Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ผลงานวิจัยและนวัตกรรมเชิงพาณิชย์ 2561

ผลงานวิจัยและนวัตกรรมเชิงพาณิชย์ 2561

Published by IRD RMUTT, 2018-11-28 02:31:07

Description: ผลงานวิจัยและนวัตกรรมเชิงพาณิชย์ 2561

Search

Read the Text Version

มหาว�ทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุร�Rajamangala University of Technology Thanyaburi



ผลงานว�จัย และนวัตกรรมเช�งพาณชิ ย 2561 มหาว�ทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุ � Rajamangala University of Technology Thanyaburi สารจาก อธก� ารบดี มหาว�ทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธัญบรุ � เปนมหาว�ทยาลยั ดา นวช� าชพ� และเทคโนโลยีมงุ เนน การพฒั นากำลงั คนดา นวท� ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยีใหมีความสามารถพรอ มเขา สูอาช�พ สรางงานว�จัย สิ่งประดิษฐนวัตกรรม งานสรางสรรค สามารถตอยอดและถายทอดการว�จัยสูสังคม ตอบโจทยภาคอุตสาหกรรมความตองการของประเทศเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของชาติตอไป ในโอกาสนี้ มหาว�ทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุร� ไดเล็งเห็นและตระหนักถึงความสำคัญของงานว�จัยที่เกิดจากการประดิษฐของนักว�จัย อาจารย และบุคลากรของมหาว�ทยาลัยฯ จ�งมีนโยบายสงเสร�มและสนับสนุนการคิดคน ประดิษฐ งานว�จัย เอกสารเพือ่ เผยแพรผลงานวจ� ัยและนวัตกรรมเช�งพาณิชย ประจำป 2561 จัดทำข้น�เพื่อรวบรวมผลงานวจ� ัย นวัตกรรม สิง่ ประดิษฐ งานสรางสรรค ของนักว�จัยในมหาว�ทยาลยั ฯ เพื่อเปน การประชาสัมพันธผลงานว�จัยและนวตั กรรมของมหาว�ทยาลัยฯสูกลุมเปาหมายภาคธุรกิจ เช�งพาณิชย และหวังเปนอยางยิ่งวาเอกสารเพื่อเผยแพรผลงานว�จัยและนวัตกรรมเช�งพาณิชยฉบับนี้จะเปนประโยชนตอหนวยงาน ภาคธุรกิจและผูที่สนใจงานว�จัยและนวัตกรรมของมหาว�ทยาลัยฯ รองศาสตราจารย ดร.ประเสรฐ� ปนปฐมรฐั อธ�การบดี มหาว�ทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุร�

สารจาก สารจากรองอธ�การบดี รองอธก� ารบดี มหาว�ทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุร� เปนมหาว�ทยาลัยดานว�ทยาศาสตรและเทคโนโลยี โดยการพัฒนากำลังคนใหเปนองคกรแหงการเร�ยนรู เผยแพรความรูดานวท� ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี การสรา งงานวจ� ยั สง่ิ ประดษิ ฐ นวตั กรรม และงานสรา งสรรคโดยสงเสร�มการว�จัยใหมีคุณภาพ และสรางผลงานที่สามารถเผยแพรองคความรูใหกับสาธารณชน นําไปใชประโยชนหรอ� ตอยอดได อนั จะนาํ ไปสกู ารพัฒนาคณุ ภาพ งานวจ� ยัตอไป เพื่อสรางความแข็งแกรงทางว�ชาการและว�จัย สูการเปนมหาว�ทยาลัยที่มีคุณภาพ เอกสารเพอ่ื เผยแพรผ ลงานวจ� ยั และนวตั กรรมเชง� พาณชิ ย ประจำป 2561 จดั ทำขน้�เพื่อรวบรวมผลงานว�จัย นวัตกรรม สิ่งประดิษฐ งานสรางสรรค ของนักว�จัยในมหาว�ทยาลัยฯ เพื่อผลักดันคุณภาพงานว�จัย และพัฒนานักว�จัยใหมีศักยภาพเขมแข็งเพ่อื เปน การประชาสมั พันธผลงานว�จัยและนวตั กรรมของมหาว�ทยาลยั ฯ สูกลุม เปา หมายภาคธุรกิจ เช�งพาณิชย และหวังเปนอยางยิ่งวาเอกสารเพื่อเผยแพร ผลงานว�จัยและนวัตกรรมเช�งพาณิชยฉบับนี้จะเปนประโยชนตอหนวยงาน ภาครัฐ ภาคเอกชน และผูที่สนใจงานว�จัยและนวัตกรรมของมหาว�ทยาลัยฯ ตอไป ผชู วยศาสตราจารย ดร.สริ �แข พงษสวัสด์ิ รองอธ�การบดี มหาวท� ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบุร�มหาวท� ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธญั บรุ �Rajamangala University of Technology Thanyaburi

ผลงานว�จยั และนวตั กรรมเชง� พาณิชย 2561 มหาวท� ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุ � Rajamangala University of Technology Thanyaburi สารจาก ผอู ำนวยการ สถาบนั ว�จัย และพฒั นา สถาบันว�จัยและพัฒนา มทร.ธัญบุร� มีความมุงมั่นที่จะพัฒนางานว�จัย เพื่อยกระดับคุณภาพงานว�จัยใหเปนที่ยอมรับในระดับสากล สงเสร�มการเผยแพรงานว�จัยในระดับสูงสงเสร�มนกั ว�จัยในการทำงานว�จยั นวัตกรรม ส่งิ ประดิษฐ และงานสรา งสรรค มีการตอยอดงานว�จัยสูเช�งพาณิชย ถายทอดองคความรูแกสังคม ตอบโจทยภาคอุตสาหกรรม และตอบสนองความตองการพฒั นาเศรษฐกจิ ของประเทศตามนโยบายของภาครัฐ ดงั นน้ั สถาบนั วจ� ยั และพฒั นา ไดเ ลง็ เหน็ ความสำคญั ของการคดิ คน งานวจ� ยั นวตั กรรมสิ่งประดิษฐ และงานสรางสรรค ของนักว�จัย อาจารย และบุคลากรของมหาว�ทยาลัยฯจ�งไดส ง เสร�มและสนบั สนุนการสรางผลงานว�จัยในเช�งรุก และการนำผลงานท่ีไดม าเผยแพรเพื่อเปนประโยชนแกผ สู นใจ เอกสารเพ่ือเผยแพรผ ลงานว�จยั และนวตั กรรมเช�งพาณิชย เปนการรวบรวมผลงานวจ� ยั ส่งิ ประดิษฐ และนวัตกรรมของของนกั ว�จยั มหาวท� ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธัญบรุ �เพื่อเปนการสงเสร�มใหเกิดงานว�จัย สิ่งประดิษฐ นวัตกรรมใหมข�้นทุกป โดยเร�่มรวบรวมผลงานตั้งแตป 2559 จำนวน 30 ผลงาน ป 2560 จำนวน 30 ผลงาน และป 2561จำนวน 40 ผลงาน รวมทั้งสิ้น 100 ผลงาน เพื่อเปนการประชาสัมพันธผลงานว�จัยนวัตกรรม และสิ่งประดิษฐ ของมหาว�ทยาลัยฯ ไปยังกลุมเปาหมายภาคธุรกิจ และหวังเปนอยางยิ่งวาเอกสารเพื่อเผยแพรผลงานว�จัยและนวัตกรรมเช�งพาณิชยฉบับนี้จะเปนประโยชนตอหนวยงาน ทั้งภาครัฐ ภาคธุรกิจ และผูที่สนใจงานว�จัยและนวัตกรรมของมหาว�ทยาลัยฯ ผชู ว ยศาสตราจารย ดร.วารณุ ี อรย� วร� ย� ะนนั ท ผอู ำนวยการสถาบนั วจ� ยั และพัฒนา มหาว�ทยาลยั แทคโนโลยรี าชมงคลธัญบุร�

สถาบนั วจ� ัยและพฒั นา มหาว�ทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ � เปนหนวยงานกลางในการประสานและบร�หารงานว�จัยของมหาว�ทยาลัยฯ เพื่อสงเสร�มและสนับสนุนการเพิ่มข�ดความสามารถในการว�จัยของบุคลากร ดานว�ทยาศาสตรและเทคโนโลยี เพื่อสรางผลงานว�จัย สิ่งประดิษฐ นวัตกรรม และผลงานสรางสรรค ซ�่งจะเกิดประโยชนตอสังคมและตรงตามยุทธศาสตรการพัฒนาประเทศตลอดจนมุงมั่นที่จะยกระดับงานว�จัยใหไดมาตรฐานและเปนที่ยอมรับในระดับสากล โดยทางสถาบันว�จัยและพัฒนา ไดเล็งเห็นถึงความสำคัญของการเผยแพรผลงานว�จัยและนวัตกรรมเช�งพาณิชยของมหาว�ทยาลัยฯเพ่อื นำไปตอยอดเชง� พาณิชย กอใหเ กิดประโยชนแกชมุ ชน สังคม และภาคอตุ สาหกรรม ทัง้ นี้ ผลงานว�จยั และนวัตกรรมเช�งพาณชิ ย ป พ.ศ. 2561 เปน การรวบรวมผลงานว�จัย นวัตกรรม สิ่งประดิษฐ และงานสรางสรรคของมหาว�ทยาลัยฯ เพียงบางสวนที่จะเปน ประโยชนและพรอมทีจ่ ะถา ยทอดเพื่อเปนประโยชนตอสาธารณชน จำนวน 40 ผลงานสำหรบั ผูท่ีสนใจนำไปศึกษาและตอยอดการใชประโยชนต อ ไปมหาวท� ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุร�Rajamangala University of Technology Thanyaburi

