Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รวมผลงานวิจัยเชิงพาณิชย์ Update 13 พย 60

รวมผลงานวิจัยเชิงพาณิชย์ Update 13 พย 60

Published by IRD RMUTT, 2017-11-19 23:16:07

Description: รวมผลงานวิจัยเชิงพาณิชย์ Update 13 พย 60

Search

Read the Text Version

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี Rajamangala University of Technology Thanyaburiผลงานวจัยและนวัตกรรมเชงพาณชิ ย2560



มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรีRajamangala University of Technology Thanyaburi

02

สารจากอธการบดี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี เปนมหาวิทยาลัยดานวิชาชีพ และเทคโนโลยี มุงเนนการพัฒนากำลังคนดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ใหมีความสามารถพรอมเขาสูอาชีพ สรางงานวิจัย สิ่งประดิษฐ นวัตกรรม สามารถตอยอดและถายทอดการวิจัยสูสังคม ตอบโจทยภาคอุตสาหกรรม ความตองการของประเทศ เพื่อพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของชาติตอไป ในโอกาสนี้ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ไดเล็งเห็นและ ตระหนักถึงความสำคัญของงานวิจัยที่เกิดจากการประดิษฐของนักวิจัย อาจารย และบคุ ลากรของมหาวิทยาลัยฯ จงึ มนี โยบายสงเสรมิ และสนับสนุน การคิดคน ประดษิ ฐ งานวจิ ยั เอกสารเพ่ือเผยแพรผลงานวิจยั และนวัตกรรมเชิงพาณิชย ประจำป 2560 จัดทำขึ้นเพื่อรวบรวมผลงานวิจัย นวัตกรรม ของนักวิจัยในมหาวิทยาลัยฯ เพื่อเปนการประชาสัมพันธผลงานวิจัยและนวัตกรรมของมหาวิทยาลัยฯ สูกลุมเปาหมายภาคธุรกิจ เชิงพาณิชย และหวังเปนอยางยิ่งวาเอกสาร เพื่อเผยแพรผลงานวจิ ยั และนวัตกรรมเชิงพาณิชยฉ บบั นี้จะเปนประโยชนตอ หนว ยงาน ภาคธรุ กจิ และผทู ส่ี นใจงานวจิ ยั และนวตั กรรมของมหาวทิ ยาลยั ฯ รองศาสตราจารย ดร.ประเสริฐ ปน ปฐมรัฐ อธิการบดี มหาวทิ ยาลัยแทคโนโลยีราชมงคลธัญบรุ ี 03

สารจาก ผอู ำนวยการสถาบันวจัยและพฒั นา สถาบันวิจัยและพัฒนา มทร.ธัญบุรี มีความมุงมั่นที่จะพัฒนางานวิจัย ยกระดับคุณภาพ งานวิจัยใหเปนที่ยอมรับในระดับสากล สงเสริมการเผยแพรงานวิจัยในระดับสูง สงเสริมนักวิจัย ในการทำงานวิจัย ส่งิ ประดิษฐ นวตั กรรม มีการตอยอดงานวิจยั สเู ชิงพาณิชย ถา ยทอดองคความรู แกสังคม ตอบโจทยภาคอุตสาหกรรม เปนสวนหนึ่งในการพัฒนาเศรษฐกิจ และตอบสนอง นโยบายภาครฐั ความตอ งการของประเทศ พัฒนาเศรษฐกิจ และความตอ งการตอบสนองนโยบาย ของภาครัฐ ดังนั้น สถาบันวิจัยและพัฒนา ไดเล็งเห็นความสำคัญของการคิดคนงานวิจัย นวัตกรรม และส่งิ ประดิษฐ ของนักวจิ ยั อาจารย และบุคลากรของมหาวิทยาลัยฯ ไดสง เสริมและสนบั สนุน การสรา งผลงานวิจยั ในเชงิ รุก และการนำผลงานทไี่ ดมาเผยแพรเพ่ือเปน ประโยชนแ กผูส นใจ เอกสารเพ่อื เผยแพรผ ลงานวิจัยและนวตั กรรมเชงิ พาณิชย ประจำป 2560 สถาบนั วจิ ยั และ พฒั นา ไดจ ดั ทำขน้ึ เพอ่ื รวบรวมผลงานวจิ ยั นวตั กรรม และสง่ิ ประดษิ ฐ ของนกั วจิ ยั ในมหาวทิ ยาลยั ฯ เพื่อเปนการประชาสัมพันธผลงานวิจัย นวัตกรรม และสิ่งประดิษฐ ของมหาวิทยาลัยฯ ไปยัง กลุมเปา หมายภาคธรุ กิจ และหวังเปน อยา งยงิ่ วา เอกสารเพอื่ เผยแพรผลงานวจิ ยั และนวตั กรรม เชิงพาณิชยฉบับนี้จะเปนประโยชนตอหนวยงาน ทั้งภาครัฐ ภาคธุรกิจ และผูที่สนใจงานวิจัย และนวัตกรรมของมหาวิทยาลัยฯ ผูช ว ยศาสตราจารย ดร.วารณุ ี อริยวิริยะนันท ผูอำนวยการสถาบนั วิจยั และพัฒนา มหาวิทยาลยั แทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ ี04

คำนำ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรีเปน หนวยงานกลางในการประสานและบริหารงานวิจัยของมหาวิทยาลัยฯเพอ่ื สง เสรมิ และสนบั สนนุ การเพม่ิ ขดี ความสามารถในการวจิ ยั ของบคุ ลากรดานการสรา งงานวจิ ยั ดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี เพือ่ สรา งผลงานวจิ ัยสิ่งประดษิ ฐ นวตั กรรม และผลงานสรางสรรค ซงึ่ จะเกิดประโยชนตอ สงั คมและตรงตามยุทธศาสตรการพัฒนาประเทศ ตลอดจนมุงมั่นที่จะยกระดับงานวจิ ยั ใหไ ดม าตรฐานและเปน ทย่ี อมรบั ในระดบั สากล โดยทางสถาบนั วจิ ยัและพัฒนา ไดเล็งเห็นถึงความสำคัญของการเผยแพรผลงานวิจัยและนวัตกรรมเชิงพาณิชย ของมหาวิทยาลัยฯ เพื่อนำไปตอยอดเชิงพาณิชยกอใหเกิดประโยชนแก ชุมชน สังคม และภาคอุตสาหกรรม ผลงานวจิ ยั และนวตั กรรมเชงิ พาณชิ ย ป พ.ศ. 2560 เปน การรวบรวมผลงานวิจัย นวัตกรรม และสิ่งประดิษฐของมหาวิทยาลัยฯ เพียงบางสวนท่ีจะเปนประโยชนแ ละพรอ มทจ่ี ะถา ยทอดเพอ่ื เปน ประโยชนต อ สาธารณชนจำนวน 30 ผลงาน สำหรบั ผูสนใจในทุกภาคสวน สถาบันวิจยั และพฒั นา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุ ี 05

สารบญั หนากลมุ งานวจัยเพ่ือการพฒั นาเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตรแปรรูป1. การออกแบบและพัฒนาเคร่องกดแบนกลวยตาก 102. หัวเช้อจลินทรยนาโนเพื่ออาหารปลอดภัยและการเกษตรแบบยั่งยืน 123. ระบบผลติ ไฟฟา ดว ยพลงั งานแสงอาทติ ยแ บบเคลอ่ื นทส่ี ำหรบั ประยกุ ตใชง านเกษตรกรรม 144. รถตัดและเก็บทะลายปาลมน้ำมันแบบอเนกประสงค 165. ตัวเรอนนาิกาตั้งโตะจากแกลบผสมครั่งและพอลิแลคติคแอซด 18กลมุ งานวจัยเพอ่ื พลังงานทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอม6. โคโคโ กกรน : ผลติ ภณั ฑว สั ดกุ อ สรา งสเี ขยวจากผลพลอยไดข องโรงงานแปรรปู มะพรา ว 227. ผลิตภัณฑวัสดุกอสรางมวลเบาสำหรับอาคารเขยว จากเศษพลาสติกเหลือทิ้ง 24 เพื่อการอนุรักษพลังงานและสิ่งแวดลอม8. ระบบบรหารจัดการเพื่อการประหยัดพลังงานของระบบไฟถนนและไฟสาธารณะ 269. เฟอรนิเจอรจากผาซเมนตเสรมแกนไมไผ 2810. กรอบรูปจากขาวไทยเสรมแรงในพอลิโพรพิลีน 3011. แผนฉนวนกันความรอนพอลิยูเรเทนโฟมจากรำขาว 3206

หนากลมุ งานวจยั เพื่อพฒั นาเทคโนโลยีและนวัตกรรมสำหรบั ภาคอตุ สาหกรรม12. เรอหุนยนตสองทุนแบบใชงานระยะยาวสำหรับสำรวจขอมูลอุทกศาสตร 3613. แผนวัสดุพาราฟนผสมเสนใย 3814. การไพโรไลซสรวมระหวางน้ำมันเคร่องใชแลวกับขยะพลาสติกผสมเพื่อผลิตเปน 40น้ำมันดีเซล15. เคร่องกำจัดฝุนแบบเปยกชนิดแรงดันน้ำสูง 4216. แวนตานำทาง 4417. กังหันลมความเร็วลมต่ำลูกผสมวนดมิลและวนดเทอรไบน 4618. อุปกรณผลิตน้ำบรโภคแบบพกพา 4819. ผนังประกอบเสร็จเพื่อเปนฉนวนความรอนและปองกันเสียงคุณภาพสูง 5020. เคร่องทดสอบเสนใยเดี่ยว สำหรับทดสอบความรูสึกที่เทาของผูปวยโรคเบาหวาน 5221. แมพ มิ พขน้ รปู ดวยความรอนจากผงแกวท่บี ดจากแกวรไซเคลิ เสรมแรง ในอีพอกซเรซ่น 54กลุม งานวจัยเพือ่ สรางธรุ กจิ วสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอ ม22. ผลิตภัณฑเจลสเปรยเซรั่มสำหรับบำรุงเสนผม 5823. พร้ง แรมบู มาสก 6024. นวัตกรรมการออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑแฟชั่นไลฟสไตลจากลวดลายผาทอพื้นถิ่น 6225. กาวรองพื้นผาใบดินสอพองผสมกาวเมล็ดมะขามสำหรับการสรางสรรค 64ผลงานศิลปะดวยเทคนิคสีฝุนและกรรมวธการผลิต26. นวัตกรรมผลิตเคร่องสำอางจากเซลลตนกำเนิดจากบัวหลวง 6627. โคมไฟกระดาษธรรมชาติจากเยื่อไมไผผสมเสนใยพลาสติกจากพีแอลเอ 6828. แผนฟลมยึดติดเยื่อบุเมือกจากสารสกัดใบพญายอเพื่อรักษาแผลในชองปาก 7029. แผนแปะผิวหนังจากสารสกัดใบพญายอ 7230. เม็ดสอดชองคลอดของสารสกัดผสมระหวางกระเทียมและขา 74 07



กลุม งานวจยั เพือ่ การพฒั นาเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตรแปรรูป

01 ผลงานวจัยและนวตั กรรมเชงพาณิชย 2560 ช่อผลงาน นวตั กรรม สิง่ ประดษิ ฐ การออกแบบและพฒั นา เครอ่ งกดแบนกลว ยตาก ผูชวยศาสตราจารย ดร.วรนิ ธร พูลศรี บทสรุปดา นนวัตกรรม และความสำคัญ ปจจุบันการกดแบนกลวยตากจะใชแรงงานคนซึ่งวิธีนี้จะทำใหการผลิตกลวยตาก เปนไปไดชา รวมทั้งแรงงานคนยังขาดแคลน และไมสามารถควบคุมกระบวนการผลิต ซึ่งทำใหผลิตผลที่ไดมีคุณภาพไมไดมาตรฐานตามที่ตลาดตองการ ดังนั้นจึงตองการ ปรับปรงุ การผลิตใหม ีคุณภาพ และมีกำลงั การผลติ ท่ีสงู ขน้ึ เพ่ือเพียงพอกับความตอ งการ ของตลาด โดยเครอ่ื งทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพในการกดแบนกลว ยตากได 3,500-4,000 ผลกลว ย /ชัว่ โมง10 มหาวทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบุร Rajamangala University of Technology Thanyaburi

จดเดน ของผลงาน 1) มีประสิทธิภาพสูงในการกดแบนกลว ยตาก 3,500-4,000 ผลกลว ย/ช่วั โมง 2) สามารถปรับระดบั ลกู รีดไดตามความหนาของกลวยตากตามที่ตองการ 3) บำรงุ รกั ษาไดงา ยการนำไปใชป ระโยชนเ ชงพาณิชย ผลสำเร็จและความคุมคาของงานวิจัยนี้ มีประโยชนกับเกษตรกรและการเจริญเตบิ โตทางภาคการเกษตรไทยได โดยเฉพาะกลุมเกษตรกรท่ีผลิตกลว ยตากในจงั หวดั ตางๆเชน ชุมพร กำแพงเพชร นครปฐม เปนตน สามารถที่จะลดแรงงานและตนทุนการผลิตรวมถึงเพ่มิ อตั ราการผลิตใหม ีประสทิ ธภิ าพมากที่สดุ และทีส่ ำคัญ เปน การสง เสริมการนำเทคโนโลยีมาใชใหเกิดประโยชน เปนการกระตุนเกษตรกรและนักวิจัย ใหรูจักการนำเทคโนโลยีมาใชประโยชน และพัฒนาการเกษตรในประเทศไทยทรัพยสนิ ทางปญญา อยรู ะหวางการดำเนินการผูชวยศาสตราจารย ดร.วรินธร พลู ศรี 11คณะเทคโนโลยกี ารเกษตรมหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธญั บุรีโทรศพั ท 0 2549 3309 โทรสาร 0 2592 1956E-mail : [email protected]

02 ผลงานวจยั และนวตั กรรมเชงพาณิชย 2560 ชอ่ ผลงาน นวตั กรรม ส่งิ ประดิษฐ หัวเชอ้ จลินทรยน าโนเพื่ออาหารปลอดภัย และการเกษตรแบบย่งั ยนื Nano microbes for food safety and sustainable agriculture ผูชวยศาสตราจารย ดร.สุกาญจน รตั นเลิศนุสรณ บทสรุปดา นนวตั กรรม และความสำคญั หัวเชื้อจุลินทรียนาโนเพื่ออาหารปลอดภัยและการเกษตรแบบยั่งยืน ผลิตดวย Chito technology, biotechnology, Nanotechnology, Chelatization technology and Encapsulation technology บน elicitor และ precursor ทำใหไดสารสกัด ที่มีขนาดโมเลกุลเล็กเหมาะสมสำหรับพืชและสัตว มีคุณสมบัติชวยเรงการออกผลผลิต นอกฤดูกาล ควบคุมโรคทางรากลำตน เพิ่มภูมิคุมกันโรค ทำใหพืชสามารถเติบโตได แมมีสภาพอากาศที่ไมเอื้ออำนวยเพิ่มผลผลิต ลดการใชสารเคมี ยากำจัดศัตรูแมลง ผลผลิตที่เพิ่มขึ้น ลดการทำลายแมลง เพิ่มวิตามินเกลือแรและสารตานอนุมูลอิสระและ เพิ่มคุณภาพของพืชที่ผลิตในประเทศเพื่อใหเปนไปตามมาตรฐานการสงออก12 มหาวทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธญั บรุ Rajamangala University of Technology Thanyaburi

จดเดน ของผลงาน หัวเชื้อจุลินทรียนาโนเพื่ออาหารปลอดภัยและการเกษตรแบบยั่งยืน มีคุณสมบัติชวยเรงการออกผลผลิตนอกฤดูกาล ควบคุมโรคทางรากลำตน เพิ่มภูมิคุมกันโรค ทำใหพืชสามารถเติบโตไดแมมีสภาพอากาศที่ไมเอื้ออำนวยเพิ่มผลผลิต ลดการใชสารเคมียากำจัดศัตรูแมลง ผลผลิตที่เพิ่มขึ้น ลดการทำลายแมลง เพิ่มวิตามินเกลือแรและสารตานอนุมูลอิสระและเพิ่มคุณภาพของพืชที่ผลิตในประเทศเพื่อใหเปนไปตามมาตรฐานการสงออกการนำไปใชป ระโยชนเชงพาณิชย โรงงานอุตสาหกรรม สถานประกอบการ และเกษตรกรชุมชนอื่นๆ นำหัวเชื้อจุลินทรียนาโนเพื่ออาหารปลอดภัยและการเกษตร ไปใช ดังนี้ 4.1 กระบวนการแปรรูปวัสดุเหลือใชจากโรงงานอุตสาหกรรม เพื่อสรางมูลคาเพิ่มแกปญหาสิ่งแวดลอม เพิ่มคุณภาพและประสิทธิภาพของสารอาหารหลักรองและเสริมสารสกดั ชวี ภาพ โปรตนี เอนไซม ฮอรโ มน อน่ื ๆ สำหรบั พฒั นาการปลกู พชื อาหารปลอดภยัและการเกษตรแบบยง่ั ยนื 4.2 การเคลอื บปุยเคมี ปุย อินทรีย ปุยชวี ภาพ 4.3 กระบวนการยดื อายุการเก็บรักษาผลผลติ การเกษตรใหน านขึ้นทรัพยสนิ ทางปญญา คำขอรับสทิ ธิบัตร เลขที่ 1401007158, 1401007159ผชู วยศาสตราจารย ดร.สกุ าญจน รัตนเลศิ นุสรณ 13คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรีโทรศัพท 0 2549 4177 โทรสาร 0 2549 4179E-mail : [email protected]

03 ผลงานวจยั และนวตั กรรมเชงพาณิชย 2560 ช่อผลงาน นวตั กรรม สิง่ ประดิษฐ ระบบผลิตไฟฟา ดวยพลงั งานแสงอาทิตยแ บบเคลื่อนที่ สำหรบั ประยุกตใชงานเกษตรกรรม ผูช วยศาสตราจารย ดร. อำนวย เรอื งวารี บทสรปุ ดา นนวัตกรรม และความสำคญั ระบบผลติ ไฟฟา ดว ยพลงั งานแสงอาทติ ยแ บบเคลอ่ื นท่ี ออกแบบใหม ขี นาดกะทดั รดั สามารถเคลื่อนที่ไดเพื่อใหเหมาะกับการนำไปใชในพื้นที่เกษตรกรรมที่ไมมีไฟฟาใช ไดอ ยา งคลอ งตวั และเหมาะสม ระบบตน แบบฯ สามารถกำเนดิ พลงั งานไฟฟา ได 490 วตั ต พลังงานที่ดานเอาตพุตของระบบสามารถแบงออกเปน 3 ชนิดโดยผานแผงวงจรควบคุม การประจุไฟฟา14 มหาวทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุร Rajamangala University of Technology Thanyaburi

จดเดนของผลงาน สามารถแกปญหาแบบจากระบบการผลิตไฟฟาจากพลังงานแสงอาทิตยแบบทั่วไปคือระบบตนแบบที่สรางจากงานวิจัยนี้สามารถเคลื่อนที่ไปในสถานที่ตางๆ ตามการประยุกตใชงานไดซึ่งดีกวาแบบทั่วไปคือเมื่อสรางแลวระบบจะไมสามารถเคลื่อนที่ไดหรือถาจะทำการเคลื่อนที่ตองทำการตอระบบใหมทำใหเสียเวลาและอาจเกิดขอผิดพลาดในดานตางๆ ไดการนำไปใชประโยชนเ ชงพาณชิ ย ระบบสามารถชารจประจุเก็บในแบตเตอรี่ไดตามที่ออกแบบโดยกระแสขณะชารจประจุมีคาเฉลี่ยเทากับ 7.98 แอมแปร มีคาเฉลี่ยแรงดันไฟฟากระแสสลับและกระแสตรงเทากับ 220.4 โวลต และ 25.83 โวลตตามลำดับ สำหรับกรณีการทดสอบการตอใชงานกับเครื่องใชไฟฟาจริงไดทดลองใชกับหลอดฟูออเรสเซนต ปมน้ำซัมเมอรและพัดลม พบวาระบบสามารถจายพลังงานใหกับเครื่องใชไฟฟาดังกลาวไดจริงโดยสามารถจายพลังงานใหกับเครื่องใชไฟฟาไดนานสูงสุดถึง 16 ชั่วโมงและต่ำสุด 4 ชั่วโมงทรพั ยสินทางปญญา อยูร ะหวา งการดำเนนิ การผชู ว ยศาสตราจารย ดร. อำนวย เรอื งวารี 15คณะวิศวกรรมศาสตรมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรีโทรศัพท 0 2549 4620 โทรสาร 0 2577 5026E-mail : [email protected]

04 ผลงานวจัยและนวตั กรรมเชงพาณิชย 2560 ชอ่ ผลงาน นวัตกรรม สง่ิ ประดิษฐ รถตัดและเกบ็ ทะลายปาลมน้ำมัน แบบอเนกประสงค ผชู ว ยศาสตราจารย ดร.ศิริชยั ตอ สกลุ บทสรปุ ดานนวตั กรรม และความสำคัญ ปจจุบันมีตนปาลมที่มีอายุมากเปนจำนวนมาก และในการเก็บเกี่ยวผลผลิตทะลาย ปาลม นำ้ มนั จากตน ปาลม นำ้ มนั ทม่ี อี ายมุ ากนน้ั จะตอ งใชก ำลงั คนในการตดั และเกบ็ เพม่ิ ขน้ึ เนื่องจากตนปาลมน้ำมันจะมีความสูงถึง 12 เมตร ทำใหยากตอการตัด และตองใชเคียว ดามยาวในการตัด ซึ่งการใชงานเคียวดามยาว ผูใชจะตองมีทักษะในการทำงานสูง อีกทั้ง ยงั ตอ งใชแ รงงานจำนวนมาก การออกแบบรถตดั และเกบ็ ทะลายปาลม สามารถตอบโจทย ของปญ หาท่ีเกดิ ข้ึนได16 มหาวทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธัญบุร Rajamangala University of Technology Thanyaburi

จดเดนของผลงาน รถตัดและเก็บทะลายปาลมน้ำมันแบบเอนกประสงคนี้ เปนการพัฒนาเทคโนโลยีการขนสง การตดั และเก็บ ทะลายปาลม นำ้ มนั อยางบรู ณาการระหวา งระบบขับเคลือ่ นกับระบบยก ระบบเท และเก็บทะลายปาลมน้ำมัน มีความสามารถขับเคลื่อนไปไดในสภาพพื้นที่ที่เปนอุปสรรค โดยสามารถชวยยกตัวผูตัดทะลายปาลมน้ำมันใหสูงขึ้นจากพื้นดิน 1.7 – 4.5 เมตร อีกทั้งยังมีความสามารถในการเคลื่อนยายทะลายปาลมน้ำมันจากพื้นดินขึ้นสูกระบะบรรทุก ดวยการใชชุดคีบ ที่มีรัศมีการทำงาน 3.5 เมตร สามารถบรรทุกทะลายปาลมน้ำมันเพื่อการขนยายไดถึง 1.5 ตัน และสามารถลดแรงงานคนในการเก็บและเกี่ยวผลทะลายปาลมลงได 50 เปอรเซ็นตการนำไปใชป ระโยชนเ ชงพาณิชย สำหรับเก็บเกี่ยวผลผลิตทะลายปาลมน้ำมันในพื้นที่ 100 ไร ซึ่งทะลายปาลมน้ำมันที่เก็บเกี่ยวไดมีน้ำหนักรวมทั้งหมด 21,222 กิโลกรัม หากนำไปใชสำหรับการเก็บเกี่ยวผลผลิตทะลายปาลมน้ำมันที่มีความสูงมากกวา 12 เมตร จะมีตนทุนในการเก็บเกี่ยวผลผลติ 366,084 บาทตอ ป กรณที ม่ี วี นั ทำงาน 200 วนั ตอ ป ซง่ึ สามารถเกบ็ เกย่ี วผลผลติในพื้นที่สวนปาลมอยางนอ ย 550 ไร ซง่ึ สามารถลดคา ใชจายจากการใชแรงงานคนสำหรับการเกบ็ เกย่ี วผลผลิตไดถ งึ 683,916 บาททรัพยส นิ ทางปญญา คำขอรบั สิทธิบัตร เลขท่ี 1601005676ผชู วยศาสตราจารย ดร.ศริ ชิ ยั ตอ สกุล 17คณะวิศวกรรมศาสตรมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบุรีโทรศัพท 0 2549 3440 โทรสาร 0 2577 5026E-mail : [email protected]

05 ผลงานวจัยและนวตั กรรมเชงพาณชิ ย 2560 ชอ่ ผลงาน นวัตกรรม สิง่ ประดิษฐ ตวั เรอนนาิกาตั้งโตะจากแกลบผสมครัง่ และพอลแิ ลคตคิ แอซด ดร.อนินท มีมนต, ผูชวยศาสตราจารย ศภุ เอก ประมลู มาก, ดร.มนทิพย ลอสรุ ิยนต บทสรุปดานนวัตกรรม และความสำคญั การผลิตขาวสารดวยกระบวนการสีขาวจะมีสวนของเปลือกขาวหรือแกลบอยูใน ประมาณรอยละ 20 ของผลผลิตรวม โดยมากแกลบจะถูกนำไปใชงานเปนเชื้อเพลิง พลงั งานทดแทน สว นผสมในคอนกรตี วสั ดกุ อ สรา งนำ้ หนกั เบา วตั ถดุ บิ สำหรบั ผลติ ซลิ กิ า ปรับปรงุ คณุ ภาพดิน ใชเปน สวนผสมดินสำหรับปลูกพชื หรือรองพนื้ สำหรับฟารมปศสุ ตั ว เปนตน นอกจากนี้แกลบยังถูกนำมาใชเปนแผนอัดสำหรับใชงานรูปแบบตางๆ เชน เฟอรนิเจอรตกแตงรูปแบบตางๆ แผนฉนวนกั้นเสียง หรือความรอน เปนตน ดวยเหตุนี้ จึงมีความสนใจนำเอาแกลบมาผสมรวมกับครั่ง (Shellac) และพอลิแลคติคแอซิด (Polylacticacid ; PLA) ซึ่งเปนพอลิเมอรชนิดที่ผลิตไดจากแหลงธรรมชาติ สามารถ ยอยสลายไดดวยกระบวนการทางชีวภาพ และมีความแข็งแรงสูง รวมทั้งครั่งเปนวัสดุ เรซนิ ธรรมชาตทิ ม่ี กี ารใชง านมานานหลายยคุ สมยั โดยครง่ั เปน ผลติ ผลจากแมลงครง่ั และ ประเทศไทยเปนผูสงออกครั่งอันดับตนของโลก เกษตรกรในภาคเหนือและภาคอีสาน มกี ารเลย้ี งครง่ั เปน จำนวนมากบนตน จามจรุ ี โดยทว่ั ไปครง่ั ถกู นำไปใชป ระโยชนใ นลกั ษณะ ของวสั ดเุ คลอื บผวิ เชน ทาเคลอื บผวิ เนอ้ื ไมใ หเ รยี บและมคี วามเงางาม สยี อ ม เคลอื บเมด็ ยา หรือลูกอมใหมีความแวววาว ตามภูมิปญญาชาวบานมักจะใชครั่งสำหรับยึดแนนดามไม เขา กบั สว นดา มของมดี พรา ซง่ึ สามารถยดึ ไดอ ยา งแนน และใชง านไดเ ปน อยา งดี จากขอ มลู เหลานี้จะเห็นวาครั่งมีศักยภาพที่จะทำหนาที่เปนวัสดุประสานในการอัดขึ้นรูปแกลบ ใหเปนแผนวัสดุที่สามารถนาไปใชงานในรูปแบบของผลิตภัณฑที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม และไมม สี ง่ิ เจอื ปนของสารเคมี อกี ทง้ั เปน การเพม่ิ ชอ งทางการใชป ระโยชนจ ากพชื เศรษฐกจิ ทสี่ ำคัญของประเทศไทยอีกชอ งทางหนง่ึ18 มหาวทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุ Rajamangala University of Technology Thanyaburi

จดเดนของผลงาน 1. สามารถยอ ยสลายไดดวยกระบวนการทางชวี ภาพ 2. มีความแขง็ แรงทนทาน 3. ใชวสั ดจุ ากธรรมชาติทหี่ าไดงายการนำไปใชประโยชนเชงพาณชิ ย นำไปผลิตเปนผลิตภัณฑนาิกาตั้งโตะ โดยเปนการสรางงานใหกับเกษตรกรผูเพาะเลี้ยงครั่ง และใชวัตถุดิบที่เหลือใชมาผสมผสานจนเกิดผลิตภัณฑจัดจำหนายกอใหเกิดรายไดทรัพยส นิ ทางปญญา อยรู ะหวางการดำเนนิ การดร.อนนิ ท มีมนต, ผูชว ยศาสตราจารย ศุภเอก ประมลู มาก, ดร.มนทพิ ย ลอ สุรยิ นตคณะวิศวกรรมศาสตรมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรีโทรศัพท 0 2549 3440 โทรสาร 0 2577 5026E-mail : [email protected] 19



กลมุ งานวจัย เพอื่ พลังงานทรัพยากรธรรมชาติ และสิง่ แวดลอ ม

06 ผลงานวจัยและนวัตกรรมเชงพาณิชย 2560 ชอ่ ผลงาน นวตั กรรม ส่ิงประดิษฐ โคโคโกกรน : ผลติ ภัณฑวสั ดกุ อสรางสเี ขยว จากผลพลอยไดของโรงงานแปรรูปมะพรา ว Coco-Go-Green : Products of green building materials from byproducts of coconut processing plant นายประชุม คำพฒุ และคณะ บทสรปุ ดา นนวัตกรรม และความสำคญั โรงงานแปรรูปมะพราวมีผลพลอยไดหรือวัสดุเหลือทิ้งจากกระบวนการผลิตเปน จำนวนมาก ซึ่งสิ้นเปลืองคาใชจายในการกำจัดทิ้ง บริษัทที่เปนผูผลิตและจำหนายวัสดุ กอสรางเล็งเห็นถึงคุณลักษณะเดนของวัสดุเหลือทิ้งตาง ๆ เหลานั้น ที่สามารถนำมาเปน สวนประกอบสำคัญในการผลิตวัสดุกอสรางประเภทตาง ๆ ได จึงไดมีการพัฒนาทั้ง เครื่องจักรและสวนผสมอยางเปนระบบ โดยใชเทคโนโลยีที่เหมาะสม (Appropriate Technology) ในกระบวนการผลติ ผลจากงานวจิ ยั ไดน ำไปผลติ และจำหนา ยในเชงิ พาณชิ ย โดยบริษทั ท่ีสนับสนนุ ผลงานวิจัย ตลอดจนถายทอดเทคโนโลยใี หกบั วสิ าหกจิ ชุมชน22 มหาวทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบรุ Rajamangala University of Technology Thanyaburi

จดเดน ของผลงาน โคโคโ กกรนี : ผลติ ภณั ฑว สั ดกุ อ สรา งสเี ขยี วจากผลพลอยไดข องโรงงานแปรรปู มะพรา วเปนผลิตภณั ฑวสั ดุกอสรางที่ไดจ ากการนำผลพลอยไดจ ากโรงงานแปรรปู มะพราว อาทเิ ชนเถา กะลามะพรา ว เสน ใยมะพรา ว ขยุ มะพราว กากมะพราว กลองยเู อชที มาเปนสว นผสมสำคัญในการผลิตวัสดุกอสรางตนทุนต่ำ และเปนมิตรตอสิ่งแวดลอม โดยวัสดุกอสรางทุกประเภทที่ทำการผลิตมคี ณุ สมบตั ิผา นเกณฑม าตรฐานผลติ ภัณฑอ ตุ สาหกรรม (มอก.)มีความสวยงาม สามารถใชเ ปน วัสดกุ อสรางสำหรับอาคารเขยี วไดการนำไปใชประโยชนเ ชงพาณิชย ใชในงานกอสราง สำหรับ บานพักอาศัย หางสรรพสินคา คอนโดมิเนียม โดยไมทำลายสิ่งแวดลอมทรพั ยส นิ ทางปญ ญา สิทธิบตั ร เลขท่ี 4107 และ 4108นายประชมุ คำพุฒ, นายกติ ตพิ งษ สุวโี ร, นายธวชั ชยั อริยะสทุ ธิ 23และนางสาวชลธิชา เดชทองคำคณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุรีโทรศพั ท 0 2549 4032 โทรสาร 0 2549 4033E-mail : [email protected]

07 ผลงานวจยั และนวตั กรรมเชงพาณิชย 2560 ช่อผลงาน นวตั กรรม ส่งิ ประดษิ ฐ ผลติ ภณั ฑว สั ดกุ อ สรา งมวลเบาสำหรบั อาคารเขยว จากเศษพลาสติกเหลอื ทง้ิ เพื่อการอนุรกั ษพ ลังงานและสงิ่ แวดลอ ม Light-weight Construction Materials for Green Building with Plastic Wastes for Energy and Environmental Conservation นายประชมุ คำพุฒ และคณะ บทสรปุ ดา นนวัตกรรม และความสำคญั วัสดุกอสรางมวลเบาที่นิยมในปจจุบันนั้น ทำมาจากกระบวนการแบบฟองอากาศ- อบไอน้ำ ซึ่งมีตนทุนที่สูงและไมเหมาะกับบริษัทขนาดเล็กหรือวิสาหกิจขนาดกลางและ ขนาดยอ ม ทม่ี งี บประมาณในการลงทนุ ไมส งู มาก ผปู ระกอบการเหลา นจ้ี งึ ไดห าวธิ กี ารผลติ วัสดุกอสรางมวลเบาโดยการใชมวลรวมน้ำหนักเบาซึ่งสวนใหญเปนวัสดุเหลือทิ้งจาก ภาคอุตสาหกรรม โดยวัสดุจำพวกเศษพลาสติกเหลือทิ้งจากโรงงานมีความเหมาะสมกับ การนำมาใชพัฒนาคุณสมบัตขิ องวัสดกุ อสรา งใหม นี ำ้ หนักเบาและมีความแข็งแรงเพยี งพอ ตอการใชงาน นำมาพัฒนาการผลิตโดยใชเทคโนโลยีคอนกรีตมวลเบาประเภทการใช มวลรวมนำ้ หนักเบา ซง่ึ ผลจากงานวิจยั ไดถ า ยทอดเทคโนโลยใี หกับชุมชนและผูส นใจท่ัวไป และทำสัญญาอนญุ าตใหใ ชสิทธิกับภาคเอกชน เพือ่ ขยายผลสเู ชิงพาณิชย24 มหาวทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุร Rajamangala University of Technology Thanyaburi

จดเดนของผลงาน ผลิตภัณฑวัสดุกอสรางมวลเบาสำหรับอาคารเขียวจากเศษพลาสติกเหลือทิ้งเพื่อการอนรุ ักษพ ลงั งานและส่ิงแวดลอม เปน วัสดุกอสรางมวลเบาทีใ่ ชมวลรวมหลักเปน เศษพลาสติกเหลือทิ้งจากภาคอุตสาหกรรม ผลิตดวยเทคโนโลยีระดับชุมชน ที่มีตนทุนต่ำใชประโยชนเปนมวลรวมในการผสมคอนกรีตโครงสรางอาคาร และผลิตเปนสินคาผลิตภัณฑคอนกรีตบล็อก อิฐบล็อกประสาน บล็อกปูพื้น ฝาเพดาน ที่มีคุณสมบัติเดนที่มีความยืดหยุนสูง ไมแตกหักเสียหายไดงาย เปนฉนวนปองกันความรอนที่ดี ในขณะที่คุณสมบัติดานอื่น ๆ ผานตามเกณฑมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม (มอก.) ของผลิตภัณฑแตละประเภทการนำไปใชป ระโยชนเ ชงพาณชิ ย เนอ่ื งจากเปน วสั ดกุ อ สรา งทม่ี นี ำ้ หนกั เบา มคี วามแขง็ แรง โดยใชเ ทคโนโลยคี อนกรตีมวลเบาประเภทมวลรวมน้ำหนักเบาจึงสามารถนำไปใชงานไดจริง จำหนายตอยอดเชิงพาณิชยได โดยเนนเพื่อการอนุรักษพลังงานและสิ่งแวดลอมทรัพยส นิ ทางปญญา คำขอรับสิทธบิ ัตร เลขท่ี 1001001077นายประชมุ คำพฒุ 1, นายกติ ติพงษ สุวโี ร1, นายธวชั ชยั อรยิ ะสทุ ธิ1, 25นายอมเรศ บกสุวรรณ1, นางสมพิศ ตนั ตวรนาท1, นายกฤติน วจิ ติ รไตรธรรม1,นางสาวนริ มล ปน ลาย1, นายธงเทพ ศิรโิ สดา21คณะวศิ วกรรมศาสตร มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุรี2คณะสถาปต ยกรรมศาสตร มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธัญบรุ ีโEท-mรศaัพilท: p0r2ac5h4o9o4m03_2khaโทmรpสoาร[email protected]

08 ผลงานวจัยและนวัตกรรมเชงพาณชิ ย 2560 ชอ่ ผลงาน นวตั กรรม ส่ิงประดิษฐ ระบบบรหารจดั การ เพ่อื การประหยดั พลังงาน ของระบบไฟถนนและไฟสาธารณะ ผูชวยศาสตราจารย จตรุ พิธ เกราะแกว บทสรุปดา นนวัตกรรม และความสำคัญ เหตุผลสำคัญท่ตี องศึกษาวิจัยและคิดคนนวัตกรรม เน่ืองจากการทำงานของไฟถนน และไฟสาธารณะอาศัยสวิตชแสงในการสั่งการ ใหทำงาน ทำใหมีชวงเวลาการทำงาน ในแตละวันไมตรงกัน อีกทั้งจำนวนหลอดที่ใชการไดในแตละชวงเวลาอาจจะไมเทาเดิม ทำใหการคำนวณผลตอบแทนดวยการดำเนินโครงการแบบ PPP : Public Private Partnership การรวมทุนระหวางภาครัฐและเอกชนที่จัดทำโครงการโครงสรางพื้นฐาน และบรกิ ารสาธารณะทเ่ี ปน หนา ทข่ี องรฐั จำเปน ตอ งวเิ คราะหแ ละหาแนวทางการตรวจวดั และพิสูจนผลการประหยัดพลังงาน สำหรับการจายผลตอบแทนที่เหมาะสมและเกิด ประโยชนสูงสุดแก กฟภ.26 มหาวทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ Rajamangala University of Technology Thanyaburi

จดเดน ของผลงาน การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อการประหยัดพลังงานของระบบไฟถนนและไฟสาธารณะน้ี นอกจากการวเิ คราะหและหาแนวทางการตรวจวดั พสิ ูจนผลการประหยดัพลังงานสำหรับ การจายผลตอบแทนที่เหมาะสมและเกิดประโยชนสูงสุดแลว นับเปนอีกหนึ่งนวัตกรรมที่ใชความรูในศาสตรสาขาตางๆ อยางบูรณาการ สรางสรรคสิ่งใหมใหเกิดขึ้น เพื่อประโยชนทางสังคมและเศรษฐกิจการนำไปใชประโยชนเชงพาณชิ ย การออกแบบและพัฒนาระบบบริหารจัดการสามารถตอบสนองและแสดงผลการทำงานไดในแบบเวลาจริง โดยครอบคลุมอุปกรณประหยัดพลังงาน ทั้งโคมไฟถนนประเภทหลอด High Pressure Sodium (HPS) 250 วัตต และหลอดฟลูออเรสเซนตใหส ามารถตรวจสอบสถานะหลอดติด-ดบั เปน รายโคม รวมถึงควบคมุ การเปด-ปด ทั้งวงจรรวมถึงไฟถนนแบบ LED สามารถตรวจสอบสถานะหลอดติด-ดับเปนรายโคม รวมถึงควบคมุ การเปด-ปดท้งั วงจร การเปด -ปด เปนรายโคม และการหร่ไี ฟเปนรายโคม สำหรบัดำเนินโครงการ คือ เขตพื้นที่ จ.ปราจีนบุรี สมุทรสาคร ราชบุรี และปทุมธานีทรัพยสนิ ทางปญ ญา อยูระหวางการดำเนนิ การผูชว ยศาสตราจารย จตรุ พธิ เกราะแกว 27คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรีโทรศัพท 0 2549 4164 โทรสาร 0 2549 4119E-mail : [email protected]

09 ผลงานวจัยและนวัตกรรมเชงพาณิชย 2560 ช่อผลงาน นวตั กรรม ส่งิ ประดษิ ฐ เฟอรนิเจอรจ ากผาซเมนตเ สรมแกนไมไผ ผูช วยศาสตราจารย ดร.วชริ ะ แสงรัศมี บทสรปุ ดา นนวตั กรรม และความสำคญั ผลติ ภัณฑช ุมชนจากไมไ ผเ ปนจุดเรมิ่ ตน ในการพฒั นาผลิตภัณฑการสานไมไ ผโดยเฉพาะ สุมไก เปลไมไผสาน เราจึงมีแนวคิดในการพัฒนาผลิตภัณฑดังกลาวมาเปนเฟอรนิเจอร สมัยใหมใหมีรูปทรงสมัยใหม มีผิวเรียบ และมีสมบัติในการรับแรงไดเพิ่มขึ้น28 มหาวทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุร Rajamangala University of Technology Thanyaburi

จดเดน ของผลงาน วัสดุท่ีสามารถหาไดงา ยและมกี รรมวธิ ีการผลิตที่ไมย ุง ยาก สามารถออกแบบและผลติไดดว ยตนเอง โดยมีจดุ เดน ในการขน้ึ รปู โคง มนไดต ามตองการการนำไปใชป ระโยชนเชงพาณชิ ย ทำเฟอรนเิ จอรแ ละวัสดุตกแตงบานไดหลากหลาย เชน เกา อ้ี โตะ ช้นั วางของ เปนตนทรพั ยส นิ ทางปญ ญา คำขอรบั อนุสทิ ธิบตั ร เลขท่ี 1603002059ผชู วยศาสตราจารย ดร.วชิระ แสงรศั มี 29คณะสถาปต ยกรรมศาสตรมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธญั บรุ ีโทรศพั ท 0 2549 4771 โ ทรสาร 02549 4775E-mail : [email protected]

10 ผลงานวจัยและนวัตกรรมเชงพาณชิ ย 2560 ชอ่ ผลงาน นวัตกรรม ส่ิงประดษิ ฐ กรอบรปู จากขา วไทยเสรมแรง ในพอลิโพรพลิ นี ดร.อนินท มีมนต, ผูชวยศาสตราจารย ศภุ เอก ประมลู มาก, ดร.มนทพิ ย ลอ สุริยนต บทสรุปดานนวตั กรรม และความสำคญั จากการศึกษาขอมูลทางดานความรอนของขาวพบวา ขาวไทยมีชวงอุณหภูมิ การเปลี่ยนแปลงสภาพคลายแกว (Tg) สูงสุดอยูที่ 222 องศาเซลเซียส และมีศักยภาพ ที่สามารถผสมรวมกับพลาสติกบางชนิดไดเปนอยางดี ในขณะที่พอลิพรอโพรพิลีน (Polypropylene ; PP) เปนพลาสติกที่แข็ง ทนตอแรงกระแทกไดดี ทนตอสารเคมี ทนความรอน และน้ำมัน ทำใหมีสีสันสวยงามได สามารถนำกลับมารีไซเคิลใชใหมได ขึ้นรูปไดงาย อุณหภูมิการขึ้นรูปต่ำ เหมาะกับการนำมาผสมกับวัสดุจากธรรมชาติซึ่งมี ความเสถียรตอความรอนต่ำ ดังนั้นโครงการวิจัยนี้จึงมีความสนใจเลือกใชพอลิโพรพิลีน ผสมกบั ขา วไทย เพอื่ ทำการพัฒนาสูตรคอมพาวนดส ำหรับทดลองผลติ ผลติ ภณั ฑต น แบบ กรอบรูปและขึน้ รปู ดว ยกระบวนการอดั รวมท้งั ศกึ ษาสมบตั ทิ างกลบางประการของวัสดุ ผสมที่ข้นึ รูปไดจ ากขา วไทยผสมพอลโิ พรพิลีน30 มหาวทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุร Rajamangala University of Technology Thanyaburi

ออกแบบชิ้นงานและสรา งแมพ ิมพอ ัดสาหรับขน้ึ รูปจดเดนของผลงาน อดั สำหรับขึน้ รูปกรอบรปู จากคอมพาวนดข า วไทยผสมพอลิโพรพลิ นี1. ทนแรงกระแทกไดดเี ย่ียม2. ทนตอ การกดั กรอ นของสารเคมี ทนความรอ น และนำ้ มนั3. สามารถทำใหม สี สี ันสวยงามไดง าย สามารถนำมาข้นึ รูปใหมไ ดง า ยการนำไปใชประโยชนเชงพาณชิ ย นำมาผลิตเปนผลิตภัณฑกรอบรูปที่สามารถทนทานตอการกัดกรอนของสารเคมีทนความรอน แรงกระแทกไดดี โดยใชวัสดุธรรมชาติมาผสมทรัพยส นิ ทางปญญา อยรู ะหวางการดำเนินการดร.อนินท มีมนต, ผูชว ยศาสตราจารย ศุภเอก ประมูลมาก, ดร.มนทิพย ลอ สรุ ยิ นตคณะวิศวกรรมศาสตรมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรีโทรศัพท 0 2549 3440 โทรสาร 0 2577 5026E-mail : [email protected] 31

11 ผลงานวจัยและนวัตกรรมเชงพาณชิ ย 2560 ชอ่ ผลงาน นวตั กรรม ส่ิงประดิษฐ แผนฉนวนกนั ความรอ นพอลยิ ูเรเทนโฟม จากรำขาว ดร.อนนิ ท มีมนต, ผูชว ยศาสตราจารย ศุภเอก ประมลู มาก, ดร.มนทพิ ย ลอสรุ ิยนต บทสรปุ ดา นนวตั กรรม และความสำคญั ฉนวนความรอ นเปน วสั ดทุ ป่ี อ งกนั ความรอ น และเปน สว นทจ่ี ำเปน ในอาคารสง่ิ กอ สรา ง สมัยใหม สำหรับปองกันความรอนเขาสูอาคารหรือบานเรือน โดยทั่วไปที่นิยมใชกันอยาง แพรหลาย มักจะเปนฉนวนกันความรอนจากใยหิน ใยแกว และโฟม ซึ่งมีราคาสูง ในปจจุบัน วสั ดฉุ นวนความรอ นไดร บั การวจิ ยั และพฒั นานำเอาวสั ดเุ หลอื ใชท างการเกษตรมาทดลอง ผลติ เปน ฉนวนความรอ นและมผี ลการทดสอบคา สมั ประสทิ ธก์ิ ารนำความรอ นอยใู นระดบั ตำ่ การผลิตฉนวนความรอ นจากโฟมกลมุ พอลยิ เู รเทนโฟมมีขอดคี อื น้ำหนักเบา แตขอเสยี คอื มีตนทุนการผลิตสูงดานวัสดุ การนำเอาเศษวัสดุเหลือใชจากงานเกษตรกรรมมาเปนวัสดุ เสรมิ แรงผสมในพอลยิ เู รเทนโฟมจงึ เปน อกี ทางเลอื กหนง่ึ ทน่ี า สนใจสำหรบั การลดคา ใชจ า ย ดานวัสดุของการผลิตฉนวนดวยพอลิยูเรเทนโฟม รำขาวที่เหลือจากกระบวนการสีขาว แมวาบางสวนจะถูกนำไปใชในกระบวนการผลิตสินคาชนิดอื่นๆ แลว ก็คงมีเหลืออยูใน ประมาณมากอยู ดวยเหตุนี้ จึงมีแนวคิดผลิตวัสดุฉนวนความรอนจากแผนวัสดุผสม พอลิยูเรเทนโฟมเสริมแรงดวยรำขาว สำหรับเปนแผนวัสดุฉนวนกันความรอนภายในอาคาร โดยจะศกึ ษาถึงสมบตั ทิ างกลบางประการของแผน วสั ดุผสมจากแผน พอลิยเู รเทนโฟมเสริมแรง ดวยรำขาว รวมทั้งทดสอบคาการนำความรอนและคาความหนาแนนเฉลี่ย เพื่อใชเปน แนวทางสำหรับเลือกใชวัสดุฉนวนความรอนสำหรับอาคารและสิ่งกอสรางสมัยใหม และ เปนอีกชองทางหนึ่งของการนำผลิตภัณฑจากขาวมาใชใหเกิดประโยชน32 มหาวทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบุร Rajamangala University of Technology Thanyaburi

จดเดนของผลงาน1. มีนำ้ หนักเบา2. ลดคา ใชจ า ยดา นวสั ดุของการผลติ ฉนวน3. นำผลติ ภณั ฑจากขาวทเี่ หลือทิง้ มาใชใ หเ กดิ ประโยชนการนำไปใชป ระโยชนเ ชงพาณิชย นำเอารำขาวในสวนที่เหลือทิ้งมาผสมเปนวัตถุดิบในการผลิตฉนวนกันความรอนซึ่งเปนการนำสิ่งที่เหลือใชมากอใหเกิดประโยชน และสรางรายได ไดอยางดีทรัพยสนิ ทางปญญา อยูร ะหวา งการดำเนินการดร.อนนิ ท มมี นต, ผชู ว ยศาสตราจารย ศภุ เอก ประมูลมาก, ดร.มนทิพย ลอสุรยิ นตคณะวิศวกรรมศาสตรมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรีโทรศัพท 0 2549 3440 โทรสาร 0 2577 5026E-mail : [email protected] 33



กลมุ งานวจยั เพอื่ พัฒนาเทคโนโลยี และนวตั กรรมสำหรบั ภาคอตุ สาหกรรม

12 ผลงานวจัยและนวตั กรรมเชงพาณิชย 2560 ช่อผลงาน นวตั กรรม สง่ิ ประดษิ ฐ เรอหนุ ยนตส องทุนแบบใชง านระยะยาว สำหรบั สำรวจขอมลู อทุ กศาสตร Long-endurance robotic catamaran for hydrographic survey ผูช วยศาสตราจารย ดร.ปรัชญา เปรมปราณรี ัชต เรือหุนยนตสองทุน บทสรุปดานนวตั กรรม และความสำคญั เรอื หนุ ยนตส องทนุ แบบใชง านระยะยาวสำหรบั สำรวจขอ มลู อทุ กศาสตร ใชป ฏบิ ตั งิ าน ไดทั้งในน้ำจืดและทะเลในภาคสนามอยางตอเนื่องไดนานกวาสามชั่วโมงโดยมีแหลงจาย ไฟฟาจากเครื่องปนไฟในตัวเรอื สามารถควบคมุ การเคลื่อนทเี่ รือผา นรโี มทวทิ ยุบงั คับหรือ เปลี่ยนเปนการเคลื่อนที่ตามจุดพิกัดจีพีเอสที่กำหนดไวลวงหนาไดแบบอัตโนมัติ ในการ สำรวจ คลอง/แมน้ำ/ลำน้ำ จะทำการวัดเก็บขอมูลความลึกน้ำทองน้ำดวยเซนเซอรแบบ คลน่ื เสยี ง และความสงู ตลง่ิ เหนอื ผวิ นำ้ ทง้ั สองฝง ลำนำ้ ดว ยเลเซอรส แกนเนอร แลว สามารถ คำนวณหาหนาตัดและความจขุ องลำน้ำได36 มหาวทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุร Rajamangala University of Technology Thanyaburi

ขอมลู ดบิ จากเซนเซอรค ล่ืนเสียงและเลเซอรสแกนเนอรจ ากการสำรวจลำนำ้ (ซา ย) และ พื้นผวิ ทอ งลำน้ำ ทคี่ ำนวณปริมาตรไดเปน 226.4775 m3 (ขวา)จดเดนของผลงาน ซอฟตแวรที่ไดพัฒนาขึ้นสามารถบรูณาการขอมูลกลุมของจุดที่วัดไดจากเลเซอรสแกนเนอรและจากเซนเซอรแบบคลื่นเสียงที่แกวงกลับไปมาใตน้ำ ดังรูปซายมือ และสามารถสรางเปนพนื้ ผิวของลำนำ้ แบบสามมิติ ทช่ี ว ยคำนวณหาหนาตัดของลำน้ำ ดังรูปขวามือ ไดทั้งใตน้ำและเหนือผิวน้ำ หรือใชชวยวัดความสูงตลิ่งไดอีกดวย นอกจากนั้นแลวยังสามารถคำนวณหาปริมาตรความจุของของลำน้ำในแตละชวงไดอีกดวยการนำไปใชประโยชนเ ชงพาณชิ ย ทางทีมงานวิจัยไดนำเทคโนโลยีที่พัฒนาขึ้นนี้ไปใชชวยในการสำรวจความลึกของทองน้ำ หนาตัดและความกวาง และความสูงของตลิ่งของคลองลาดพราว และคลองในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา เพื่อชวยในการบริหารจัดการน้ำเพื่อบรรเทาอุทกภัยในพื้นที่เชน การรองรับน้ำในหนาน้ำหลาก และ การกักเก็บน้ำเพื่อการเกษตรในหนาแลง และปองกันการกัดเซาะตลิ่งที่เกิดการพังทลายในแตละปทรัพยสินทางปญ ญา คำขอรับสิทธิบัตร/ อนสุ ทิ ธบิ ัตร เลขท่ี 1702000940 และ 1703000487ผชู วยศาสตราจารย ดร.ปรชั ญา เปรมปราณีรัชต 37คณะวิศวกรรมศาสตรมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธญั บุรีโทรศพั ท 0 2549 3430 โทรสาร 0 2577 5026E-mail : [email protected]

13 ผลงานวจัยและนวตั กรรมเชงพาณชิ ย 2560 ช่อผลงาน นวตั กรรม ส่ิงประดิษฐ แผนวัสดุพาราฟน ผสมเสน ใย Mixed Fiber Paraffin Sheet นายชวาน พรรณดวงเนตร บทสรุปดา นนวัตกรรม และความสำคัญ การออกแบบสรา งหุนจำลองโครงสรางเปนรปู แบบหน่งึ ของการเรียนการสอนท่ีเกี่ยวของ กบั กลศาสตร แตการขน้ึ รูปหนุ จำลองระบบโครงสรา งเปลอื กบางเปนรูปทรงทข่ี ึ้นรูปไดย าก เนื่องจากเปนรูปทรงอิสระและขอจำกัดของวัสดุตางๆ จึงไดทำการพัฒนาแผนวัสดุพาราฟน ผสมเสนใยโดยการนำวัสดุพาราฟนผสมไมโครคริสตอลไลนแวกซ แลวทำการชุบเสนใย เมอ่ื ตอ งการปรบั ดดั รปู ทรงเพอ่ื รปู หนุ จำลองระบบโครงสรา งเปลอื กบางสามารถนำแผน วสั ดุ ซึ่งเมื่อแชในน้ำอุณหภูมิลงเปนชวง 50-60 องศาเซลเซียส จะทำการดัดใหเปนรูปทรง โครงสรางเปลือกบางหรือโคงสองทางได แผนวัสดุพาราฟนผสมเสนใยเปนวัสดุที่งายตอการขึ้นรูปทรงโคงสองทางหรือสราง เปลือกบาง เมื่อวัสดุออนตัวจากการแชน้ำอุน จะสามารถดัดโคงแบบรูปทรงผิวโคงโดย การกดั กบั แบบโดยตรง หรอื แบบทเ่ี ปน negative นอกจากนย้ี งั สามารถใชก ารแขวนกลบั หวั โดยยดึ จับสว นทเี่ ปน ฐานรองรับเพอื่ ใหว สั ดหุ อ ย ทำใหเกดิ โคง แบบ Catenary ได แผน วัสดพุ าราฟนผสมเสน ใยสามารถใชใ นการขน้ึ รปู โครงสรางเปลอื กบางแบบตา งๆ เหมาะสำหรับการเรียนการสอนที่เกี่ยวของกับกลศาสตร โดยวัสดุนี้เปนวัสดุที่งายตอการ ขน้ึ รปู รปู ทรงเปลอื กบางรปู แบบตา งๆ เมอ่ื ทำการทดสอบโดยการโหลดนำ้ หนกั จะสามารถ สังเกตแนวโนมและพฤติกรรมการเปลี่ยนรูปของโครงสรางเนื่องจากแรง ตลอดจนลักษณะ รอยราวทเ่ี กดิ ขึ้นจากการวิบตั ขิ องโครงสรา งไดชดั เจน38 มหาวทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุร Rajamangala University of Technology Thanyaburi

จดเดนของผลงาน แผนวัสดุพาราฟนผสมเสนใยเปนวัสดุที่งายตอการขึ้นรูปรูปทรงโคงสองทางหรือสรางเปลือกบาง สามารถใชกับแบบรูปทรงผิวโคงโดยตรงหรือแบบ negative หรือใชการแขวนกลับหัวโดยยึดจับสวนที่เปนฐานรองรับเพื่อใหวัสดุหอย ทำใหเกิดโคงแบบcatenary ได โดยมีคาการรับกำลังอัดขนานแนวเสนใย 20.4 กิโลกรัมตอตารางเซนติเมตรและคา การรับกำลังดงึ ขนานแนวเสน ใย 15.7 กโิ ลกรมั ตอ ตารางเซนติเมตรการนำไปใชป ระโยชนเชงพาณชิ ย สามารถนำไปใชในการขึ้นรูปโครงสรางเปลือกบางแบบตาง ๆ ไดอยางดี ไมเกิดความเสียหายของผลิตภัณฑงายทรัพยส นิ ทางปญ ญา อยรู ะหวางการดำเนินการนายชวาน พรรณดวงเนตร 39คณะสถาปตยกรรมศาสตรมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรีโทรศัพท 0 2549 4771 โทรสาร 0 2549 4775E-mail: [email protected]

14 ผลงานวจยั และนวัตกรรมเชงพาณชิ ย 2560 ชอ่ ผลงาน นวตั กรรม ส่ิงประดษิ ฐ การไพโรไลซสรวมระหวา ง นำ้ มันเคร่องใชแลว กับขยะพลาสตกิ ผสม เพือ่ ผลิตเปนนำ้ มนั ดเี ซล ผชู วยศาสตราจารย ณัฐชา เพ็ชรยมิ้ บทสรปุ ดานนวัตกรรม และความสำคัญ การไพโรไลซสิ รว มระหวา งนำ้ มนั เครอ่ื งใชแ ลว กบั ขยะพลาสตกิ ไดแ ก พอลเิ อทลิ นี (PE) พอลิพอพีลีน (PP) พอลิสไตรีน (PS) ในระดับหองปฏิบัติการ โดยหาสภาวะที่เหมาะสม ไดแ ก อุณหภูมิ และเวลาในการไพโรไลซิสรว มระหวางน้ำมนั เครอื่ งใชแ ลวกบั ขยะพลาสตกิ ผสมในระดับหองปฏิบัติการ เพื่อใหไดน้ำมันดีเซลตามมาตรฐานกรมธุรกิจพลังงาน นำผลในหองปฏิบัติการไปออกแบบและพัฒนาเครื่องปฏิกรณแบบกึ่งกะระดับตนแบบ โรงงานสำหรับกระบวนการไพโรไลซิสรวมระหวางน้ำมันเครื่องใชแลวกับขยะพลาสติก จากหลุมฝงกลบ มีอัตราการปอน 10 กิโลกรัมตอวัน40 มหาวทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธญั บรุ Rajamangala University of Technology Thanyaburi

จดเดนของผลงาน การสรางเครื่องตนแบบในการไพโรไลซิสรวมระหวางน้ำมันเครื่องใชแลวกับขยะพลาสติกผสม หาสัดสวนและสภาวะที่เหมาะสม เพื่อผลิตเชื้อเพลิงทดแทนน้ำมันดีเซลเปน การลดปญ หาขยะพลาสติกสะสมและการนำน้ำมันเครอ่ื งใชแลวมาสรา งมลู คา ใหส ูงขน้ึการนำไปใชประโยชนเชงพาณิชย ปจจุบันกำลังพัฒนาเครื่องตนแบบระดับโรงงาน ซึ่งรองรับวัตถุดิบทั้งน้ำมันเครื่องใชแลวกับขยะพลาสติกผสม จำนวน 200 กิโลกรัมตอวัน โดยเทคโนโลยีดังกลาวนี้สามารถนำไปใชกับโรงงานที่รับกำจัดกากอุตสาหกรรม โรงงานรับซื้อน้ำมันเครื่องใชแลวรวมถึงเทศบาลตางๆ ทำใหสามารถลดปริมาณขยะและไดน้ำมันเชื้อเพลิงคุณภาพดีเทียบเทาน้ำมันดีเซลทรพั ยสนิ ทางปญ ญา อยูระหวางการดำเนนิ การผชู ว ยศาสตราจารย ณฐั ชา เพ็ชรย้มิ 41คณะวิศวกรรมศาสตรมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรีโทรศัพท 02 549 4606 โทรสาร 0 2577 5026E-mail : [email protected]

15 ผลงานวจยั และนวัตกรรมเชงพาณิชย 2560 ชอ่ ผลงาน นวัตกรรม ส่งิ ประดษิ ฐ เคร่องกำจดั ฝุนแบบเปย ก ชนิดแรงดันนำ้ สงู อาจารยเ รวตั ซอ มสชุ บทสรปุ ดา นนวัตกรรม และความสำคัญ “เครื่องกำจัดฝุนแบบเปยกชนิดแรงดันน้ำสูง” เพิ่มประสิทธิภาพการกำจัดฝุน ตอบโจทยโรงงานอุตสาหกรรม ประกอบกับโรงงานและสถานประกอบการแตละแหง จะตองมีอุปกรณปองกันมลภาวะทางอากาศเพื่อใหเปนไปตามขอบังคับของกรมโรงงาน อุตสาหกรรม เมื่อมลภาวะทางอากาศเพิ่มมากขึ้น จึงจำเปนตองใชระบบบำบัดอากาศเสีย เขา มาบำบัด โดยอุปกรณที่เปน ทนี่ ิยมของโรงงานสวนใหญ คือ เคร่อื งดกั จับฝุนดว ยหยดนำ้ ซ่งึ มปี ระสิทธภิ าพในการดกั จบั อนุภาคฝุน ขนาดเลก็ ต่ำ และไมจ ำเพาะเจาะจงทฝี่ ุนประเภท โลหะ42 มหาวทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบุร Rajamangala University of Technology Thanyaburi

จดเดนของผลงาน เครื่องกำจัดฝุนแบบเปยกชนิดแรงดันน้ำสูงนี้ ถูกออกแบบใหมีความสามารถในการดักจับฝุนละอองที่มีขนาดเล็กที่ปนมาในอากาศได โดยใชน้ำเปนตัวดักจับผงฝุนแลวผานไปยังถังหมุนเวียนน้ำ อุปกรณควบคุมการจายปริมาณน้ำลักษณะที่ใหแรงดันที่สูง ระบบดูดอากาศควบคุมดวยอินเวอรเตอร ถังไหลเวียนและแผนดักไอน้ำซึ่งตนทุนในการผลิตเครื่องตนแบบนี้มีราคาอยูประมาณ 60,000 บาท และผลที่ไดจากการทดสอบพบวาเครื่องกำจัดฝุนแบบเปยกชนิดแรงดันน้ำสูง มีประสิทธิภาพในการดักจับผงฝุนขนาดเล็กจากการทดสอบอนุภาคฝุนที่ 3 ไมครอนและที่สูงกวา 10 ไมครอน มีประสิทธิภาพดักจับฝนุ ไดม ากกวา 95 เปอรเซน็ ต ทำใหเ พม่ิ ประสิทธภิ าพในการกำจดั ฝนุ ไดม ากยิ่งขนึ้การนำไปใชป ระโยชนเ ชงพาณชิ ย เครื่องกำจัดฝุนแบบเปยกชนิดแรงดันน้ำสูง ไดผลตอบรับจากโรงงานอุตสาหกรรมหลายแหง เนือ่ งจากเปนประโยชนแ ละตอบโจทยการบำบัดมลภาวะทางอากาศ จึงสามารถนำไปใชไ ดจริงจากโรงงานอุตสาหกรรมในประเทศไทยทรัพยสินทางปญ ญา อยรู ะหวา งการดำเนินการอาจารยเรวัต ซอ มสขุ 43คณะครุศาสตรอุตสาหกรรมมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรีโทรศัพท 0 2549 4755 โทรสาร 0 2577 5049E-mail : [email protected]

16 ผลงานวจัยและนวตั กรรมเชงพาณิชย 2560 ช่อผลงาน นวตั กรรม สิ่งประดษิ ฐ แวน ตานำทาง ผูชวยศาสตราจารย ดร.เดชฤทธ์ิ มณธี รรม บทสรปุ ดานนวตั กรรม และความสำคัญ เนอ่ื งจากโรงพยาบาลพระมงกฎุ เกลา มที หารทไ่ี ดร บั บาดเจบ็ บรเิ วณศรี ษะและใบหนา ในบางรายนอกจากบาดเจบ็ ทางสมองแลวอาจสูญเสยี การมองเห็น ดังนนั้ แวน ตานำทางน้ี จะมีประโยชนในการชวยใหพัฒนาทักษะในดานการเดิน โดยแวนตานำทางนี้จะชวย ในการฝกเดินหลบหลีกสิ่งกีดขวาง ผูปวยทางสายตาไมไดพิการมาแตกำเนิด อุปกรณ แวนตานำทางชวยใหผูปวยไดเดินอำนวยความสะดวกในการดำเนินชีวิตประจำวัน นอกจากนี้ยังสามารถนำไปใชกับผูปวยที่ตาบอดรายอื่นๆ ไดอีกดวย44 มหาวทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุ Rajamangala University of Technology Thanyaburi

จดเดน ของผลงาน PMK Glasses Navigator” แวนตานำทาง ประกอบดวย 2 สวนสำคัญ สวนแรกเปนโครงสราง (Hardware) จะประกอบไปดวยโครงสรางกลองพลาสติกแบบสี่เหลี่ยมไมโครคอนโทรลเลอร ชุดตรวจจับและวดั ระยะทางดว ยคล่นื อัลตรา โซนคิ ชุดบนั ทึกเสียงแบตเตอรี่ ขนาด 9 โวลต สวนที่สองจะเปนซอฟตแวร โดยใชภาษาซีในการเขียนควบคุมการทำงานทง้ั ระบบ หลกั การทำงาน โดยใหผ ปู ว ยสวมแวน ตานำทาง เมอ่ื ผปู ว ยเคลอ่ื นไหวตนเองดวยการเดิน เจอสิ่งกีดขวางคลื่นอัลตราโซนิคจะตรวจจับและวัดสัญญาณสะทอนกลบั มาพรอ มกบั มเี สยี งบอกระยะ เพอ่ื ใหผ ปู ว ยไดย นิ เสยี งและสามารถรบั รถู งึ สง่ิ กดี ขวางดานหนาวาอยูที่ระยะเทาไร จะไดหลบหลีกสิ่งกีดขวางได ซึ่งแวนตานำทางนี้สามารถวดั ระยะไดไกลถงึ 2 เมตร น้ำหนักประมาณ 0.2 กโิ ลกรัม สำหรบั ระยะเวลาในการใชงานข้นึ อยูกบั ผูปวย โดยแบตเตอร่ีขนาด 9 โวลต อยูไ ดประมาณ 2 เดอื นการนำไปใชประโยชนเชงพาณชิ ย ใชสำหรับผปู วยได 2 รปู แบบ คอื ผูปวยทีใ่ ชชีวิตในสังคม ออกนอกพน้ื ท่ีบาน สำหรับผูปวยที่อยูที่บานสามารถเลือกใชกลองนำทางขนาดเล็ก โดยกลองนำทางขนาดเล็กนี้เหมาะสำหรับผูปวยทางสายตาที่อยูที่บานไมตองสวมแวนตา สามารถถือกลองนำทางขนาดเล็กไวดานหนา พรอมกับกดปุมทุกครั้งที่ตองการวัดระยะทาง ทำใหผูปวยสามารถไดยินเสียงและรูระยะทางวามีสิ่งกีดขวางภายในบานได โดยการนำเครื่องมือเขามาชวยจะไดเพิ่มความสะดวกสบายใหกับผูใชมากยิ่งขึ้น สามารถปองกันไมใหตนเองเดินชนลดการเกิดอุบัติเหตุทรัพยส ินทางปญ ญา อยรู ะหวางการดำเนินการผูช ว ยศาสตราจารย ดร.เดชฤทธ์ิ มณีธรรม 45คณะครุศาสตรอุตสาหกรรมมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรีโทรศัพท 0 2549 4755 โทรสาร 0 2577 5049E-mail : [email protected]

17 ผลงานวจยั และนวัตกรรมเชงพาณิชย 2560 ชอ่ ผลงาน นวัตกรรม สิง่ ประดษิ ฐ กังหนั ลมความเรว็ ลมตำ่ ลูกผสมวนดมิล และวนดเทอรไบน ผูช ว ยศาสตราจารย ดร.บณุ ยฤทธ์ิ ประสาทแกว บทสรปุ ดานนวัตกรรม และความสำคญั เปนกังหันลมแกนแนวนอนที่มีลักษณะเปนลูกผสมที่รวมเอาขอดีของ wind-mill และ wind turbine เขาดวยกัน เปนสิ่งประดิษฐใหม ผลการทดสอบพบวาเปนกังหันลม ที่มีประสิทธิภาพสูง และสามารถนำไปใชงานในบริเวณที่มีความเร็วลมต่ำไดเปนอยางดี มีโครงสรางที่แข็งแรงและทนทานกวา ไมเกิดการเสียหายเนื่องจากใบกังหันฟาดเสาเมื่อ เกิดลมพายุ เพราะมีระบบเบรกอัตโนมัติตนทุนต่ำ46 มหาวทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุร Rajamangala University of Technology Thanyaburi

จดเดนของผลงาน สิ่งประดิษฐนี้สามารถแกปญหาไดหลายประการ เชน ปญหาดานพลังงานและสิ่งแวดลอม สามารถใชพลังงานลมบริเวณที่มีความเร็วลมต่ำได มีโครงสรางที่แข็งแรงและทนทานกวา ไมเกิดการแตกหักเนื่องจากการโกงของใบกังหันจนปลายใบกังหันฟาดเสากังหันเมื่อเกิดลมพายุ มีระบบเบรกที่ผลิตงายไมซับซอน ตนทุนต่ำและบำรุงรักษานอ ย เปน ตน กงั หันนส้ี ามารถเริ่มหมนุ งายกวา และสามารถผลติ กำลังงานไดสงู กวาการนำไปใชป ระโยชนเชงพาณิชย สามารถออกแบบและสรา งใหเ ปนกงั หันลมมีประสิทธภิ าพสูงเชิงพาณิชยได โดยทม่ี ีตนทุนการกอสรางต่ำและมีอายุการใชงานสูง สามารถใชวัสดุอุปกรณภายในประเทศไดเหมาะสำหรับใชงานในภาคเกษตรกรรมหรืองานที่ใชความเร็วรอบต่ำ ในบริเวณที่มีความเร็วลมต่ำ เพื่อใชในการผลิตพลังงานกล เชน การสูบน้ำ และโรงสีขาว เปนตนหรือผลิตพลังงานไฟฟาทรพั ยส ินทางปญ ญา คำขอรับสิทธิบัตรเลขที่ 1601007393ผูชวยศาสตราจารย ดร.บณุ ยฤ ทธ์ิ ประสาทแกว 47คณะวิศวกรรมศาสตรมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรีโทรศัพท 0 2549 3563 โทรสาร 0 2577 5026E-mail : [email protected]

18 ผลงานวจยั และนวตั กรรมเชงพาณิชย 2560 ช่อผลงาน นวตั กรรม สง่ิ ประดษิ ฐ อุปกรณผลิตน้ำบรโภคแบบพกพา PORTABLE DRINKING WATER PRODUCTION EQUIPMENT ดร.ธรรมศักด์ิ โรจนวริ ุฬห บทสรปุ ดา นนวตั กรรม และความสำคัญ อปุ กรณผ ลติ นำ้ บรโิ ภคแบบพกพา มปี ระโยชนใ นการผลติ นำ้ จากแหลง นำ้ ดบิ ธรรมชาติ โดยสามารถผลิตน้ำดื่มไดตามมาตรฐานน้ำดื่มขององคกรอนามัยโลก มีหลักการทำงาน 2 ขน้ั ตอน ไดแก 1) ขน้ั ตอนการแยกอนภุ าคแขวนลอยทป่ี นเปอ นในนำ้ ดบิ โดยอาศยั หลกั การกอ ตะกอน ทางเคมี 2) ข้ันตอนการกรองน้ำดวยเยอื่ กรองเมมเบรนและอาศัยแรงดนั จากชดุ สรางแรงดนั48 มหาวทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธญั บรุ Rajamangala University of Technology Thanyaburi


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook