Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ผลงานวิจัยและนวัตกรรมเชิงพาณิชย์ 2562

ผลงานวิจัยและนวัตกรรมเชิงพาณิชย์ 2562

Published by IRD RMUTT, 2019-12-23 22:21:57

Description: ผลงานวิจัยและนวัตกรรมเชิงพาณิชย์ 2562

Search

Read the Text Version

ผลงานวจ� ัย 2562และนวัตกรรมเชง� พาณชิ ย





สารจากอธก� ารบดี

มหาวท� ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุ � เปนมหาวท� ยาลยั ดานวช� าชพ� และเทคโนโลยี มุงเนนการพฒั นากำลังคนดานว�ทยาศาสตรและเทคโนโลยีใหมีความสามารถพรอมเขาสู อาช�พ สรางงานว�จัย สิ่งประดิษฐ นวัตกรรม งานสรางสรรค สามารถตอยอดและ ถายทอดการว�จัยสูสังคม ตอบโจทยภาคอุตสาหกรรม ความตองการของประเทศ เพื่อพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของชาติตอไป ในโอกาสนี้ มหาว�ทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุร� ไดเล็งเห็นและตระหนักถึง ความสำคัญของงานว�จัยที่เกิดจากการประดิษฐสิ่งประดิษฐคิดคนของนักว�จัย อาจารย และบุคลากรของมหาวท� ยาลยั ฯ จ�งมนี โยบายสงเสร�มและสนับสนุนการประดิษฐ งานว�จยั ส่งิ ประดษิ ฐ นวัตกรรม และงานสรางสรรคใหเปนท่ียอมรับในระดบั สากล เอกสารเพื่อเผยแพรผลงานว�จัยและนวัตกรรมเช�งพาณิชย ประจำป 2562 จัดทำข�้นเพื่อรวบรวมผลงานว�จัย นวัตกรรม สิ่งประดิษฐ งานสรางสรรค ของนักว�จัย ในมหาวท� ยาลัยฯ เพือ่ เปนการประชาสมั พนั ธผลงานว�จัยและนวตั กรรมของมหาวท� ยาลัยฯ สูกลุมเปาหมายภาคธุรกิจ เช�งพาณิชย และหวังเปนอยางยิ่งวาเอกสารเพื่อเผยแพร ผลงานว�จัยและนวัตกรรมเช�งพาณิชยฉบับนี้จะเปนประโยชนตอหนวยงาน ภาคธุรกิจ และผูที่สนใจงานว�จัยและนวัตกรรมของมหาว�ทยาลัยฯ นายว�รัช โหตระไวศยะ รักษาราชการแทนอธก� ารบดี มหาว�ทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธญั บุร�

สารจาก รองอธก� ารบดี มหาว�ทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุร� เปนมหาว�ทยาลัยดานว�ทยาศาสตรและ เทคโนโลยี โดยการพัฒนากำลังคนใหเปนองคกรแหงการเร�ยนรู เผยแพรความรูดาน วท� ยาศาสตรและเทคโนโลยี การสรางงานวจ� ยั สง่ิ ประดษิ ฐ นวตั กรรม และงานสรางสรรค โดยสงเสร�มการว�จัยใหมีคุณภาพ และสรางผลงานที่สามารถเผยแพรองคความรูใหกับ สาธารณชน นําไปใชประโยชนหร�อ ตอยอดได อันจะนําไปสูการพัฒนาคุณภาพ งานว�จัย ตอไป เพื่อสรางความแข็งแกรงทางว�ชาการและว�จัย สูการเปนมหาว�ทยาลัยที่มีคุณภาพ เอกสารเพอ่ื เผยแพรผลงานวจ� ยั และนวตั กรรมเชง� พาณชิ ย ประจำป 2562 จดั ทำขน้� เพื่อรวบรวมผลงานว�จัย นวัตกรรม สิ่งประดิษฐ งานสรางสรรค ของนักว�จัยใน มหาว�ทยาลัยฯ เพื่อผลักดันคุณภาพงานว�จัย และพัฒนานักว�จัยใหมีศักยภาพเขมแข็ง เพื่อเปนการประชาสัมพันธผลงานว�จัยและนวัตกรรมของมหาว�ทยาลัยฯ สูกลุมเปาหมาย ภาคธุรกิจ เช�งพาณิชย และหวังเปนอยางยิ่งวาเอกสารเพื่อเผยแพร ผลงานว�จัยและ นวัตกรรมเช�งพาณิชยฉบับนี้จะเปนประโยชนตอหนวยงาน ภาครัฐ ภาคเอกชน และผูที่ สนใจงานว�จัยและนวัตกรรมของมหาว�ทยาลัยฯ ตอไป ผชู วยศาสตราจารย ดร.สริ �แข พงษสวสั ด์ิ รองอธ�การบดี มหาว�ทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุร�

สารจาก ผูอำนวยการ สถาบนั วจ� ัยและพัฒนา สถาบันว�จัยและพัฒนา มหาว�ทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุร� มีความมุงมั่นที่จะ พัฒนางานว�จัย เพื่อยกระดับคุณภาพงานว�จัยใหเปนที่ยอมรับในระดับสากล สงเสร�ม การเผยแพรงานวจ� ยั ในระดบั สงู สงเสรม� นกั วจ� ยั ในการทำงานวจ� ยั นวตั กรรม สง่ิ ประดษิ ฐ และงานสรางสรรค มีการตอยอดงานว�จัยสูเช�งพาณิชย ถายทอดองคความรูแกสังคม ตอบโจทยภาคอุตสาหกรรม และตอบสนองความตองการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ ตามนโยบายของภาครฐั ดงั นน้ั สถาบนั วจ� ยั และพฒั นา ไดเลง็ เหน็ ความสำคญั ของการคดิ คนงานวจ� ยั นวตั กรรม สิ่งประดิษฐ และงานสรางสรรคของนักว�จัย อาจารย และบุคลากรของมหาว�ทยาลัยฯ จง� ไดสงเสรม� และสนบั สนนุ การสรางผลงานวจ� ยั ในเชง� รกุ และการนำผลงานทไ่ี ดมาเผยแพร เพอื่ เปนประโยชนแกผูสนใจ เอกสารเพื่อเผยแพรผลงานว�จัยและนวัตกรรมเช�งพาณิชย เปนการรวบรวมผลงาน วจ� ัย สิง่ ประดษิ ฐ และนวัตกรรมของของนักว�จยั มหาว�ทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธญั บุร� เพื่อเปนการสงเสร�มใหเกิดงานว�จัย สิ่งประดิษฐ นวัตกรรมใหมข�้นทุกป โดยเร�่มรวบรวม ผลงานตั้งแตป 2559 จำนวน 30 ผลงาน ป 2560 จำนวน 30 ผลงาน ป 2561 จำนวน 40 ผลงาน และป 2562 จำนวน 30 ผลงาน รวมทั้งสิ้น 130 ผลงาน เพื่อเปนการ ประชาสมั พนั ธผลงานวจ� ยั นวตั กรรม และสง่ิ ประดษิ ฐ ของมหาวท� ยาลยั ฯ ไปยงั กลมุ เปาหมาย ภาคธุรกิจ และหวังเปนอยางยิ่งวาเอกสารเพื่อเผยแพรผลงานว�จัยและนวัตกรรม เช�งพาณชิ ยฉบับน้จี ะเปนประโยชนตอหนวยงาน ทัง้ ภาครัฐ ภาคธุรกิจ และผทู ี่สนใจงานว�จัย และนวัตกรรมของมหาวท� ยาลัยฯ ผูชวยศาสตราจารย ดร.วารุณี อรย� วร� ย� ะนนั ท ผอู ำนวยการสถาบันว�จัยและพัฒนา มหาวท� ยาลัยแทคโนโลยรี าชมงคลธัญบุร�

คำนำ

สถาบนั ว�จัยและพฒั นา มหาว�ทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบรุ � เปนหนวยงานกลาง ในการประสานและบร�หารงานว�จัยของมหาว�ทยาลัยฯ เพื่อสงเสร�มและสนับสนุนการเพิ่ม ข�ดความสามารถในการว�จัยของบุคลากรดานงานว�จัย ดานว�ทยาศาสตรและเทคโนโลยี เพอ่ื สรางผลงานวจ� ยั สง่ิ ประดษิ ฐ นวตั กรรม และผลงานสรางสรรค ซง่� จะเกดิ ประโยชนตอ สังคมและตรงตามยุทธศาสตรการพัฒนาประเทศ ตลอดจนมุงมั่นที่จะยกระดับงานว�จัย ใหไดมาตรฐานและเปนที่ยอมรบั ในระดับสากล โดยทางสถาบันวจ� ยั และพฒั นา ไดเล็งเห็นถงึ ความสำคัญของการเผยแพรผลงานว�จัยและนวัตกรรมเช�งพาณิชยของมหาว�ทยาลัยฯ เพ่อื นำไปตอยอดเช�งพาณชิ ย กอใหเกดิ ประโยชนแกชุมชน สงั คม และภาคอุตสาหกรรม ทั้งนี้ ผลงานว�จัยและนวัตกรรมเช�งพาณิชย ป พ.ศ. 2562 เปนการรวบรวมผลงาน ว�จัย นวัตกรรม สิ่งประดิษฐ และงานสรางสรรคของมหาว�ทยาลัยฯ เพียงบางสวนที่จะ เปนประโยชนและพรอมที่จะถายทอดเพื่อเปนประโยชนตอสาธารณชน จำนวน 30 ผลงาน สำหรับผูท่สี นใจนำไปศึกษาและตอยอดการใชประโยชนตอไป

สารบญั 2 กลมุ งานวจ� ยั เพอื่ เทคโนโลยี พลงั งาน และส่งิ แวดลอม 4 6 1. ตนแบบแผงตาขายรงั ผึง้ จากพอลเิ อทิลีนรไ� ซเคิลผสมเถาแกลบดำ สำหรบั ปองกันการยบุ ตวั ของถนนรม� คลองจากภยั แลงรนุ แรง 8 2. ชดุ จำลองสาล่ีรบั ไฟฟาเหนอื ศีรษะสำหรับรถไฟความเรว็ สงู 12 3. ระบบการแจงเตอื นและจัดการการใชนำ้ ผานอินเทอรเนต็ 14 เพือ่ การบรห� ารจัดการการใชนำ้ จากการเก็บขอมูลของผูใช 16 4. การออกแบบระบบระบายน้ำแบบไซฟอนอัตโนมัตสิ ำหรับไมกระถาง 18 20 ภายในอาคาร 22 กลุม งานว�จยั เพือ่ สรางธุรกิจว�สาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม 26 5. ผลิตภณั ฑบำรงุ ผิวทีม่ ีสวนประกอบของสารสกดั กระเจ�๊ยบแดง 28 หนามแดง และลูกยอ 6. ยาหอมแกลมวง� เวย� น รปู แบบเม็ดฟู-แคปซูล 7. ผลิตภณั ฑเสร�มสุขภาพจากพิกัดตร�ผลาเพอื่ ผบู ร�โภคทกุ เพศทกุ วยั 8. บรรจ�ภณั ฑยอยสลายไดตามธรรมชาติจากใบบวั หลวง 9. เคร�่องแกะเปลอื กเมล็ดบวั หลวง 10. เคร่�องปอกสับปะรด กลมุ งานวจ� ัยเพือ่ พฒั นาเทคโนโลยแี ละนวตั กรรมสำหรับภาคอุตสาหกรรม 11. พอลเิ มอรไมโครแคปซลู ฉลาดสำหรับบำบดั สยี อมในน้ำเสียท่สี ามารถ นำกลับมาใชใหมได 12. นวัตกรรมอนภุ าคนาโนพอลิเมอรหลายหนาทสี่ ำหรบั ตานเชอ�้ จล� ช�พ และเปนสารลดแรงตึงผวิ ชนดิ อนภุ าคของน้ำมนั หลอเย็น

กลุม งานวจ� ยั เพือ่ การพฒั นาการเกษตร อุตสาหกรรมเกษตร และอาหารแปรรูป 32 34 13. ขนมไทยกะทิสดผสมขาวไรซเบอรร�่ในรปู แบบเหนยี วขน 36 14. ผลติ ภัณฑเยลล่ีกลวยน้ำวาพรอมด่มื เสร�มเมด็ บดี สโพรไบโอติก 38 15. ผลิตภัณฑรากบัวผงเสรม� โพรไบโอตกิ 40 16. ผลิตภณั ฑขาวหอใบบวั จากขาวหอมมะลิในบรรจภ� ัณฑรท� อรทเพาซ 42 17. ไสกรอกไขขาวรสตมยำ 44 18. ไอศกร�มน้ำนมธญั พชื ปราศจากนำ้ ตาลเสรม� สารสกดั ใบบัวหลวง 46 19. แยมแกวมังกร 48 20. การออกแบบและพฒั นาเครอ�่ งขอดเกลด็ ปลาแปะกัง 50 21. วธ� เ� รงการบมเน้อื แบบแหงดวยการใชราจากลกู แปง 52 22. นำ้ รากบัวหิมะเสร�มคอลลาเจน 54 23. ตาหแู ขง็ จากเมล็ดฟกทอง 56 24. ผลิตภณั ฑกัมม่ีจากข�้นฉาย 58 25. ผลิตภัณฑแยมมะละกอลดน้ำตาลดวยน้ำแตงโมเขมขน 60 26. คุกกรี้ ากบวั หมิ ะตานสารอนุมูลอิสระ 62 27. รงั เลีย้ งสำหรบั ผลิตนำ้ ผ้ึงเช�งพ2า1ณ. ิชยของชนั โรงขนาดเล็ก 28. สารยับยัง้ การกินจากสารสกัดสะคาน (Piper ribesioides) และ 64 66 พลคู าว (Houttuynia cordata) ตอหนอนกระทหู อม 29. กระดาษดูดซับเอทธล� นี จากเปลอื กสบั ปะรด 30. การออกแบบและสรางรถพนสารกำจดั ศัตรพู ืชแบบบงั คับวท� ยุ



กลมุ งานว�จยั เพือ่ เทคโนโลยี พลังงาน และส่ิงแวดลอม

ตนแบบแผงตาขายรงั ผึง้ จากพอลเิ อทลิ ีนร�ไซเคลิ ผสมเถาแกลบดำสำหรับปองกนั การยบุ ตวั ของถนนรม� คลองจากภยั แลงรุนแรง Prototype of Geocell from Recycled Polyethylene with Rice Hush Ash for Prevention of Canal-Road Subside due to Severe Drought ดร.นที ศรส� วัสด์ิ และ ผูชวยศาสตราจารย ดร.พุทธพล ทองอนิ ทรดำ บทสรปุ ดานนวตั กรรม และความสำคัญ ในชวงระยะเวลาสองทศวรรษท่ผี านมาประเทศไทยประสบปญหาภัยแลงอยางรุนแรง และยาวนานมากข�้น สงผลใหถนนร�มคลองชลประทานไดเกิดการยุบตัวลงแบบทันที เปนจำนวนมากในพื้นที่หลายจังหวัด สรางความเสียหายตอช�ว�ต ทรัพยสิน และ คณุ ภาพชว� ต� ของประชาชนผูใชทางจำนวนมาก ในขณะทม่ี รี ายงานวจ� ยั ในตางประเทศ ช�้ชัดวาแผงตาขายรังผึ้งเสร�มกำลังดิน (Geocell) สามารถชวยลดปญหานี้ได แต กลับไมถกู นำมาใชในประเทศไทยเนอ่ื งจากมรี าคาแพง งานวจ� ยั นี้จง� ทำการนำวสั ดเุ หลือ ใช ไดแก พอลิเอทิลีนและเถาแกลบดำ มาทดลองผลิตตนแบบแผงตาขายลังชั้น พื้นทางของถนนร�มคลอง ทำการทดสอบทั้งในหองปฏิบัติการและกอสรางในแปลง ทดสอบขนาดจรง� (Full-Scale test section) ผลการศกึ ษาทำใหไดตนแบบแผงตาขาย รงั ผงึ้ ท่ีใชงานไดจร�งอยูในเกณฑนาพอใจ และชวยลดปญหามลพิษจากเศษวัสดเุ หลอื ใช เพิ่มมูลคา เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม และไดผลิตภัณฑที่มีราคาถูกกวาทองตลาด อยางมีนัยสำคัญ 2

ผลงานวจ� ัย และนวัตกรรมเชง� พาณิชย 2562 มหาว�ทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุร� Rajamangala University of Technology Thanyaburi จ�ดเดนของผลงาน 1. ผลิตจากวัสดุเหลอื ใชจากกระบวนการอตุ สาหกรรม คอื เศษวัสดพุ อลเี อทิลีน 2. ผลติ จากวสั ดเุ หลือใชจากกระบวนการเกษตร คอื เถาแกลบดำ 3. ผลติ ไดเองในประเทศทกุ กระบวนการ 4. เปนมติ รกบั สิ่งแวดลอม ลดปญหาขยะ ลดปญหามลพษิ เพ่ิมมูลคาวัสดุเหลือใช 5. ราคาตนทนุ การผลิตตำ่ กวาผลิตภัณฑตามทองตลาด การนำไปใชประโยชนเชง� พาณิชย เปนผลงานว�จัยที่ชวยลดปญหามลพิษจากเศษวัสดุเหลือใช การเพิ่มมูลคา และ สามารถผลิตเปนผลิตภัณฑที่ไดราคาถูกกวาทองตลาด สามารถนำไปใชไดจร�ง ทรพั ยสนิ ทางปญญา อยูระหวางการดำเนินการ ดร.นที ศร�สวัสด์ิ และ ผูชวยศาสตราจารย ดร.พทุ ธพล ทองอินทรดำ คณะวศ� วกรรมศาสตร มหาวท� ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธัญบรุ � E-mail : [email protected] โทรศพั ท 02 549 3450-51 3

ชุดจำลองสาลี่รบั ไฟฟาเหนอื ศรี ษะสำหรับ รถไฟความเร็วสูง Pantograph Model for High Speed Train นายพรอมศกั ด์ิ อภิรติกลุ และ นายอภชิ าต ไชยขนั ธุ บทสรุปดานนวตั กรรม และความสำคญั ชดุ จำลองสาล่ีรับไฟฟาเหนอื ศีรษะสำหรับรถไฟความเรว็ สูงหรอ� เรย� กวา Pantograph Model ท่ีออกแบบและสรางเพือ่ ใชในการเร�ยน การสอน การว�จยั และพฒั นา ในสาขา ว�ศวกรรมระบบราง ของหลักสูตรว�ศวกรรมศาสตรบณั ฑติ สาขาวศ� วกรรมระบบราง คณะว�ศวกรรมศาสตร มหาวท� ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธญั บุร� เพือ่ รองรบั การถายทอด ทางดานว�ทยาศาสตรและเทคโนโลยีทางดานคมนาคมและขนสงทางรางของประเทศ ที่กำลังจะเกิดข�้นและกาวตอไปในอนาคตนี้ เชน โครงการรถไฟความเร็วสูงไทย-จ�น สายกรุงเทพฯ ถึงจังหวัดนครราชสีมา ที่ไดเร�่มดำเนินโครงการฯ แลว แตยังขาด องคความรูในดานตางๆ ผูประดิษฐและว�จัยไดพยายามสรางองคความรูของประเทศ เราเอง เพอ่ื มาใชในประเทศ สามารถพง่ึ พาตนเองได และยงั ประหยดั งบประมาณในการ นำเขาชุดฝกอบรมในดานตางๆ โดยเฉพาะทางดานระบบไฟฟาสำหรับระบบขนสงทางราง ท่ีมีงบประมาณสงู มาก โดยมงุ ใหการถายทอดเทคโนโลยีน้ีไดเปนประโยชนตอบุคลากร ทางดานวศ� วกรรมระบบรางและผเู ก่ยี วของของประเทศตอไป 4

ผลงานว�จัย และนวตั กรรมเช�งพาณชิ ย 2562 มหาวท� ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธญั บรุ � Rajamangala University of Technology Thanyaburi จ�ดเดนของผลงาน 1. เปนชุดจำลองสาลี่รับไฟฟาที่ทำงานไดจร�ง รับแรงกระทำตอสายไฟแรงสูง ที่ 70-120 N 2. เปนชุดจำลองสาลี่รบั ไฟฟาท่ที ำงานไดจร�ง รับแรงดันไฟฟา 25-30 kV 3. ใชในการเรย� นการสอนในรายวช� า ระบบไฟฟาสำหรบั รถไฟ (Railway Electrification System) 4. ใชในการฝกอบรมผปู ฏบิ ตั งิ านบำรงุ รกั ษาระบบรบั ไฟฟาสำหรบั รถไฟความเรว็ สงู 5. ใชในการศกึ ษาวจ� ยั และพฒั นาระบบสาลร่ี บั ไฟฟาเหนอื ศรี ษะใหสามารถออกแบบ และสรางข�้นใชเองสำหรับประเทศและลดงบประมาณการนำเขาเคร�่องมือและอุปกรณ จากตางประเทศ การนำไปใชประโยชนเช�งพาณิชย กอใหเกิดองคความรูในการพัฒนาประเทศ ทำใหสามารถพึ่งพาตนเองไดโดย เปนการประหยัดงบประมาณในการนำเขาชุดฝกอบรมในดานตางๆ โดยเฉพาะทาง ดานระบบไฟฟาสำหรับขนสงทางรางที่มีงบประมาณสูงในปที่ผานๆ มา โดยเปนการ เนนการตอยอดเทคโนโลยีใหกับบุคลากรดานว�ศวกรรมระบบรางของประเทศ ทรพั ยสินทางปญญา อยรู ะหวางการดำเนินการ นายพรอมศกั ด์ิ อภริ ติกุล และ นายอภชิ าต ไชยขนั ธุ คณะวศ� วกรรมศาสตร มหาวท� ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุ � E-mail :[email protected] โทรศพั ท 02 577 3038 5

ระบบการแจงเตือนและจัดการการใชน้ำ ผานอนิ เทอรเนต็ เพ่ือการบรห� ารจดั การการใชน้ำ จากการเก็บขอมูลของผูใช Water Supply Monitoring System and Notification Using The Internet for Better Management System Based-on Users’ Behavior นายกรี ติบุตร กาญจนเสถียร บทสรปุ ดานนวัตกรรม และความสำคญั จากการศกึ ษาขอมลู เกี่ยวกบั ระบบการวดั ปรม� าณนำ้ พบวามอี ปุ กรณวดั การไหล ของนำ้ ทไ่ี หลผานทอนำ้ ขนาดตง้ั แต ½ จนถงึ 1 นว้ิ ซง่� ขนาด 14 กอกตามมาตรฐาน ท่ีพักอาศยั ในประเทศไทยคอื ½ - 1 นิ้ว ซ่ง� สามารถใชวัดปร�มาณการใชน้ำในสวนตางๆ ตามตองการได แตการที่จะทราบคาการใชน้ำจากเซ็นเซอรแตละตัวจะตองอานคา ที่เคร�่อง กลาวคือ เซ็นเซอรแตละตัวจะไมมีระบบอัตโนมัติที่สามารถคำนวณคาน้ำ ตามสูตรของการประปาและไมมีระบบการแจงผู ใชวาได ใชน้ำไปเปนจำนวนเทาใด มคี าใชจายประมาณเทาใด อีกท้ังยงั ไมมีระบบการจัดการสำหรับผูใช (UI: User-Interface) เชน มีปุมสำหรับเร�่มการนับปร�มาณน้ำและปุมสำหรับหยุด เพื่อนับการใชน้ำของ กิจกรรมหร�อชวงเวลาใดๆ อีกระบบที่จะมีประโยชนยิ่งสำหรับการบร�หารจัดการน้ำ หร�อการทราบพฤติกรรมการใชน้ำของประชาชนคือระบบฐานขอมูลที่จะบันทึก ปร�มาณการใชน้ำตางๆ หากมีขอมูลเก็บไวในระบบฐานขอมูล จะสามารถแสดงขอมูล เหลานั้นเปนแบบรายสัปดาห เดือน ผานกราฟ เพื่อทราบถึงพฤติกรรมการใชน้ำได อีกทั้งหากหนวยงานผู ใหบร�การน้ำมีการเก็บขอมูลการใชน้ำในกิจกรรมตางๆ ของประชาชน จะสามารถนำขอมูลนี้ไปว�เคราะหและนำไปสูการตอยอดในการพัฒนา คุณภาพช�ว�ตประชาชนได เชน หากพบวาประชาชนที่อาศัยแบบบานเดี่ยวมีแนวโนม การใชน้ำในการอาบน้ำบนหองน้ำชั้นบนของบานมากกวาการอาบน้ำชั้นลาง ก็อาจ จะเปนขอมูลใหบร�ษัทบานจัดสรรเลิกสรางพื้นที่อาบน้ำสำหรับหองน้ำชั้นลางและนำ งบประมาณไปเสร�มสวนอื่นที่ผูใชตองการมากกวา เปนตน 6

ผลงานว�จัย และนวตั กรรมเช�งพาณชิ ย 2562 มหาวท� ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุร� Rajamangala University of Technology Thanyaburi จด� เดนของผลงาน 1. การสงคาการใชน้ำที่มีการคำนวณอางอิงจากสูตรการคำนวณน้ำจากการ ประปาไปยังอุปกรณพกพาของผูใชหร�อหนวยงานผานระบบฐานขอมูล 2. การนำเอาเซ็นเซอรวัดอัตราการไหลของน้ำมาทำงานรวมกับโมดูลสื่อสาร ไรสาย (Wi-Fi) เพ่ือสงคาการใชนำ้ ไปยงั ผูใชหร�อหนวยงาน 3. ระบบการแจงเตอื นเมื่อมีการลืมปดน้ำหร�อนำ้ ร่ัวจากกอกโดยการตงั้ เวลาเพ่ือ จับเวลาการไหลของน้ำ ระบบตรวจสอบน้ำรั่วที่มีในทองตลาดจะทำงานดวยการใช เซ็นเซอรตรวจจับน้ำ (water detector หร�อ water detect sensor) แตกตางกัน ที่การใชฮารดแวรที่ตางกัน 4. ระบบสามารถถูกติดตั้งไวกับกอกแตละกอกและสามารถสงคาไปยังฐานขอมูล ไดซ่ง� จากการหาขอมูลพบวายงั ไมมกี ารประดษิ ฐชน�้ งานในลกั ษณะนี้มากอน 5. ขอแตกตางระหวางระบบที่ประดิษฐข�้นนี้กับมิเตอรของการประปา คือ มิเตอร ของการประปาจะไมสามารถสงคาไปยังฐานขอมูลผานอินเทอรเน็ตได หากตองการ ดูคาจะตองมาอานตวั เลขท่ีมเิ ตอรเทานน้ั แตระบบที่ถกู ประดษิ ฐข้น� น้สี ามารถเช�่อมตอ อินเทอรเนต็ และสงคาไปยงั ฐานขอมูลเพ่อื นำไปวเ� คราะหและใชงานตอได การนำไปใชประโยชนเช�งพาณิชย หนวยงานผูใหบรก� ารสามารถนำขอมลู การใชนำ้ ไปวเ� คราะหและใชงานในดานตางๆ ไดซ�่งขอมูลและพฤติกรรมผูใชเหลานี้ถือวามีคาอยางยิ่งยวด เนื่องจากเปนลักษณะ ของฐานขอมลู ขนาดใหญทม่ี จี ำนวนลกู คาอยูในหลกั ลานครวั เรอ� นรวมถงึ หนวยงาน ทั้งภาครัฐและเอกชน ขอมูลสามารถถูกเก็บและแยกแยะตามภูมิภาค ลักษณะของ ที่พักอาศัย เชน บานเดี่ยว ทาวนเฮาส คอนโด และยังสามารถเพิ่มขอมูลได เชน จำนวนคนในที่พักอาศัย รายได ซ�่งทั้งหมดนี้ถือเปนขอมูลที่มีคาอยางมาก ในสวน ของผูใช เชน บร�ษัทภาคเอกชนหร�อหนวยงานภาครัฐยังสามารถทราบพฤติกรรม การใชน้ำของบุคลากรในแผนกตางๆ เพื่อการบร�หารจัดการการใชน้ำอยางมี ประสิทธ�ภาพ รวมถึงผูใชน้ำรายยอย เชน ที่พักอาศัยที่ยังสามารถทราบคาใชน้ำ ของแตละกิจกรรมไดอีกดวย ทรัพยสนิ ทางปญญา นายกีรติบตุ ร กาญจนเสถยี ร อยรู ะหวางการดำเนนิ การ คณะวท� ยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาว�ทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธญั บุร� E-mail: [email protected] โทรศพั ท 02 549 4161 7