สารบญั ผลงานว�จยั และนวตั กรรมเชง� พาณชิ ย 2561 มหาว�ทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุร� Rajamangala University of Technology Thanyaburiกลุม งานว�จยั เพอ่ื การพัฒนาการเกษตรและอตุ สาหกรรมเกษตรแปรรูป 11. ระบบถา ยภาพมมุ สงู ควบคมุ ระยะไกลแบบพว งตดิ ทายรถแทรกเตอรส ำหรับตรวจวัด 2 อัตราการเจรญ� เติบโตและปรม� าณวัชพืชในพน้ื ท่ปี ลกู ถวั่ เหลือง2. การพฒั นาระบบถา ยภาพทางอากาศควบคุมระยะไกล แบบติดตั้งบนเฮลิคอปเตอร 4 บงั คับว�ทยุ สำหรบั การเฝา ระวังการระบาดของโรคพชื ในพน้ื ทป่ี ลกู พชื มนั สำปะหลงั3. อปุ กรณเพ่มิ ประสทิ ธ�ภาพและลดการใชพลังงานของเครอ่� งปรับอากาศ 64. ระบบควบคมุ สำหรับโรงเพาะเหด็ ถัง่ เชาแบบอตั โนมตั ิ 85. กเพาร่อื อกอารกเแกบษบตแรละสรา งเร�อเก็บขยะแบบบงั คบั วท� ยคุ วบคุมระยะไกลสำหรบั แหลง น้ำ 106. ระบบการเก็บรักษาผลติ ผลเกษตรในสภาพควบคมุ บรรยากาศสำหรับรานคา ปลีก 127. การพฒั นารถแทรกเตอรอัตโนมตั ไิ รคนขับนำทางดว ยระบบ GPS สำหรบั เกษตรกรรม 14 สมัยใหม8. การพัฒนาเคร่�องหยอดเมล็ดพันธุผักคะนาในถาดเพาะกลา สำหรบั เกษตรกรรมสมยั ใหม 16กลุม งานวจ� ยั เพ่ือพลงั งานทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ ม 199. แผนผนงั ฉนวนสำเร็จรูปประหยัดพลงั งานทางเลือกใหม 2010. ไมโครบดี /ไมโครพลาสติกที่ยอ ยสลายไดท างชว� ภาพ 2211. ลาวาวอลล: วสั ดมุ วลเบาจากเศษฝนุ หินของเหมอื งแรภูเขาไฟ 2412. ผลติ ภณั ฑวสั ดกุ อสรา งสีเข�ยวจากผลพลอยไดของอตุ สาหกรรมปาลม น้ำมนั ไทย 2613. เฮมพ แอนด โทะแบคโค เฟรนล่:ี นวัตกรรมท่ีเปน มิตรตอส่งิ แวดลอมจากเศษวัสดุ 28 เหลือท้งิ ของโรงงานยาสบู

สารบัญ (ตอ )กลมุ งานว�จัยเพ่อื พัฒนาเทคโนโลยแี ละนวตั กรรมสำหรับภาคอตุ สาหกรรม 3114. เครอ�่ งตน แบบการตัดขวดและดงึ ยืดเปนเสน ดา ย 3215. หลอดทดสอบแบคทเี รย� 3416. การนำเอาอนุภาคไมโคร/นาโนเซร�ซน� และไฟโบรอิน เพือ่ ทำใหผ วิ หนังนมุ นวล 36 และชมุ ชน้� ในเคร�่องสำอาง 3817. นวัตกรรมไมโครแคปซูลสำหรบั นำเอนไซมกลบั มาใชใหม 4018. นวัตกรรมไมโครแคปซลู สำหรับผา ปรบั อุณหภมู ิได 4219. กระดาษตรวจสอบตะกัว่ ในลำไย 45 46กลุม งานว�จยั เพ่อื สรา งธรุ กิจว�สาหกิจขนาดกลางและขนาดยอ ม 4820. เคแอนดพีบลอ็ ก: นวัตกรรมบลอ็ กกอสรา งทรงลกู บาศก 5021. ขนมกลีบลำดวนนำ้ มันชาเสร�มบัวหลวง 5222. ผนังฉนวนความรอนสาํ เรจ็ รูปจากไมโตเร็วและพืชพลังงาน 5423. วุนเสน เสร�มแปง แกนตะวนั 5624. ผลิตภณั ฑว ัสดุกอ สรางสเี ข�ยวจากผลพลอยไดข องโรงงานไฟฟา ช�วมวล 5825. การพัฒนาผลติ ภณั ฑเคร่�องสำอางบำรงุ ผวิ หนา จากสารสกัดธรรมชาตชิ นดิ ใหม26. พ.ี ที.บล็อก: บลอ็ กกอผนังไรปูนกอ-ฉาบ ทม่ี คี ุณสมบัติเปน ฉนวนกนั เสียง 60 และความรอ นในตวั เอง27. หมูสมขา วยสี ตแ ดงมหาว�ทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธญั บรุ �Rajamangala University of Technology Thanyaburi

ผลงานวจ� ัย และนวัตกรรมเช�งพาณชิ ย 2561 มหาว�ทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุ �Rajamangala University of Technology Thanyaburi28. แผน ซเ� มนตละมนุ (วสั ดซุ �เมนตท ่มี คี วามยดื หยุน สูง) 6229. การพัฒนาลวดลายผาขาวมาสำหรับชดุ โอกาสพิเศษ 6430. การออกแบบและพฒั นาเคร�่องฉีกเสน หมูฝอยตนแบบสำหรบั OTOP กลมุ สตร� 66 อาสาพฒั นาบา นหนองหลวงเพื่อการสงออกสปู ระชาคมอาเซย� น 6831. การพัฒนาลวดลายมดั ยอมดวยพชื พ้นื เมืองและการแปรรูปผลติ ภณั ฑส งิ่ ทอฯ 7032. ขา วตอกเกบ็ กักกลิน่ น้ำมันหอมระเหยในลูกประคบสมุนไพรบำรงุ ผิว 7233. การพฒั นาชดุ ลำลองผูชายดวยผาขาวมา กลน่ิ อโรมา 7434. ซอสหอยขม 7635. ซอสผดั ไทยสตู รปราศจากน้ำตาลและโซเดียมตำ่ 7836. การออกแบบลวดลายและการพัฒนาผลิตภัณฑกระเปา จากผา ขาวมากลมุ งานวจ� ัยเพ่ืองานอตุ สาหกรรมสรางสรรค 8137. เสอ้ื อเนกประสงค 8238. การพฒั นาสอ่ื การสอนจากดินไทยเพอื่ วัดผลสัมฤทธ�ท์ างการเรย� นของเดก็ ปฐมวัย 8439. การออกแบบเขม็ กลดั และพวงกุญแจ 8640. การพฒั นาสือ่ การสอนจากเปลอื กหอยเชลสเพอ่ื พฒั นาทางดา นคณิตศาสตร 88 สำหรบั เด็กปฐมวัย



กลุม งานวจ� ยั เพ่ือการพฒั นา การเกษตรและอตุ สาหกรรมเกษตร แปรรปู 1

1ระบบถายภาพมมุ สูง ควบคมุ ระยะไกล แบบพวงติดทา ยรถแทรกเตอร สำหรับตรวจวดั อัตราการเจรญ� เตบิ โต และปร�มาณวัชพืช ในพ้นื ที่ปลกู ถว่ั เหลอื ง ช�่อผลงานนวัตกรรม และสิง่ ประดษิ ฐ “ รองศาสตราจารย ดร.เกร�ยงไกร แซมสีมวง ” บทสรปุ ดานนวตั กรรม และความสำคัญ เปนระบบที่จะติดตั้งบนปลายชุดเครนที่พวงติดทายรถแทรกเตอรที่ความสูงไมเกิน 15 เมตร ขอ มลู ภาพถา ยทไ่ี ดจ ะถกู ประมวลผลเพอ่ื ตรวจวดั อตั ราการเจรญ� เตบิ โตของพชื และความหนาแนน ของวชั พชื ดว ยโปรแกรมประมวลผลภาพถา ยทอ่ี อกแบบไวด ว ยโปรแกรม MATLAB ซ�่งจะมีความเหมาะสมในการใชมากกวาขอมูลภาพถายที่ไดจากกลองถายภาพ ดิจ�ตอลแบบ RGB bands (RGB Crane-attached) และยงั พบอีกวาคณุ ภาพของขอ มูล ภาพถายจะเพิ่มสูงข�้น เมื่อระบบทำการถายภาพที่ระยะความสูงมากข�้น และที่อัตราการ เจร�ญเติบโตหลังจากพืชงอกเพิ่มมากข�้น2 มหาวท� ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุ � Rajamangala University of Technology Thanyaburi

ผลงานวจ� ยั และนวัตกรรมเช�งพาณชิ ย 2561 มหาวท� ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ � Rajamangala University of Technology Thanyaburiจด� เดน ของผลงาน เปนการออกแบบและสรางชุดเครนแบบพวงติดทายรถแทรกเตอรในราคาถูก สรางระบบถา ยภาพมมุ สูงแบบควบคุมระยะไกลรว มกับเทคนคิ ดานการประมวลภาพถา ยดจิ �ตลัเพือ่ เพ่มิ ความแมนยำในการตรวจวดั อัตราการเจรญ� เตบิ โตของพชื ปรม� าณวัชพชื ในพื้นที่การปลูกถั่วเหลือง และจัดทำแผนที่ประยุกตทางการเกษตรที่สอดคลองกับระบบที่จะพัฒนาขอมูลเพื่อเพิ่มประสิทธ�ภาพในการบร�หารจัดการ ปุย น้ำ สารเคมีตางๆการนำไปใชประโยชนเช�งพาณชิ ยสามารถนำเอาเทคโนโลยีระบบถายภาพมุมสูงควบคุมระยะไกลแบบพวงติดทายรถแทรกเตอรสำหรับตรวจวัดอัตราการเจร�ญเติบโต และปร�มาณวัชพืช ในพื้นที่ปลูกถ่ัวเหลอื งไปใชในกิจการทางดา นการเกษตรไดจ ร�งเน่อื งจากประเทศไทยเปน ประเทศทางดานเกษตรกรรมถอื ไดว า สามารถกอใหเกิด รองศาสตราจารยรายไดจ ากผลงานชน�้ นไ้ี ดจรง� ดร.เกรย� งไกร แซมสมี ว ง ภาคว�ชาวศ� วกรรมเกษตรทรัพยส ินทางปญญา คณะวศ� วกรรมศาสตร อยูร ะหวา งดำเนินการ มหาว�ทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบรุ � E-mail: [email protected] โทรศัพท 0 2549 3980 3

การพัฒนาระบบ 2 ถายภาพทางอากาศ ควบคุมระยะไกลแบบตดิ ต้งั บน เฮลคิ อปเตอรบ งั คบั วท� ยุ สำหรับการเฝาระวงั การระบาดของโรคพืช ในพ้ืนทปี่ ลกู พชื มนั สำปะหลงั ช�่อผลงานนวัตกรรม และสิ่งประดิษฐ “ รองศาสตราจารย ดร.เกรย� งไกร แซมสีมว ง ” บทสรปุ ดา นนวตั กรรม และความสำคัญ ระบบถายภาพทางอากาศควบคุมระยะไกล ติดตั้งบนเฮลิคอปเตอรบังคับว�ทยุที่ พัฒนาข�้น สามารถถายภาพมุมสูงที่คมชัด ทันตอเหตุการณ เหมาะสมที่จะตรวจวัด ประเมินผลการระบาดของโรคพืชเพื่อปองกันผลผลิตลดต่ำลงไดเปนอยางดี ขอมูลจาก ความสูง 10-30 m จะถูกประมวลผลดวยโปรแกรมที่ออกแบบไวในโปรแกรม MATLAB โดยกลองสามารถบันทึกคาการสะทอนแสงแบบใกลชวงคลื่นอินฟราเรดที่ 800 nm และ แบบชว งคลน่ื สแี ดงท่ี 650 nm สง ผลใหก ารจำแนกตน มนั สำปะหลงั ทส่ี มบรู ณก บั ทเ่ี ปน โรค และการระบุตำแหนง ของโรคพชื น้นั สามารถทำไดอ ยา งแมนยำ4 มหาวท� ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธัญบรุ � Rajamangala University of Technology Thanyaburi

ผลงานว�จัย และนวตั กรรมเช�งพาณิชย 2561 มหาว�ทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุ � Rajamangala University of Technology Thanyaburi ภาพมมุ สงู เร่�มตน ภาพ Binodal ภาพทป่ี ระมวลผลแลว ขาว-ดำจ�ดเดน ของผลงาน มคี ุณภาพระดบั สงู ที่ยอมรบั ไดจากการสอบเทียบการประมวลผลภาพถา ยทางอากาศที่มีลักษณะที่แตกตางกันของระดับ ความสูง และชนิดของกลองหร�อระบบถายภาพทางอากาศการนำไปใชประโยชนเชง� พาณชิ ย ระบบถายภาพทางอากาศควบคุมระยะไกล แบบติดตั้งบนเฮลิคอปเตอรบังคับว�ทยุดวยกลองดิจ�ตอลแบบ RGB และแบบ Near-Infrared band ที่พัฒนาข�้นมา สามารถถายภาพมุมสงู ทีม่ ีความคมชดั ทันตอเหตุการณม คี วามเหมาะสม ทจี่ ะตรวจวัด ประเมนิ ผลและเฝาระวังการระบาดของโรคพืช ในพื้นที่ปลูกพืชมันสำปะหลังไดเปนอยางดี สามารถผลิตและจำหนายแกเกษตรกรไดจ รง�ทรัพยสินทางปญ ญา รองศาสตราจารย อยรู ะหวา งดำเนนิ การ ดร.เกร�ยงไกร แซมสีมวง ภาคว�ชาวศ� วกรรมเกษตร คณะวศ� วกรรมศาสตร มหาว�ทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุร� E-mail: [email protected] โทรศพั ท 0 2549 3980 5

อุปกรณ 3 เพม่ิ ประสทิ ธภ� าพ และลดการใชพ ลังงาน ของเครอ่� งปรบั อากาศ ช�่อผลงานนวตั กรรม และสิง่ ประดษิ ฐ “ ผูชวยศาสตราจารย ดร.เกียรตศิ ักด์ิ แสงประดิษฐ ” บทสรปุ ดา นนวตั กรรม และความสำคญั ความมุงหมายและจ�ดประสงคของการประดิษฐอุปกรณนี้ เพื่อเพิ่มประสิทธ�ภาพและ ลดการใชพลงั งานของเคร�่องปรบั อากาศ โดยเพ่ิมประสทิ ธภ� าพในการแลกเปล่ยี นความรอ น ระหวางอากาศและคอยลรอน ดวยการลดอุณหภูมิของอากาศกอนเขาคอยลรอน เพม่ิ คา EER ใหก บั เครอ่� งปรบั อากาศ ชว ยใหร ะบบตดั กระแสไฟฟา ทจ่ี า ยเขา มาเพอ่ื ใชในการ ทำความเย็นเร็วข�น้ จง� ลดการใชพลงั งานไฟฟาได การประดิษฐนี้เปนการประดิษฐที่เกี่ยวของกับการลดอุณหภูมิของอากาศกอนเขา คอยลร อ นเพอ่ื เพ่ิมประสิทธภ� าพในการถายเทความรอ นโดยใชน้ำทีก่ ล่นั จากกระบวนการ ควบแนนท่คี อยลเ ย็นมาทำเปนฝนจำลองเพอ่ื ทำใหสภาวะของอากาศกอ นเขาคอลยร อ น มีอุณหภูมิท่ีต่ำเพอ่ื ใหก ารแลกเปล่ียนความรอ นทค่ี อยลร อนมปี ระสิทธภ� าพมากขน้�6 มหาว�ทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ � Rajamangala University of Technology Thanyaburi

ผลงานว�จยั และนวัตกรรมเชง� พาณิชย 2561 มหาวท� ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุร� Rajamangala University of Technology Thanyaburiจ�ดเดน ของผลงาน อปุ กรณเ พม่ิ ประสทิ ธภ� าพและลดการใชพ ลงั งานของเครอ่� งปรบั อากาศ มหี นา ทส่ี รา งสภาวะอากาศบร�เวณทางเขาคอยลรอนใหมีอุณหภูมิที่ต่ำกวาสภาวะอากาศปกติ เพื่อเพิ่มประสิทธ�ภาพในการแลกเปลี่ยนความรอนของคอยลรอน เปนที่ทราบกันดีอยูแลววาคอยลร อ นทำหนา ทร่ี ะบายความรอ นของสารทำความเยน็ ดว ยการใชอ ากาศทม่ี อี ณุ หภมู ิต่ำกวาอุณหภูมิของคอยลรอนไหลผานคอลยเพื่อระบายความรอนใหคอยลรอนคอยลร อนจะมีอณุ หภูมิประมาณ 40-42 องศาเซลเซย� ส สวนอุณหภมู ขิ องอากาศปกติมอี ณุ หภมู ิ 32-37 องศาเซลเซย� ส การทอ่ี ณุ หภมู ขิ องอากาศท่ีใชในการระบายความรอ นใหกับคอมเพรสเซอรมีคาใกลเคียงกันจะทำใหการถายเทความรอนจากคอยลรอนไปสูอากาศไดนอย ทำใหเกิดการถายเทความรอนที่ต่ำ แตเมื่อใด ที่สภาวะอากาศภายนอกมอี ุณหภมู ิต่ำและมีความแตกตางกับอุณหภมู ขิ องคอยลร อนมากๆ จะทำใหเกิดการถายเทความรอนไดดี ซ�่งสงผลใหสารทำความเย็นที่ไหลออกจากคอยลรอนมีอุณหภูมิต่ำ และสง ผลใหคอยลเ ย็นมอี ณุ หภูมิตำ่ ไปดว ยการนำไปใชป ระโยชนเ ชง� พาณชิ ยผลติ ภัณฑอนรุ กั ษพลังงานช้�นน้ยี งั มีชองทางขายผลิตภณั ฑผ า นทางตัวแทนจำหนา ยในประเทศไทย และตา งประเทศ ซ�่งมตี ัวแทนจำหนายจากตา งประเทศพรอมแลว และทางบรษ� ทักำลังดำเนินแผนการสง ออก ไปยงั ประเทศดังตอไปนี้คือ ฟลิปปน ส อินโดนเี ซ�ย ลาว พมาและสงิ คโปร แผนการตลาดทจ่ี ะเตบิ โตทางการสง ออกคดิ เปน 100% ตอ ป และยงั มนี โยบายจำกัดมาตรฐานราคาสนิ คาใหเ ปนไปในทิศทางเดียวกัน เพอื่ ไมใหเ กิดการแขงขันทางการตลาดกันเองในหมตู ัวแทนจำหนา ย และมุงเนน ในการพฒั นาภาพลักษณของผลิตภัณฑดานการบร�การเปนหลัก โดยมีการบร�การตรวจเชค็ สภาพเครอ่� งปรับอากาศฟร�จากชา งผูชำนาญการ ผชู วยศาสตราจารย ดร.เกยี รติศกั ดิ์ แสงประดษิ ฐ ภาควช� าว�ศวกรรมเกษตรทรัพยส นิ ทางปญ ญา คณะว�ศวกรรมศาสตร มหาวท� ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบรุ �คำขอรับอนสุ ิทธ�บัตร เลขท่ี 1703002293 E-mail: [email protected] โทรศพั ท 0 2549 3980 7

ระบบควบคมุ 4 สำหรบั โรงเพาะเห็ดถัง่ เชา แบบอัตโนมัติ ช่อ� ผลงานนวตั กรรม และสงิ่ ประดิษฐ “ ผูชวยศาสตราจารย ดร.จกั ร� ศร�นนทฉตั ร ” บทสรปุ ดานนวตั กรรม และความสำคัญ เนือ่ งจากประชากรสวนใหญในประเทศไทยมอี าช�พเกษตรกรรม ผลติ ผลทางการเกษตร เปนสิ่งสำคัญทางดานเศรษฐกิจของประเทศอยางหนึ่ง และดวยความตองการที่มากข�้น การแขง ขนั สงู ขน้� เทคโนโลยจี ง� เปน สว นหนง่ึ ทจ่ี ะชว ยใหก ารผลติ เปน ไปไดง า ยขน้� แตป จ จบ� นั การนำเทคโนโลยีมาใชในภาคการเกษตรมีนอย ทำใหผลิตผลมีปร�มาณและคุณภาพที่ ไมแนนอน และอาจไมเพียงพอตอความตองการ ซ�่งโรงเพาะเห็ดที่มีอยูแลวในปจจ�บัน สวนใหญจะไมไดนำเร�่องของอิเล็กทรอนิคสเขามาเกี่ยวของ จ�งเปนจ�ดเดนในการทำ โครงการนี้เพ่อื พฒั นาใหโรงเพาะเหด็ มปี ระสทิ ธภ� าพมากยิ่งข�น้ โดยทมี วศ� วกรไดใชร ะบบแบบ Automation และระบบอเิ ลก็ ทรอนกิ ส ซง่� จะชว ยในเรอ่� งของปรบั สภาพภมู อิ ากาศ เครอ่� ง ชว ยทำความเยน็ ความชน้� อณุ หภมู ติ า งๆ แบบอตั โนมตั ิ เพอ่ื ทำใหเ หด็ ยงั คงสภาพเดมิ ไว8 มหาว�ทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุ � Rajamangala University of Technology Thanyaburi

ผลงานวจ� ัย และนวัตกรรมเช�งพาณิชย 2561 มหาว�ทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธญั บุร� Rajamangala University of Technology Thanyaburiจ�ดเดน ของผลงาน มกี ารออกแบบตัววดั ความช�น้ และออกแบบระบบฆาเชอ้� เพราะเหด็ สว นใหญเปนเห็ดที่บอบบางพอสมควรจ�งทำใหเช�้อเขาไปในตัวเห็ดไดงาย ซ�่งทางว�ศวกรไดออกแบบใหมีระบบฆาเช�้อ ระบบดูดคารบอน เพื่อใหเช�้อในเห็ดลดลง มีการ Records Data Loggerมกี ารมิเตอรผ านออนไลนต างๆ และมีระบบการทำงานของตูควบคมุ ทำงานเปน แบบอัตโนมตั ิสามารถทำงานเองไดแ มเ จาของจะไมอ ยู โดยจะทำงานตามโปรแกรมท่วี ศ� วกรออกแบบวางไวและคุมคาตอการเพาะเห็ดทมี่ ีราคาแพงๆ ไดการนำไปใชป ระโยชนเ ชง� พาณชิ ยถั่งเชาสีทองที่ประเทศไทยราคาสูงใกลเคียงกับประเทศจ�น คืออยูที่กิโลกรัมละ60,000 บาท จากฟารม แตถาคนที่นำไปขายตอ บางครั้งสูงกวานั้นอีก ราคาประมาณ80,000-100,000 บาทตอกิโลกรัม เพราะขั้นตอนกวาจะเพาะเห็ดชนิดนี้ไดก็ไมใชงายเห็ดตองอยูในหองควบคุมอุณหภูมิ และหองที่สะอาด ปราศจากเช�้อ สิ่งแปลกปลอมโดยการลงทนุ ทำหอ งขนาด 3x5 เมตร ใชเ งน� สงู ถงึ 2 แสนบาท ถงึ 5 แสนบาท ไดผ ลผลติตั้งแต 1-2 กิโลกรัมตอครั้ง ดังนั้น ณ จ�ดนี้จ�งเห็นวาโรงเพาะเห็ดเปนปจจัยที่สำคัญในขบวนการผลิตเห็ดที่ไดคุณภาพ ผลการว�จัยประจำปที่ผานมาเฉพาะตลาดในจ�นมีการผลิตถั่งเชาสีทอง 8,000 ตัน และมีอัตราเติบโตถึง 20% โดยคาดการณวา จะตองเพิ่มการผลติ เพอ่ื ใหเ พยี งพอกบั ความตอ งการถงึ 19,000 ตนั ในป 2017 และความตอ งการอนั มหาศาลน้ี สงผลใหม ลู คา ของถัง่ เชาเพมิ่ มากขน�้ หลายเทาตวัสวนถั่งเชาที่นยิ มในตลาดโลก คือ เห็ดถ่งั เชาทเิ บต ถงั่ เชา สีทอง ผชู ว ยศาสตราจารย ดร.จกั ร� ศรน� นทฉัตรถั่งเชาหิมะ ถั่งเชาจกั จน่ั เปน ตนทรัพยสนิ ทางปญ ญา ภาคว�ชาวศ� วกรรมอเิ ล็กทรอนิกส และโทรคมนาคม คณะว�ศวกรรมศาสตรคำขอรบั อนุสทิ ธบ� ตั ร เลขที่ 1703002291 มหาว�ทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธญั บุร� E-mail: [email protected] โทรศัพท 0 2549 4620 9

5 การออกแบบ แลแะสบรบา บงังเรคอ� ับเวกท� ็บยขุยะ ควบคมุ ระยะไกล สำหรับแหลงน้ำเพื่อการเกษตร ช�่อผลงานนวตั กรรม และสง่ิ ประดิษฐ “ รองศาสตราจารย ดร.เกรย� งไกร แซมสมี ว ง ” บทสรปุ ดา นนวัตกรรม และความสำคัญ การออกแบบและสรางเร�อเก็บขยะแบบบังคับว�ทยุควบคุมระยะไกลสำหรับแหลงน้ำ เพือ่ การเกษตร มีวัตถปุ ระสงคหลกั เพ่ือศกึ ษาความเปน ไปไดในการนำเรอ� เก็บขยะในคคู ลอง แบบบังคับว�ทยุไปใชงาน โดยสามารถทำการเก็บขยะที่มีขนาดเล็กได ในการออกแบบนั้น จะใชแหลง ตนกำลังเปนมอเตอรกระแสตรงแบบ EMAXGT 3520/04 Out runner Brushless Motor 1150 KV จากการทดสอบจะเห็นไดวาเร�อเก็บขยะในคคู ลองแบบบงั คบั วท� ยนุ ้นั จะมี ประสิทธ�ภาพ และความสามารถในการทำงานสูงกวาการใชแรงงานคน โดยสามารถชวย ลดไดทั้งแรงงานคน เวลาในการทำงาน ตนทุน และยังสามารถชวยลดอันตรายที่อาจจะ เกิดข้น� ในการทำงานลงไดอ ีกดวย10 มหาวท� ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธัญบรุ � Rajamangala University of Technology Thanyaburi

ผลงานว�จัย และนวัตกรรมเชง� พาณิชย 2561 มหาว�ทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบรุ � Rajamangala University of Technology Thanyaburiจ�ดเดนของผลงาน กลไกการทำงานของเรอ� เกบ็ ขยะในคคู ลองแบบบงั คบั วท� ยคุ วบคมุ ระยะไกล ทำงานงา ยไมซับซอนมากเกินไปและผูปฏิบัติงานสามารถปฏิบัติงานไดสะดวกและมีความปลอดภัยการบำรุงรักษางาย อุปกรณช�้นสวนหากชำรุดสามารถถอดเปลี่ยนได และมีจำหนายทั่วไปตามทอ งตลาดและสามารถใชผ ูปฏบิ ตั งิ านเพยี ง 1 คนการนำไปใชป ระโยชนเชง� พาณิชย สามารถนำเอาเทคโนโลยีการออกแบบและสรางเร�อเก็บขยะแบบบังคับว�ทยุควบคุมระยะไกลสำหรับแหลงน้ำเพื่อการเกษตร ไปใชในการเก็บขยะไดจร�ง และสามารถนำไปตอยอดดานการเก็บผักตบชวาไดอีกในอนาคตทรพั ยสนิ ทางปญญา รองศาสตราจารย อยูระหวา งดำเนินการ ดร.เกร�ยงไกร แซมสีมวง ภาควช� าว�ศวกรรมเกษตร คณะว�ศวกรรมศาสตร มหาว�ทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธญั บุร� E-mail: [email protected] โทรศัพท 0 2549 3980 11

ระบบการเกบ็ รักษา 6 ผลิตผลเกษตร ในสภาพควบคมุ บรรยากาศ สำหรบั รานคา ปลกี ชอ�่ ผลงานนวัตกรรม และสิ่งประดษิ ฐ “ ผูชว ยศาสตราจารย ดร.วร�นธร พลู ศร� ” บทสรปุ ดานนวตั กรรม และความสำคญั การเก็บรักษาในสภาพควบคุมบรรยากาศ (controlled atmosphere storage) รวมกบั การใชอณุ หภมู ติ ่ำ (low temperature) เปนว�ธ�การหน่งึ ท่ีใชไดอยา งมีประสิทธ�ภาพ ในผลิตผลหลายชนิด มหี ลกั การคอื การเปลยี่ นแปลงสว นประกอบของบรรยากาศที่อยู รอบๆ ผลิตผล ดวยการลดระดับความเขมขนของแกสออกซ�เจน และ/หร�อเพิ่มระดับ ความเขมขนของแกสคารบอนไดออกไซดใหสูงข�้นแลวควบคุมสัดสวนของปร�มาณแกส ดังกลาวใหคงที่ตลอดระยะเวลาของการเก็บรักษา ซ�่งจะทำใหสามารถยืดอายุการเก็บ รักษาผลิตผลเกษตรหลังการเก็บเกี่ยวใหอยูในสภาพดีไดนาน หร�อมีคุณภาพดีกวา เมื่อเปร�ยบเทียบกับการเก็บรักษาในสภาพปกติที่ระดับอุณหภูมิและระยะเวลาเทากัน12 มหาวท� ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบรุ � Rajamangala University of Technology Thanyaburi

ผลงานวจ� ยั และนวตั กรรมเช�งพาณิชย 2561 มหาว�ทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธญั บรุ � Rajamangala University of Technology Thanyaburi สภาพ บรรยากาศปกติ สภาพ ควบคุมบรรยากาศ ผลการทดลองวนั ที่ 40จด� เดนของผลงาน1. ยืดอายุการเก็บรักษาผลติ ผลทางการเกษตรไดมากกวา ปกติ 4-5 เทา2. ทำใหก ระบวนการสุกและการเสื่อมสภาพของผลิตผลเกษตรเกิดชา ลง3. ไดร ะบบการเกบ็ รักษาในสภาพควบคมุ บรรยากาศท่มี ีตนทุนต่ำกวาตา งประเทศ4. ลดปรม� าณและความรนุ แรงของโรคพชื หลงั การเก็บเกยี่ วใหนอ ยลง5. สามารถใชในการควบคมุ แมลงทเ่ี ขาทำลายผลติ ผลหลงั การเก็บเก่ียวไดด ว ยการนำไปใชป ระโยชนเชง� พาณชิ ยสามารถนำระบบการเกบ็ รักษาในสภาพควบคุมบรรยากาศน้ีใชย ืดอายุการเกบ็ รกั ษาผลิตผลเกษตรไดนานข�้น เพื่อชวยเก็บรักษาผลิตผลเกษตรในชวงที่ราคาตกต่ำ หร�อมีปร�มาณของผลติ ผลเกษตรมากจนลนตลาด รวมถงึ สง เสรม�การสง ออกของผลติ ผลเกษตรใหย ังคงมคี ุณภาพดเี มื่อสงถงึ ผชู วยศาสตราจารยปลายทาง ดร.วรน� ธร พลู ศร� คณะเทคโนโลยกี ารเกษตรทรพั ยสินทางปญญา มหาวท� ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธญั บรุ � E-mail: [email protected]อยูร ะหวา งดำเนินการ โทรศพั ท 0 2549 3309 โทรสาร 0 2592 1956 13

7 การพัฒนา รถแทรกเตอรอัตโนมัติ ไรค นขับ นำทางดวยระบบ GPS สำหรับเกษตรกรรมสมัยใหม ชอ่� ผลงานนวัตกรรม และสงิ่ ประดษิ ฐ “ รองศาสตราจารย ดร.เกรย� งไกร แซมสีมว ง ” บทสรปุ ดา นนวตั กรรม และความสำคัญ สรา งตน แบบรถแทรกเตอรอัตโนมัตไิ รคนขับนำทางดวยระบบ GPS สำหรบั เกษตรกรรม สมัยใหม และออกแบบอัลกอร�ธ�มตัวควบคุมตำแหนงการเคลื่อนที่ตามเสนทางเคลื่อนที่ แบบเสนตรง และเสนโคง และสุดทาย การทดสอบหาคาความสามารถในการทำงานจร�ง ของรถแทรกเตอร โดยรถแทรกเตอรฯ จะประกอบดวยรถแทรกเตอรขนาดเคร�่องยนต เบนซ�น 15 Hp สวนควบคุมทิศทางและตำแหนงของตัวรถสวนระบุตำแหนง และทิศทาง ของตัวรถสวนควบคุมและประมวลผลและสุดทายสวนควบคุมการมองเห็นระยะไกล14 มหาวท� ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธัญบุร� Rajamangala University of Technology Thanyaburi

ผลงานวจ� ยั และนวตั กรรมเชง� พาณชิ ย 2561 มหาวท� ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบรุ � Rajamangala University of Technology Thanyaburiจ�ดเดนของผลงาน เปนการออกแบบและสรางตนแบบ รถแทรกเตอรขับเคลื่อนอัตโนมัติแบบไรคนขับที่พฒั นาขน้� โดยเปนรถขับเคลื่อนดวยสองลอหลังใชต น กำลังเปนเครอ�่ งยนตเ บนซ�นขนาด15 Hp เพ่อื ขับปมน้ำมนั ไฮดรอลิกสการนำไปใชประโยชนเ ชง� พาณชิ ย สามารถนำเอาเทคโนโลยกี ารพฒั นารถแทรกเตอรอ ตั โนมตั ไิ รค นขบั นำทางดว ยระบบGPS สำหรับเกษตรกรรมสมัยใหมไปใชในการเก็บขยะไดจร�ง และสามารถนำไปตอยอดดานการเกษตรกรรม เพอ่ื กอ ใหเ กดิ ประโยชนก บั เกษตรกรไดจ รง�ทรัพยส ินทางปญญา รองศาสตราจารย อยูร ะหวา งดำเนนิ การ ดร.เกร�ยงไกร แซมสมี ว ง ภาควช� าว�ศวกรรมเกษตร คณะวศ� วกรรมศาสตร มหาวท� ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธญั บรุ � E-mail: [email protected] โทรศัพท 0 2549 3980 15

8 การพัฒนา เครอ�่ งหยอดเมล็ดพันธุ ผกั คะนาในถาดเพาะกลา สำหรับเกษตรกรรมสมยั ใหม ช่อ� ผลงานนวัตกรรม และส่งิ ประดิษฐ “ รองศาสตราจารย ดร.เกรย� งไกร แซมสีมว ง ” บทสรปุ ดานนวตั กรรม และความสำคัญ เคร�่องหยอดเมล็ดพันธุผักคะนาในถาดเพาะกลาสำหรับเกษตรกรรมสมัยใหมนี้ ทำการพัฒนาข้น� เพื่อตอบสนองตอความตอ งการของเกษตรกรผูปลูกผักคะนาในระบบ โรงเร�อนโดยเฉพาะ เพื่อทดแทนการใชแรงงานคน เนื่องจากทำใหเกิดการสิ้นเปลือง เมลด็ พนั ธุ เวลา และเกิดความเมอ่ื ยลา แกผูปฏบิ ตั ิงาน โดยหลักการทำงานเนนแบง ออกเปน สวนที่ 1 ชุดสงกำลัง ซ�่งเนนใชมอเตอรไฟฟาขนาด 0.5 Hp ตอเขากับชุดเกียรทดรอบ เพื่อขับโซลำเลียง สวนที่ 2 ชุดบรรจ�ดินเนนบรรจ�ดินลงในถาดเพาะมาตรฐานขนาด 105 หลุม (แบบ CHIA TAI 105 I) โดยมีตัวคลุกเคลาและกวาดดิน ทำใหดินไหลลงสู ถาดเพาะไดในปร�มาณที่กำหนด และสวนที่ 3 ชุดหยอดเมล็ดเนนหยอดเมล็ดพันธุลงใน ถาดเพาะดวยจำนวน 4 เมล็ดตอหลุมแบบทำงานตอเนื่อง16 มหาวท� ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ � Rajamangala University of Technology Thanyaburi

ผลงานว�จัย และนวัตกรรมเชง� พาณิชย 2561 มหาว�ทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ � Rajamangala University of Technology Thanyaburiจ�ดเดน ของผลงาน การทำงานของเครอ�่ งหยอดเมล็ดพันธผุ กั คะนา ในถาดเพาะกลาสำหรบั เกษตรกรรมสมัยใหมนี้ เร�่มจากตนกำลังขับเคลื่อนดวยมอเตอรไฟฟาขนาด 0.5 Hp โดยจะสงกำลังไปยงั ชดุ หยอดเมลด็ ชดุ บรรจด� นิ ใสถ าดเพาะและชดุ โซล ำเลยี ง เมอ่ื ถาดเพาะมาถงึ ตำแหนงพอดีแลว ดินจะรวงลงมาบรรจ�ในถาดเพาะในขณะเดียวกันชุดหยอดก็จะเกิดการหมุนปลอยเมล็ดพันธุลงมาในหลุมพอดีการนำไปใชป ระโยชนเ ช�งพาณชิ ยการประเมินคาใชจายโดยรวมจะเกี่ยวกับตนทุนในการใชงานเคร�่องหยอดเมล็ดพันธุผักคะนาในถาดเพาะกลาสำหรับเกษตรกรรมสมัยใหม โดยจะสมมุติวาเกษตรกรผูใชทำการซ้�อเคร่�องหยอดท่ีพัฒนาข�้นฯ แทนการใชแ รงงานคน หากมีการผลติ และจำหนา ยใหเกษตรกร ในอนาคตจะเปน การตอ ยอด รองศาสตราจารย ดร.เกร�ยงไกร แซมสีมวงดา นการลดระยะเวลาในการปฏิบัติงานจร�ง ภาควช� าวศ� วกรรมเกษตรทรพั ยส ินทางปญญา คณะวศ� วกรรมศาสตร มหาว�ทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุร� E-mail: [email protected]อยูระหวางดำเนินการ โทรศัพท 0 2549 3980 17

18

กลมุ งานวจ� ยั เพอ่ื พลงั งานทรัพยากรธรรมชาติ และสิง่ แวดลอ ม 19

9 แผน ผนงั ฉนวนสำเร็จรูป ประหยดั พลงั งาน ทางเลือกใหม ชอ่� ผลงานนวตั กรรม และสิง่ ประดษิ ฐ “ ผูช วยศาสตราจารย ดร.วชร� ะ แสงรัศมี ” บทสรุปดานนวตั กรรม และความสำคญั แผน ผนงั ฉนวนนี้พฒั นาขน้� มาเพอื่ ตอบสนองตอความตองการกอ สรางบา นสำเร็จรูป ประหยัดพลังงานในชุมชน แผนผนงั ฉนวนประกอบดว ยวสั ดุหลกั สองสว น สวนแรกเปน แผนผิวผนังภายในและภายนอกเปนวัสดุแผนไฟเบอรซเ� มนตที่มีความแขง็ แรง คงทน และ มลี วดลายตา งๆ สว นที่สองเปนสว นทสี่ ำคัญในการพัฒนาวัสดุฉนวนโดยใชวสั ดุเหลือทง้ิ สองอยา งคอื โฟมเหลอื ทง้ิ จากแผน รองกนั กระแทก และผงใยผา ของเหลอื ทง้ิ จากโรงงาน ร�ไซเคิลเศษผา ผสมกบั วสั ดปุ ระสานคอื นำ้ ยางพาราทช่ี วยในการยดึ เกาะและเพม่ิ ความเปน ฉนวน และซเ� มนตที่เพ่มิ ความแขง็ แรงใหกบั วัสดุ20 มหาวท� ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธญั บรุ � Rajamangala University of Technology Thanyaburi

ผลงานวจ� ยั และนวัตกรรมเช�งพาณิชย 2561 มหาวท� ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธัญบรุ � Rajamangala University of Technology Thanyaburiจ�ดเดน ของผลงาน แผนผนงั ฉนวนน้มี ีสมบตั เิ ดน คอื สามารถปองกันความรอ นไดดี ปองกันเสียง แข็งแรงเจาะยึดได กอ สราง ไดร วดเรว็ มีราคาประหยดั และมลี วดลายตางๆ ที่หลากหลายใหเลอื กแผนนี้เปนวัสดุผสมจากซ�เมนต ผงใยผา น้ำยางพารา และ โฟม(ขยะ)ที่ชวยจัดการขยะและเพ่ิมมลู คาการนำไปใชประโยชนเชง� พาณชิ ย ผูชวยศาสตราจารยใชผลิตเปนวัสดกุ อ สรางฉนวน เชน ดร.วช�ระ แสงรศั มี- แผน ผนงั ฉนวนสำเรจ็ รปู ภาควช� า เทคโนโลยีสถาปต ยกรรม- แผน ฝาเพดาน คณะสถาปต ยกรรมศาสตร- แผน หลังคาประหยดั พลังงาน มหาวท� ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธัญบรุ � E-mail: [email protected]ทรพั ยสนิ ทางปญ ญา โทรศพั ท 0 2549 4771-2 อยูระหวางดำเนินการ 21

ไมโครบีด/ 10 ไมโครพลาสตกิ ที่ยอยสลายไดทางช�วภาพ Biodegradable microbead/microplastic ชอ่� ผลงานนวัตกรรม และส่ิงประดิษฐ100 µm “ ผูช ว ยศาสตราจารย ดร.อมร ไชยสัตย ”บทสรุปดา นนวัตกรรม และความสำคัญ เนอ่ื งจากไมโครบดี /ไมโครพลาสตกิ ท่ีใชในผลติ ภณั ฑต า งๆมคี วามคงทนและสลายตวัไดยาก ทำใหเกิดปญหาการตกคางในสิ่งแวดลอม จ�งไดทำการพัฒนาไมโครบีด/ไมโครพลาสติกทย่ี อ ยสลายไดท างช�วภาพข�้นมาเพ่ือทดแทนพลาสติกที่ไมสามารถยอยสลายไดโดยทำจากพอลิแลคติค แอซ�ด มีลักษณะเปนทรงกลมเบา เหมาะสำหรับใชในผลิตภัณฑดแู ลสว นตัว (Personal care products)22 มหาวท� ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธญั บรุ � Rajamangala University of Technology Thanyaburi

ผลงานว�จัย และนวัตกรรมเช�งพาณิชย 2561 มหาว�ทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุ � Rajamangala University of Technology Thanyaburi 100 µmจ�ดเดนของผลงาน ไมโครบีด/ไมโครพลาสติกที่เตร�ยมไดมีลักษณะเปนทรงกลมผิวเร�ยบ และมีชองวางภายในอนุภาคทำใหมีน้ำหนักเบา ไมระคายเคืองผิวหนัง และกระเจ�งแสงไดดี ไมเปนพิษสลายตัวไดงายและไมตกคางในสิ่งแวดลอมการนำไปใชป ระโยชนเ ชง� พาณชิ ย เปน วสั ดกุ รองแสงแดด และสารขดั ผวิ (Exfoliating agents) ในผลติ ภณั ฑด แู ลสว นตวัเชน โลชนั ตา งๆ ครม� ขดั ผวิ โฟมลางมือ-ลา งหนา สบู แชมพู และยาสีฟน เปน ตนทรัพยสนิ ทางปญ ญา ผูช วยศาสตราจารย อยรู ะหวา งดำเนนิ การ ดร.อมร ไชยสตั ย ภาคว�ชาเคมี คณะว�ทยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาว�ทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบรุ � E-mail: [email protected] โทรศพั ท 0 2549 3536 23

ลาวาวอลล 11 วสั ดุมวลเบาจากเศษฝนุ หิน ของเหมืองแรภเู ขาไฟ Ligfrhotm-wLavevoiaglchaWtnmaiclalsmteinrieals ชอ�่ ผลงานนวัตกรรม และสิ่งประดิษฐ “ อาจารยประชมุ คำพฒุ ” บทสรปุ ดา นนวัตกรรม และความสำคัญ ลาวาวอลล: วสั ดมุ วลเบาจากเศษฝุนหินของเหมืองแรภูเขาไฟ โดยมวี ัตถุดิบหลักคอื การใชเ ศษหินฝุนทเี่ หลือทิ้งจากกระบวนการบดยอ ยและคัดขนาดหินในเหมืองหนิ แรภูเขาไฟ ท่วั ประเทศ อาทเิ ชน หนิ บะซอลต หินไรโอไลต หนิ เพอรไลท หนิ พมั มซิ หนิ แอนดไี ซต ฯลฯ มาเปน มวลรวมสำหรบั ผลติ เปน วสั ดกุ อสรา งประเภทตางๆ ทม่ี นี ้ำหนกั เบา ทำการออกแบบ สวนผสมใหผานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม (มอก.) สามารถนำไปใชประโยชน เปนวัสดุกอสรางที่มีสมบัติเทียบเทากับวัสดุกอสรางทั่วไปและมีขอไดเปร�ยบที่เปนฉนวน ความรอนที่ดีกวา24 มหาวท� ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธญั บุร� Rajamangala University of Technology Thanyaburi

ผลงานว�จยั และนวตั กรรมเชง� พาณิชย 2561 มหาวท� ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุร� Rajamangala University of Technology Thanyaburiจ�ดเดน ของผลงาน ลาวาวอลล: วัสดมุ วลเบาจากเศษฝุน หนิ ของเหมอื งแรภเู ขาไฟ เปน ผลิตภณั ฑว ัสดกุ อสรางทีม่ คี วามแขง็ แรงเทยี บเทา กบั วัสดกุ อ สรางปกติ มนี ำ้ หนักเบาและเปนฉนวนความรอนท่ดี ีการนำไปใชประโยชนเ ชง� พาณิชย ถายทอดความรูใหกับชุมชนภายในพื้นที่ ว�สาหกิจชุมชน ว�สาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม และรวมมือกับภาคอุตสาหกรรมในการขยายผลการดำเนินงานเพื่อผลิตและจำหนายเปนผลิตภัณฑในเช�งพาณิชยทรพั ยสินทางปญญา 1. อนุสิทธ�บัตร เลขที่ 9970 2. อนสุ ทิ ธบ� ตั ร เลขที่ 10959 3. อนุสทิ ธ�บตั ร เลขที่ 10960 อาจารยป ระชุม คำพุฒ ภาคว�ชาว�ศวกรรมโยธา คณะว�ศวกรรมศาสตร มหาว�ทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุร� E-mail: [email protected] โทรศพั ท 0 2549 3410 25

12ผลิตภัณฑ วัสดุกอสรางสีเขย� ว จากผลพลอยไดข องอตุ สาหกรรม ปาลม น้ำมันไทย Green building material from the by-products of Thai palm oil industries ช�อ่ ผลงานนวัตกรรม และส่งิ ประดิษฐ “อาจารยป ระชุม คำพฒุ ” บทสรุปดานนวัตกรรม และความสำคญั ผลิตภัณฑวัสดุกอสรางสีเข�ยวจากผลพลอยไดของอุตสาหกรรมปาลมน้ำมันไทย เปนผลิตภัณฑวัสดุกอสรางที่ไดจากการนำผลพลอยไดจากอุตสาหกรรมปาลมน้ำมัน อาทิเชน เถากะลาปาลมน้ำมัน เสนใยปาลมน้ำมัน ตนปาลม ทางปาลม มาเปนสวนผสม สำคัญในการผลติ วัสดุกอสรา งตน ทุนตำ่ และเปนมติ รตอ สงิ่ แวดลอ ม เชน แผน ซเ� มนตบอรด ฝาเพดาน อิฐบล็อก ไมเทียม เปนตน โดยวัสดุกอสรางทุกประเภทที่ผลิตมีคุณสมบัติ ผานเกณฑมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม (มอก.) มีความสวยงาม สามารถใชเปน วัสดุกอสรางสำหรับอาคารเข�ยวได26 มหาว�ทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธญั บุร� Rajamangala University of Technology Thanyaburi

ผลงานวจ� ยั และนวตั กรรมเชง� พาณชิ ย 2561 มหาว�ทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธญั บุร� Rajamangala University of Technology Thanyaburiจ�ดเดน ของผลงาน ผลิตภัณฑวัสดุกอสรางสีเข�ยวจากผลพลอยไดของอุตสาหกรรมปาลมน้ำมันไทยเปนผลิตภัณฑที่ใชผลพลอยไดจากปาลมน้ำมันไดทุกสวน มาผลิตเปนวัสดุกอสรางประเภทตางๆ ทั้งพื้นและผนัง โดยสามารถใชการเช�่อมประสานดวยโพลิเมอร และการเช�่อมประสานดวยซ�เมนต เปนมิตรตอสิ่งแวดลอมการนำไปใชป ระโยชนเ ชง� พาณชิ ย ถายทอดความรูใหกับชุมชน ว�สาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม และรวมมือกับภาคอตุ สาหกรรมในการขยายผลการดำเนินงานเพ่ือผลิตและจำหนายเปนผลิตภัณฑในเชง� พาณชิ ยทรัพยสนิ ทางปญ ญา อาจารยประชมุ คำพฒุ อยูระหวางดำเนินการ ภาคว�ชาว�ศวกรรมโยธา คณะว�ศวกรรมศาสตร มหาวท� ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุร� E-mail: [email protected] โทรศัพท 0 2549 3410 27

13เฮมพ แอนด โทะแบคโค เฟรนลี่ นวัตกรรมทีเ่ ปน มติ ร ตอส่ิงแวดลอ มจากเศษวสั ดุ เหลือทิ้งของโรงงานยาสูบ HfreoEmmcpotot-habfernaiedwcncdaToolsytbmeiansocnnocoofovpTaoFhtrlaiiyoeilnnasdnldy ช�่อผลงานนวตั กรรม และสิ่งประดษิ ฐ “อาจารยประชุม คำพฒุ ” บทสรปุ ดานนวัตกรรม และความสำคญั เฮมพ แอนด โทะแบคโค เฟรนลี่: นวัตกรรมที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอมจากเศษวัสดุ เหลือทิง้ ของโรงงานยาสูบ ประกอบดว ย แผนพืน้ สำเรจ็ รูป คอนกร�ตบล็อก บลอ็ กประสาน บลอ็ กปูพื้น บล็อกประสานปูพื้น ฝาเพดานหลงั คา และผนงั ฉนวนความรอ น ซง�่ วัสดทุ ั้งหมด ทำมาจากสวนผสมหลักคือ เศษเหลือทิ้งของกัญชง ฝุนผง และกานใบยาสูบ ที่เกิดจาก กระบวนการผลิตภายในโรงงานยาสูบ โดยวัสดุกอสรางทั้งหมดสามารถผานตามเกณฑ มาตรฐานอุตสาหกรรม (มอก.) ของวัสดุแตละประเภท จ�งสามารถนำไปใชประโยชนเปน วัสดุกอสรางทั่วไปได28 มหาวท� ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุร� Rajamangala University of Technology Thanyaburi

ผลงานว�จัย และนวัตกรรมเช�งพาณิชย 2561 มหาวท� ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุร� Rajamangala University of Technology Thanyaburiจด� เดน ของผลงาน เฮมพ แอนด โทะแบคโค เฟรนลี่: นวัตกรรมที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอมจากเศษวัสดุเหลอื ทง้ิ ของโรงงานยาสบู เปน ผลติ ภณั ฑว สั ดกุ อ สรา งทม่ี นี ำ้ หนกั เบามาก ชว ยลดตน ทนุในการกอสรา ง และเปน วสั ดฉุ นวนปองกนั ความรอนและปอ งกันเสยี งทดี่ ีการนำไปใชป ระโยชนเ ชง� พาณชิ ย ถายทอดความรูใหกับหนวยงานที่สนับสนุนงบประมาณว�จัย และรวมมือกับภาคอุตสาหกรรมในการขยายผลการดำเนินงานเพื่อผลิตและจำหนายเปนผลิตภัณฑในเช�งพาณิชยทรัพยสนิ ทางปญ ญา อาจารยประชุม คำพุฒ อยูระหวางดำเนินการ ภาควช� าว�ศวกรรมโยธา คณะวศ� วกรรมศาสตร มหาว�ทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ � E-mail: [email protected] โทรศพั ท 0 2549 3410 29

30

กลมุ งานวจ� ยัเพ่ือพัฒนาเทคโนโลยี และนวัตกรรม สำหรบั ภาค อุตสาหกรรม 31

เคร่อ� งตนแบบ 14 การตดั ขวด และดึงยดื เปน เสน ดาย BOTTLE CUTTER AND STRETCHING YARN PROTOTYPE ช�อ่ ผลงานนวัตกรรม และสง่ิ ประดิษฐ “ดร.บิณฑสนั ต ขวัญขา ว, วาท่ีรอยตร�หญิงศิร�วรรณ ศรธ� รรมรงค” บทสรปุ ดานนวัตกรรม และความสำคัญ มีจ�ดเร�่มตนโดยมองเห็นปญหาขยะจากขวดน้ำดื่ม ที่เปนขวดพลาสติก (PET) ที่ปจจ�บันมีมากข�้น และเปนขยะที่ใชเวลานานกวา 450 ปตอ 1 ใบ กวาจะยอยสลาย หากนำไปหลอมละลายตองใชพลังงานและเกิดการสนิ้ เปลืองท้ังยงั เปน มลพิษสง ผลกระทบ ตอมนุษยแ ละสงิ่ แวดลอ ม จ�งตอ งการเปลี่ยนขวดพลาสติกเหลานน้ั ใหก ลายเปนเสนดา ย โดยไมตอ งนำไปหลอมละลายและนำมาทอข้�นรปู เปนผลิตภณั ฑส ่ิงทอตอไป32 มหาวท� ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุร� Rajamangala University of Technology Thanyaburi

ผลงานว�จัย และนวตั กรรมเชง� พาณชิ ย 2561 มหาวท� ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธัญบุร� Rajamangala University of Technology Thanyaburiจด� เดนของผลงาน เคร�่องตนแบบการตัดขวดและดึงยืดเปนเสนดายสามารถตัดขวดพลาสติก (PET)และดึงยืดดวยความรอนเปนเสนดาย เสนดายที่ไดนำมาใชเปนเสนดายพุงในการทอผาในเช�งอุตสาหกรรมไดการนำไปใชป ระโยชนเช�งพาณิชย เพื่อพัฒนานำเสนดายจากขวดพลาสติก (PET) มาทอเปนผืนผา และนำผืนผาที่ทอจากเสนดายจากขวดพลาสติกข�้นรูปเปนผลิตภัณฑสิ่งทอจำพวกโฮมเท็กซไทล เชนผาปูโตะ ผารองแกว/จาน กระเปา ผาบุเฟอรนิเจอร เปนตนทรพั ยสินทางปญญา ดร.บิณฑสนั ต ขวัญขา ว, อยรู ะหวางดำเนินการ วา ทรี่ อ ยตร�หญิงศิร�วรรณ ศร�ธรรมรงค ภาควช� าวศ� วกรรมสงิ่ ทอ คณะว�ศวกรรมศาสตร มหาวท� ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุ � E-mail: [email protected], [email protected] 33โทรศัพท 0 2549 3459

15 หลอดทดสอบ แบคทีเร�ย ชอ�่ ผลงานนวัตกรรม และส่ิงประดิษฐ “ ผชู วยศาสตราจารย ดร.จ�ราภรณ อนนั ตช ยั พทั ธนา ” บทสรปุ ดานนวตั กรรม และความสำคญั สำหรบั นวัตกรรมที่ประดิษฐขน้� คอื สว นผสมของผงแหงที่ประกอบไปดว ยสว นผสม ของสารท่ีเหมาะสมสำหรับการเกิดปฏกิ ริ �ยาลกู โซม ัลตพิ อลิเมอเรส อยูภ ายในหลอดเฉพาะ สำหรบั ปฏิกริ ย� าลกู โซม ลั ติพอลิเมอเรส โดยสวนผสมของสารภายในหลอดจะสามารกใช ตรวจสอบแบคทีเร�ยกอโรคในอาหารจำนวน 3 สายพันธุไดพรอมกันดวยการทำการ ตรวจสอบเพียงครั้งเดียว สามารถชวยลดเวลาในการตรวจแบคทีเร�ยกอโรคในอาหาร ลดตนทุนทั้งคาใชจายดานแรงงานและสารเคมีในการตรวจ และชวยอำนวยความสะดวก ในการขนสง หลอดที่พัฒนานี้จ�งเหมาะสำหรับผูประกอบการที่ผลิตอาหารจำนวนมาก และตองการตรวจสอบคณุ ภาพดา นความปลอดภยั ของอาหารท่ผี ลติ ขน้� ในจำนวนมาก และใหผ ลท่รี วดเร็ว34 มหาว�ทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธญั บรุ � Rajamangala University of Technology Thanyaburi

ผลงานว�จยั และนวตั กรรมเชง� พาณิชย 2561 มหาวท� ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธญั บรุ � Rajamangala University of Technology Thanyaburiจ�ดเดนของผลงาน ในการตรวจสอบการปนเปอ นของจ�ลนิ ทรย� แบบดั้งเดิมน้ันใชเ วลาในการตรวจประมาณ5 – 7 วนั ใชส ารเคมี และแรงงานมาก ซง่� ไมเ หมาะสำหรบั การตรวจตวั อยา งอาหารจำนวนมากในระดับอุตสาหกรรม ในปจจ�บันจ�งมีการพัฒนาว�ธ�ตรวจจ�ลินทร�ยโดยใชปฏิกิร�ยาลูกโซมลั ตพิ อลเิ มอเรส มาใชในการตรวจสอบแบคทเี ร�ยทีป่ นเปอ นในอาหาร โดยประสิทธภ� าพวธ� �นด้ี กี วาว�ธด� งั้ เดิม คอื สามารถทราบผลการตรวจทีร่ วดเรว็ ในเวลา 1 – 2 วนั ประหยัดแรงงาน สามารถตรวจสอบอาหารไดจำนวนมากในครงั้ เดียว และสามารถตรวจสอบหาแบคทีเรย� กอ โรคไดถ ึง 3 สายพันธตุ อ การทดสอบหน่ึงคร้ังการนำไปใชป ระโยชนเ ชง� พาณชิ ยหลอดพรอ มใชง านสำหรบั ปฏกิ ริ ย� าลกู โซม ลั ตโิ พลเิ มอเรส สำหรบั ตรวจสอบแบคทเี รย�กอ โรคในอาหาร 3 สายพันธุ คือ Salmonella spp, Bacillus cereus และ Staphylococcusaureus เพ่ือชวยลดเวลาในการตรวจสอบแบคทเี ร�ยกอโรคในอาหาร และอำนวยความสะดวกในการขนสงสารละลายสำหรับตรวจสอบนอก จากนีย้ งั เปนประโยชนส ำหรับผปู ระกอบการท่ีผลติ อาหารจำนวนมากและตองการตรวจสอบคณุ ภาพดานความปลอดภยั ของอาหารทผี่ ลติ ขน�้ ในจำนวนมากและใหผ ล ผชู วยศาสตราจารยท่รี วดเรว็ ดร.จ�ราภรณ อนนั ตช ัยพทั ธนาทรพั ยสินทางปญญา ภาคว�ชาชว� วท� ยา อยรู ะหวางดำเนนิ การ คณะว�ทยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวท� ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุ � E-mail: [email protected] โทรศัพท 0 2549 4177 35

การนำเอาอนภุ าค 16 ไมโคร/นาโนเซรซ� น� และไฟโบรอิน เพื่อทำให ผวิ หนัง นุมนวล และชุมช้น� ในเคร่�องสำอาง ชอ�่ ผลงานนวตั กรรม และสง่ิ ประดิษฐ “ ผชู ว ยศาสตราจารย ดร. อภชิ าติ สนธ�สมบตั ิ ” บทสรปุ ดา นนวตั กรรม และความสำคญั อนุภาคไมโคร/นาโนซ�ลคที่ผลิต มี % Solid Content เกือบ 100% ทำใหอนุภาค มีความบร�สุทธ�์สูงมากและความละเอียดของอนุภาคไมโคร/นาโนซ�ลคมีขนาดอนุภาค เลก็ มาก (ประมาณ 600-800 นาโนเมตร) ซง�่ ยังไมม ผี ูผ ลิตในประเทศไทย และตา งประเทศ และงานว�จยั น้ีไดรับเหร�ยญทอง (Gold Prize) จาก Seoul International Invention Fair 2009 ณ กรงุ โซล ประเทศสาธารณรฐั เกาหลี (เกาหลีใต)36 มหาวท� ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธญั บรุ � Rajamangala University of Technology Thanyaburi

ผลงานวจ� ัย และนวตั กรรมเช�งพาณิชย 2561 มหาว�ทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุ � Rajamangala University of Technology Thanyaburiจ�ดเดนของผลงาน ผลิตภณั ฑโลชนั่ และสบบู ำรงุ ผิวผสมอนภุ าคไมโคร/นาโนเซรซ� น� และไฟโบรอนิ ซ่ง� มีความเขากนั ไดก บั รางกายมนุษยเน่อื งจากองคป ระกอบของกรดอะมิโนอยางนอ ย 18 ชนิดทำใหเกิดการสมานแผล ลบรอยเหี่ยวยนบนผิวหนัง สูตรโลชั่นที่คิดคน ซ�มเขาผิวหนังไดอยางรวดเร็ว สวนสบูใชกับผิวหนา และผิวกาย ทำใหหนาที่หยาบกระดาง ไมเร�ยบมีความเร�ยบและนุมนวลมากข�้นการนำไปใชป ระโยชนเ ช�งพาณชิ ยอธก� ารบดีของมหาว�ทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุร� และกรรมการผูจดั การของบร�ษัท เดชทศพักตรการเคมีและสีพิมพ จำกัด ไดลงนามในหนังสือสัญญาอนุญาตใหใชสิทธ�ในทรัพยสินทางปญญาขอตกลง ลงวันที่ 30 มีนาคม พ.ศ. 2561 โดยทางบร�ษัทฯเรม่� ผลติ และวางจำหนา ยสนิ คา “โลชน่ั ราเวน้� ย่ี ไมโครซล� ค” และ“สบู ราเวน้� ย่ี ไมโครซล� ค” ในอนาคตจะผลติ เซรัม่ บำรงุ ผวิ หนาผลติ ภณั ฑอ ืน่ ๆ ตอ ไปทรพั ยส ินทางปญ ญา ผชู ว ยศาสตราจารย ดร. อภิชาติ สนธ�สมบตั ิ อนุสทิ ธ�บัตร เลขที่ 9418 ภาคว�ชาว�ศวกรรมส่งิ ทอ คณะวศ� วกรรมศาสตร มหาว�ทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุร� E-mail: [email protected] โทรศพั ท 0 2549 3666 37

นวัตกรรม 17 ไมโครแคปซูล สำหรบั นำเอนไซมก ลับมาใชใหม (Innovative microcapsule for enzyme recovery) ช�่อผลงานนวัตกรรม และส่ิงประดษิ ฐ10 µm “ ผชู ว ยศาสตราจารย ดร.อมร ไชยสัตย ”บทสรุปดา นนวัตกรรม และความสำคัญ นวัตกรรมไมโครแคปซูล คือ อนุภาคแคปซูลที่กักเก็บอนุภาคนาโนแมเหล็กไวภายในและทำการปรบั เปลย่ี นหมทู ผ่ี วิ ของแคปซลู ใหส ามารถจบั กบั เอนไซดไดอ ยา งมปี ระสทิ ธภ� าพโดยแคปซูลจะมีลักษณะทรงกลม มีความเสถียรสูงไมรวมตัวกันในน้ำ ซ�่งสามารถแยกเอนไซมอ อกจากระบบการหมกั เอทานอลได โดยอาศยั แมเหลก็ ในการดึงดดู อนุภาคแคปซลูทีจ่ บั เอนไซม และสามารถนำเอนไซมก ลับไปใชใหมไ ด38 มหาว�ทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธญั บุร� Rajamangala University of Technology Thanyaburi


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook