สภุ าภรณ์ ทาศริ ิ กิติศกั ด์ิ สุขวโรดม สุชาวดี ไทยสุชาติ ปรารถนา สขุ เณร อารดา ขลบิ แย้ม ประภสั สร ถกู ต้อง
รายงานเรื่องจุดประสงค์การเรียนรู้กับการวัดและการประเมินผล เป็นเอกสาร เพ่ือประกอบการเรียนในรายวิชา TTH 6225 วิธีวัดและประเมินผลการเรียนการสอนภาษาไทย ของนกั ศกึ ษาหลักสูตรศกึ ษาศาสตรมหาบัณฑติ สาขาการสอนภาษาไทย มหาวิยาลยั รามคาแหง เน้ือหาเก่ียวกับจุดประสงค์การเรียนรู้กับการวัดและประเมินผลตามแนวปฏิบัติการวัด และประเมินผลการเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ที่สามารถนามาใช้ในการวัดและประเมินผลการเรียนการสอนภาษาไทย โดยยึดเอาแนวคิดทฤษฎี ท่ีเก่ียวข้องกับจุดประสงค์การเรียนรู้ด้านพุทธิพิสัย ทักษะพิสัย และจิตพิสัยมาเป็นหลักเกณฑ์ ในการวัดและประเมนิ ผลในเกดิ ประสทิ ธิภาพมากยง่ิ ข้นึ ผู้จัดทามีความมุ่งมั่นตั้งใจและหวังเป็นอย่างยิ่งว่ารายงานเรื่องจุดประสงค์การเรียนรู้ กับการวัดและการประเมินผล จะเป็นประโยชน์แก่บุคคลท่ีสนใจและสามารถนาความรู้ไปปรับใช้ กบั การวดั และการประเมนิ ผลไดอ้ ยา่ งเหมาะสมตามหลักสตู ร คณะผูจ้ ัดทา
เรื่อง หนา้ แนวปฏิบัตกิ ารวัดและประเมินผลการเรยี นรู้ตามหลกั สูตร 1 จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 2 พฤติกรรมทางการศึกษา 5 6 พฤติกรรมดา้ นพทุ ธิพิสยั 6 พฤติกรรมดา้ นพทุ ธิพิสัยตามแนวคดิ ของบลูม 23 30 พฤติกรรมดา้ นพุทธพิ ิสยั ตามแนวคดิ ของ Anderson and Krathwohl 39 41 พฤติกรรมด้านจิตพสิ ัย 44 พฤติกรรมดา้ นทักษะพิสัย 47 ความสมั พันธ์ระหว่างพฤติกรรมด้านพทุ ธิพิสัย จติ พสิ ัย ทักษะพิสยั ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งพฤติกรรมการเรยี นรูก้ บั การประเมินผล บรรณานุกรม
1 จุดประสงค์การเรยี นรูก้ บั การวัดและการประเมินผล 1. แนวปฏิบตั กิ ารวดั และประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน พุทธศักราช 2551 สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พนื้ ฐานกระทรวงศกึ ษาธิการ ได้กาหนดแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ในหัวข้อหลักการดาเนินการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ องค์ประกอบของการวัดและประเมินผล การเรยี นรู้ และการรายงานผลการเรยี นรู้ ดังรายละเอยี ดต่อไปนี้ หลกั การดาเนินการวดั และประเมินผลการเรียนรตู้ ามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 การวัดผลและการประเมินผลการเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐานพุทธศักราช 2551 เป็นกระบวนการเก็บรวบรวมตรวจสอบผลการเรียนรแู้ ละพัฒนาด้านต่าง ๆ ของผู้เรียนตามมาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวช้ีวัดของหลักสูตร นาผลไปปรับปรุงพัฒนาการจัดการเรียนรู้และใช้เป็นข้อมูลสาหรับการตัดสินผลการเรียน สถานศึกษาตอ้ งมกี ระบวนการจัดการที่เป็นระบบเพ่ือให้การดาเนินการวัดและประเมนิ ผลการเรียนรูเ้ ป็นไปอย่างมี คุณภาพและประสิทธิภาพและให้ผลการประเมินท่ีตรงตามความรู้ความสามารถที่แท้จริงของผู้เรียน ถูกต้องตาม หลักการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ รวมทั้งสามารถรับรองการประเมินภายในและการประเมินภายนอกตาม ระบบประกันคุณภาพการศึกษาได้ สถานศึกษาจึงควรกาหนดหลักการวัดและประเมินผลการเรียนรู้เพ่ือเป็น แนวทางในการตัดสินใจเกย่ี วกบั การวัดและประเมินผลการเรยี นร้ตู ามหลักสตู รสถานศกึ ษาดังนี้ 1. สถานศึกษาเป็นผู้รับผิดชอบการวัดและการประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนโดยเปิดโอกาสให้ผู้ท่ี เกี่ยวขอ้ งมสี ่วนร่วม 2. การวดั และการประเมินผลการเรียนรูม้ จี ุดม่งุ หมายเพ่ือพัฒนาผเู้ รยี นและตดั สนิ ผลการเรียน 3. การวดั และการประเมนิ ผลการเรียนรู้ต้องสอดคล้องและครอบคลุมมาตรฐานการเรยี นรู้/ ตัวชี้วดั ตาม กลุ่มสาระการเรียนรู้ท่ีกาหนดในหลักสูตรสถานศึกษาและจัดให้มีการประเมินการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ตลอดจนกจิ กรรมพฒั นาผู้เรียน 4. วัดและการประเมินผลการเรียนรู้เป็นส่วนหน่ึงของกระบวนการจัดการเรียนการสอนต้องดาเนินการ ด้วยเทคนิควิธีการที่หลากหลายเพื่อให้สามารถวัดและประเมินผลผู้เรียนได้อย่างรอบด้านทั้งความรู้ความคิด กระบวนการพฤติกรรมและเจตคตเิ หมาะสาหรบั สง่ิ ที่ต้องการวัดธรรมชาติวชิ าและระดับช้ันของผเู้ รยี นโดยตงั้ อยบู่ น พ้นื ฐานของความเทย่ี งตรงยุตธิ รรมและเชอ่ื ถอื ได้
2 5. ประเมินผู้เรียนพิจารณาจากพัฒนาการของผู้เรียนความประพฤติการสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้ การร่วมกิจกรรมและการทดสอบ ควบคู่ไปในกระบวนการเรียนการสอนตามความเหมาะสมของแต่ละระดับและ รปู แบบการศกึ ษา 6. เปดิ โอกาสให้ผูเ้ รียนและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องตรวจสอบผลการประเมนิ ผลการเรยี นรู้ 7. ให้มีการเทียบโอนผลการเรยี นระหว่างสถานศึกษาและระหวา่ งรปู แบบการศึกษาตา่ ง ๆ 8. ใหส้ ถานศกึ ษาจัดทาเอกสารหลกั ฐานการศึกษาเพ่อื เป็นหลกั ฐานการประเมินผลการเรยี นร้รู ายงานผล การเรยี นแสดงวฒุ กิ ารศกึ ษาและรบั รองผลการเรียนของผ้เู รียน องค์ประกอบของการวัดและการประเมินผลการเรียนรู้ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษา ข้นั พนื้ ฐานพุทธศักราช 2551 หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 กาหนดจุดหมาย สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และมาตรฐานการเรียนรู้เป็นเป้าหมายและกรอบทิศทางในการพัฒนาผู้เรียนให้เป็น คนดี มีปัญญา มีคณุ ภาพชวี ิตท่ีดี และมีขีดความสามารถในการแข่งขนั ในเวทีระดับโลก กาหนดใหผ้ ู้เรียนได้เรียนรู้ ตามมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัดที่กาหนดในสาระการเรียนรู้ 8 กลุ่มสาระ มีความสามารถด้านการอ่าน คิด วิเคราะห์ และเขยี นมคี ุณลักษณะอนั พงึ ประสงคแ์ ละเข้าร่วมกจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี น 2. จุดประสงค์การเรยี นรู้ จุดประสงค์การเรียนรู้ คือ ข้อความที่ระบุคุณลักษณะการเรียนรู้และความสามารถที่ครูต้องการให้ เกดิ ขน้ึ กบั นักเรยี น หลังจากที่ไดผ้ ่านกิจกรรมการเรียนการสอนในเร่อื งนั้นๆ แล้ว จดุ ประสงค์การเรียนรูม้ ีหลายระดับ ดงั น้ี 1. ระดบั ความมุ่งหมายของการศกึ ษาของชาติ 2. ระดับการศึกษาแตล่ ะระดับ (ระดับหลักสตู ร) 3. ระดบั กลุม่ วิชา หมวดวชิ า หรอื กลุ่มสาระการเรยี นรู้ 4. ระดบั รายวิชา 5. ระดบั การเรยี นรู้ 6. ระดับเชงิ พฤติกรรม ในการเรียนการสอนแต่ละครั้งครูจะต้องกาหนดจุดประสงค์ในการสอนให้สอดคล้องกับจุดมุ่งหมายของ หลกั สูตรและรายวิชาซึ่งปัจจุบันนี้นักการศึกษามีความเห็นวา่ จุดมุ่งหมายของหลักสูตรและรายวิชาน้ันกว้างเกินไป เปน็ นามธรรมเขา้ ใจยากและตีความหมายไม่ตรงกันจึงมีการคดิ หาวิธีการเขียนจุดประสงคเ์ สียใหม่ด้วยภาษาที่เขา้ ใจ ง่ายมีความชัดเจนและเข้าใจตรงกนั เรียกวา่ จดุ ประสงค์เชิงพฤติกรรม
3 2.1 ความหมายและลักษณะของจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม (Behavior Objective) หมายถึง จุดประสงค์ในการสอนท่ีบอกพฤติกรรม คาดหวังของผู้เรียนในรูปของพฤติกรรมที่สังเกตและวัดได้หรือเป็นจุดประสงค์ที่ผู้สอนต้องการให้ผู้เรียนสามารถ ทาอะไรได้บ้าง ภายใต้เง่ือนไขอย่างไร และต้องทาได้มากน้อยเพียงใด จึงจะถือว่าการเรียนการสอนน้ันได้บรรลุ เปา้ หมายทต่ี อ้ งการ โดยพฤติกรรมทแ่ี สดงออกของนักเรยี นจะต้องเป็นพฤตกิ รรมทีส่ งั เกตและวัดได้ 2.2 ลกั ษณะของจดุ ประสงคเ์ ชิงพฤติกรรมทสี่ มบูรณจ์ ะประกอบไปด้วยองค์ประกอบ 3 สว่ น 1. พฤติกรมที่คาดหวังหมายถึงพฤติกรรมที่ต้องกาวให้ผู้เรียนได้แสดงออก เพ่ือให้เห็นว่าผู้เรียนเกิด การเรียนรู้ที่แท้จริงหลังจกการรู้ในแต่ละบทไปแล้ว การเขียนพฤติกรรมท่ีคาดหวังต้องใช้คากริยาท่ีบอกถึง พฤติกรรมซ่ึงมีความหมายเฉพาะชัดเจนไม่กากวมสังเกตและวัดได้โดยตรง เช่น บอก เปรียบเทียบ อริมาย สาธิต ให้เหตุผล สร้าง เปน็ ตน้ ตวั อย่างของการเขยี นพฤติกรรมท่คี าดหวัง เช่น ...ผเู้ รยี นสามารถจาแนกประเภทของอาหารได้... ..ผู้เรยี นสามารถระบุสนิ คออกทีส่ าคัญของไทยได้.. ...ผู้เรียนสามารถเปรียบเทียบความแตกตา่ งของพืชใบเลย้ี งเดยี่ วกบั ใบเลยี้ งคู่ได.้ . ฯลฯ ในการเขียนจุดประสงค์เชิงพฤติกรรมจะไม่เขียนคากริยาเพียงลาพังเพราะจะทาให้ความหมายไม่ชัดเจน ว่าผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตามต้องการหรือยัง จึงต้องเขียนข้อความเกี่ยวข้องกับเนื้อหาด้วย เช่น ในการเรียนเรื่อง ใบของพืช จุดประสงค์ท่ีต้องการคือผู้เรียนสามารถเปรียบเทียบความแตกต่างของพืชใบเล้ียงเดี่ยวกับใบเลี้ยงคู่ หากจะเขียนวา่ \"ผ้เู รยี นสามารถเปรียบเทยี บได\"้ ย่อมไมช่ ดั เจน 2. สถานการณห์ มายถึงส่ิงเรา้ หรือสถานการณห์ รอื เง่อื นไขท่ีใช้เปน็ เคร่ืองกระต้นุ ให้ผู้เรียนแสดง พฤติกรรมที่คาดหวังออกมาในลักษณะของข้อมลู แบบฝึกหดั สอื่ โจทย์ รายการ เป็นตน้ ตัวอยา่ งของการเขียนสถานการณ์ เช่น เมอ่ื กาหนดชื่อของพืชมาให้ 10 ชนดิ ... เม่อื กาหนดบทความมาให้ 1 เร่อื ง... เมอื่ กาหนดสมการมาให้ 10 ขอ... ฯลฯ
4 3. เกณฑ์ หมายถงึ ระดบั ของพฤติกรมที่คาดหวงั ท่จี ะยอมรบั ไดว้ า่ ผู้เรียนมีพฤติกรรมนั้นจริง หรอื สามารถทาส่ิงนั้นได้จรงิ มิใชท่ าโดยความบังเอิญการกาหนดเกณฑ์เปน็ การกาหนดข้นั ตา่ สุดของกาปฏิบัติท่จี ะ ยอมรับได้ ซงึ่ อาจกาหนดจากเวลาทใี่ หป้ ฏิบตั ิปรมิ าณ หรอื คุณภาพขงพฤติกรมทแี่ สดงอก โดยทวั่ ไปครูควรเป็น ผกู้ าหนดเกณฑ์ขึน้ มาเอง ตวั อย่างของการเขยี นเกณฑ์ เช่น ... ทาไดถ้ กู ตอ้ ง 7 ขอ้ ใน 10 ข้อ ... ทาเสรจ็ ภายใน 10 นาที ...เขยี นช่ือคาศพั ท์เกีย่ วกบั อวยั วะได้อยา่ งนอ้ ย 10 คา ฯลฯ ตวั อย่างของจดุ ประสงคเ์ ชิงพฤติกรรมท่มี อี งค์ประกอบทั้ง 3 สว่ น เช่น - เมอื่ กาหนดคาราชาศัพทม์ าให้ผเู้ รียนสามารถบอกความหมายของคาเหล่าน้ันไดถ้ ูกต้องอย่างน้อย ร้อยละ 70 ของจานวนคาท้งั หมด - เมื่อกาหนดจานวนเต็มท่มี ีแคไ่ มเ่ กนิ 4 หลักมาให้สองจานวนผูเ้ รยี นสามารถคานวณหาผลรวม ของจานวนทัง้ สองไดอ้ ย่างถูกต้อง - เมอ่ื กาหนดโคลงให้ บทผูเ้ รียนสามารถถอดความได้ถูกต้อง - เมือ่ กาหนดมุมให้ มุมผู้เรยี นสามารถแบ่งครึง่ มุมโดยวิธีพบั มมุ กระดาษและวธิ ีวดั ขนาดของมุมได้ถกู ต้อง ภายในเวลา 5 นาที ฯลฯ จากตัวอย่างของจุดประสงค์เชิงพฤติกรรมดงั กล่าวจะใช้ได้เหมาะสมกับการเรียนรู้ที่ไม่สลับซับซ้อน ซึ่งสามารถแยกแยะจุดประสงค์ออกเป็นจุดประสงค์ย่อยๆ ได้แต่การเรียนรู้บางอย่างท่ีสลับซับซ้อนการกาหนด จุดประสงค์เชิงพฤติกรรมทาได้ค่อนข้างยาก จึงได้มีการเขียนจุดประสงค์ในลักษณะท่ีมีองค์ประกอบไม่ครบท้ัง 3 ส่วนแต่องค์ประกอบสาคัญท่ีขาดไม่ได้คือพฤติกรรมท่ีคาดหวังการเขียนในลักษณะเช่นนี้เป็ นการเขียน จุดประสงค์การเรยี นรู้ 2.3 ประโยชนข์ องจดุ ประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม จุดประสงค์เชิงพฤติกรรมเป็นการจาแนกรายละเอยี ดของจุดประสงค์การเรียนการสอนท่ีละเอียด และเปน็ รปู ธรรมเพ่ือสะดวกในการนาไปใชอ้ ย่างมปี ระสิทธิภาพ จงึ อาจจาแนกประโยชน์ของจดุ ประสงค์ชงิ พฤติกรรมได้ดงั น้ี (ปราณี ไวดาบ2558 : 53) 1. เป็นแนวทางในการสร้างหลักสูตร โดยผู้สรา้ งหลักสูตรจะสร้างจุดประสงค์ท่ัวไปและจุดประสงค์ เชิงพฤติกรรมที่เหมาะสมกับวิชาและผู้เรียนจะช่วยในกากาหนดและประเมินจุดประสงค์ทั่วไป กาหนดเนื้อหา และคดั เลือกจดุ ประสงค์เชิงพฤติกรรมทเ่ี หมาะสมกับวชิ าและผูเ้ รยี น
5 2. เป็นแนวทางในการสร้างวัสดุประกอบหลักสูตรเช่นตาราแบบเรียนคู่มือครูแผนการสอนว่าควร มีลักษณะอย่างไรเน้ือหาเพียงใดมีวิธีการนาเสนออย่างไร รวมท้ังเป็นแนวทางในการสร้างอุปกรณ์วัสดุเอกสาร ประกอบกาสอนอืน่ ๆ เชน่ บทเวยี นแบบโปรแกรมแบบทดสอบ แบบฝึกหดั เปน็ ต้น 3. เป็นแนวทางในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน แนวการสอนว่าควรจัดกิจกรรมอย่างไร เพื่อให้บรรลุจุดประสงค์ที่กาหนดไว้ โดยเฉพาะอย่างย่ิงจะช่วยพัฒนาการเรียนการสอนให้มีการพัฒนาสมรรถภาพ ระดบั สูงไดด้ ขี ้ึน เพราะการต้ังจดุ ประสงคท์ ีช่ ดั เจนจะชว่ ยใหเ้ ห็นแนวทางในการจดั กจิ กรรมการเรียนการสอน 4. เป็นแนวทางการเรียนของผู้เรียนในการเรียนรู้เร่ืองใดถ้าผู้ปกครองและผู้เรียนได้ทราบ จุดประสงค์เชิงพฤติกรรมแล้ว ย่อมจะทาให้ผู้เรียนปรับปรุงตัวเองไปตามทิศทางและระดับความมุ่ง หวัง ของหลักสตู รไดด้ ีกว่าไม่รจู้ ดุ ประสงค์ 5. เป็นแนวทางในการประเมินผลการเรียนการสอนจุดประสงค์เชิงพฤติกรรมที่เขียนไว้อย่าง สมบูรณ์ย่อมจะต้องบอกสถานการณ์เพื่อการประเมินผลไว้ด้วย ช่วยให้ข้อสอบท่ีสร้างขึ้นน้ันครอบคลุมและ ตรงตามจุดประสงคไ์ ด้ดกี ว่าไมร่ จู้ ดุ ประสงค์ 6. เปน็ แนวทางในการปรับปรุงการเรยี นการสอนอยตู่ ลอดเวลา เนือ่ งจากผลการวดั ในข้อที่ 5 ทชี่ ่วยใหร้ ผู้ ลของการเรียนกาสอน จะช่วยใหไ้ ดข้ ้อมลู ย้อนกลบั มาปรบั ปรงุ ระบบการสอนว่า จุดประสงค์ท่ตี ้งั ไว้ดี แลว้ หรือยงั จะต้องปรับปรงุ การเรียนการสอน 3. พฤตกิ รรมทางการศึกษา พฤติกรรมทางการศึกษา (educational behavior) เป็นคุณลักษณะที่พึงประสงค์จะให้เกิดขึ้นกับผู้เรียนตาม ข้ันตอนของกระบวนการเรียนการสอนอันประกอบด้วยความรู้ความสามารถ ทักษะ และลักษณะนิสัยต่างๆ ดว้ ยเหตุน้ีในกาวจัดการเรียนการสอนจงึ ต้องพฒั นาผ้เู รียนให้มีคณุ ลักษณะทีพ่ ึงประสงค์และจะต้องมีการตรวจสอบ ผลดว้ ย การที่ครจู ะตรวจสอบคุณลกั ษณะหรือพฤติกรรมพึงประสงค์ของผเู้ รียนน้นั ครจู ะต้องมีความร้คู วามเขา้ ใจ เกย่ี วกบั พฤติกรรมทางกาศกึ ษา และความสมั พนั ธร์ ะหว่างพฤติกรรมทางการศึกษากบั การประเมนิ ผล พฤติกรรทางการศึกษาทน่ี ยิ มใช้อย่ใู นปัจจุบนั เป็นของบลมู และคณะ (Bloom and Other) การจัด การศึกษาโดยทั่วไปมีจดุ ประสงคเ์ พ่ือ พัฒนาผเู้ รยี นใหเ้ กิดการเปลีย่ นแปลงพฤติกรรม 3 ดา้ น คือ พุทธิพสิ ัย (Cognitive Domain) จติ พิสยั (Affective domain) และทักษะพสิ ยั (Psycho-motor Domain) 3.1 พฤตกิ รรมด้านพทุ ธพิ ิสัย 3.1.1 การจาแนกการเรยี นรตู้ ามแนวคดิ ของบลมู (The taxonomy of educational objectives)
6 บลูม, เอนเกลฮาร์ท, เฟริสท์, ฮิลล์ และ แครทโวทล์ (Bloom, Engelhart, Furst, Hill, & Krathwohl) ได้นาเสนอการจาแนกจุดมุ่งหมายทางการศึกษา (The Classification of educational Objectives) โดยตีพิมพ์ เป็ น ห นั งสือใน ปี ค .ศ . 1956 ชื่อ ว่า “Taxonomy of Educational Objectives : The Classification of Educational Goals. Handbook I: Cognitive Domain” ซ่ึงถือว่าเป็นจุดเร่ิมต้น ของการจาแนก (Original taxonomy) โดยด้านพุทธิพิสัย (Cognitive domain) ซ่ึงเป็นการวัดความรู้ หรือ การกระทาที่เกี่ยวกับ กระบวนการทางสมอง เช่น สติปัญญา (Intellectual) การเรียนรู้ (Learning) และ การแก้ปัญหา (Problem solving) (Hopkins and Antes, 1990 : 539) บลูม (Bloom, 1956) กาหนดพุทธิพิสัย (Cognitive domain) ออกเป็น 6 กลุ่ม (Categories) คือ ความรู้ ความจา (Knowledge) ความเข้าใจ (Comprehension) การนาไปใช้ (Application) การวิเคราะห์ (Analysis) การสังเคราะห์ (Synthesis) และ การประเมินค่า (Evaluation) และใน แต่ละกลุ่ม หรือ แต่ละด้านก็จะมีด้านย่อย ๆ ด้วย โดยเรียงจากระดับ วัดความรู้ที่ไม่ซับซ้อน ซึ่งเป็นระดับล่างสุด ไปจนถึงระดบั ทซี่ ับซ้อนทตี่ ้องใชค้ วามร้หู ลายอยา่ ง พฤติกรรมด้านพุทธพิสัย เป็นพฤติกรรมด้านความสามารถทางสติปัญญาของบุคคล ซ่ึงมีการจาแนก ความสามารถออกเป็น 6 ระดับจากความสามารถขนั้ ต่าไปสูง ได้แก่ 1) ความรู้-ความจา 2) ความเข้าใจ 3) ความรู้ รวบยอดในเนอ้ื เรอื่ ง 4) การวเิ คราะห์ 5) การสังเคราะห์ และ 6) การประเมนิ ผล 1. ความรคู้ วามจา (Knowledge) คือความสามารถในการระลึกได้ถงึ เรือ่ งราวตา่ งๆท่เี คยมปี ระสบการณ์ มาก่อนจะโดยวิธีใดก็ตาม เช่น จากการเรียนรู้ในห้องเรียน ฟังวิทยุ ดูโทรทัศน์ อ่านหนังสือพิมพ์ การบอกเล่าต่อๆ กนั มา เป็นตน้ พฤตกิ รรมดา้ นความรูค้ วามจานี้ยงั จาแนกไดอ้ ีก 3ลกั ษณะใหญๆ่ คือ 1) ความรเู ฉพาะเรื่อง 2) ความรใู้ นวธิ ดี าเนินการ และ 3) ความรรู้ วบยอดในเนือ้ เรือ่ ง 1.1 ความรู้เฉพาะเร่ือง (Knowledge of specifics) เป็นความรู้เกี่ยวกับศัพท์และนิยาม และ ความรูเ้ กี่ยวกบั กฎและความจรงิ เฉพาะเรอ่ื ง 1.11 ความรู้เกี่ยวกับศัพท์และนิยาม (Knowledge of terminology) หมายถึงความรู้เก่ียวกับ ความหมายของคาต่างๆ ช่ือ สัญลักษณ์ที่ใช้เฉพาะเร่ืองใดเร่ืองหน่ึง ท้ังท่ีเป็นตัวอักษรและไม่ใช่ตัวอักษร รวมทั้ง สัญลักษณ์ที่เป็นท่ียอมรับกันทั่วไป และการให้คานิยามความหมายของคา เช่น การให้คาจากัดความของเคร่ืองมือ เคร่ืองใช้ ศพั ทเ์ ทคนิค เป็นต้น ตัวอยา่ ง: บอกความหมายของเครือ่ งหมายจราจรได้ บอกความหมายของคาวา่ “กตญั ญ”ู ได้ ใหน้ ยิ ามศัพท์ทางคณติ ศาสตร์ ฯลฯ
7 1.12 ความรู้เกี่ยวกบั กฎและความจริงเฉพาะเรื่อง (Knowledge of specific facts) เป็นความรู้ เกี่ยวกับกฎเกณฑ์ท่ีกาหนดขนึ้ และความเปน็ จริงที่ปรากฏตามเน้ือเร่ือง ไดแ้ ก่ เหตุการณ์ วัน เวลา สถานท่ี บุคคล จานวน ขนาด วัตถปุ ระสงค์ ประโยชน์ โทษ ฯลฯ ตวั อย่าง: สามารถเล่าเรอ่ื งทไ่ี ด้ฟงั มาได้ โดยบอกวา่ ใคร ทาอะไร ท่ไี หน เม่ือไหร่ อยา่ งไร สามารถบอกประโยชน์ของผกั ชนดิ ต่างๆ ได้ สามารถบอกสาเหตุทไ่ี ทยเสยี กรุงศรีครัง้ ที่ 2 ใหแ้ กพ่ มา่ ตามทีเ่ รียนรู้มาได้ 1.2 ความรู้ใน วิธีการดาเนิ น การ (Knowledge of ways and means of dealing with specifics) ได้แก่ 1) ความรู้เกี่ยวกับระเบียบแบบแผน 2) ความรู้เกี่ยวกับแนวโน้มและลาดับข้ัน 3) ความรู้ เกยี่ วกบั การจาแนกประเภท 4) ความรเู้ รือ่ งเกณฑ์ และ 5) ความร้เู ก่ยี วกับระเบียบวิธี 1.21 ความรู้เกี่ยวกับระเบียบแบบแผน (Knowledge of conventions) หมายถึงความรู้ เกี่ยวกับระเบียบแบบแผน แบบอยา่ ง หรือธรรมเนยี ม ประเพณนี ิยมทีป่ ฏิบตั กิ นั มาจนเป็นท่ยี อมรับของคน ท่ัวไป ตวั อย่าง: บอกลักษณะการแตง่ กายทถ่ี ูกตอ้ งตามประเพณีนยิ มได้ บอกแผนผงั กลอนแปดได้ บออกกฎและระเบยี บของสถานศึกษาได้ ฯลฯ 1.22 ความรู้เก่ียวกับแนวโน้มลาดับข้ัน (Knowledge of trends and sequence) หมายถึง ความรู้เกี่ยวกับลาดับการเกิดก่อนหลังของเรื่องราวหรือเหตุการณ์ต่างๆ ตลอดจนมองเห็นแนวโน้มท่ีเกิดขึ้นใน อนาคตจากการพจิ ารณาเหตุการณ์ และความจรงิ ท่เี กิดข้ึนในอดตี และปัจจบุ ัน ตวั อยา่ ง: บอกวา่ การพยาบาลคนตกนา้ ควรทาอยา่ งไรก่อนหลัง บอกไดว้ ่าแนวโนม้ ของโรคทเ่ี กิดกับคนในกรุงเทพฯ คอื โรคอะไร บอกไดว้ า่ การบวก ลบ คูณ หาร เลขโจทย์ระคนทาอะไรกอ่ นหลงั ตามลาลับ ฯลฯ
8 1.23 ความรู้เกี่ยวกับการจาแนกประเภท (Knowledge of classification and categories) เป็นความรู้เก่ียวกับการจัดหมวดหมู่ ประเภท ชนิดของเหตุการณ์ คา ข้อความ คน สัตว์ พืช สิ่งของ วัน เวลา สถานท่ี หรือข้อปญั หาต่างๆ โดยยดึ ลกั ษณะรว่ มท่ีมอี ยู่ ตัวอยา่ ง: การจาแนกหมวดหมู่ของสัตว์ อาจจาแนกตามท่ีอยู่อาศัย เช่น แมว หมู สุนัข เป็นสัตว์บก ปลา กุ้ง หอย เป็นสัตว์น้า หรือ จาแนกตามประโยชน์ เช่น ช้าง ม้า วัว ควาย เป็นสัตว์เลี้ยงไว้ใช้งาน ปลา นก เป็นสัตว์เลี้ยงไว้ดู เล่น การจัดประเภทของอาหาร โดยจาแนกโดยคุณค่าของอาหาร เช่น มะละกอ ฟักทอง ผักบุ้ง ให้วิตามินเอ ขา้ ว เผือก มัน ให้คาร์โบไฮเดรท หรอื จาแนกผลไม้ตามรสชาติ เช่น ส้ม มะเฟือง มะไฟ เป็นผลไม้รสเปร้ียว ทุเรียน ลาไย องุน่ เงาะ เป็นผลไมร้ สหวาน การจัดหมวดหมู่ของวันตามเหตุการณ์ วันเข้าพรรษา วันอาสาฬหบูชา วันมาฆบูชา เป็นวันสาคัญทาง ศาสนา วนั สงกรานต์ วันเฉลิมพระชนมพรรษา วนั จักรี เป็นวนั นกั ขัตฤกษ์ ฯลฯ 1.24 ความรู้เรื่องเกณฑ์ (Knowledge of criteria) หมายถึงความรู้เกี่ยวกับเกณฑ์ท่ีใช้ใน การตรวจสอบ วินิจฉยั เปรียบเทียบหรือตดั สนิ ข้อเท็จจรงิ ต่างๆ โดยไมถ่ งึ ข้นั การตดั สนิ หรอื สรุป ตวั อยา่ ง: บอกไดว้ ่าอะไรเป็นเครื่องชีว้ า่ คนนั้นมีสุขภาพพลานามยั สมบูรณห์ รอื ไม่ บอกไดว้ า่ อะไรเปน็ เครือ่ งชี้ว่าสารนนั้ เป็นกรดหรือด่าง บอกไดว้ า่ อะไรเปน็ เกณฑต์ ดั สินวา่ ใครเปน็ คนดหี รอื เลว ฯลฯ 1.25 ความรู้เกี่ยวกับระเบียบวิธี (Knowledge of methodology) เป็นความรู้เก่ียวกับ ความสามารถในการบอกเทคนิควิธี ข้ันตอนที่ใช้ในการปฏิบัติงานนั้นๆ ได้ ในขั้นน้ียังไม่ถึงขั้นลงมือปฏิบัติหรือ นาไปใช้ได้ เปน็ แต่เพยี งร้วู ิธปี ฏบิ ตั เิ ท่าน้นั ตัวอยา่ ง: บอกวธิ ีการแก้ปญั หาโจทย์คณติ ศาสตรไ์ ด้ บอกวธิ ีการปฐมพยาบาลคนเป็นลมได้ บอกวิธกี ารเตรียมดินปลูกผกั ได้ ฯลฯ
9 1.3 ความรู้รวบยอดในเนื้อเรื่อง (Knowledge of the universal and abstractions in a field) เปน็ ความร้เู กย่ี วกับ 1) หลกั วิชาและการขยายหลักวิชา และ 2) ความรู้เกยี่ วกบั ทฤษฎแี ละโครงสร้าง 1.31 ความรู้เกี่ ยวกับ ห ลักวิช าและการขยายห ลักวิช า (Knowledge of principles and generalizations) เป็นความสามารถในการบอกหัวใจสาคัญหรอื หลักของเรื่องนั้นๆ และนาหลักการนั้นไปสัมพันธ์ กับเร่อื งอนื่ ได้ ตัวอยา่ ง: บอกสาเหตุสาคัญทไี่ ทยเสียกรงุ คร้งั ท่ี 2 ให้แก่พมา่ ได้ บอกได้ว่าผู้แทนราษฎรของแตล่ ะจงั หวัดขึน้ อยกู่ ับอะไร ฯลฯ 1.3.2 ค วาม รู้เก่ี ยวกั บ ท ฤษ ฎี แล ะโค รงสร้าง (Knowledge of theories and structures) เป็นความสามารถระลึกถึงทฤษฎีและหลักวิชาต่างๆ ท่ีมีการพิสูจน์แล้ว และนามาสัมพันธ์กัน สรุปเป็นเนื้อความ ใหญเ่ ดียวกันได้ ตวั อย่าง: สามารถสรุปคาสอนในพระพุทธศาสนาที่ไดเ้ รยี นรมู้ าได้ บอกคณุ สมบัตริ ่วมของสเ่ี หลย่ี มด้านเท่า สเี่ หลย่ี มขนมเปียกปนู และสี่เหลี่ยมจัตรุ ัสได้ ฯลฯ 2. ความเข้าใจ (Comprehension) ความสามารถตั้งแต่ข้ันน้ีถึงขัน้ ประเมินผล ถือว่าเปน็ ความสามารถ ขั้นสติปัญญา ซึ่งเป็นผลจากการเอาความรู้จากประสบการณ์ในขั้นความรู้ ความจามาผสมผสานจนกลาย เปน็ สมรรถภาพสมองชนดิ ใหม่ (ชวาล แพรตั กุล, 2520:133) ความเข้าใจ หมายถึงความสามารถในการผสมผสานความรู้ความจา แล้วขยายความคิดออกไปอย่าง สมเหตสุ มผล ความเข้าใจมี 3 ลกั ษณะ ไดแ้ ก่ 1) การแปลความ 2) การตคี วามหมาย และ 3) การขยายความ 2.1 การแปลความ (Translation) เป็นความสามารถในการส่ือความหมายจากภาษาหน่ึงหรือ แบบฟอรม์ หนงึ่ ไปสภู่ าษาหนง่ึ หรืออีกแบบฟอร์มหนึ่ง อาจแปลได้หลายลกั ษณะดงั น้ี 1) แปลจากภาษายากไปงา่ ย หรอื จากภาษางา่ ยไปยาก 2) แปลจากภาษาเทคนคิ เป็นภาษาสามญั หรอื ภาษาสามญั เป็นภาษาเทคนคิ 3) แปลภาษาพดู เปน็ ภาษาเขียน หรอื จากภาษาเขียนเป็นภาษาพูด 4) แปลจากพฤติกรรม รปู ภาพ ท่าทาง เปน็ ขอ้ ความ หรือจากข้อความเปน็ พฤติกรรม รูปภาพ และทา่ ทาง ตัวอย่าง: แปลประโยคภาษาองั กฤษเป็นภาษาไทย
10 แปลความหมายกราฟ แปลความหมายสานวนหรอื พังเพย ฯลฯ 2.2 การตคี วาม (Interpretation) เปน็ การเอาผลจากการแปลความหลายๆ สงิ่ มาผสมผสาน เรยี บเรยี งเป็นความคิดใหม่อย่างมีความหมาย ตัวอย่าง: อา่ นเรือ่ งแลว้ ตีความหมายของคตทิ ี่แฝงอยู่ในเนื้อเร่ืองได้ อ่านเน้ือเรื่องแลว้ หาจดุ มุ่งหมายของผู้แต่ได้ ฯลฯ 2.3 การขยายความ (Extrapolation) เป็นการขยายแนวความคิดให้กว้างไกลไปจากข้อมูลเดิม อย่างสมเหตุสมผล ซึ่งต้องอาศัยท้ังการแปลความและตีความประกอบกัน จึงจะสามารถขยายความหมาย ของเรอ่ื งราวนั้นได้ ตัวอยา่ ง: อา่ นเร่ืองทีแ่ ต่งไม่จบแลว้ สามารถขยายความคิดได้ว่าตอนจบนา่ จะเปน็ อย่างไร สมมุติสถานการณ์ขึ้นแล้วให้คาดคะเนคาตอบท่ีจะเกิดข้ึน เช่น “ถ้าโลกอยู่ห่างจากดวงอาทิตย์ มากขน้ึ จะมีความเปลยี่ นแปลอะไรเกดิ ขนึ้ กบั โลก” คาดคะเนเรอ่ื งราวทเ่ี กดิ ขึ้นก่อนเหตกุ ารณ์นไ้ี ด้ ผูกเร่ืองสนทนาโดยให้ได้ยินผพู้ ูดฝ่ายเดยี ว แล้วใหค้ าดคะเนข้อความท่ีอีกฝา่ ยหนึ่งสนทนา ฯลฯ 3. การนาไปใช้ (Application) เป็นความสามารถนาความรู้ความเข้าใจในเรื่องที่เรียนรู้มาแล้วไป แก้ปัญหาที่แปลกใหม่ หรือสถานการณ์ใหม่ที่ไม่เคยพบเห็นมาก่อน แต่อาจใกล้เคียงหรือคล้ายคลึงกับเร่ืองเคยพบ เหน็ มาก่อนได้ ตัวอยา่ ง: กาหนดสถานการณ์หรือเหตุการณ์ที่เป็นปัญหาใหม่ไม่เคยพบเห็นมาก่อน สามารถแก้ปัญหาได้ โดยใช้ความร้ทู เ่ี รยี นมาแลว้ มาแก้ปัญหา ซ่ึงอาจมีการพลิกแพลงบ้าง กาหนดโจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ใหม่ท่ีไม่เคยเรียนมาก่อน สามารถแก้โจทย์ได้โดยใช้แนวการ แกป้ ญั หาจากตัวอย่างทเ่ี คยเรียนมาในหอ้ งเรียน ฯลฯ
11 4. การวิเคราะห์ (Analysis) เป็นความสามารถแยกแยะเรื่องราวส่ิงต่างๆ ออกเป็นส่วนย่อยๆ ได้ ทาให้ สามารถมองเห็นความสัมพันธ์กันได้อย่างชัดเจน สามารถค้นหาความจริงต่างๆ ท่ีซ่อนแฝงอยู่ในเน้ือเรื่องนั้นๆ ได้ การวิเคราะห์มี 3 ลักษณะ ได้แก่ 1) วิเคราะห์ความสาคัญ 2) การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ และ 3) วิเคราะห์ หลกั การ 4.1 การวิเคราะห์ความสาคัญ (Analysis of elements) เป็นความสามารถในการแยกแยะ องค์ประกอบย่อยที่รวมอยู่ในเรื่องราวน้ันๆเพื่อช้ีให้เห็นถึงมูลเหตุต้นกาเนิด สาเหตุ ผลลัพธ์ และประเด็นสาคัญ ของเร่อื งราวต่างๆ ตวั อย่าง: สามารถแยกแยะไดว้ า่ สาเหตขุ องนา้ ท่วมกรุงเทพฯ ซ่ึงมหี ลายสาเหตุ สาเหตใุ ดสาคัญทีส่ ดุ อา่ นเรือ่ งราวแล้วสามารถบอกได้ว่า หวั ใจสาคญั ของเร่ืองน้ันคอื อะไร ตวั ละครใดมีลักษณะเดน่ อย่างไร ฯลฯ 4.2 วเิ คราะห์ความสัมพันธ์ ( Analysis of relationship ) เป็นการพิจารณาหาความสัมพันธ์ระหว่างองประกอบย่อยท่ีรวมกันอยู่ในเรื่องราวนั้นๆ ว่า มีความสัมพันธ์เกี่ยวพันกันในลักษณะใด อาจเหมือนกันหรือต่างกัน คล้อยตามกันหรือขัดกัน เกี่ยวข้องกันหรือไม่ เกีย่ วขอ้ งกนั อะไรเป็นเหตุผลนนั้ หรอื อะไรเปน็ เหตขุ องผลนัน้ เปน็ ตน้ ตัวอยา่ ง: สามมารถบอกได้วา่ ขอ้ ความทีอ่ ่านนต้ี อนใดเปน็ เหตตุ อนใดเปน็ ผล โจทย์สมการที่เพมิ่ ค่าคงท่เี ข้าไปขา้ งใดขา้ งหนึง่ แล้ว ค่าของอีกข้างหน่งึ จะเป็นอย่างไร ฯลฯ 4.3 การวิเคราะห์หลักการ (Analysis of organizational principles) เป็นความสามารถในการ ค้นหาว่า การท่ีโครงสร้างและระบบของวัตถุ ส่ิงของ เรื่องราวและการกระทาต่างๆ รวมกันอยู่ในสภาพเช่นน้ันได้ เพราะยดึ หลักหรือแกนอะไรเปน็ สาคญั ตัวอยา่ ง: อ่านข้อความ เร่ืองราวแล้วบอกได้ว่าข้อความหรือเรื่องราวนั้น เป็นการเขียนในลักษณะใด (เป็นบทความ สารคดี นิยาย นิทาน ประชาสมั พนั ธ์ ฯลฯ) บอกได้วา่ เหตุใดปัจจุบันนกี้ ารขายสนิ ค้าจึงนิยมการมขี องแจก แถม หรือสง่ ช้ินส่วนไป ฯลฯ 5. การสงั เคราะห์ ( Synthesis ) เปน็ การนาองค์ประกอบยอ่ ยๆ ต่างๆ ต้ังแต่ 2 ส่ิงขึ้นไปมารวมเข้าเป็น เรื่องราวเดียวกัน เพ่ือให้เห็นโครงสร้างที่ชัดเจน แปลก ใหม่ไปจากเดิม มีลักษณะคล้ายความคิดสร้างสรรค์ ซ่ึง
12 กอ่ ให้เกดิ ผลลัพธท์ ่ีแปลกใหม่ มคี ุณค่าและเปน็ ประโยชน์ การสังเคราะหม์ ี 3 ประเภท ได้แก่ 1) สังเคราะหข์ อ้ ความ 2) สังเคราะหแ์ ผนงาน 3) สงั เคราะหค์ วามสมั พันธ์ 5.1 การสังเคราะห์ขอ้ ความ (Production of unique communication) เป็นความสามารถในการผสมผสานความรู้และประสบการณ์ตา่ งๆ ทาให้เกิดเป็นข้อความหรือผลติ ผลใหมข่ ึ้น อาจสงั เคราะหไ์ ด้โดยการพู เขียน หรือสงั เคราะห์รูปภาพก็ได้ ตัวอยา่ ง: สามารถแต่งขอ้ ความเปน็ เร่อื งราว นทิ าน คากลอน เพลง ได้โดยไม่ลอกเลยี นใคร สามารถวาดภาพโดยอาศัยแบบอย่างประกอบกับจินตนาการของตนเอง ฯลฯ 5.2 การสังเคราะห์แผนงาน (Production of plan, or proposed set of operation) เป็นความสามารถในการกาหนดแนวทาง วางแผน เขียนโครงการต่างๆ ล่วงหน้าขึ้นมาใหม่ ให้สอดคล้อง กบั ขอ้ มลู และจดุ ม่งุ หมายที่วางไว้ ตวั อยา่ ง: วางแผนกิจกรรมในโอกาสตา่ งๆได้ เขียนโครงงานวทิ ยาศาสตร์ได้ วางแผนตรวจสอบน้ายาในขวดซึ่งไมท่ ราบว่าเปน็ อะไรได้ โดยไมใ่ ห้เกดิ อนั ตราย ฯลฯ 5.3 การสังเคราะห์ความสัมพันธ์ (Derivation of set of abstract relation) เป็นความสามารถใน การนาเอาความสาคญั และหลกั การตา่ งๆ มาผสมผสานใหเ้ ป็นเรอื่ งเดยี วกัน ทาให้เกดิ เป็นสง่ิ สาเร็จรูปหน่วยใหมท่ ี่มี ความสัมพันธ์แปลกไปจากเดิม เกิดเป็นเรื่องราวใหม่ และแนวคิดใหม่ท่ีมีประสิทธิภาพ และผิดไปจากเร่ืองย่อๆ ของเดมิ ตวั อย่าง: สามารถตงั้ สมมุตฐิ านเกย่ี วกับปญั หาท่ีมีสาเหตุและผลของเหตกุ ารณท์ ่เี กิดขน้ึ ได้ เม่ือกาหนดข้อเท็จจริงหรือเง่ือนไขของเร่ืองราวให้2-3ประการ แล้วสมมุติสถานการณ์อ่ืนๆ ทเ่ี กิดข้นึ สามารถวนิ จิ ฉัยหาข้อสรปุ หรอื ขอ้ ยตุ ิของเรอ่ื งนนั้ ในแง่มุมต่างๆได้ ฯลฯ 6. การประเมินค่า (Evaluation) เป็นความสามารถในการตัดสินเก่ียวกับคุณค่าของเน้ือหาและวิธีการ ต่างๆ โดยสรุปอย่างมีหลักเกณฑ์ว่า เหมาะสม มีคุณค่า ดี-เลว เพียงไร การประเมินค่าต้องอาศัยเกณฑ์
13 ประกอบการตดั สินใจ ซึ่งมี 2 ลักษณะ ไดแ้ ก่ 1) การตัดสินโดยอาศัยข้อเท็จจริงหรือเกณฑ์ภายในเนื้อเรอื่ ง และ 2) การตัดสนิ โดยอาศยั เกณฑภ์ ายนอก 6.1 การตัดสินใจโดนอาศยั ข้อเท็จจริงหรอื เกณฑภ์ ายในเนอ้ื เรอื่ ง (judgment in term of internal evidence) เปน็ การประเมนิ หรือตดั สินโดยยึดความถูกต้องตามเนือ้ เรือ่ ง เนื้อหาน้ันๆ หรือตามขอ้ มลู ทีป่ รากฏอยู่ ตวั อย่าง: อา่ นเนอ้ื หาในเรอื่ งแลว้ สามารถตดั สนิ ได้ว่าตวั ละครใดเป็นคนดี เลว ตามเนอ้ื เรือ่ งท่ีปรากฏน้นั ยกตัวอย่างพฤติกรรมของเด็ก แล้วตัดสินได้ว่าเป็นการกระทาที่ถูกต้องหรือไม่ตามระเบียบของ โรงเรียน ฯลฯ 6.2 การตัดสินโดยใช้เกณฑ์ภายนอก ( Judgment in terms of external criteria ) เป็นการ ตัดสินโดยใช้เกณฑ์ท่ีไม่ได้ปรากฏตามเน้ือเร่ืองน้ันๆ แต่ใช้เกณฑ์ที่กาหนดขึ้นมาใหม่ ซ่ึงอาจเป็นเกณฑ์ตามเหตุผล ทางตรรกศาสตร์ การยอมรับของสงั คม สภาพความเป็นจริงความยตุ ิธรรม เปน็ ต้น ตวั อยา่ ง: การตัดสินคุณค่าของวรรณคดบี างเรือ่ งตามสภาพสังคมปัจจุบนั ว่าเหมาะหรือไมเ่ หมาะสาหรับใช้ เรยี นในยุคปจั จบุ ัน การตัดสินพฤติกรรมของเด็กวัยรุ่น โดยใช้เกณฑ์วัฒนธรรมไทยว่าเหมาะสมหรือไม่เหมาะสม ซึ่งอาจแตกตา่ งจากการตัดสนิ โดยใช้เกณฑต์ ามหลกั จิตวิทยาวัยร่นุ แผนผังการจาแนกพฤตกิ รรมด้านพทุ ธพิ สิ ยั ( Cognitive Domain ) 1.1.1 ศัพทแ์ ละนยิ าม 1.1 ความร้เู ฉพาะเรอ่ื ง 1.1.2 กฎและความจรงิ 1. ความรคู้ วามจา 1.2 ความร้ใู นวธิ ีดาเนินการ 1.2.1 ระเบยี บแบบแผน 1.2.2 แนวโน้มและลาดบั ขนั้ 1.2.3 จาแนกประเภท
14 1.2.4 เกณฑ์ 1.2.5 ระเบียบวธิ ี 1.3 ความรรู้ วบยอดในเนอ้ื เร่ือง 1.3.1 หลกั วชิ าและการขยาย หลักวิชา 2.1 การแปลความ 2.2 การตีความ 1.3.2 ทฤษฎีและโครงสรา้ ง 2.3 การขยายความ 2. ความเข้าใจ 3. การนาไปใช้ 4.1 วิเคราะห์ความสาคญั 4. การวเิ คราะห์ 4.2 วเิ คราะหค์ วามสัมพันธ์ 4.3 การวเิ คราะหห์ ลักการ 5. การสังเคราะห์ 5.1 สงั เคราะหข์ ้อความ 5.2 สังเคราะห์แผนงาน 6. การประเมินผล 5.3 สงั เคราะห์ความสัมพันธ์ 6.1 ตดั สนิ โดยอาศยั เกณฑภ์ ายในเนือ้ เรอ่ื ง 6.2 ตัดสินโดยอาศัยเกณฑภ์ ายนอก ภาพท่ี 1 แผนผงั การจาแนกพฤติกรรมดา้ นพทุ ธพิ ิสัย
พฤติกรรมและลกั ษณะการแสดงออก ในการจดั การเรียนการสอน ครจู ะตอ้ งรู้ว่าจะสอนให้เกิดพฤติกรรมอะ ของผเู้ รยี นท่ีปรากฏในจดุ ประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม เป็นส่ิงท่ีครูจะต้องวัดออกมา แนวทางในการนาไปใชเ้ ขยี นจุดประสงค์เชงิ พฤติกรรมและการประเมนิ ผลการเร ตารางท่ี 1 พฤติกรรม การแสดงออก และเน้ือหาของพฤตกิ รรมดา้ นพทุ ธพิ สิ พฤตกิ รรม การแสดงออก 1.0 ความรู้-ความจา บอก บ่งชี้ บรรยาย เลือก 1.10 ความร้ใู นเรอื่ งเฉพาะ 1.11 ศัพทแ์ ละนิยาม 1.12กฎและความจริง บอก บง่ ช้ี บรรยาย 1.20 ความรใู้ นวิธกี ารดาเนินการ บอก บ่งช้ี บรรยาย เลือก 1.21 รู้ระเบียบ แบบแผน
15 ะไรและทสี่ าคญั ครูจะต้องรู้ว่าจะวัดพฤติกรรมนั้นได้อยา่ งไรโดยเฉพาะพฤติกรรม าให้ได้ ดงั นน้ั จึงขอเสนอลักษณะหารแสดงออกของพฤติกรรมคนตา่ งๆ เพื่อเปน็ รียน ดงั นี้ สัย เนื้อหา ศัพท์ คาศัพท์เฉพาะ ความหมาย นิยาม คาแปล ตวั อย่าง ช่ือ วัน เวลา แหล่งท่ีมา เหตุการณ์ บุคคล สถานที่ คุณสมบัติ ตัวอย่าง ปรากฏการณ์ สูตร ความจริง ความสาคัญ เน้ือเร่ือง ขนาด จานวน วัตถุประสงค์ สาเหตแุ ละผลประโยชน์ คุณ โทษ สิทธิ หน้าท่ี รูปแบบฟอร์ม ระเบียบแบบแผน กฎเกณฑ์การใช้ เครื่องมือแบบสัญ ลักษณ์ ธรรมเนียม ประเพ ณี วัฒนธรรม ลาดับขนั้ แนวโน้ม การพฒั นา
พฤติกรรม การแสดงออก 1.22 รลู้ าดับขนั้ และแนวโน้ม บอก บรรยาย บ่งช้ี 1.23 ร้กู ารจดั ประเภท บอก บง่ ช้ี เลอื ก 1.24 รเู้ กณฑ์ บอก บง่ ชี้ เลือก 1.25 รู้วิธกี าร บรรยาย บอก บง่ ช้ี 1.30 ความรรู้ วบยอดในเน้ือเร่ือง บอก บ่งช้ี บรรยาย 1.31 รหู้ ลกั วิชาและการขยายหลกั วิชา บอก บง่ ช้ี บรรยาย 1.32 รู้ทฤษฎี และโครงสร้าง 2.00 ความเขา้ ใจ แปล เปล่ียนรูป ใช้ภาษาตัวเอง 2.10 แปลความ เปรยี บเทียบถอดความ 2.20 ตีความ ตีความหมาย บอกจัดลาดับ จ สรุป ยอ่ อธิบาย แสดงใหเ้ หน็ จ
16 เน้อื หา ความต่อเนื่อง สาเหตุ ความสัมพันธ์ อิทธิพล ชนิด ประเภท พวก แบบ แขนง ชุด สาขา ลักษณะ เกณฑ์ คุณ สมบัติเฉพ าะตัว ตัวตัดสิน วิธีการ เทคนิค กระบวนการ หลกั การ ข้อสรุปทั่วไป คณุ สมบัติรว่ ม ทฤษฎี รากฐาน ความสัมพันธ์ภายในโครงสร้าง องค์ประกอบ คา ข้อความ ภาพ สัญลักษณ์ ข้อมูล แผนที่ ตาราง กราฟ พฤติกรรม พฤติการณ์ การทดลอง คติพจน์ ง ยกตัวอย่าง สุภาษิต คาพังเพย เร่ืองราว ความสาคัญ จุดสาคัญของเร่ือง ทัศนใหม่ ข้อสรุป วิธีการทฤษฎี ความหมายรวบยอด ผลท่ีตามมา ข้อสรุป องค์ประกอบผล ความน่าจะเป็น จัดเรียงใหม่ ความหมาย จาแนก
พฤติกรรม การแสดงออก 2.30 ขยายความ กะประมาณ พยากรณ์ อ้าง จาแนก ลงสรุป กาหนด อธิบ 3.00 การนาไปใช้ คาดคะเน 4.00 การวิเคราะห์ บอก ใช้ คานวณ เลือก สรา้ ง แก 4.10วเิ คราะหค์ วามสาคัญ แสดง ปรับปรุงโครงสร้างใหม่ เ อธิบาย 4.20วเิ คราะห์ความสัมพันธ์ 4.30 วเิ คราะห์หลักการ บง่ จาแนก สกัด คน้ หา แยกแยะ บ่ง จาแนก ค้นหา บอกควา คล้ายคลงึ บอก คน้ หา แยกแยะ สกัด ลงสร เขียน บอก สร้าง แก้ไข รวบรว ขยาย ริเร่มิ
17 เน้ือหา งสรุป ขยาย ห ลั ก ก า ร ก ฎ เก ณ ฑ์ ข้ อ ส รุ ป วิ ธี ก า ร ท ฤ ษ ฎี บาย สมมุติ กระบวนการ สถานการณ์ ปรากฏการณ์ ความ สอดคล้อง ขอบเขต หลักวิชา การปฏบิ ัติ เหตผุ ล ก้ปญั หา ผลิต เปล่ียนแปลง ชนิด สง่ิ สาคัญ ต้นตอ สาเหตุ ผล ขอ้ สรุป วัตถุประสงค์ สมมุติฐาน เลศนัย องค์ประกอบ ความสัมพันธ์ ความ สอดคล้อง ขัดแย้ง ระดับความสัมพันธ์ชนิดความสัมพันธ์ (เหตุผล สนบั สนุนขดั แยง้ ตวั อยา่ ง-หลักการ) องคป์ ระกอบ ะ เลอื ก โครงสร้าง หลักการ กระสวน ทัศนะ เค้าโครง การ เรียงลาดบั า ม แ ต ก ต่ า ง โครงสร้าง กระสวน การกระทา รปุ แผนแบบ ขอ้ ความ ส่งิ สื่อสารตา่ งๆ วม ประกอบ แผนงาน จุดประสงค์ รายละเอียด เค้าโครง วิธีปฏิบัติ แนวทางการแก้ปัญหา
พฤตกิ รรม การแสดงออก 5.00 การสังเคราะห์ ผลิต วางโครงการ เสนอ สรา้ ง 5.10 ขอ้ ความ 5.20 แผนงาน เขียน บอก สร้าง แก้ไข รวบรว 5.30 ความสมั พนั ธ์ ขยาย รเิ รมิ่ ผลิต วางโครงการ เสนอ สร้า 6.00 ประเมนิ คา่ ปรบั ปรงุ 6.10ใชเ้ กณฑ์ภายใน ผลิต สร้างข้ึน พัฒนา ผสมผ 6.20 ใชเ้ กณฑภ์ ายนอก อนุมาน จาแนกพวก ค้นหา จัด เตมิ เสรมิ แต่ง พิสจู น์ ตัดสิน ประเมิน โต้แย้ง ตัดสิน สอดคลอ้ ง บง่ เหตุผล เปรียบเทยี ตัดสิน ชี้ขาด โต้แย้ง พิจารณา ประเมนิ 3.1.2 การวดั ดา้ นพทุ ธพิ ิสัยแบบใหม่
18 เนอื้ หา ความสัมพันธ์ ข้อยุติ ข้อสรุป สมมุติฐาน วิธีการ ทฤษฎี ความคดิ รวบยอด ปรากฏการณ์กลมุ่ วม ประกอบ ความถกู ตอ้ ง ความผิดพลาด ขอ้ บกพร่อง ความเช่ือถือ าง ออกแบบ ได้ ความเท่ียงตรงครบถ้วน ความเหมาะสม ความ สมเหตุสมผล ผสาน ขยาย ความถูกต้อง ผิดพลาด ทางเลือก ประโยชน์ ทฤษฎี ด อ้างถึง ต่อ ข้อสรปุ เรื่องราว เหตุการณ์ ประสทิ ธิภาพ นใจ บ่งความ ยบ บง่ เกณฑ์ เปรียบเทียบ
ในชว่ งปี ค.ศ. 1990 - 1999 แอนเดอรส์ นั (Anderson) และ แ บุคคลที่อยูใ่ นคณะของบลูมด้วย ได้มีการปรับปรงุ จุดมงุ่ หมายทางการศึกษาด้าน Krathwohl., 2001, Wilson, Leslie 0., 2013, Davis R. Krathwohl, 2002) ตารางที่ 2 เปรียบเทยี บการปรับ พุทธิพสิ ยั แบบเดิม 1. ความรู้ (Knowledge) 2. ความเขา้ ใจ (Comprehension) 3. การนาไปใช้ (Application) 4. การวิเคราะห์ (Analysis) 5. การสังเคราะห์ (Synthesis) 6. การประเมนิ ค่า (Evaluation) จากตาราง จะเหน็ ได้วา่ การปรบั ปรงุ จดุ ม่งุ หมายทางการศกึ ษาดา้ นพุทธ
19 แครทโวทล์ (Krathwohl) ซึ่งเปน็ นพทุ ธิพสิ ัย ของบลมู (Revised Bloom's Taxonomy) (Anderson and ดงั น้ี บปรงุ จุดม่งุ หมายด้านพุทธิพสิ ยั พุทธพิ สิ ัยแบบใหม่ 1. จา (Remember) 2. เข้าใจ (Understand) 3. ประยุกต์ใช้ (Apply) 4 วเิ คราะห์ (Analyze) 5. ประเมินค่า (Evaluate) 6. คิดสร้างสรรค์ (Create) ธิพสิ ัยใหม่น้ี เป็นการปรับเปล่ียนนิยามคาศพั ท์ และ โครงสร้าง ดงั น้ี
20 1. การปรบั นิยามคาศัพท์ มีดังนี้ 1.1 การเปลยี่ นจากการใชค้ านาม เป็นคากรยิ า เพราะคากรยิ าสามารถอธิบายการกระทาของพุทธิพิสัยได้ ดกี วา่ คานาม เช่น ความรู้ (Knowledge) เปลย่ี นเป็น จา (Remember) ความเข้าใจ (Comprehension) เปลีย่ นเป็น เข้าใจ (Understand) เปน็ ตน้ 1.2 การปรบั เปล่ียนคาอธิบาย หรอื คานยิ ามของแต่ละด้าน ดงั น้ี 1.2.1 จา (Remember) หมายถึง ความสามารถในการดึง (Retrieving) ความรทู้ ่ี เกย่ี วข้อง จาก หน่วยความจาระยะยาว (Long term memory) (ทาหน้าท่ีเหมือนคลังข้อมูลถาวรซ่ึง บรรจุทุกอย่างท่ีเรารู้ เก่ยี วกับโลกเอาไว้ เป็นระบบ ท่ีสามารถเก็บข้อมูลความจาได้นาน และไมจ่ ากัด โดยจะเกบ็ ข้อมูลไวบ้ นพื้นฐานของ ความหมายและความสาคญั ของข้อมูล) ประกอบดว้ ย 1) การจาได้ (Recognizing) หรอื เรยี กวา่ การระบุ (Identifying) 2) การระลึกได้ (Recalling) หรือ เรยี กวา่ การดงึ ความร้อู อกมา (Retrieving) 1.2.2 เข้าใจ (Understand) หมายถึง ความสามารถในการอธิบายความหมาย ข้อความ การใช้ คาพูดอธิบายปากเปล่า (Oral) การเขียน (Writing) และ การสื่อความหมาย (Gra communication) ประกอบดว้ ย 1) การตีความ (Interpreting) เชน่ อธบิ ายความ (clarifying) ถอดความ (Paraphrasing) แสดง ให้เห็น (representing) การแปลความ (translating) 2) การยกตวั อย่าง (Exemplifying) เชน่ การอธิบายให้เหน็ ภาพประกอบ (Illustrating) การ ยกตวั อย่างประกอบ (instantiating) 3) การจัดประเภท (Classifying) เชน่ การจัดกลุ่ม (categories) การจดั เป็นกล่มุ (subsuming) 4) การสรปุ (Summarizing) เช่น การสรปุ เรือ่ ง (abstracting) การกลา่ วสรปุ (generalizing) 5) การอนมุ าน/การลงความเห็น/การสรปุ อา้ งองิ (Inferring) เช่น การลงมติ / การสรปุ ผล (concluding) การสรปุ อ้างอิง (extrapolating)การสอดแทรกความเห็น (interpolating) การทานาย(predicting) 6) การเปรียบเทยี บ (Comparing) เชน่ การเปรยี บเทยี บความแตกต่าง (contrasting) การจบั คู่ (matching) การทาแผนที่ (mapping) 7) การอธิบาย (Explaining) เช่น รปู แบบการสร้าง (Constructing model) 1.2.3 ประยุกต์ใช้ (Apply) หมายถงึ ความสามารถในการนากระบวนการไปใช้ใน การทา แบบฝึกหดั (Perform exercises) หรอื แกป้ ัญหา (Solve problems) หรอื แก้ไขสถานการณ ประกอบด้วย 1) การปฏบิ ัติ (Executing) เช่น การดาเนนิ การ (carrying out) 2) การทา/ดาเนินการ (Implementing) เชน่ การใช้ (using)
21 1.2.4 วิเคราะห์ (Analyze) หมายถึง ความสามารถในการวิเคราะหส์ ว่ นประกอบรวมต่าง ๆ และ ตรวจสอบความเก่ียวข้องของส่วนประกอบ (Constituent parts) กบั โครงสรา้ งภา (Overall structure) หรือ วัตถปุ ระสงค์ (Objectives) ประกอบดว้ ย 1) การบอกความแตกต่าง (Differentiating) เช่น การจาแนก (discriminating) การแยกแยะ/ จาแนกความแตกต่าง (distinguishing) การบอกจดุ สนใจ (focusing) การคัดเลือก/การคัดสรร(selecting) 2) การจัดการ (Organizing) เชน่ การเชอื่ มโยง/การหาความสอดคล้อง (finding coherence) การบูรณาการ (integrating) การกาหนดโครงร่าง (outlining) การวเิ คราะหค์ า/ประโยค (parsing) การจัดทา โครงสรา้ ง (Structuring) 3) บอกคุณลักษณะ (Attributing) เชน่ การซอื้ (deconstructing) 1.2.5 ประเมิน (Evaluate) หมายถงึ ความสามารถในการตัดสินใจบนพ้ืนฐานของ เกณฑ์ และ มาตรฐาน ประกอบด้วย 1) การตรวจสอบ (Checking) เชน่ การประสานกัน/ความสอดคล้องกนั (coordinating) การค้นหา (detecting) การตดิ ตาม (monitoring) การทดสอบ (testing) 2) การวิจารณ์ (Critiquing) เชน่ การตัดสิน (judging) 1.2.6 สร้างสรรค์ (Create) หมายถึง ความสามารถนาเอาส่วนต่าง ๆ หรอื ส่วนประกอบ หรอื องค์ประกอบ มารวมกัน เพื่อสร้างเปน็ ส่งิ ใหม่ ประกอบด้วย 1) การสรา้ ง/ทาใหเ้ กดิ ขน้ึ ทาใหม้ ีขึ้น (Generating) เช่น การสรา้ ง สมมตุ ฐิ าน (hypothesizing) 2) การวางแผน (Planning) เช่น การออกแบบ (designing) 3) การผลิต (Producing) เชน่ การสร้าง (constructing) 2. การปรบั เปล่ียนโครงสร้าง พทุ ธิพสิ ยั แบบเดมิ จะวัดมิตเิ ดียว คือ มิตกิ ระบวนการทางปัญญา (Cognitive process dimension) ซงึ่ เป็นการวดั ตงั้ แตค่ วามรู้ จนถงึ การประเมินค่า แตไ่ ดป้ รับเปลย่ี นเปน็ การวดั 2 มิติ ประกอบด้วย มติ ิท่หี นึง่ คือ มติ ิกระบวนการทางปัญญา (Cognitive process dimension) และ มติ ิทีส่ อง คือ มิติดา้ นความรู้ (Knowledge dimension) มิตดิ า้ นความรู้ (Knowledge dimension) ประกอบด้วย 1. ความรู้ดา้ นข้อเทจ็ จรงิ (Factual knowledge) เปน็ ความรู้พื้นฐานท่ีนักเรียนต้องรู้ เพ่ือ นาไปปรบั ให้ เขา้ กับเนื้อหาวชิ า หรอื การแกป้ ัญหา ประกอบด้วย 1.1 ความรู้เกยี่ วกบั คาศัพท์ (Knowledge of terminology) 1.2 ความรู้เกี่ยวกบั รายละเอียด และองค์ประกอบ (Knowledge of specific detaile
22 And Ouroa elements) 2. ความรูด้ ้านความคิดรวบยอด (Conceptual knowledge) เป็นความร้เู ก่ยี วกับ ความสัมพนั ธ์ภายใน ระหว่างองค์ประกอบพนื้ ฐานต่าง ๆ กับโครงสรา้ งนัน้ (โครงสร้างขนาดใหญ่ ทีท่ าให้องค์ประกอบพน้ื ฐานเหล่านน้ั สามารถทางานรว่ มกันได้ ประกอบด้วย 2.1 ความรู้เก่ยี วกบั การจาแนกประเภทและจาแนกกลุ่ม (Knowledge of classifications and categories) 2.2 ความรู้เก่ยี วกับหลักการ และการขยายหลักการ (Knowledge of principles and generalizations) 2.3 ความรูเ้ กี่ยวกับทฤษฎี รูปแบบ และ โครงสร้าง (Knowledge of theories, models, and structures) 3. ความรดู้ ้านกระบวนการ (Procedural knowledge) เปน็ ความรู้เก่ียวกบั วิธกี ารท่ีจะทาสิ่งใดสงิ่ หนงึ่ วิธีการแสวงหาความรู้ และเกณฑส์ าหรับการใช้ทกั ษะ ข้นั ตอนวธิ แี กป้ ญั หา กลวธิ แี ละ วิธกี าร ประกอบดว้ ย 3.1 ความร้เู ก่ยี วกบั ทักษะเฉพาะเร่อื งและขั้นตอนวิธีแก้ปญั หา Knowledge of subjectspecific skills and algorithms 3.2 ความรเู้ กยี่ วกบั เทคนิค และ วิธกี ารเฉพาะเรือ่ ง (Knowledge of subject specific techniques and methods) 3.3 ความรเู้ กี่ยวกบั หลักเกณฑ์ในการพจิ ารณาเลือกใชว้ ธิ กี ารที่เหมาะสม (Knowledge of criteria for determining when to use appropriate procedures) 4. ความรดู้ ้านอภิปัญญา (Meatacognitive knowledge) เปน็ ความร้เู ก่ียวกบั ความรู้ความเขา้ ใจ โดยทว่ั ไป หรือเป็นการสรา้ งความตระหนกั และความรู้ดว้ ยตวั เองประกอบด้วย 4.1 ความรเู้ ชิงกลยทุ ธ์ (Strategic knowledge) 4.2 ความรทู้ ่เี ก่ียวกับงานท่ีเป็นองค์ความรู้ รวมทัง้ บรบิ ททเ่ี หมาะสมและเงื่อนไขความรู้ Knowledge about cognitive tasks,including appropriate contextual and conditional knowledge) 4.3 ความร้เู กย่ี วกับตนเอง (Self- knowledge) แนวทางการนามิติด้านความรู้และกระบวนการทางปัญญาไปใช้ ครผู ู้สอนตอ้ งวิเคราะห์จุดประสงค์การ เรียนรใู้ นวิชาที่สอน แต่ละจุดประสงคก์ ารเรยี นรวู้ ่า อย่ทู จี่ ุดตดั ใดของมติ ดิ ้านความรู้ และมติ ิด้านกระบวนการทาง ปญั ญา การเขียนข้อสอบด้านพทุ ธพิ สิ ัยแบบใหม่ (Anderson and Krathwohl, 2001)
23 1. จา (Remember) ข้อคาถาม คาหลัก (Keyword) 1. จงบอกความหมาย/นยิ าม “จานวนเตม็ ” 2. ใครเปน็ คนกลา่ วคาว่า “ประชาธปิ ไตยเป็นการปกครอง เลือก (choose) ของประชาชน โดยประชาชน และเพ่ือประชาชน” นยิ าม (define) 3. จงบอกประโยชน์ของการส่งโทรทัศนร์ ะบบดจิ ติ อล (Digital TV) ค้นหา (find) 4. จงแสดงขั้นตอนของระบบการย่อยอาหาร ระบุ (label) 5. จงทอ่ งกลอนเก่ยี วกบั การประหยัดและการออมเงนิ แสดง (show) 6. จงเขยี นคาสาคญั (Keywords) เกี่ยวกับการสังเคราะหแ์ สงของพชื บอก (tell) 7. ประชาคมอาเซยี น (Asean Economic Community) กาหนดการเปิด ละเลย (omit) อยา่ งเปน็ ทางการเมื่อไหร่ อะไร (What) 8. จงเขยี นเหตุการณ์ทีเ่ กดิ ขึ้นในแตล่ ะวันของนกั เรียน เม่ือไหร่ (When) 9. ให้ระบุข้อห้ามเกย่ี วกับการขบั รถจกั รยานยนต์มา 3 ประเด็น ทไี่ หน (Where) 10. ภาวะโลกรอ้ น หมายถงึ อะไร ส่งิ ไหน (Which) 11. Where is Angkor Wat? ใคร (Who) 12. Why did Singapore ban gum? ทาไม (Why) 13. Who were the main character in the Ramakien (Ramayana)? ทาอย่างไร (How) 14. How is the global earth system changing? 15. Could you possibly explain the differences between remembah, remind, recall and recollect? 16. The ways to start losing weight. Which is true or false? 1) Don't do it alone. Join an exercise group. 2) Exercise at least three times a month. 3) Know which foods are good, and which are bad. 4) Do skip meals. Have small meals, instead. 2. เข้าใจ (Understand)
24 คาหลัก (Keyword) ขอ้ คาถาม จาแนก (classify) เปรยี บเทียบ (compare) 1. จงเขยี นเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวคดิ ของนักเรยี น ความแตกต่าง (contrast) 2. จงเปรียบเทยี บพชื ใบเลี้ยงเดี่ยวกับใบเล้ียงคู่ สาธิต (demonstrate) 3. จงเปรียบเทียบความแตกต่างของ Facebook กบั LINE อธิบาย (explain) 4. จงเขียนภาพ หรือ การ์ตูนทีแ่ สดงใหเ้ หน็ ถึงเหตุการณก์ ารขบั รถทีท่ าผดิ กฎจราจร ขยายความ (extend) 5. จงยกตวั อยา่ งคุณลกั ษณะของนักกีฬาวอลเลย์บอลทมี ชาตไิ ทย ยกตวั อย่าง (illustrate) 6. จงอธิบายเหตุผลว่าทาไมพระอภยั มณีซึ่งมเี วทย์มนตรค์ าถาทาให้ชนะการต่อสู้ อ้างองิ (infer) แก้ปัญหาและผา่ นอปุ สรรคต่าง ๆ ไปได้ แต่สดุ ทา้ ย กลับมาแก้ปญั หาท่เี กิดข้ึน ด้วย ตคี วาม (interpret) การสละบา้ นเมืองและทรัพย์สมบัติ ออกบวช การสรปุ (Summarize) 7. จงสรปุ เหตกุ ารณ์รัฐประหารเม่อื วันท่ี 22 พฤษภาคม 2557 แปลความ (translate) 8. จงจัดทาแผนผังลาดบั เหตุการณช์ ุมนมุ ทางการเมืองในปี พ.ศ. 2557 9. จงถอดความบทน้ี “ร้อยคนรักไมเ่ ท่าหนึ่งคนที่ภักดี รอ้ ยคาหวานทีม่ ี ไมอ่ าจเท่า 3. ประยุกต์ใช้ (Apply) หนึง่ คาทจี่ ริงใจ” 10. ข้อใดเป็นข้อเท็จจรงิ และขอ้ ใดเป็นความคิดเหน็ 1) ทกุ คนหนไี ม่พน้ ความตาย 2) การปกครองในระบอบประชาธปิ ไตยดที ่ีสุด 11. what would happen if all our satellites suddenly just disappeared. 12. Read the paragraph/table. What are they saying? 13. How would you classify hydrogen? 14. how would you compare and contrast a dog and a cat? 15. How would you summarize the key processes involved in marketing? 16. What is the main idea of this message? Regular exercise is good for your health. A moderate amount of activity performed three to five days per week can: Improve your heart health, Improve your heart disease risk factors, and Improve your strength and feeling of well-being.