การออกแบบระบบระบายน้ำแบบไซฟอนอัตโนมตั ิ สำหรบั ไมกระถางภายในอาคาร Design of an Auto-Siphon Drainage System for Interior Potted Plants ผชู วยศาสตราจารย ดร.สานติ ยดา เตยี วตอย บทสรุปดานนวัตกรรม และความสำคัญ ระบบนี้ใชอปุ กรณพิเศษที่ทำข้น� จากทอพีว�ซซ� ง่� ดผู วิ เผินไมไดมกี ลไกซับซอนมากนกั แตก็ทำงานไดอยางมีประสิทธ�ภาพ อุปกรณนี้จะสงน้ำจากถังปลูกพืชในสารละลาย ที่วางอยูดานบนลงสูถังเก็บที่อยูดานลางโดยอัตโนมัติและไมใชกระแสไฟฟา ระบบนี้ เหมาะกับการนำมาใชกับพืชที่ปลูกในกระถางภายในอาคารมีการหมุนเว�ยนของน้ำ ในระบบตลอดเวลาทำใหพืชสามารถเติบโตภายในอาคารไดอยางไมขากความชุมช�้น จากน้ำ 8

ผลงานวจ� ยั และนวตั กรรมเชง� พาณิชย 2562 มหาวท� ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธัญบรุ � Rajamangala University of Technology Thanyaburi จ�ดเดนของผลงาน 1. เปนงานใหมยงั ไมมีใครทำ 2. ประหยัดน้ำเพราะออกแบบใหน้ำตามความตองการของพชื ท่ีใชจร�ง 3. ลดการเปยกแฉะและการเกดิ พื้นทน่ี ำ้ ทวมขงั 4. น้ำสวนเกนิ ทเ่ี หลอื ใชสามารถนำนำ้ ไปใชใหมแบบหมุนเว�ยนได 5. สามารถนำไปใชงานไดจร�ง ระบบทำงานเองโดยอัตโนมัตปิ ระหยดั เวลา 6. เหมาะสมกับหางสรรพสนิ คา และโรงแรม ทจ่ี ะปลูกตนไมกระถางจร�งได การนำไปใชประโยชนเช�งพาณิชย สามารถนำไปจำหนายและใชไดจร�งสำหรับระบบการระบายน้ำภายในอาคาร ซ�่งเหมาะกับอาคารสำนักงาน คอนโดมิเนียม อาคารพาณิชยตางๆ ทรพั ยสินทางปญญา ผูชวยศาสตราจารย ดร.สานิตยดา เตียวตอย อยรู ะหวางดำเนินการ คณะวศ� วกรรมศาสตร มหาว�ทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธญั บรุ � E-mail: [email protected] โทรศัพท 02 549 3586 9



กลุม งานวจ� ยั เพื่อสรางธุรกจิ วส� าหกิจ ขนาดกลางและขนาดยอม

ผลติ ภัณฑบำรงุ ผิวทีม่ ีสวนประกอบของสารสกดั กระเจ๊ย� บแดง หนามแดง และลกู ยอ นางสาวมนสิชา ขวญั เอกพันธุ บทสรุปดานนวัตกรรม และความสำคัญ ความมงุ หมายของการประดษิ ฐน้ี เพ่อื จดั ใหมีผลิตภัณฑเคร่อ� งสำอางบำรุงผิวหนา ที่มีสวนผสมของสารสกัดสมุนไพรไทยที่มีคุณสมบัติในการตอตานร�้วรอยแบบใหม อนั ไดแก สารสกดั จากผลกระเจ๊�ยบ สารสกดั จากผลหนามแดง และสารสกดั จากลกู ยอ เพื่อยกระดับคุณภาพและมาตรฐานการพัฒนาสมุนไพร ตามยุทธศาสตรการว�จัย ในการว�จัยและพฒั นาผลติ ภัณฑเคร่�องสำอางจากสมุนไพรสูการเปนผลติ ภณั ฑแหงชาติ อีกทัง้ ยังเปนการเพม่ิ มูลคาใหกบั สมนุ ไพรไทย 12

ผลงานว�จยั และนวัตกรรมเชง� พาณชิ ย 2562 มหาว�ทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบรุ � Rajamangala University of Technology Thanyaburi จ�ดเดนของผลงาน ผลิตภัณฑเคร�่องสำอางบำรุงผิวหนาที่มีสวนผสมของสารสกัดสมุนไพรกระเจ�๊ยบ สารสกัดจากผลหนามแดง และสารสกัดจากลกู ยอ ท่ีมีคณุ สมบตั ิในการตอตานรว้� รอย โดยมีฤทธ�์การยับยั้งเอนไซมคอลลาจ�เนสสูงสุดที่ รอยละ 100.00 ± 0.00 ซ�่งเทียบ เทากับสารมาตรฐานว�ตามินซ� (Ascorbic acid) และจากการทดสอบประสิทธ�ภาพ ในอาสาสมคั รจำนวน 30 คน พบวา หลังใชผลติ ภณั ฑฯ เปนเวลา 4 สปั ดาห ร�้วรอย ของอาสาสมัครลดลง คดิ เปนรอยละ 23.88 การนำไปใชประโยชนเช�งพาณิชย ถายทอดองคความรสู ศู นู ยผลติ และบร�การว�ชาการผลิตภณั ฑสุขภาพและความงาม ว�ทยาลัยการแพทยแผนไทย มหาว�ทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุร� เพื่อผลิตและ จำหนายตอไป ทรพั ยสนิ ทางปญญา คำขอรบั อนสุ ทิ ธ�บตั ร เลขที่ 1803002411 นางสาวมนสชิ า ขวญั เอกพันธุ ว�ทยาลัยการแพทยแผนไทย มหาว�ทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบรุ � E-mail: [email protected] โทรศพั ท 02 592 1999 13

ยาหอมแกลมว�งเว�ยน รูปแบบเม็ดฟู-แคปซูล นายวัชระ ดำจต� ิ บทสรปุ ดานนวตั กรรม และความสำคัญ สารสกัดยาหอมแกลมว�งเว�ยนไดรับการศึกษาฤทธ�์และกลไกการออกฤทธ�์ ทำให ทราบถงึ ปรม� าณของยาทเ่ี หมาะสม ทัง้ ยงั นำผลท่ีไดมาพัฒนาในรูปแบบเม็ดฟูละลายนำ้ ทำใหเกิดการพัฒนาตอยอด เปลีย่ นแปลงรูปแบบยาที่ยงั คงกล่นิ สแี ละรสของสมนุ ไพร โดยไมตองเสียเวลาในการละลายยาผงท่ีอาจทำใหไดรบั ปรม� าณยาทีไ่ มเพียงพอตอการ ออกฤทธ์� 14

ผลงานว�จยั และนวตั กรรมเชง� พาณชิ ย 2562 มหาว�ทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุ � Rajamangala University of Technology Thanyaburi จ�ดเดนของผลงาน ยาหอมแกลมว�งเว�ยนดูดซ�มไดงายตางจากแบบแคปซูลตองใชเวลาในการดูดซ�ม สำหรับสารสกัดยาหอมแกลมว�งเว�ยนใชว�ธ�การสกัดตามกรรมว�ธ�ยาแผนโบราณ และนำสารสกัดมาบรรจ�ในเม็ดฟู โดยเม็ดฟู 1 เม็ด มีสารสกัดสมุนไพรจากตำรับ เพียงพอที่จะทำใหเกิดฤทธ�์เหนี่ยวนำการนอนหลับและคลายกังวล การนำไปใชประโยชนเชง� พาณชิ ย สามารถใชเพื่อพัฒนายาและเปนขอมูลเพื่อข�้นทะเบียนยาในรูปแบบยาพัฒนาจาก สมุนไพรซ�่งจากการใชงานที่สะดวก จะทำใหการใชยาสมุนไพรงายข�้นและเขาถึงผูปวย ในทุกเพศและทุกวัย ทรพั ยสินทางปญญา อยูระหวางการดำเนนิ การ นายวัชระ ดำจ�ติ วท� ยาลัยการแพทยแผนไทย มหาว�ทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุ � E-mail: [email protected] โทรศพั ท 02 592 1999 15

ผลิตภัณฑเสร�มสุขภาพจากพิกัดตร�ผลา เพื่อผูบร�โภคทุกเพศทุกวัย Tri-Pha-La receive supplement for all ages consumers ผชู วยศาสตราจารย เอมอร ชยั ประทีป บทสรุปดานนวตั กรรม และความสำคญั น้ำตร�ผลาสูตรดั้งเดิมจะมีรสชาติฝาด รับประทานยาก ผูบร�โภคหลายวัยไมพึงพอใจ ในรสชาติ ทำใหไมเปนที่นิยมในการบร�โภค แมวาจะมีผลดีตอสุขภาพมากก็ตาม ผลิตภัณฑที่พัฒนาจากน้ำตร�ผลาผสมผสานกับน้ำผลไมสดเพื่อชวยปรับรสชาติ ใหอรอย ถูกปากผูบร�โภคมากข้น� ในทงั้ หมด 4 รปู แบบ ประกอบดวย 1) นำ้ ตรผ� ลานานาผล ทเ่ี หมาะสมสำหรบั ผูบร�โภคทุกเพศ ทุกวยั 2) กัมมี่เยลลี่ตร�ผลานานาผล ที่เหมาะสมสำหรับวัยเด็ก ดวยรูปลักษณ รสชาติ และเนอ้ื สัมผัสทหี่ นบึ นุมนารับประทาน 3) ตร�ผลานานาผลอัดเม็ด ที่เหมาะสำหรับวัยผูใหญ วัยทำงานซ�่งเปนรูปแบบ ผลิตภัณฑเสร�มสุขภาพที่รองรับว�ถีช�ว�ตของคนรุนใหมซ�่งเปนกลุมผูบร�โภคที่มีกำลัง ซอ�้ สงู สะดวกในการพกพา งายตอการรบั ประทาน สะดวกในการขนสงและลดโอกาส การปนเปอนของเช�้อจ�ลนิ ทร�ย 4) วุนตรผ� ลานานาผล ที่เหมาะสำหรับวัยเดก็ รวมทงั้ ผูสงู อายุหรอ� ผูปวยโรคมะเร็ง ที่ไดรับการฉายแสงและ/หร�อเคมีบำบัดที่มีปญหาในการบดเคี้ยว กลืนอาหารลำบาก ตอมน้ำลายฝอลีบ จนทำใหเกิดภาวะน้ำลายนอย ปากแหง เกิดแผลในปาก สามารถ เลือกเปนผลิตภัณฑวุนตร�ผลานานาผลซ�่งไดรับแรงบันดาลใจจากวุนชุมปากที่มี คุณสมบัติใกลเคียงกับน้ำลายที่หลั่งออกมาตามธรรมชาติมาก เพราะมีคาความเปน กรด-ดาง (pH) ที่เปนกลาง ชวยปรับสมดุลของสิ่งแวดลอมในชองปากใหเปนกลาง โดยไมกอใหเกิดการละลายของ ผิวฟน และไมดึงเอาแรธาตุออกจากฟน ซ�่งเปน โครงการในพระราชดำร�ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เปนอกี หนึง่ ทางเลือกในการเสร�มสารอาหารทม่ี ปี ระโยชน จนสามารถลดการเกิดภาวะ ทุพโภชนาการในประชากรไทยทกุ เพศ ทกุ วยั โดยเฉพาะอยางย่งิ เดก็ และผสู ูงอายุ 16

ผลงานวจ� ยั และนวตั กรรมเช�งพาณิชย 2562 มหาว�ทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธัญบรุ � Rajamangala University of Technology Thanyaburi จด� เดนของผลงาน 1. ผลิตภัณฑจากตำรับตร�ผลาในทองตลาดและตลาดออนไลนยังไมมีวางจำหนาย 2. สามารถบร�โภคไดทุกเพศทุกวัยตั้งแตเด็กเล็กไปจนถึงผูสูงอายุ ซ�่งผลิตภัณฑ ทั้งหมดไดพัฒนาจาก 3 สูตร ทดสอบคุณลักษณะที่เหมาะสมของแตละผลิตภัณฑ และความคงตัวที่ดี 2.1 กมั มเ่ี ยลลต่ี รผ� ลานานาผล เพอ่ื เพม่ิ แรงดงึ ดดู เพม่ิ ความนาบรโ� ภคใหกบั เดก็ โดยเฉพาะเด็กท่ีไมชอบรบั ประทานผัก ผลไม 2.2 ตร�ผลานานาผลอัดเม็ด เพื่อรองรับว�ถีช�ว�ตของคนรุนใหม สะดวกในการ พกพา งายตอการรับประทาน สะดวกในการขนสงและลดโอกาสการ ปนเปอนของเช�้อจ�ลินทร�ย 2.3 เยลลี่ตร�ผลานานาผลดูดได เพื่อเพิ่มความสามารถในการกลืน และเพิ่ม ความชุมช�้นภายในปาก ชวยใหบร�โภคไดงายข�้น ในผูสูงอายุ 2.4 นำ้ ตร�ผลานานาผล เหมาะสำหรับผูบรโ� ภคทกุ เพศ ทุกวยั 3. พัฒนาจากสมุนไพร ผลไมไทยตามทองถิ่นที่หาไดงายในประเทศไทย ใชเทคโนโลยี ในการผลิตไมซับซอน และเปนผลิตภัณฑเสร�มสขุ ภาพปราศจากสารกันเสยี 4. ใชเทคโนโลยีในการผลิตไมซับซอน ตนทุนการผลิตต่ำ มีความโดดเดนในดาน คุณภาพมาตรฐานและความปลอดภัยในตลาดโลกได การนำไปใชประโยชนเชง� พาณชิ ย 1. น้ำตร�ผลานานาผลเหมาะกับการดื่มของทุกเพศ ทุกวัย มีประโยชนตอรางกาย สามารถดื่มไดในทุกเวลา 2. กัมมี่เยลลี่ตร�ผลานานาผลเหมาะสำหรับเด็กที่ชอบรับประทานขนมประเภทกัมมี่ เยลลี่ แตเนนการไดประโยชนจากสารอาหารที่ไดจากตร�ผลา 3. ตร�ผลานานาผลอัดเม็ดเหมาะสำหรับผูใหญวัยทำงานสามารถเคี้ยวแทนขนม กอใหเกิดประโยชนตอรางกาย ไมกอใหเกิดโรคอวนและยังไดรับสารอาหารที่เหมาะสม จากการรับประทานขนม 4. วุนตร�ผลานานาผลเหมาะสำหรับเด็ก และผูปวยโรคมะเร็งที่ไดรับจากการฉายแสง และเคมีบำบัด กลืนอาหารลำบาก เกิดแผลในปาก ซ�่งวุนตร�ผลานานผลมีคุณสมบัติ คลายน้ำลายในปากจ�งทำใหรับประทานไดสบายปากไมแสบปาก ทรพั ยสนิ ทางปญญา ผชู วยศาสตราจารยเอมอร ชัยประทีป อยรู ะหวางดำเนนิ การ ว�ทยาลยั การแพทยแผนไทย มหาวท� ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบรุ � E-mail: [email protected] โทรศัพท 02 592 1999 17

บรรจ�ภัณฑยอยสลายไดตามธรรมชาติ จากใบบัวหลวง Biodegradable package from lotus leave ผชู วยศาสตราจารย ดร.นันทชนก นนั ทะไชย บทสรปุ ดานนวตั กรรม และความสำคัญ บรรจ�ภณั ฑยอยสลายงายจากใบบัวหลวง สามารถนำไปใชเปนภาชนะบรรจส� ำหรบั อาหารได เหมาะสำหรับผลิตภัณฑอาหารที่มีลักษณะเปนของแข็ง หร�อกึ่งแข็ง สามารถใชเปนภาชนะบรรจ�สำหรับรองน้ำดื่มไดเชนเดียวกับถวยกระดาษน้ำดื่ม น้ำไมรั่วซ�มภายในระยะเวลา 2 นาที 18

ผลงานวจ� ยั และนวตั กรรมเชง� พาณิชย 2562 มหาวท� ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ � Rajamangala University of Technology Thanyaburi จด� เดนของผลงาน 1. ไมเปนพิษตอรางกายและไมทำลายสิ่งแวดลอม 2. เหมาะสำหรับผลติ ภัณฑอาหารทีม่ ีลักษณะเปนของแข็ง หรอ� กง่ึ แขง็ 3. สามารถใชเปนภาชนะบรรจ�สำหรบั รองน้ำด่มื ได โดยนำ้ ไมร่ัวซม� ภายในระยะเวลา 2 นาที 4. ขัน้ ตอนในการข�้นรปู บรรจ�ภณั ฑไมยงุ ยากหรอ� ซบั ซอน 5. สามารถนำไปประยกุ ตในกับเสนใยของใบพืชชนิดอ่ืนๆ ได การนำไปใชประโยชนเชง� พาณิชย สามารถนำไปผลติ และจำหนายไดจรง� เพื่อชวยลดภาวะโลกรอน ลดการใชพลาสตกิ และกระดาษ ซง�่ จะไมกอใหเกิดขยะทจ่ี ะเปนปญหาในอนาคต ทรัพยสินทางปญญา ผชู วยศาสตราจารย ดร.นนั ทชนก นันทะไชย อยูระหวางดำเนินการ คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาว�ทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ � E-mail: [email protected] โทรศัพท 02 592 1955 19

เคร�่องแกะเปลือกเมล็ดบัวหลวง รองศาสตราจารย ดร.จตรุ งค ลังกาพินธุ เคร�่องแกะเมล็ดบัวหลวงที่ไดพัฒนาข�้น ทำงานไดดี ไมมีเปอรเซ็นตความเสียหายจากการแกะ: ก) แบบเครอ่� งตนแบบดวยโปรแกรมดาน CAD และ ข) เครอ่� งแกะเมลด็ บัวหลวงตนแบบท่ีไดพัฒนาขน้� บทสรุปดานนวตั กรรม และความสำคญั เคร�อ่ งแกะเปลือกเมล็ดบวั หลวงเปนเคร่อ� งจกั รกลเกษตรทถ่ี กู ออกแบบและสรางข�้น เพอ่ื ลดเวลาและแรงงานในการแกะเปลอื กเมลด็ บวั หลวงของเกษตรกร เครอ่� งตนแบบ ที่ประกอบดวย โครงสรางเคร�่อง ชุดใบมีดกร�ด กลไก Scotch Yoke ระบบสงกำลัง และใชมอเตอรเกียรขนาด 90 วตั ต โดยเคร�อ่ งตนแบบมเี ปอรเซน็ ตในการแกะเมลด็ บวั 79% เมล็ดบวั ไมมคี วามเสียหาย มคี วามสามารถในการทำงาน 3.6 กิโลกรัมตอชว่ั โมง ใชพลังงานไฟฟา 0.06 กิโลวัตต-ชั่วโมง และทำงานไดเร็วกวาแรงงานคนอยางนอย 4 เทา 20

ผลงานวจ� ัย และนวัตกรรมเช�งพาณิชย 2562 มหาวท� ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ � Rajamangala University of Technology Thanyaburi การทดสอบสมรรถนะการทำงานของเคร�่องแกะเมล็ดบวั หลวงตนแบบ: ก) เมล็ดบัวหลวงท่ีใชทดสอบ ข) เมล็ดบัวหลวงท่ไี ดจากการทดสอบ และ ค) เมลด็ บัวหลวงท่ีแยกออกจากเปลือก จ�ดเดนของผลงาน งานว�จัยนี้เปนการออกแบบและพัฒนาเคร�่องจักรกลเกษตรข�้นมาใหมเพื่อแกปญหา ของเคร�่องจักรกลแบบเดิม โดยมุงเนนนำเคร�่องแกะเปลือกเมล็ดบัวหลวงไปใชงาน ในกลุมว�สาหกิจชุมชน ดังนั้นขนาดของเคร�่องตองกะทัดรัด กลไกไมซับซอน ไมมีอุปกรณอิเลคทรอนิกส ราคาไมแพง ใชงานและซอมแซมบำรุงรักษางาย โดยใชโปรแกมคอมพิวเตอรและองคความรูทางว�ศวกรรมตางๆ มาออกแบบ เชน การประยกุ ตใชกลไก Scotch Yoke ซง่� เปนความรดู านกลศาสตรเครอ่� งจกั รกลมาเปน กลไกควบคุมการทำงาน การนำไปใชประโยชนเชง� พาณิชย 1. ว�สาหกิจชุมชนจังหวัดที่มีการทำนาบัว เชน ว�สาหกิจชุมชนกลุมสตร�บึงสีไฟ อ.เมือง จ.พิจ�ตร สามารถนำไปใชในการเตร�ยมวัตถุดิบในขั้นตอนแกะเปลือกเมล็ด บัวหลวง เพื่อผลิตเมล็ดบัวอบกรอบบรรจ�กลองพลาสติกและดีบัวแคปซูลจำหนาย เปนสนิ คาโอทอ็ ป 2. บร�ษัทที่มีความรวมมือกับมหาว�ทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุร� เปนผูนำ เคร�่องตนแบบไปพัฒนาตอเพื่อผลิตจำหนายใหกับว�สาหกิจชุมชนที่ตองการใชเคร�่อง ตอไป เชน บร�ษัทโรโต แมชช�น เอ็นจ�เนียร�่ง ทรพั ยสนิ ทางปญญา รองศาสตราจารย ดร.จตุรงค ลังกาพินธุ อนสุ ทิ ธบ� ัตรเลขท่ี 14104 คณะว�ศวกรรมศาสตร มหาวท� ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุร� E-mail: [email protected] โทรศพั ท 02 549 3328 21

เคร�่องปอกสับปะรด ผูชวยศาสตราจารย ดร.วรน� ธร พลู ศร� บทสรปุ ดานนวัตกรรม และความสำคญั การพัฒนาเคร�่องปอกสับปะรดนี้ มีวัตถุประสงคเพื่อเพิ่มประสิทธ�ภาพในการทำงาน ของเกษตรกรใหดียิ่งข�้นและประหยัดเวลามากข�้น โดยประกอบดวยชุดอุปกรณหลัก คือ ระบบนิวเมติกส ชุดกดหัวสับปะรด และชุดใบมีด โดยชุดอุปกรณทั้งหมด ถูกติดตั้งอยูบนโตะสแตนเลส วางสับปะรดที่ตองการปอกบนชุดใบมีด แลวใชชุด กดหัวสับปะรดในแนวตั้ง สับปะรดที่ถูกกดออกมาจะมีลักษณะเปนทรงกระบอก แยกแกนออก ผลการทดสอบพบวาทีค่ วามดันลมที่ 0.8 MPa สามารถปอกสับปะรด ไดสูงสดุ ที่ 360 ลกู ตอช่วั โมง 22

ผลงานวจ� ยั และนวตั กรรมเชง� พาณชิ ย 2562 มหาว�ทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุร� Rajamangala University of Technology Thanyaburi จด� เดนของผลงาน เคร�่องปอกสับปะรดที่มีขายในทองตลาดสวนใหญมีราคาแพง และมีขนาดใหญ เพื่อใชในโรงงานอุตสาหกรรมเทานั้น ดังนั้น นักว�จัยจ�งพัฒนาสรางเคร�่องปอก สับปะรดแบบกึ่งอัตโนมัตินี้ เพื่อตองการสนับสนุนกลุมเกษตรกรว�สาหกิจชุมชน เพื่อเพิ่มประสิทธ�ภาพในการทำงานของเกษตรกรใหดียิ่งข�้นและประหยัดเวลามากข�้น นอกจากนี้เคร�่องปอกสับปะรดนี้ยังไดรับรางวัลผลงานภาคนิทัศนดีเดน ในการ ประชุมว�ชาการว�ทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแหงชาติ ครั้งที่ 16 พ.ศ. 2561 การนำไปใชประโยชนเช�งพาณชิ ย ในปจจ�บันประเทศไทยนั้นมีผลผลิตสับปะรดที่เพิ่มมากข�้นเร�่อยๆ บางครั้งสงผล ใหสับปะรดเกิดการลนตลาดทำใหจำหนายไมทันเกิดการเนาเสียโดยเปลาประโยชน การแปรรูปสับปะรดจ�งเปนอีกทางเลือกหนึ่งที่จะชวยใหเกษตรกรไมสูญเสียผลผลิต และสามารถสรางรายไดเสร�มอีกดวย โดยการทำสับปะรดแปรรูป ซ�่งเกษตรกรจะนำ สับปะรดมาปอกเปลือกหร�อใชเคร�่องปอกเปลือกแบบมือโยกซ�่งเกษตรกรจะตองใช เวลานาน ดงั นน้ั การพฒั นาสรางเครอ่� งปอกสบั ปะรดแบบกง่ึ อตั โนมตั นิ ้ี เพอ่ื ตองการ สนับสนุนกลุมเกษตรกรว�สาหกิจชุมชน เพื่อเพิ่มประสิทธ�ภาพในการทำงานของ เกษตรกรใหดียง่ิ ข้น� และประหยัดเวลามากข�้น ทรพั ยสนิ ทางปญญา อยูระหวางดำเนินการ ผชู วยศาสตราจารย ดร.วรน� ธร พลู ศร� คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวท� ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธัญบรุ � E-mail: [email protected] โทรศัพท 02 549 3309 23



กลมุ งานวจ� ยั เพ่ือพัฒนาเทคโนโลยแี ละนวตั กรรม สำหรบั ภาคอุตสาหกรรม

พอลเิ มอรไมโครแคปซูลฉลาดสำหรับบำบดั สยี อม ในน้ำเสียทส่ี ามารถนำกลบั มาใชใหมได Reusable Smart Polymer Microcapsules for Dye Treatment in Waste Water ผูชวยศาสตราจารย ดร.ปรย� าภรณ ไชยสัตย บทสรุปดานนวตั กรรม และความสำคญั พอลเิ มอรไมโครแคปซลู ฉลาดหมุ อนภุ าคนาโนสารโฟโตแคตาไลตกิ และอนภุ าคนาโน แมเหล็กที่มีประสิทธ�ภาพสูงสำหรับบำบัดสียอมในน้ำเสีย ใชงานไดงาย โดยใชหลักการ โฟโตแคตาไลติกรวมกับแสงในธรรมชาติชวงตามองเห็น ไมตองใชพลังงานจาก แหลงอื่นๆ นอกจากนี้ การมีอนุภาคนาโนแมเหล็กภายในไมโครแคปซูลทำใหสามารถ นำไมโครแคปซูลดังกลาวกลับมาใชซ้ำไดใหม โดยการใชแมเหล็กดูดจับอนุภาคไว 26

ผลงานว�จยั และนวัตกรรมเช�งพาณิชย 2562 มหาวท� ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุ � Rajamangala University of Technology Thanyaburi จด� เดนของผลงาน พอลิเมอรไมโครแคปซูลฉลาดกักเก็บทั้งอนุภาคนาโนโฟโตแคตาไลติกและอนุภาค นาโนแมเหล็กที่มีประสิทธ�ภาพสูงและสะดวกในการบำบัดสียอมในน้ำเสีย โดยใชหลักการ โฟโตแคตาไลติกรวมกับแสงธรรมชาติชวงตามองเห็น มีประสิทธ�ภาพสูงในการบำบัด สียอมในน้ำที่สภาวะเบส และสามารถนำไมโครแคปซูลกลับมาใชซ้ำไดมากกวา 5 ครั้ง โดยการใชแมเหล็กดูดไมโครแคปซูลแยกออกจากนำ้ หลังการบำบัด การนำไปใชประโยชนเชง� พาณิชย พอลิเมอรไมโครแคปซูลฉลาดใชงานไดสะดวก โดยการเติมพอลิเมอรไมโครแคปซูล ลงในนำ้ เสยี ทำการปนกวนหรอ� ทำใหนำ้ มกี ารหมนุ เวย� นเพอ่ื ใหสมั ผสั กบั แคปซลู ภายใต แสงชวงตามองเห็น จะเกิดปฏิกิร�ยายอยสลายสียอมไดโดยไมตองใชพลังงานจาก แหลงอน่ื ๆ และสามารถนำพอลเิ มอรไมโครแคปซลู ฉลาดกลบั มาใชซำ้ ไดใหมโดยการใช แมเหลก็ ดดู จับไมโครแคปซลู ไว และสามารถนำไปใชบำบดั สารอนิ ทรย� ชนดิ อื่นๆ ได ทรพั ยสนิ ทางปญญา คำขอรบั อนุสิทธ�บัตร เลขที่ 1803002461 ผชู วยศาสตราจารย ดร.ปร�ยาภรณ ไชยสัตย คณะว�ทยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาว�ทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุร� E-mail : [email protected] โทรศพั ท 02 549 3536 27

นวัตกรรมอนุภาคนาโนพอลเิ มอรหลายหนาท่ี สำหรับตานเช�อ้ จ�ลชพ� และเปนสารลดแรงตึงผวิ ชนดิ อนุภาคของนำ้ มันหลอเยน็ Innovative multifunctional polymer nanoparticles for an antimicrobial and a parti r of cutting oil ผชู วยศาสตราจารย ดร.อมร ไชยสัตย บทสรปุ ดานนวตั กรรม และความสำคญั อนุภาคนาโนพอลิเมอรทรงกลมขนาดใกลเคียงกัน ที่มีสารกลุมควอเทอรนาร� แอมโมเนียมที่ผิว มีประสิทธ�ภาพสูงในการตานเช�้อจ�ลช�พ สามารถเก็บไวไดในระยะ เวลานาน ใชงานงาย เพียงแคผสมกับน้ำมันทั้งในรูปแบบผงและอิมัลชันในอัตราสวน ที่เหมาะสม ในการผลติ นำ้ มันหลอเยน็ จะไดอมิ ัลชันของนำ้ มนั หลอเยน็ ทมี่ ีความเสถยี ร ทางคอลลอยดสูงและตานเชอ�้ จล� ช�พไดอยางมีประสิทธภ� าพ 28

ผลงานว�จัย และนวตั กรรมเชง� พาณิชย 2562 มหาวท� ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธัญบุร� Rajamangala University of Technology Thanyaburi จด� เดนของผลงาน อนุภาคนาโนพอลิเมอรเพียงชนิดเดียว สามารถใชเปนทั้งสารตานเช�้อจ�ลช�พ สารลดแรงตึงผิวชนิดอนุภาคในการเตร�ยมน้ำมันหลอเย็น ปองกันการรวมตัวกัน ของหยดน้ำมัน และสารปองกันการเกิดฟองของน้ำมันหลอเย็นในเวลาเดียวกัน ทดแทนหร�อลดการใชสารตานเช�้อ สารลดแรงตึงผิวแบบดั้งเดิม และสารปองกัน การเกิดฟอง การนำไปใชประโยชนเช�งพาณชิ ย สามารถนำอนุภาคนาโนพอลิเมอร ทั้งในรูปแบบผงและอิมัลชันไปใชผลิตน้ำมัน หลอเย็นได เพิ่มประสิทธ�ภาพน้ำมันหลอเย็น ใหมีความเสถียรทางคอลลอยดสูง ลดการเกิดฟองในระหวางการเตร�ยมน้ำมันหลอเย็นและตานเช�้อจ�ลช�พ ลดปร�มาณ การใชสารเคมี ทำใหลดตนทุนการผลิตน้ำมันหลอเย็น ทรพั ยสนิ ทางปญญา อยรู ะหวางการดำเนินการ ผูชวยศาสตราจารย ดร.อมร ไชยสตั ย คณะวท� ยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาว�ทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุ � E-mail: [email protected] โทรศพั ท 02 549 3536 29



กลมุ งานว�จยั เพอ่ื การพัฒนาการเกษตร อุตสาหกรรมเกษตร และอาหารแปรรูป

ขนมไทยกะทิสดผสมขาวไรซเบอรร่� ในรปู แบบเหนยี วขน นายกฤตนิ ชมุ แกว บทสรุปดานนวัตกรรม และความสำคญั ขนมไทยกะทิสดผสมขาวไรซเบอรร�่ในรูปแบบเหนียวขน เปนขนมไทยประเภทกวน พัฒนาสูตรมาจากขนมเปยกปูนกะทิสด การเพิ่มคุณคาทางอาหารโดยการใส ขาวไรซเบอรร�่ในสวนผสม มีคุณประโยชนในการตานอนุมูลอิสระ มีใยอาหารสูง และ ว�ตามินตางๆ เหมาะกับทุกวัยโดยเฉพาะกลุมผูสูงอายุ รวมถึงผูที่รับประทานอาหาร รูปแบบท่ีดูแลสขุ ภาพดวย 32

ผลงานว�จัย และนวัตกรรมเชง� พาณิชย 2562 มหาวท� ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธัญบรุ � Rajamangala University of Technology Thanyaburi จด� เดนของผลงาน มีการนำขาวไรซเบอรร�่มาใชเปนสวนผสม ทำใหมีคุณคาทางโภชนาการที่สูงข�้น รวมทั้งมีสารตานอนุมูลอิสระ มีเนื้อสัมผัสที่เหนียวนุม รสชาติยังคงความเปน เอกลกั ษณของขนมเปยกปนู กะทสิ ด และมกี ลน่ิ หอมจากขาวไรซเบอรร่� รบั ประทานงาย และมีกรรมวธ� �ในการผลิตทไี่ มยุงยาก การนำไปใชประโยชนเช�งพาณชิ ย ขนมไทยกะทิสดผสมขาวไรซเบอรร�่ในรูปแบบเหนียวขน เปนขนมไทยที่อุดมไปดวย สารอาหารที่มีคุณประโยชนตอรางกาย การพัฒนาสูตรขนมไทยนี้เปนการสราง มูลคาเพิ่ม และเปนทางเลือกใหเหมาะสมกับผูบร�โภครุนใหมที่ใสใจสุขภาพ รวมถึง มกี ารใชประโยชนจากขาวทจ่ี ะสงผลใหเกษตรกรผปู ลกู ขาวสามารถนำเอาองคความรู ตนแบบน้ีเปนแนวทางในการตอยอดผลผลติ ทางการเกษตรของตนเองได ทรพั ยสนิ ทางปญญา เลขที่ 1803001926 นายกฤติน ชุมแกว คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาว�ทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุร� E-mail : [email protected] โทรศพั ท 02 549 3133 33

ผลติ ภณั ฑเยลล่กี ลวยน้ำวาพรอมดม่ื เสรม� เมด็ บดี สโพรไบโอตกิ Banana Jelly Drink with Probiotic Beads Product ผชู วยศาสตราจารย ดร.ปาลดิ า ตง้ั อนุรตั น ผลิตภณั ฑสุดทาย บทสรปุ ดานนวตั กรรม และความสำคญั ผลิตภัณฑเยลลี่พรอมดื่มจากน้ำกลวยที่สกัดดวยเอนไซมเพื่อใหไดความหวาน ตามธรรมชาติของกลวยและไดสารพร�ไบโอติกซ�่งเปนคารโบไฮเดรตที่ไมถูกยอยใน ระบบทางเดินอาหาร แตจ�ลินทร�ยโพรไบโอติกสามารถยอยและใชสารเหลานี้ไดเพื่อ การเจร�ญเติบโต เพื่อใหไดผลิตภัณฑที่ผูบร�โภคจะไดรับทั้งคุณคาจากพร�ไบโอติกและ โพรไบโอตกิ จ�งคดิ ประดิษฐผลติ ภัณฑเยลลีน่ ้ำกลวยเสรม� จ�ลินทร�ยโพรไบโอตกิ 34

ผลงานว�จยั และนวัตกรรมเชง� พาณิชย 2562 มหาว�ทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธญั บุร� Rajamangala University of Technology Thanyaburi น้ำกลวยสกัดดวยเอนไซม เมด็ บีดสโพรไบโอติกจากนำ้ ผลไม 4 ชนิด จ�ดเดนของผลงาน 1. เปนการเพิ่มมูลคาและคุณประโยชนของเคร�่องดื่มชนิดเยลลี่น้ำกลวยพรอมดื่ม 2. เปนผลิตภัณฑเยลลี่ที่ไมตองเติมน้ำตาลแตไดรับความหวานจากน้ำกลวย ธรรมชาติที่สกัดจากเอนไซม 3. เปนผลิตภัณฑท่มี ที ั้งโพรไบโอติกและพรไ� บโอตกิ (synbiotic food) 4. เปนผลิตภัณฑโพรไบโอติกทางเลอื กใหกบั ผทู ีแ่ พน้ำตาลแลคโตสในผลติ ภัณฑนม การนำไปใชประโยชนเชง� พาณิชย เปนผลติ ภัณฑท่ชี วยเสร�มสรางสขุ ภาพลำไส ทางเดินอาหาร สามารถทำใหลำไส ผลิตสารตอตานหร�อกำจัดเช�้อจ�ลินทร�ยชนิดอื่นๆ รวมถึงกอใหเกิดประโยชนตอ สขุ ภาพ และไดประโยชนจากความหวานทไี่ ดจากกลวย ทรพั ยสนิ ทางปญญา ผชู วยศาสตราจารย ดร.ปาลดิ า ตงั้ อนุรัตน อยูระหวางดำเนนิ การ คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวท� ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ � E-mail: [email protected] โทรศพั ท 02 592 1955 35

ผลิตภัณฑรากบวั ผงเสร�มโพรไบโอติก Instant Lotus Root Powder with Probiotic Product ผูชวยศาสตราจารย ดร.ปาลิดา ตั้งอนุรัตน โพรไบโอติก หรอื โปรไบโอติก บทสรุปดานนวตั กรรม และความสำคัญ ผลิตภัณฑนี้เปนการพัฒนาสูตรน้ำรากบัวโดยใชสารใหความหวานแทนน้ำตาล และนำมาทำแหงพรอมกับเสร�มจ�ลินทร�ยโพรไบโอติก เพื่อเพิ่มทางเลือกแกผูบร�โภค ในการบร�โภคอาหารฟงกชั่น หร�ออาหารเพื่อสุขภาพที่มุงเนนไปที่ระบบทางเดิน อาหาร นอกจากนี้การทำแหงยังเพิ่มอายุการเก็บรักษา และคงฤทธ�์ของสารตาน อนุมูลอิสระ รวมทั้งสีและกลิ่นไวไดดีดวย 36

ผลงานวจ� ยั และนวตั กรรมเชง� พาณิชย 2562 มหาว�ทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธญั บรุ � Rajamangala University of Technology Thanyaburi จด� เดนของผลงาน 1. เปนการเพิ่มมูลคาและคุณประโยชนของเคร�่องดื่มสมุนไพรจากรากบวั 2. ไดสูตรและผลิตภัณฑน้ำสมุนไพรผงที่ใชสารใหความหวานแทนน้ำตาลที่ไมให พลังงาน 3. เปนผลิตภัณฑทมี่ ีทัง้ โพรไบโอตกิ และพร�ไบโอตกิ (synbiotic food) 4. เปนผลติ ภัณฑโพรไบโอติกทางเลอื กใหกับผูท่แี พนำ้ ตาลแลคโตสในผลติ ภัณฑนม การนำไปใชประโยชนเช�งพาณชิ ย เปนผลติ ภณั ฑนำ้ รากบวั ทส่ี ามารถชงดม่ื ไดทนั ที มปี ระโยชนตอลำไส ทางเดนิ อาหาร สามารถทำใหลำไสผลิตสารตอตานหรอ� กำจัดเช้อ� จล� ินทร�ยชนดิ อืน่ ๆ รวมถึงกอใหเกิด ประโยชนตอสุขภาพโดยรวม เหมาะสำหรับผูที่ชอบเคร�่องดื่มจากธรรมชาติ สมุนไพร โดยใชสารใหความหวานแทนนำ้ ตาล ทรพั ยสนิ ทางปญญา อยรู ะหวางดำเนนิ การ ผูชวยศาสตราจารย ดร.ปาลิดา ต้งั อนุรตั น คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวท� ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุร� E-mail: [email protected] โทรศพั ท 02 592 1955 37

ผลิตภณั ฑขาวหอใบบวั จากขาวหอมมะลิในบรรจภ� ัณฑร�ทอรทเพาซ รองศาสตราจารย ดร.สุนัน ปานสาคร และ รองศาสตราจารย ดร.จตรุ งค ลังกาพินธุ บทสรุปดานนวัตกรรม และความสำคญั ผลงานนเี้ ปนการพฒั นาผลิตภัณฑขาวหอใบบัวจากขาวหอมมะลิในบรรจ�ภัณฑรท� อรทเพาซ โดยผลติ ภณั ฑทีไ่ ดจะเปนผลิตภณั ฑกงึ่ สำเร็จรูปที่มคี ุณคาทางโภชนาการสงู เปนผลติ ภัณฑ ทส่ี ามารถเกบ็ รกั ษาไดยาวนานขน้� เปนผลติ ภณั ฑใหมทห่ี ารบั ประทานไดยาก คณุ ลกั ษณะเฉพาะ ของผลติ ภณั ฑจะเนนขาวกลุม อะไมโลสตำ่ ไดแก ขาวหอมมะลิ เนอ่ื งจากเปนขาวที่มกี ลิน่ หอม เปนเอกลักษณ เมล็ดเรย� วยาวสวยงามเม่ือนำมาหุงสุกจะใหเนื้อสมั ผัสท่ีนุม นอกจากขาวแลว ยังมีสวนประกอบอื่นๆ ไดแก หมูสับ กุนเช�ยง ไขแดงเค็ม เม็ดบัวนึ่งสุก เห็ดหอม กุงแหง และ เคร�่องเทศ นำมาหอรวมกันใบบัวหลวง รวมน้ำหนักบรรจ�ประมาณ 150 g ตอการบรรจ� หนง่ึ หอและนำมาผานการฆาเชอ้� (Retort) ท่ี 121Cํ เปนเวลา 30 min โดยการบรรจใ� นบรรจภ� ณั ฑ ร�ทอรทเพาซ ทั้งนี้ผลิตภัณฑดังกลาวไดผานการทดสอบสมบัติทางกายภาพและเคมี ไดแก คาสี ปร�มาณความช�้น ความแข็งของเมล็ดขาว และคุณคาทางโภชนาการ หลังการใหความ รอน ทั้งนี้ผลิตภัณฑขาวหอใบบัวจากขาวหอมมะลิในบรรจ�ภัณฑร�ทอรทเพาซ ตองมีความ ปลอดภัยสำหรบั ผูบรโ� ภค ดังนั้นจง� ตรวจว�เคราะหปรม� าณจล� ินทร�ยท้ังหมดพบวาอยูในเกณฑ มาตรฐานปลอดภยั สำหรบั การบร�โภค ( <10 CFU/g) นอกจากนก้ี ารบรโ� ภคขาวหอใบบวั จากขาวหอมมะลิในบรรจภ� ณั ฑรท� อรทเพาซ สามารถ บร�โภคไดทันทีหลังการฉีกซอง หร�อการใหความรอนดวยไมโครเวฟประมาณ 2-3 นาที ซง่� จากการทดสอบ พบวาผูบร�โภคมีความพงึ พอใจในการบรโ� ภคดวยการใหความรอนดวย ไมโครเวฟมากกวาทไี่ มผานการใหความรอน 38


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook