคดิ วิธีการทำงานของผูเ้ รยี น จากการสงั เกตการ ทำงานของผู้เรียน การเรียนแบบโครงงานเป็นการเรยี นแบบศึกษาคน้ ควา้ วธิ กี ารหนง่ึ แตเ่ ปน็ การศึกษาค้นคว้าท่ีใช้ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์มาใช้ในการแก้ปัญหา เป็นการพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนมีเหตุผล สรุป เรอ่ื งราวอยา่ งมกี ฎเกณฑ์ ทำงานอย่างมรี ะบบ การเรียนแบบโครงงานไมใ่ ช่การศึกษาค้นคว้าจดั ทำรายงาน เพียงอย่างเดียว ต้องมีการวเิ คราะหข์ อ้ มูลและมีการสรุปผล ทกั ษะการสื่อสาร ทกั ษะการส่อื สาร ได้แก่ ทกั ษะการพูด การฟงั การอา่ น และการเขียน ซ่ึงเป็นเครอ่ื งมอื ของการ ส่งสารและการรบั สาร การส่งสาร ได้แก่ การส่งความรู้ ความเชื่อ ความคิด ความรู้สึกดว้ ยการพูด และ การเขียน ส่วนการรับสาร ได้แก่ การรับความรู้ ความเชื่อ ความคิด ด้วยการอ่านแล ะการฟัง การฝึก ทักษะการสือ่ สารจึงเป็นการฝึกทกั ษะการพูด การฟัง การอ่าน และการเขียน ให้สามารถ รับสารและสง่ สารอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ ธรรมชาตขิ องภาษา ธรรมชาติของภาษาเป็นคุณสมบัติของภาษาที่สำคัญ มีคุณสมบัติพอสรุปได้ คือ ประการทีห่ นงึ่ ทกุ ภาษาจะประกอบด้วยเสยี งและความหมาย โดยมีระเบยี บแบบแผนหรือกฎเกณฑใ์ นการใช้อยา่ งเปน็ ระบบ ประการท่สี อง ภาษามพี ลังในการงอกงามมริ สู้ ้ินสดุ หมายถงึ มนษุ ยส์ ามารถใชภ้ าษา สือ่ ความหมายได้โดย ไม่สิ้นสุด ประการทีส่ าม ภาษาเป็นเรื่องของการใชส้ ัญลักษณ์ร่วมกนั หรือสมมติร่วมกัน และมกี ารรับรู้ สญั ลักษณ์หรือสมมติรว่ มกัน เพื่อสรา้ งความเขา้ ใจตรงกัน ประการท่สี ่ี ภาษาสามารถใช้ภาษาพูดในการ ตดิ ต่อสอื่ สาร ไมจ่ ำกัดเพศของผ้สู ่งสาร ไมว่ ่าหญิง ชาย เด็ก ผู้ใหญ่ สามารถผลดั กันในการส่งสารและ รับสารได้ ประการที่ห้า ภาษาพูดย่อมใช้ได้ทั้งในปัจจุบัน อดีตและอนาคต ไม่จำกัดเวลาและสถานที่ คู่มือรายวชิ า เสรมิ ทักษะภาษา (ท ๑๔๒๐๒) ๑๑

ประการที่หก ภาษาเป็นเครื่องมือการถ่ายทอดวัฒนธรรมและวิชาความรู้นานาประการทำให้เกิดการ เปลยี่ นแปลงพฤติกรรมและการสรา้ งสรรคส์ งิ่ ใหม่ แนวคิดในวรรณกรรม แนวคิดในวรรณกรรมหรือแนวเรื่องในวรรณกรรมเป็นความคิดสำคัญในการผูกเรื่องให้ ดำเนิน เรื่องไปตามแนวคิด หรอื เปน็ ความคดิ ทสี่ อดแทรกในเรอ่ื งใหญ่ แนวคิดยอ่ มเกี่ยวขอ้ งกับมนุษย์และสังคม เป็นสารท่ีผู้เขยี นส่งใหผ้ อู้ ่าน เช่น ความดยี ่อมชนะความช่ัว ทำดไี ดด้ ที ำชว่ั ได้ช่วั ความยตุ ิธรรมทำให้โลก สันติสขุ คนเราพน้ ความตายไปไม่ได้ เป็นตน้ ฉะน้ันแนวคิดเป็นสารท่ผี เู้ ขียนตอ้ งการส่งให้ผู้อืน่ ทราบ เช่น ความดี ความยตุ ิธรรม ความรัก เป็นต้น บริบท บริบทเป็นคำที่แวดล้อมข้อความที่อ่าน ผู้อ่านจะใช้ความรู้สึกและประสบการณ์มากำหนด ความหมายหรือความเข้าใจ โดยนำคำแวดล้อมมาช่วยประกอบความรู้และประสบการณ์ เพื่อทำความ เขา้ ใจหรือความหมายของคำ พลังของภาษา ภาษาเป็นเคร่ืองมือในการดำรงชีวิตของมนุษย์ มนุษย์จึงสามารถเรียนรู้ภาษาเพือ่ การดำรงชีวติ เป็นเครื่องมือของการส่ือสารและสามารถพัฒนาภาษาของตนได้ ภาษาช่วยให้คนรู้จักคิดและแสดงออก ของความคิดดว้ ยการพูด การเขียน และการกระทำซ่งึ เป็นผลจากการคดิ ถ้าไมม่ ีภาษา คนจะคดิ ไมไ่ ด้ ถ้า คนมีภาษานอ้ ย มีคำศพั ทน์ ้อย ความคดิ ของคนก็จะแคบไมก่ ว้างไกล คนท่ใี ช้ภาษาไดด้ จี ะมคี วามคิดดดี ้วย คนจะใช้ความคดิ และแสดงออกทางความคิดเปน็ ภาษา ซ่งึ ส่งผลไปสกู่ ารกระทำ ผลของการกระทำส่งผล ไปสู่ความคิด ซึ่งเป็นพลังของภาษา ภาษาจึงมีบทบาทสำคัญต่อมนุษย์ ช่วยให้มนุษย์พัฒนาความคิด ช่วยดำรงสังคมให้มนุษย์อยู่ร่วมกันในสังคมอยา่ งสงบสุข มีไมตรีต่อกัน ช่วยเหลือกันด้วยการใช้ภาษา ตดิ ต่อสอื่ สารกนั ช่วยใหค้ นปฏิบตั ติ นตามกฎเกณฑ์ของสังคม ภาษาช่วยให้มนษุ ยเ์ กดิ การพัฒนา ใช้ภาษา ในการแลกเปลีย่ นความคิดเห็น การอภิปรายโต้แยง้ เพื่อนำไปสูผ่ ลสรุป มนุษย์ใช้ภาษาในการเรียนรู้ จด บันทึกความรู้ แสวงหาความรู้ และช่วยจรรโลงใจ ด้วยการอ่านบทกลอน ร้องเพลง ภาษายังมีพลังในตัว ของมันเอง เพราะภาพย่อมประกอบดว้ ยเสยี งและความหมาย การใชภ้ าษาใช้ถอ้ ยคำทำใหเ้ กดิ ความร้สู กึ ตอ่ ผู้รับสาร ให้เกิดความจงเกลยี ดจงชังหรือเกิด ความชื่นชอบ ความรักย่อมเกิดจากภาษาทัง้ สิ้น ที่นำไปสู่ ผลสรุปทีม่ ปี ระสทิ ธิภาพ ภาษาถิน่ ภาษาถิ่นเป็นภาษาพื้นเมืองหรือภาษาที่ใช้ในท้องถิ่น ซึ่งเป็นภาษาดั้งเดิมของชาวพื้นบา้ นที่ใช้ พูดจากนั ในหมูเ่ หล่าของตน บางครัง้ จะใชค้ ำท่ีมีความหมายต่างกนั ไปเฉพาะถิน่ บางครัง้ คำท่ีใช้พูดจากัน เป็นคำเดียว ความหมายต่างกันแล้วยังใช้สำเนียงที่ต่างกัน จึงมีคำกล่าวที่ว่า “สำเนียงบอกภาษา” สำเนียงจะบอกว่าเปน็ ภาษาอะไร และผู้พูดเป็นคนถิ่นใด อย่างไรก็ตามภาษาถิ่นในประเทศไทยไมว่ ่าจะ เปน็ ภาษาถ่ินเหนือ ถ่นิ อีสาน ถนิ่ ใต้ สามารถสื่อสารเขา้ ใจกันได้ เพียงแตส่ ำเนยี งแตกตา่ งกันไปเทา่ น้ัน คมู่ อื รายวชิ า เสรมิ ทกั ษะภาษา (ท ๑๔๒๐๒) ๑๒

ภาษาไทยมาตรฐาน ภาษาไทยมาตรฐานหรือบางทีเรียกวา่ ภาษาไทยกลางหรอื ภาษาราชการเปน็ ภาษาที่ใช้ สื่อสาร กันทั่วประเทศและเป็นภาษาที่ใช้ในการเรียนการสอน เพื่อให้คนไทยสามารถใช้ภาษาราชการในการ ติดต่อสื่อสารสรา้ งความเป็นชาตไิ ทย ภาษาไทยมาตรฐานก็คอื ภาษาทใ่ี ชก้ ันในเมืองหลวง ที่ใช้ติดต่อกันท้ัง ประเทศ มีคำและสำเนียงภาษาที่เป็นมาตรฐาน ต้องพูดให้ชัดถ้อยชัดคำได้ตามมาตรฐานของภาษาไทย ภาษากลางหรือภาษาไทยมาตรฐานมีความสำคัญในการสร้างความเป็นปกึ แผ่น วรรณคดีมกี ารถ่ายทอด กนั มาเป็นวรรณคดีประจำชาตจิ ะใช้ภาษาทเี่ ป็นภาษาไทยมาตรฐานในการสร้างสรรคง์ านประพนั ธ์ ทำให้ วรรณคดเี ป็นเครื่องมอื ในการศึกษาภาษาไทยมาตรฐานได้ ภาษาพดู กบั ภาษาเขยี น ภาษาพูดเป็นภาษาทีใ่ ชพ้ ูดจากัน ไมเ่ ปน็ แบบแผนภาษา ไมพ่ ิถีพถิ นั ในการใชแ้ ต่ใช้ส่ือสารกันได้ดี สร้างความรู้สกึ ที่เป็นกันเอง ใช้ในหมู่เพื่อนฝูง ในครอบครวั และติดต่อสื่อสารกนั อย่างไม่เป็นทางการ การใช้ภาษาพูดจะใช้ภาษาที่เป็นกันเองและสุภาพ ขณะเดียวกันก็คำนงึ ว่าพูดกับบคุ คลที่มีฐานะตา่ งกัน การใช้ถ้อยคำก็ต่างกนั ไปด้วย ไม่คำนึงถึงหลักภาษาหรือระเบียบแบบแผนการใชภ้ าษามากนกั ส่วนภาษาเขียนเป็นภาษาท่ีใช้เคร่งครัดตอ่ การใช้ถ้อยคำ และคำนึงถงึ หลักภาษา เพื่อใช้ในการ สื่อสารให้ถูกต้องและใช้ในการเขียนมากกว่าพูด ต้องใช้ถ้อยคำที่สุภาพ เขียนให้เป็นประโยค เลือกใช้ ถ้อยคำที่เหมาะสมกับสถานการณ์ในการสือ่ สาร เป็นภาษาที่ใช้ในพิธีการต่าง ๆ เช่น การกล่าวรายงาน กล่าวปราศรัย กล่าวสดุดี การประชมุ อภิปราย การปาฐกถา จะระมัดระวังการใช้คำที่ไม่จำเป็นหรือ คำ ฟุ่มเฟอื ย หรือการเลน่ คำจนกลายเป็นการพูดหรือเขยี นเลน่ ๆ ภูมิปัญญาท้องถิ่น (Local Wisdom) บางครั้งเรียกว่า ภูมิปัญญาชาวบ้าน เป็นกระบวนทัศน์ (Paradigm) ของคนในท้องถิ่นที่มคี วามสัมพันธ์ระหว่างคนกับคน คนกับธรรมชาติ เพื่อความอยู่รอด แต่ คนในท้องถิ่นจะสร้างความรู้จากประสบการณ์และจากการปฏิบัติ เป็นความรู้ ความคิด ที่นำมาใช้ ใน ท้องถ่นิ ของตนเพ่ือการดำรงชวี ติ ที่เหมาะสมและสอดคล้องกับธรรมชาติ ผ้รู จู้ ึงกลายเป็นปราชญช์ าวบา้ นท่ี มคี วามรูเ้ กี่ยวกบั ภาษา ยารักษาโรคและการดำเนนิ ชวี ิตในหมบู่ ้านอยา่ งสงบสุข ภูมิปัญญาทางภาษา ภูมปิ ัญญาทางภาษาเป็นความรทู้ างภาษา วรรณกรรมท้องถ่ิน บทเพลง สุภาษิต คำพังเพยในแต่ ละท้องถิ่น ที่ได้ใช้ภาษาในการสร้างสรรค์ผลงานต่าง ๆ เพื่อใช้ประโยชน์ในกิจกรรมทางสังคมท่ีตา่ งกนั โดยนำภูมิปญั ญาทางภาษาในการสัง่ สอนอบรมพิธีการตา่ ง ๆ การบนั เทงิ หรอื การละเลน่ มีการแตง่ เปน็ คำ ประพันธ์ในรูปแบบต่าง ๆ ทั้งนิทาน นิทานปรัมปรา ตำนาน บทเพลง บทร้องเล่น บทเห่กลอ่ ม บทสวด ต่าง ๆ บททำขวัญ เพ่อื ประโยชนท์ างสังคมและเปน็ สว่ นหนง่ึ ของวัฒนธรรมประจำถ่ิน คมู่ อื รายวิชา เสรมิ ทกั ษะภาษา (ท ๑๔๒๐๒) ๑๓

ระดับภาษา ภาษาเปน็ วฒั นธรรมที่คนในสงั คมจะต้องใช้ภาษาใหถ้ ูกต้องกับสถานการณ์และโอกาสที่ใช้ภาษา บุคคลและประชมุ ชน การใชภ้ าษาจงึ แบง่ ออกเป็นระดบั ของการใช้ภาษาได้หลายรูปแบบ ตำราแตล่ ะเล่ม จะแบ่งระดบั ภาษาแตกตา่ งกนั ตามลักษณะของสมั พนั ธภาพของบคุ คลและสถานการณ์ การแบง่ ระดับภาษาประมวลได้ดังนี้ ๑. การแบ่งระดบั ภาษาทเี่ ป็นทางการและไม่เป็นทางการ ๑.๑ ภาษาที่ไม่เป็นทางการหรือภาษาที่เป็นแบบแผน เช่น การใช้ภาษาในการประชุม ในการ กลา่ วสนุ ทรพจน์ เปน็ ต้น ๑.๒ ภาษาที่ไม่เป็นทางการหรือภาษาที่ไม่เป็นแบบแผน เช่น การใช้ภาษาในการสนทนา การใชภ้ าษาในการเขยี นจดหมายถงึ ผ้คู ุ้นเคย การใชภ้ าษาในการเลา่ เรื่องหรือประสบการณ์ เป็นตน้ ๒. การแบง่ ระดับภาษาที่เปน็ พิธีการกบั ระดบั ภาษาท่ไี มเ่ ปน็ พิธกี าร การแบง่ ภาษาแบบนี้เปน็ การ แบง่ ภาษาตามความสมั พันธ์ระหว่างบคุ คลเปน็ ระดบั ดงั น้ี ๒.๑ ภาษาระดบั พิธกี าร เป็นภาษาแบบแผน ๒.๒ ภาษาระดับก่ึงพธิ ีการ เปน็ ภาษากง่ึ แบบแผน ๒.๓ ภาษาระดบั ทไี่ มเ่ ปน็ พธิ กี าร เปน็ ภาษาไมเ่ ป็นแบบแผน ๓. การแบ่งระดบั ภาษาตามสภาพแวดล้อม โดยแบ่งระดบั ภาษาในระดบั ยอ่ ยเป็น ๕ ระดบั คือ ๓.๑ ภาษาระดบั พธิ ีการ เช่น การกลา่ วปราศรยั การกลา่ วเปดิ งาน ๓.๒ ภาษาระดบั ทางการ เช่น การรายงาน การอภปิ ราย ๓.๓ ภาษาระดบั ก่งึ ทางการ เชน่ การประชมุ อภิปราย การปาฐกถา ๓.๔ ภาษาระดับการสนทนา เช่น การสนทนากบั บคุ คลอยา่ งเปน็ ทางการ ๓.๕ ภาษาระดับกันเอง เชน่ การสนทนาพูดคุยในหมเู่ พอ่ื นฝงู ในครอบครวั วิจารณญาณ วจิ ารณญาณ หมายถงึ การใชค้ วามรู้ ความคดิ ทำความเข้าใจเรื่องใดเรือ่ งหน่งึ อย่างมเี หตผุ ล การมี วิจารณญาณต้องอาศัยประสบการณใ์ นการพิจารณาตัดสนิ สารด้วยความรอบคอบและอยา่ งชาญฉลาดเป็นเหตุ เปน็ ผล คมู่ อื รายวิชา เสรมิ ทักษะภาษา (ท ๑๔๒๐๒) ๑๔

คณะทีป่ รึกษา นางปยิ าภรณ์ คณะผจู้ ัดทำ ผชู้ ว่ ยผู้อำนวยการโรงเรียนวดั เขียนเขต คณะทำงาน นายรัชพล หวั หน้างานหลกั สตู ร ธรรมรกั ษา คณะบรรณาธกิ าร นางสาวสนุ ิษฐา ผลพลู หวั หน้ากล่มุ สาระฯ ภาษาไทย นายกิติศักด์ิ ครูโรงเรียนวดั เขยี นเขต นางสาวสนุ ิษฐา พาขนุ ทด หัวหนา้ กลมุ่ สาระฯ ภาษาไทย สขุ วโรดม พาขุนทด คมู่ ือรายวชิ า เสรมิ ทกั ษะภาษา (ท ๑๔๒๐๒) ๑๕