25 คาหลัก (Keyword) ขอ้ คาถาม ประยกุ ตใ์ ช้ (apply) 1. การออกกาลงั กายเพ่ือพัฒนากลา้ มเนื้อท้อง (six pack) ทาอย่างไร สร้าง (build, construct) 2. ถ้าท่านมีอาการเจ็บคอ จะใช้สมนุ ไพรใดรกั ษาอาการนี้ พฒั นา (develop) 3. สรา้ งแบบจาลองทแ่ี สดงให้เหน็ ถงึ วธิ กี ารทางานของเคร่ืองปอก มะพรา้ ว ทดลอง (experiment) 4. จงแตง่ ตวั ตุ๊กตาในชดุ ประจาชาตขิ องประเทศในอาเซยี น สัมภาษณ์ (interview) 5. จงเขยี นบันทกึ ประจาวัน (diary) ของนักเรียน แสดงการใช้รปู แบบ 6. จงจดั ทาสมุดข่าว (มีข่าว และรปู ภาพ) ทเ่ี กยี่ วข้องกบั วชิ าทีเ่ รยี น (make use of model)จดั การ 7. จงเขียนบัตรเชิญสาหรับงานเล้ยี งวนั เกิดของท่าน (organize) 8. จงจัดทาและนาเสนอภาพท่ีนักเรียนได้ถ่ายไว้ โดยจัดเป็นหมวดหมู่ เชน่ สถานที่ วางแผน (plan) ทอ่ งเที่ยว อาหาร การออกกาลังกาย เสอ้ื ผา้ ฯลฯ แก้ปัญหา (solve) 9. จงจัดทาเกมเสริมทกั ษะคาศัพทภ์ าษาอังกฤษ 10. กาหนดให้ U = {1,2,3,4,5,6,7,8,9,10} , A = {1,2,3}, B = {1,2,3,4,5}, C = {3,5,6,7} จงเขียนแผนภาพ Venn Diagram แสดงความสมั พนั ธร์ ะหวา่ ง U กบั เซต A, B และ C 11. Write a brief outline for a research report. 12. Paint a mural using the same materials. 13. Can you group by characteristics such as green energy? 14. Which things to consider before you make investing decisions 15. How would you use a leadership role constructively for you organization? 16. What approach would you use for managing a new small bus client? 4. วเิ คราะห์ (Apply) คาหลัก (Key words)
26 คาหลกั (Keyword) ข้อคาถาม วเิ คราะห์ (analyze) 1. จงใชแ้ ผนภาพ Venn Diagram แสดงความแตกต่าง และความเหมือน ของปลา สนั นษิ ฐาน (assume) และ กงุ้ จาแนกกล่มุ (categorize) 2. ใหน้ กั เรยี นสารวจความคิดเห็นของเพือ่ นในชั้นเรยี นเกยี่ วกบั การพดู จาแนกประเภท (classify) ภาษาอังกฤษเพ่ือการส่ือสารของเดก็ ไทย แลว้ วเิ คราะหผ์ ลการ สารวจ เปรียบเทียบ (compare) 3. จงจาแนกการกระทาของตัวละครเร่อื งสามกก๊ สรุป (conclusion) 4. จงสร้างแผนภาพความเช่ือมโยงทางสังคม (Sociogram) ความสัมพันธ์ระหวา่ ง ความแตกต่าง (Contrast) บคุ คลในชมุ ชนของนกั เรียน ค้นพบ (discover) 5. จงสรา้ งกราฟเพื่อแสดงใหเ้ หน็ ขอ้ มลู การสง่ ออกของประเทศไทย ในปที ่ีผ่านมา พินิจพเิ คราะห์ (dissect) 6. จงสรา้ งต้นไมค้ รอบครัวแสดงความสัมพนั ธ์ของบุคคลตา่ ง ๆ แยกแยะ (distinguish) 7. จงเขยี นบทบาทสมมุติเก่ียวกบั การออมเงิน แบง่ แยก (divide) 8. จงเขยี นชวี ประวัตขิ องเซอร์ไอแซก นวิ ตัน (Sir Isaac Newton) ทดสอบ (examine) 9. จงจัดทารายงานเกีย่ วกับหน้าทพ่ี ลเมืองของคนไทย หนา้ ท่ี (function) 10. จงตรวจสอบงานศิลปะในแงข่ องรูปแบบ (form) สี (color) อนุมาน (inference) และพน้ื ผวิ (texture) 1 ใบ ตรวจสอบ (inspect) 11. Which events could not have happened? ความสมั พันธ์ (relationships) 12. What do you see as other possible outcomes? ทาให้ง่าย (Simplify) 13. Make a flow chart to show the critical stages of silk production เขา้ รว่ ม (take part in) 14. Would you take part in the project? ตรวจสอบ (test for) 15. What is the theme of Bang Rajan: The Legend of the Village's ประเดน็ หลัก (theme) Warriors? 16. Can you distinguish between natural and synthetic fibers? 5. ประเมิน (Evaluate)
27 คาหลัก (Keyword) ข้อคาถาม เห็นด้วย (agree) 1. จงสรา้ งเกณฑ์ในการตัดสนิ การวาดภาพภาพสีนา้ (Colour Paint) ประเมนิ (appraise, assess, 2. จากบทความน้ี ใครจะเป็นผู้ทีจ่ ะได้ผลประโยชน์ และใครจะเปน็ สญู เสยี เพราะ evaluate) เหตใุ ด เลือก (choose) 3. อนิ เทอร์เน็ตมีอิทธพิ ลต่อชวี ิตของคนเราอยา่ งไรบ้าง เกณฑ์ (criteria) 4. สงิ่ ใดที่มีความสาคัญมากกว่าระหว่างคุณธรรม ตรรกะ ความถูกต้อง และ ความ วิจารณ์ (criticize) เหมาะสม ตดั สินใจ (decide 5. การแข่งขันกับคนเปน็ ส่ิงที่ดหี รือไม่ดี เพราะอะไร determine) 6. วิธที ดี่ แี ละเหมาะสมกบั การจดั การขยะในชมุ ชนทาอยา่ งไร ลงความเหน็ (deduct) 7.คณุ เชือ่ หรอื ไมว่ ่า “ออมก่อน รวยกว่า” กล่าวแยง้ (defend) 8. อะไรเป็นสง่ิ สาคัญท่ีสุดในชีวิตของคนเรา พิสจู น์แย้ง (disprove) 9. ปัจจัยใดท่มี อี ิทธพิ ลต่อผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี น โตแ้ ยง้ (dispute) 10. จงบอกเหตผุ ลในการตดั สินใจทาธุรกจิ ออนไลน์ (online) ประมาณค่า (estimate, rate) 11. Is there a better solution to student background classification? มอี ิทธิพลตอ่ (influence) 12. What are the pros and cons of internet? ตดั สนิ (judge) 13. What information would you use to prioritize your daily tasks? พิสจู น์ให้เห็น (justify) 14. How could you verify that a soft drink? มาตรการ (measure) 15. What is the most important factor in improving reading skills. จดั ลาดบั กอ่ น (prioritize) 16. How would you determine the demand for a factor of product พิสจู น์ (prove) 6. สรา้ งสรรค์ (Create) ข้อคาถาม คาหลกั (Keyword)
28 ปรบั (adapt) 1. จงออกแบบผลติ ภณั ฑร์ องเทา้ นักกรีฑาแบบใหมท่ ่ีมีประสิทธภิ าพ เสริมความเร็ว สรา้ ง (build) ในการวง่ิ และการรักษาข้อเท้า เปลยี่ นแปลง (change) 2. จงออกแบบอุปกรณ์ควบคุม (Remote control) ระบบไฟฟ้าในบา้ น นามารวมกัน (combine) 3. จงออกแบบหุ่นยนต์ท่ีใช้ทางานบ้าน รวบรวม (compile) 4. จงสรา้ งผลติ ภัณฑใ์ หม่ และวางแผนการตลาดเพ่ือขายผลิตภัณฑน์ ้ัน ประกอบ (compose) 5. จงเขยี นบทละครโทรทศั นเ์ กีย่ วกับการรักษาส่ิงแวดล้อม สรา้ ง (construct) 6. จงออกแบบการบรหิ ารจดั การเงนิ การออกแบบระบบการเงินใหม่ ประดิษฐ์ (create) 7. จงเขยี นเมนสู าหรบั รา้ นอาหารใหม่ ที่มีความหลากหลายของอาหารที่ดีต่อสุขภาพ ออกแบบ (design) 8. จงออกแบบโฮมเพจ (Home page) (หนา้ แรกของเวบ็ ไซต์) สาหรับ พฒั นา (develop) ประชาสัมพนั ธ์การขายสินค้าออนไลน์ อภปิ ราย (discuss) 9. จงบอกวิธกี ารศึกษาผลการใชป้ ๋ยุ ทม่ี ตี ่อการเจริญเติบโตของพืช ประมาณค่า (estimate) 10. จงใช้ร้เู ก่ยี วกับหว่ งโซอ่ าหาร (food chains) อธิบายสิง่ ที่เกิดขึน้ กาหนดเกณฑ์ (formulate) ในระบบนิเวศที่สนใจ 1 ระบบ เชน่ ระบบนิเวศแหล่งํน้า ระบบนเิ วศบก ระบบนเิ วศ จนิ ตนาการ (imagine) ชุมชนเมือง และใหเ้ สนอข้อมูล สนบั สนุนดว้ ย ปรับปรงุ (improve) 11. Write a song to advertise a new product. คิดคน้ (invent) 12. Make up a new language and use it in an example. แก้ไข (modify) 13. Write about your feelings in relation to news on TV. ทานาย (predict) 14. What would happen if the earth stopped spinning? แก้ปญั หา (solve) 15. Can you develop a business proposal? ทดสอบ (test) 16. John says that as the temperature increases the particles get bigger. Do you agree? Give your reasons. ปรบั ปรงุ จาก : http://www.roe8.com/Gardner%20-%205-02-Revised%20Blooms.pdf สรปุ การวัดด้านพุทธิพสิ ยั เป็นการวัดด้านความรู้ซึง่ แบ่งได้ 6 ระดบั คือ ระดับต่าสดุ เปน็ การ วดั ความรู้ ความจา เปน็ การถามเกย่ี วกับเรอื่ งราวตา่ ง ๆ ท่ีเคยเรียนมา ไมว่ า่ จะเปน็ ศพั ท์ นยิ าม กก เกณฑ์ความจริง
29 แบบแผน ลาดับขัน้ ทฤษฎี วธิ ีการ ส่วนการวัดเขา้ ใจเป็นการขยายความรู้ ความจาใหไ้ กลออกไปจากเดมิ อย่าง สมเหตสุ มผล โดยการแปลความ ตีความ และขยายความ การ นาไปใชเ้ ป็นการแก้ปัญหาทแ่ี ปลกใหม่ ซึ่งเป็นปัญหา ท่ียงั ไม่เคยแกม้ าก่อนเลย ปัญหาใหม่น้นั เป็นปัญหาที่ไม่สามารถนาสตู ร กฎทเี่ คยเรียนมาแกป้ ัญหาไดโ้ ดยทันที จะตอ้ งใช้ยุทธวิธีหลายอย่าง ในการแก้ปัญหาน้ัน สาหรบั การวิเคราะหจ์ ะถามเกย่ี วกับการแยกแยะส่วนย่อย ๆ ตาม หลกั การ และกฎเกณฑท์ ่ีกาหนดให้ หลักการถาม ใหย้ กเอาสง่ิ สาเรจ็ รูปมาต้ังเป็นปญั หา แลว้ ถามใหค้ ้นหา สิ่ง สาคญั ความสมั พนั ธแ์ ละหลกั การ ในสว่ นของการสังเคราะห์ จะถามเก่ียวกบั การสร้างสิ่งใหม่ ทีม่ ีลกั ษณะตา่ งไป จากเดมิ โดยการรวมสิง่ ตา่ ง ๆ ต้งั แตส่ องสงิ่ ขนึ้ ไปเข้าด้วยกัน ส่งิ ที่นามา รวมกนั อาจเปน็ วตั ถสุ ิ่งของ ข้อเทจ็ จรงิ หรือความคิดเหน็ ใด ๆ การสังเคราะหจ์ ะมีทงั้ การ สังเคราะห์ขอ้ ความ แผนงานและ ความสัมพันธ์ ส่วนพฤติกรรม ขน้ั สูงสดุ ของพุทธพิ ิสัย คอื การ ประเมนิ ค่า ข้อคาถามจะถามใหต้ ดั สินใจในเรื่องใดเร่ืองหน่ึง ว่าสง่ิ นัน้ ดี - เลว หรอื เหมาะสมเช่น ตดั สนิ ไร ใช้เกณฑภ์ ายใน คือ เกณฑ์ในเน้ือหา หรอื ใชเ้ กณฑภ์ ายนอก คอื เกณฑ์ทางสังคม เปน็ เครอ่ื งตัดสิน ตอ่ มามีการปรบั ปรงุ การวดั ด้านพุทธิพสิ ัยของบลูม (Revised Bloom's Taxonomy) ใหม่ คือ 1) การเปลีย่ นจากการใช้คานาม เป็นคากรยิ า เพราะคากริยาสามารถอธิบายการกระทาของพุทธ พิสยั ไดด้ กี วา่ คานาม เช่น ความรู้ (Knowledge) เปล่ยี นเปน็ จา (Remember) ความเข้าใจ (Comprehension) เปลีย่ นเป็น เข้าใจ (Understand) เปน็ ตน้ พร้อมทั้งปรบั เปล่ยี นการวดั การ สังเคราะหเ์ ปน็ การวัดความคดิ สร้างสรรค์ โดยถือว่า เปน็ การวัดระดับสงู สุดดา้ นพุทธิพสิ ัย และการ ประเมินค่าเป็นการวดั ระดับรองลงมาด้วย 2) การปรบั เปล่ียน โครงสร้าง พุทธพิ ิสัยแบบเดมิ จะวัดมติ ิเดยี ว คือ มิตกิ ระบวนการทางปญั ญา (Cognitive process dimension) ปรบั เปลี่ยน การวัด 2 มิติ ประกอบดว้ ย มติ ิทีห่ น่ึง คือ มิติกระบวนการทางปัญญา (Cognitive pro dimension) และ มติ ิท่ีสอง คือ มิติด้านความรู้ (Knowledge dimension) 3.2 พฤติกรรมดา้ นจิตพสิ ัย จากความมุ่งหมายและหลักการของการศึกษา ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 (กระทรวงศึกษาธิการ. 2542, หนา้ 6 - 7) ได้ระบุในหมวด 1 มาตรา 6 ว่า การจัดการศกึ ษา ตอ้ งเป็นไปเพื่อพัฒนา
30 คนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้ และ คุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรม ในการดารงชวี ิต สามารถอยรู่ ่วมกับผอู้ ่นื ได้อย่างมคี วามสุข จากคากล่าวข้างต้น จะเห็นไดว้ ่า การพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม หรอื ท่ีเรียกวา่ ด้านจิตพิสัย เป็นส่ิงสาคัญ เป็นอย่างย่ิงในการศึกษาสมัยใหม่ ซ่ึงสอดคล้องกับคากล่าวของปอปแฮม (Popham, 1998, หน้า 200) ท่ีว่า จิตพิสัยทุก ๆ ด้าน มีความสาคัญพอ ๆ กับ ความสามารถด้านพุทธิพิสัย (Cognitive ability) คนท่ีไม่เก่งทางด้าน วิชาการ (Gifted intellectually) ยังประสบผลสาเร็จได้ ถ้าเขามีแรงจูงใจ และขยันในการทางาน และ สติกก้ินส์ (Stiggins, 1994, หน้า 71) ท่ีกล่าววา่ จิตพสิ ัยมคี วามสาคญั ตอ่ ผเู้ รียน คอื เพื่อใหผ้ ู้เรยี นเปน็ คนดี ระดบั พฤตกิ รรมทางด้านจิตพสิ ยั (Level of affective domain) จิตพิสัยเป็นวัตถุประสงค์หนึ่งของการวัดทางด้านการศึกษา ซ่ึงฮอปกิ้นส์ และ (Hopkins and Antes, 1990, หนา้ 495 - 498) ไดแ้ บง่ ระดบั จิตพิสยั ไว้ 5 ระดบั โดยเรียงจากระดับต่าสุด ถึง ระดบั สูงสดุ ดังนี้ ระดบั สูงสุด (Highest level) 5. การสร้างลักษณะนิสยั (Characterization by a value complex) 4. การจัดระบบคุณค่า (Organization) 3. การสร้างคุณค่า (Valuing) 2. การตอบสนอง (Responding) 1. การรับรู้ (Receiving or attending) ระดับต่าสดุ (Lowest level) ภาพท่ี 2 แสดงระดบั พฤตกิ รรมด้านจติ พสิ ัย (Hopkins and Antes, 1990, หน้า 495) พฤติกรรมด้านจิตพิสัยเป็นพฤติกรรมท่ีเก่ียวกับความรู้สึกนึกคิดทางจิตใจ อารมณ์ และ คุณธรรมของบุคคลพฤติกรรมการเรียนรู้ด้านจิตพิสัยสามารถจาแนกได้ 5 ระดับ ได้แก่ 1) การรับรู้ 2) การตอบสนอง 3) การสร้างคณุ ค่า 4) การจัดระบบคณุ ค่า และ 5) การสรา้ งลกั ษณะนสิ ยั 1. การรับรู้ ( Receiving or attending ) พฤติกรรมขั้นน้ีมีลักษณะการตอบสนอง 3 ลักษณะ ดว้ ยกันคอื 1) การยอมรับ 2) การตั้งใจท่จี ะรับรู้ และ 3) การเลอื กส่งิ เร้าทีต่ อ้ งการรับรู้ 1.1 การยอมรับ ( Awareness ) เป็นข้ันทาความรู้จักกับเหตุการณ์หรือปรากฏการณ์ท่ี เกดิ ขนึ้ โดยยอมใหส้ ิง่ เหลา่ น้ันเขา้ มาอยู่ในความสนใจของตนเอง ตวั อยา่ ง:
31 ขณะนงั่ คยุ กบั เพอ่ื นอยู่ เหน็ ครูเข้ามากเ็ ปลีย่ นอริ ยิ าบถ เดินผ่านปา้ ยนเิ ทศเห็นภาพตดิ ไว้คิดจะเขา้ ไปดู ฯลฯ 1.2 การต้ังใจท่ีจะรับรู้ ( Willing to receive ) เป็นการแสดงถึงความปรารถนาท่ีจะรับรู้ เกย่ี วกับสงิ่ น้ันดว้ ยความเตม็ ใจ ตวั อยา่ ง: หยิบปากกาดนิ สอขึ้นมาวางบนโต๊ะเม่ือถงึ เวลาเรยี น เดินเขา้ ไปท่ปี า้ ยนิเทศเพื่อจะดูป้ายนเิ ทศน้นั ฯลฯ 1.3 การเลือกสิ่งเร้าท่ีต้องการรับรู้ ( Controlled or selected attention ) เป็นขั้น การแยกแยะสง่ิ ทตี่ อ้ งการจะรบั รูโ้ ดยยงั ไม่ได้รรู้ ายละเอียดของปรากฏการณ์หรือสิ่งเรา้ น้ันๆ ตวั อยา่ ง เม่อื เดินไปถงึ ปา้ ยประกาศแล้วเลือกดภู าพทค่ี ดิ วา่ น่าสนใจ ฯลฯ 2. การตอบสนอง ( Responding) เป็นพฤติกรรมต่อเน่ืองจากความต้ังใจที่จะรับรู้โดยไม่เพียงแต่จะ ตง้ั ใจรบั รู้เท่าน้ัน แตม่ ีความปรารถนาหรือปฏกิ ริ ยิ าทีจ่ ะโตต้ อบตอ่ สง่ิ เรา้ น้ันอย่างเตม็ ใจและเกดิ ความพึงพอใจ จากการตอบสนอง พฤติกรรมขั้นนี้จาแนกได้ 3 ลักษณะได้แก่ 1) การยินยอมท่ีจะตอบสนอง 2) ความเต็มใจท่ีจะ ตอบสนอง และ 3) ความพอใจในการตอบสนอง 2.1 การยินยอมที่จะตอบสนอง ( Acquiescence in responding ) เป็นการตอบสนอง ดว้ ยการยินยอม ถึงแมจ้ ะไม่เต็มใจกต็ ามแต่ก็ไม่ขัดขนื ตวั อย่าง: เพื่อนชวนไปดูนิทรรศการก็ไปกบั เพ่อื น ทงั้ ๆ ท่ีใจจริงแล้วไมอ่ ยากไปเลย เห็นปา้ ยประกาศท่ีหน้าหอ้ งว่า “โปรดถอดรองเทา้ ” กถ็ อดทงั้ ๆท่ไี ม่เต็มใจท่ีจะถอด ฯลฯ 2.2 ความเต็มใจท่ีจะตอบสนอง ( Willingness to response ) เป็นการยอมรับท่ีจะ ตอบสนองด้วยความเตม็ ใจ ตัวอยา่ ง: ยนิ ดีไปดูนิทรรศการด้วยความเตม็ ใจเม่อื ถูกเพ่ือนชวน
32 ยนิ ดถี อดรองเท้าเมือ่ เห็นปา้ ย”โปรดถอดรองเท้า” ยนิ ดดี บั บหุ รเ่ี ม่ือเหน็ ปา้ ย “เขตปลอดบหุ ร่ี” ท้งั ๆทไี่ ม่มีใครบอก และไม่มใี ครเห็น ฯลฯ 2.3 ความพอใจในการตอบสนอง ( Satisfaction in response ) เมื่อได้ตอบสนองในสิ่ง ท่ีตนยอมรบั แลว้ เกดิ ความสขุ มีความพงึ พอใจที่ได้ทาลงไป ตัวอย่าง: ร้สู ึกสบายใจทไ่ี มไ่ ด้ปฏเิ สธเม่อื เพื่อนชวนไปดูนิทรรศการ เมอื่ ถอดรองเท้ากอ่ นเข้าหอ้ งแลว้ รสู้ ึกสบายใจทไ่ี ด้ปฏบิ ตั ิตามระเบยี บ เห็นเศษกระดาษตกบนทางเดินจึงหยิบไปท้ิงในถังขยะ โดยไม่มีใครใช้ให้ทาและเม่ือทาแล้ว เกิดความภาคภมู ใิ จทไ่ี ด้ทาเช่นนัน้ ฯลฯ 3. การสร้างคุณค่า ( Valuing ) เป็นขั้นท่ีบุคคลมองเห็นคุณค่าของการตอบสนองต่อส่ิงเร้า หรือ ประสบการณ์ที่ได้มี ข้ันการสร้างคุณค่ามีพฤติกรรมการแสดง 3 ลักษณะได้แก่ 1) การยอมรับในคุณค่า 2) การ นยิ มชมชอบในคณุ คา่ 3) การสรา้ งคณุ ค่า 3.1 การยอมรับในคุณค่า ( Acceptance of value ) เป็นข้ันท่ียอมรับว่าพฤติกรรมที่ แสดงออกไปนน้ั เปน็ สิง่ ท่ีดี มีคณุ คา่ ตวั อย่าง: ไมส่ ูบบหุ รใ่ี นอาคารเรียนเพราะคดิ วา่ การสบู บุหรี่ในอาคารเรยี นเป็นการไมด่ ี การทงิ้ เศษกระดาษบนทางเท้าเปน็ สง่ิ ท่ไี ม่ดี ฯลฯ 3.2 การนิยมชมชอบในคุณค่า(Preference for a value) เป็นการยินยอมท่ีรับคุณค่าใน ข้อ 3.1 ด้วยความพึงพอใจ ตวั อยา่ ง: มีความพงึ พอใจทจ่ี ะงดเว้นการสูบบหุ ร่ีในอาคารเรียน พอใจทีจ่ ะทง้ิ เศษกระดาษในถงั ขยะ ฯลฯ 3.3 การสร้างคุณค่า (Commitment or conviction) ในข้ันนี้บุคคลจะมีความคงเส้น คงวาในการตอบสนองต่อสิ่งเร้า โดยแสดงพฤติกรรมท่ีตนเห็นว่ามีคุณค่าอย่างสม่าเสมอและตอบสนองอย่าง ต่อเน่อื งไปจนเกิดการยอมรับเปน็ คา่ นยิ มของตนเอง นอกจากนย้ี ังพยายามทาใหผ้ อู้ น่ื คล้อยตามคา่ นิยมของตนด้วย ตัวอยา่ ง:
33 งดสบู บุหร่ีทนั ทเี ม่ือเข้าบรเิ วณอาคารเรยี น และตกั เตือนเม่ือเหน็ ผ้อู ่นื สูบบุหร่บี นอาคารเรยี น ชักชวนผอู้ ื่นทง้ิ ขยะให้เปน็ ที่ ฯลฯ 4. การจัดระบบคณุ ค่า (Organization) หลังจากท่ีบคุ คลไดส้ ร้างค่านิยมของตนข้ึนมาแลว้ กพ็ ยายามนา ค่านิยมน้ันมาจัดระบบให้เกิดเป็นระบบระเบียบข้ึน ลักษณะการจัดระบบคุณค่ามี 2 ลักษณะได้แก่ 1) การสร้าง ความคิดรวบยอดของคณุ คา่ และ 2) การจัดระบบของคณุ ค่า 4.1 การสร้างความคิดรวบยอดของคุณค่า ( Conceptualization of a value ) เมื่อบุคคล สร้างคุณค่าหรือค่านิยมย่อยๆ ของตนเองหลายคุณค่า ก็จะเกิดการจัดระบบคุณค่าย่อยเหล่านั้นเป็นหมวดหมู่ ใช้ชดั เจนขนึ้ ตวั อยา่ ง: ถอดรองเทา้ ในสถานทท่ี ่ตี ้องการรักษาความสะอาดเป็นพเิ ศษ เช่น ในบา้ น ในโบสถ์ เปน็ ต้น งดสบู บุหร่ใี นทีท่ ่ไี ม่ควรสูบ เชน่ ในอาคารเรยี น ในหอ้ งประชมุ ในหอ้ งปรบอากาศ เปน็ ต้น ทิ้งเศษขยะในทที่ ีจ่ ัดใหไ้ ว้ เชน่ ถังขยะ หลมุ ทเ่ี ตรยี มเผา เปน็ ต้น ฯลฯ จากตวั อยา่ งทง้ั 3 ตัวอย่างขา้ งตน้ จะสรปุ ไดเ้ ป็นคา่ นิยมเก่ียวกบั การปฏิบตั ติ ามระเบียบแบบแผนของสังคม 4.2 การจัดระบบคุณค่า ( Organization of a value system ) เป็นการนาเอาหลายๆ คุณค่ามาจักระบบเพื่อสร้างเป็นลักษณะภายในตนท่คี งท่ี แนน่ อน ตวั อยา่ ง: ค่านิยมเกย่ี วกบั การปฏิบัตติ ามระเบียบของสถานศึกษา ของสงั คม ของทอ้ งถนิ่ ของประเทศชาติ เป็นต้น 5. การสรา้ งลกั ษณะนิสยั ( Characterization by a value complex ) เปน็ การจัดระบบคุณค่า ที่มีอยู่ในตวั เข้าเปน็ ระบบที่ถาวร ซงึ่ จะทาหน้าท่ีควบคุมพฤตกิ รรมการแสดงของบุคคลไม่ว่าจะอยู่ในสถานการณ์ ใดๆ กจ็ ะแสดงพฤตกิ รรมตามค่านิยมทยี่ ึดถือตลอดไป และจะแสดงพฤติกรรมนัน้ อย่างสมา่ เสมอจนเกิดเป็นนสิ ัย ประจาตัวของแตล่ ะบุคคล การสรา้ งลกั ษณะนสิ ยั มี 2 ลักษณะไดแ้ ก่ 1) การสร้างลกั ษณะนสิ ัยชวั่ คราว (Generalized set) 2) การสรา้ งลักษณะนสิ ยั ถาวร 5.1 การสร้างลักษณ ะนิสัยช่ัวคราว ( Generalized set ) เป็นการแสดงพฤติกรรม ท่ีสอดคล้องกบั คณุ ค่าส่วนตัวบางอยา่ งของบคุ คล โดยคานึงถงึ ผลท่จี ะเกดิ ตามมาในสถานการณ์นน้ั ๆ ด้วย ตัวอย่าง: บริจาคทุนให้แก่นักศึกษา เพราะมีใจอยากจะช่วยนักศึกษา แต่เน่ืองจากยังเสียดายเงินอยู่ จึงทาเปน็ บางครง้ั เทา่ นั้น ฯลฯ
34 5.2 การสร้างลักษณะนิสัยถาวร ( Characterization ) เป็นขั้นแสดงลักษณะนิสัยที่แท้จริง ของบุคคลออกมาอย่างสมบูรณ์ เพราะเป็นการรวมเอาคุณลักษณะที่เป็นคุณค่าต่างๆ ของบุคคลเข้าไว้ด้วยกัน ขนั้ น้ีถอื วา่ เปน็ จุดสดุ ยอดของการพฒั นาคน ตัวอยา่ ง: นิสัยรักความสะอาด เกิดจากการเห็นคุณค่าของความสะอาด แล้วพยายามจัดระบบระเบียบ ความเป็นอยใู่ หเ้ รยี บรอ้ ยจนเกิดเป็นนิสยั ฯลฯ คุณลักษณะในแต่ละระดับเม่ือจัดระบบเป็นบุคลิกลักษณะประจาตัวของบุคคลแล้ว จะแสดง ใหเ้ ห็นถึงคณุ ลักษณะหลักๆเช่น ความสนใจ เจตคติ ค่านยิ ม เปน็ ต้น ความสนใจ เป็นลักษณะของการมีใจจดจ่ออยู่กับสิ่งใดส่ิงหนึ่งในช่วงระยะเวลาใดเวลาหน่ึง ความสนใจของบุคคลเร่ิมจากการท่ีบุคคลมีการรับรู้ ต่อส่ิงใดส่ิงหนึ่งด้วยความพึงพอใจ และมองเห็นคุณค่าของ ส่งิ นัน้ จนเกิดความรสู้ กึ นิยมชมชอบในคุณค่าของส่งิ ท่รี ับรูน้ ั้น และจะตอบสนองตอ่ ส่ิงน้ันอย่างคงเสน้ คงวา ตวั อยา่ ง: ความสนใจในดนตรี จะเร่ิมจากมีการรับร้โู ดยการฟังดนตรี มีความต้ังใจที่จะฟังดนตรี เกิดความ พึงพอใจที่จะฟังดนตรี มองเห็นคุณค่าของดนตรี มีการตอบสนองในลักษณะต่างๆ เช่น หาโอกาสฟังดนตรีเสมอๆ ทั้งจากวิทยุ โทรทัศน์ จากการแสดงตามสถานท่ีต่างๆ หมั่นศึกษาหาความรู้เกี่ยวกับเร่ืองดนตรี ฝึกหัดเล่นดนตรี และขยนั ฝกึ ซ้อมดนตรอี ยา่ งสม่าเสมอ เป็นตน้ คุณลักษณะด้านจิตพิสัยสามารถพัฒนาไปได้ในทุกรายวิชาท่ีครูสอน จากกรอบจุดประสงค์ การเรียนรู้ไว้ในคู่มือการประเมินผลการเรยี น ตามหลักสตู รประถมศกึ ษาฉบับ 2533(กรมวิชาการ,2535 : 97-112) ปรากฏวา่ มีพฤติกรรมทางด้านจิตพิสัยท่ีพึงประสงค์จากการเรยี นการสอนในทุกรายวิชา ดังนี้ 1. วชิ าภาษาไทย ได้แก่ 1.ความคดิ สร้างสรรค์ 2. เจตคติ 3.คา่ นยิ ม 4. ความคิดอย่างมีเหตุผล ฯลฯ 2. วิชาคณติ ศาสตร์ ไดแ้ ก่ 1.ค่านยิ ม 2.เจตคติ 3.ความมีระเบยี บ 4.ความคิดอย่างมีเหตุผล 3. กลุ่มสรา้ งเสรมิ ประสบการณ์ชีวิต ได้แก่ 1.ค่านยิ ม 2.เจตคติ 3.ความสนใจ 4.ความสามารถในการปรบั ตัว
35 5.ความอดทน 6.นิสยั ใฝห่ าความรู้ 7.ความภาคภูมิใจในความเป็นคนไทย 8.ความเลือ่ มใสศรทั ธาในระบอบประชาธปิ ไตย ฯลฯ 4. กลุ่มสรา้ งเสรมิ ลกั ษณะนสิ ัย ไดแ้ ก่ 1.ความเสยี สละ 2.ความสามคั คี 3.ความมีระเบยี บวินยั 4.ความประหยัด อดออม 5.ความซอื่ สตั ยส์ จุ ริต 6.เจตคติ 7.ค่านิยม 8.ความกตัญญู 9.ความคิดสร้างสรรค์ 10.ความสามารถในการปรับตวั 11.ความสนใจ 12.บุคลิกภาพ 13.ความอดทน 14.ความรบั ผดิ ชอบ 15.ความมีคุณธรรม ฯลฯ 5.กลุม่ การงานและอาชีพ ได้แก่ 1.ความคดิ สรรค์ 2.ความรบั ผดิ ชอบ 3.การรู้จกั พงึ่ ตนเอง 4.ความเปน็ ผ้รู ักการทางาน ฯลฯ 6.กลมุ่ สรา้ งเสริมประสบการณ์พิเศษ ได้แก่ 1.ความสนใจ 2.ความขยนั 3.ความมีระเบียบวินยั 4.ความอดทน 5.ความซือ่ สตั ย์ 6.การรู้จกั พง่ึ พาตนเอง 7.ความสามารถในการปรบั ตัว 8.ความคดิ สร้างสรรค์ 9.คา่ นิยม ฯลฯ
พฤตกิ รรม ตารางที่ 3 พฤตกิ รรม การแสดงออกแ การแสดงออก 1.0 ขัน้ รบั รู้ 1.1 การทาความรู้จกั จาแนก แยก ถาม 1.2 การเตม็ ใจที่จะรับรู้ เลือก สะสม ยอมรับ เชอื่ มต่อ 1.3 การเลือกรบั สง่ิ เรา้ ท่ีต้องการ เลือก ติดตาม บง่ ใหช้ ื่อตอบ ยึดถ 2.0 ขน้ั ตอบสนอง 2.1 การยนิ ยอมท่ีจะตอบสนอง ยอมตาม ชมเชย ทาตาม ยอมรบั 2.2 ความเต็มใจทจี่ ะตอบสนอง อาสา อภิปราย ปฏบิ ตั ิ แสดง อ่า 2.3 ความพึงพอใจในการตอบสนอง แสดงอาการยินดใี ช้เวลาว่างในเรอ่ื เพ่มิ เติม พูด เขยี น อา่ น ชว่ ย 3.0 การเกิดคา่ นิยม ทาใหส้ มบรู ณ์ บรรยาย อธบิ ายเข นาเสนอ ทาซา้ รายงาน เขียน ศึก 3.1 การยอมรบั ในคุณค่า ระบุ ให้ข้อเสนอช่วยเหลือ สนบั ส บรรยาย สรรเสรญิ 3.2 การชื่นชอบในคณุ ค่า โต้แย้ง ปฏเิ สธ ต่อตา้ น สนับสนนุ อภิปราย ป้องกนั ย้า
36 และเนอ้ื หาของพฤติกรรมดา้ นจติ พสิ ัย เน้ือหา ถือ ฟงั ควบคุม เสียง ภาพ เหตุการณ์ เร่ืองราว แผนแบบ บ ตวั อยา่ ง ตวั แบบ รปู ร่าง ขนาด จงั หวะ าน รายงาน ใช้ ทางเลอื ก คาตอบ อง... ขยาย คาแนะนา วธิ ีการ กฎ ขอ้ บงั คับ นโยบาย คาชแ้ี จง เรอื่ งราว สิง่ ทก่ี าหนดให้ อ่านปัญหา ข้ารว่ มดว้ ย อ่าน กษา เรมิ่ ตน้ ส่ิงท่ีค้นคว้า การทดลอง การจดั แสดงความเหน็ ข้อเขียน สนนุ อธบิ าย งาน สนุ ทรพจน์ บทความ การแสดง น แนะนา คาตอบ ข้อเขยี น หลักการ ความเช่ือ คาอภปิ ราย วตั ถุ ส่งิ ของเหตุการณ์ ปรากฏการณใ์ ดๆ กิจกรรม ทศั นะ ประเดน็ โต้แยง้ โครงการ หลักการ ความเชื่อ แนวคิด บคุ คล วัตถสุ ิ่งของ เหตุการณ์และปรากฏการณ์ใดๆ สงิ่ ทีแ่ ตกต่างจากคุณค่าที่ยดึ ความเห็น ความเชือ่ แนวคิด เหตุผล เหตุการณ์ เรอ่ื งราวที่แยง้ กับคุณคา่ ท่ียดึ ผลงาน
พฤตกิ รรม การแสดงออก 3.3 การสรา้ งคุณค่า เปรยี บเทียบ สรปุ ขยาย รวม ปร สมบรู ณ์ อธิบาย อภปิ ราย บรรยา 4.0 ข้ันจดั ระบบคณุ คา่ นยิ าม 4.1 การสร้างความคิดรวบยอดของ จัดเรยี บเรียง สลบั ประสาน จดั กล คณุ ค่า ความสมั พนั ธ์ สงั เคราะห์ จดั ระบ บรรยาย 4.2 การจดั ค่านิยมให้เปน็ ระบบ ปรบั ปรุง เปล่ยี นแปลง ทาให้สาเร ตรวจสอบ ประพฤติ ปฏิบัติ แสด 5.0 การสรา้ งลักษณะนิสัย ปรบั ตน แสดงออก แสนอแก้ปัญห 5.1 การสร้างลักษณะนิสัยชัว่ คราว บรรยาย ขยาย แก้ไข ป้องกนั ตา้ 5.2 การสรา้ งลกั ษณะนสิ ัยถาวร จากทีก่ ล่าวมาแล้วสรปุ ได้วา่ ระดับพฤติกรรมด้านจติ พิสยั มี 5 ระดับ โด และคัดเลือกรบั รู้ จากนั้นจะเปน็ การตอบสนอง ในรปู แบบของการยินยอม เตม็ ใ เชือ่ ถือใน สิ่งน้ัน ในระดับต่อมาเป็นการนาคณุ ค่า และการจัดระบบ คณุ คา่ จนก
37 ระสาน ทาให้ เน้ือหา าย ปรับปรุง ความเชื่อ เป้าหมาย หลักการร่วม กฎเกณฑ์แนวคดิ ลมุ่ บง่ ความเชอื่ ตา่ งๆ เป้าหมาย หลักการ แนวคิด ระบบ วธิ กี าร บบ สร้างขน้ึ ขอ้ จากดั พฤติกรรม แผนงาน วธิ ีการ ร็จ ปฏบิ ัติ ใช้ ความมีมนุษยธรรม จริยธรรม วุฒิภาวะ ข้อขดั แย้ง ความ ดง ใช้ รุนแรง ฟมุ่ เฟือย หา อธบิ าย านทาน ดยเรม่ิ จากระดบั ตา่ สุด จนถงึ สงู สุด คือ การรับรู้โดยเริ่มจากการรู้จัก อยากรับรู้ ใจ และพอใจ ระดบั ต่อมาเปน็ การสร้างคณุ คา่ โดยการยอมรับ ชื่นชม และ กระท่ังการสรา้ งลักษณะนสิ ยั ประจาตวั ของบุคคลน้ันๆ
38 การจัดจาแนกพฤติกรรมด้านจติ พสิ ยั จากท่ีกล่าวมาแล้ว พบว่า พฤตกิ รรมค้านจิตพิสัยซ่งึ เปน็ ความรู้สกึ ที่บคุ คลมนี ัน้ ๆ ความรู้สกึ ที่สดุ คือ การรบั รู้ จนถึง ระดับท่สี งู สุด คอื ลกั ษณะนิสัยประจาตวั แตก่ วา่ ที่คนเราจะมีพฤติกรรมที่เกิดขึ้นจนเป็นนิสัยได้ น้นั เริ่มจากความสนใจ จนถึง การปรับตวั แตพ่ ิง ตามลาดับความรู้สึกเป็นข้นั ๆ จะเรม่ิ จากการรับรู้ จนถงึ การ สรา้ งลักษณะนสิ ยั (Krathwo51 other อา้ งถงึ ใน ล้วน สายยศ และ องั คณา สายยศ, 2536, หนา้ 12 - 13) ดงั แสดงใน 1.0 การรบั รู้ 1.1 การร้จู กั ความ 2.0 การตอบสนอง 1.2 ความเตม็ ใจทจี่ ะรบั รู้ สนใจ 3.0 การรคู้ ณุ ค่า 1.3 ควบคุมหรือคดั เลือกส่งิ ท่ีเอาใจใส่ ความ 4.0 การจัดระบบ 2.1 การยินยอมในการตอบสนอง ซาบซ้ึง 5.0 ลกั ษณะนสิ ัย 2.2 ความเตม็ ใจในการตอบสนอง 2.3 ความพงึ พอใจในการตอบสนอง เจตค ิต 3.1 การรบั คุณคา่ ่คา ินยม 3.2 การชน่ื ชอบคุณคา่ 3.3 การยินยอมรบั คุณค่า การป ัรบตัว 4.1 การสร้างมโนภาพของคุณคา่ 4.2 การจัดระบบคณุ ค่า 5.1 การสรุปอา้ งองิ นยั ท่ัวไป ของคุณค่า 5.2 การสรา้ งลกั ษณะนิสัย ภาพข้างล่าง ภาพที่ 3 แสดงการจาแนกพฤตกิ รรมด้านจติ พิสัย ทมี่ า (ลว้ น สายยศ และ อังคณา สายยศ, 2536, หน้า 12 - 13) 3.3 พฤติกรรมด้านทกั ษะพสิ ยั
39 เป็นพฤติกรรมที่เก่ยี วกับความสามารถในเชงิ ปฏิบัติการพฤตกิ รรมการเรียนรดู้ ้านทกั ษะพิสยั จาแนกได้ 7 ระดบั ได้แก่ 1) การรับรู้ 2) ความพรอ้ ง 3) การตอบสนองตามแนวทางที่กาหนดให้ 4) ความสามารถด้วนกลไกล 5) การตอบสนองท่ีซับซ้อน 6) ความสามารถในการดัดแปลง และ 7) ความสามารถในการริเร่มิ 1. การรับรู้ (Perception) เปน็ ข้นั ท่ีแสดงอาการรับรูท้ ่ีเคล่ือนไหวโดยอาศยั ประสาทสมั ผสั ท้ัง5 คือ หู ตา จมูก ล้ิน และสัมผัสทางกาย แม้จะมีสิ่งเร้าเข้ามากระตุ้นโดยผ่านทางประสาทสัมผัสพร้อมๆ กัน ก็ อาจมีการเลือกทจี่ ะรับรู้ มกี ารแปลความหมายสิ่งเรา้ เพื่อตอบสนอง ตวั อยา่ ง: สามารถรบั รู้ถึงรสชาตขิ องอาหารท่ไี ดก้ ลิน่ โชยมา รับร้ถู งึ วิธีตอกตะปไู มใ่ ห้คอ้ นถูกมือ เลือกใช้พ่กู ันแบนเขียนตวั อักษรแทนพู่กนั กลม ฯลฯ 2. การเตรยี มพร้อม (Set) เปน็ สภาพของบุคคลที่พรอ้ มจะแสดงพฤตกิ รรมออกมาสภาพความพรอ้ มมี 3 ดา้ นคอื ความพร้อมด้านร่างกาย ดา้ นสมอง และดา้ นอารมณ์ ความพรอ้ มดา้ นรา่ งกาย หมายถงึ ความพร้อมท่จี ะเคลื่อนไหวอวยั วะของร่างกาย ความพร้อมด้านสมองคือความพรอ้ มในการระลึกถึงระเบียบกฎเกณฑ์ต่างๆ ในการแสดงพฤติกรรมและความ พร้อมทางดา้ นอารมณ์ เปน็ การเตรียมความพร้อมทางจิตใจใหอ้ ยใู่ นทิศทางทีพ่ งึ ปรารถนาหรือไม่พึงปรารถนา ตัวอยา่ ง: การเตรียมอปุ กรณ์ในการทาอาหารได้ถูกต้อง(ความพร้อมทางสมอง) ความตง้ั ใจในการฝกึ ซ้อมนักกฬี า(ความพร้อมทางอารมณ์) การวางตาแหนง่ มือ เท้า ทถี่ ูกตอ้ ง พรอ้ มทจี่ ะเตน้ ตามจังหวะ(ความพร้อมทางร่างกาย) ฯลฯ 3. การตอบสนองตามแนวทางท่กี าหนดให้ (Guided response) เปน็ การแสดงออกในลักษณะของ การเลยี นแบบ และการลองผดิ ลองถกู ตวั อยา่ ง: วาดภาพตามแบบท่ีครูให้ดูได้ เลียนแบบท่าราที่ครูสาธติ ใหด้ ู ฝึกท่าราด้วยตนเองหลายๆ ครัง้ จนราได้ดี ฯลฯ 4. ความสามารถด้านกลไกล (Mechanism) เป็นข้ันที่ผู้เรียนได้กระทาตามที่เรียนมาและพัฒนาขึ้น จนความสัมฤทธิผล สามารถสร้างเทคนคิ วิธสี าหรบั ตนเองขึ้นมาเพื่อฝึกปฏบิ ตั ิต่อไป
Search