Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ทำเนียบทรัพย์สินทางปัญญา มทร.ธัญบุรี ประจำปี 2562

ทำเนียบทรัพย์สินทางปัญญา มทร.ธัญบุรี ประจำปี 2562

Published by IRD RMUTT, 2020-10-07 04:56:02

Description: ทำเนียบทรัพย์สินทางปัญญา มทร.ธัญบุรี ประจำปี 2562

Search

Read the Text Version

ทำเนียบทรัพยส ินทางปญ ญา มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 2562 RMUTT RMUTT Intellectual Property 2019

ำเนยี บทรัพยส นิ ทางปญ ญา าวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 2562 RMUTT RMUTT Intellectual Property 2019

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุรี Rajamangala University of Technology Thanyaburi

สารจากอธกิ ารบดี

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ไดกำหนดนโยบายทิศทางการวิจัย ท้งั ประเด็นการวิจัยพนื้ ฐานเพ่อื พฒั นาองคความรใู หม และการวิจัยประยุกต จากนโยบาย ดังกลาว มหาวิทยาลัยมีการผลักดันและสนับสนุนงานวิจัยในทุกภาคสวน มีการจัดตั้ง หนวยงานที่ทำหนาที่รับผิดชอบภารกิจดานการวิจัยและการถายทอดเทคโนโลยี และ ดานอื่นๆ อยางครอบคลุม ซึ่งหนวยงานไดดำเนินการตามนโยบายนี้อยางตอเนื่อง การขับเคลื่อนมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรีเขาสูมหาวิทยาลัยแหงนวัตกรรม (Innovation University) ภายใตก รอบแนวคดิ เชงิ นวตั กรรม ดว ยการปลกู ฝง การใชค วามคดิ สรา งสรรคเ พอ่ื พฒั นาหรอื ประดษิ ฐส ง่ิ ใหมๆ ทม่ี คี ณุ คา และมปี ระโยชนต อ สงั คม เศรษฐกจิ สามารถขยายผลในเชิงพาณิชยหรือขายได และมีคุณภาพ เพื่อการนำไปสูการนำไปใช และการถายทอดไดอยางมีประสิทธิภาพ การใชประโยชนจากผลงานวิจัยและนวัตกรรม ทางเศรษฐกิจและสังคม อีกทั้งมุงเนนการพัฒนากำลังคนดานวิทยาศาสตรเทคโนโลยี ใหมีทักษะความชำนาญดานวิชาชีพ เสริมสรางทุนมนุษยที่มีมูลคาเพิ่มใหแกประเทศ พรอมทั้งมุงหมายใหมหาวิทยาลัยเปนองคกรแหงนักปฏิบัติมืออาชีพพชั้นนำดาน วิทยาศาสตรเทคโนโลยีและนวัตกรรมในระดับประเทศและระดับสากล สำหรับเอกสารเผยแพรทำเนียบทรัพยสินทางปญญา ประจำป 2562 ซึ่งจัดทำ ติดตอกันเปนประจำอยางตอเนื่องกวา 4 ป แลว นับเปนอีกภารกิจหนึ่งที่สำคัญ ในการ รวบรวมผลงานอันทรงคุณคาที่ไดรับจดทะเบียนดานทรัพยสินทางปญญาที่เกิดจาก การสรางสรรคของนักวิจัย อาจารย นักศึกษา และบุคลากรของมหาวิทยาลัยฯ เพื่อเปน การเผยแพรและประชาสัมพันธผลงานวิจัยและนวัตกรรมของมหาวิทยาลัยฯ สูภาค อุตสาหกรรมเปาหมาย หนวยงานทั้งภาครัฐและเอกชนที่มีความสนใจ อีกทั้งเพื่อเปนการ ผลักดันใหเกิดงานวิจัย สิ่งประดิษฐ นวัตกรรม และงานสรางสรรคที่มีศักยภาพ สามารถ นำไปใชประโยชนในเชิงพาณิชยไดอยางเปนรูปธรรมและนำผลงานไปใชประโยชนตอไป รวมถึงเปนแนวทางในการพัฒนาและสรางความเปนเลิศทางดานทรัพยสินทางปญญา สืบไป (ผูชว ยศาสตราจารย ดร.สมหมาย ผิวสอาด) รักษาราชการแทน อธกิ ารบดมี หาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธญั บรุ ี

สารจากรองอธกิ ารบดี

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี มีนโยบายการผลิตบัณฑิตนักปฏิบัติ มืออาชีพทางดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีเพื่อตอบสนองตอภาคอุตสาหกรรม ซงึ่ เปนภาคสวนทม่ี ีความสำคญั ตอการพฒั นาประเทศและสามารถพ่ึงพาตนเองได อกี ทงั้ มหาวทิ ยาลัยไดเลง็ เหน็ ความสำคญั ของการพฒั นางานวจิ ัยและนวตั กรรม จงึ มีการกำหนด พันธกิจในการสรางงานวิจัย สิ่งประดิษฐ นวัตกรรม และงานสรางสรรค เพื่อการนำไปใช ประโยชนในภาคอุตสาหกรรมเปาหมายและเชิงพาณิชย ตลอดจนการถายทอดเทคโนโลยี เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันของประเทศและมีมาตรการในการสงเสริม การเผยแพรงานวิจัยและนวัตกรรม สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลธญั บุรี เปนหนว ยงานกลางในการประสานและบริหารงานวจิ ยั ของมหาวทิ ยาลยั ฯ ไดเล็งเห็นความสำคัญของการประชาสัมพันธและเผยแพรผลงานวิจัย สิ่งประดิษฐ นวัตกรรม ของมหาวิทยาลัยฯ ซึ่งถือเปนเครื่องมือในการสงเสริมและขยายผลการนำ ผลงานวิจัยไปใชประโยชนในเชิงพาณิชยใหเปนรูปธรรมมากยิ่งขึ้น และมีการเผยแพร ผลงานที่เปนทรัพยสินทางปญญา จึงเห็นควรใหมีการรวบรวมและจัดทำเลมเอกสาร เพื่อการเผยแพรผลงานวิจัยเชิงพาณิชย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ในรูปแบบของเลมเอกสารเผยแพรและไฟลหนังสืออิเลคทรอนิกส (e-Book) ดิฉันหวังวาเลมทำเนียบทรัพยสินทางปญญา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ธัญบุรี ประจำป 2562 จะเปนชองทางหนึ่งในการผลักดัน สงเสริม สนับสนุน เผยแพร และประชาสมั พนั ธผ ลงานวจิ ยั สง่ิ ประดษิ ฐ และนวตั กรรมของมหาวทิ ยาลยั ฯ ไปยงั กลมุ ที่มีความพรอมในการขอรับการถายทอดเทคโนโลยีออกสูภาคธุรกิจเชิงพาณิชย ภาครัฐ และภาคเอกชนทม่ี คี วามสนใจ ตลอดจนเปน การประชาสมั พนั ธเ ชงิ รกุ โดยมหี นว ยจดั การ ทรัพยสินทางปญญาและถายทอดเทคโนโลยี สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัย เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบุรี ทำหนา ท่ีรับผิดชอบในการบริหารจัดการทรพั ยส นิ ทางปญ ญา ของมหาวิทยาลัยฯ และผลักดันทรัพยสินทางปญญาของมหาวิทยาลัยฯ ออกสูการใช ประโยชนเ ชงิ พาณิชย (ผชู ว ยศาสตราจารย ดร. สิริแข พงษส วสั ด)ิ์ รองอธิการบดมี หาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธญั บุรี

บทสรปุ ผูบรหิ าร

ทรัพยสินทางปญญา (Intellectual Property) จัดวาเปนทรัพยสินที่มีความสำคัญตอ การดำเนินการธุรกิจเทคโนโลยีและธุรกิจที่ตองอาศัยผลงานนวัตกรรมในการสรางมูลคาเพิ่ม ทางธุรกิจเปนอยางมาก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรีมีทรัพยสินทางปญญา ทเี่ กดิ จากการวจิ ัยและประดษิ ฐคิดคนอยเู ปนจำนวนมาก ไมวา จะอยใู นรปู แบบของสิทธบิ ัตร อนุสทิ ธบิ ตั ร และทรัพยส นิ ทางปญญาอ่ืนๆ ซึง่ ทางมหาวิทยาลัยไดใหค วามสำคัญกับการนำ ทรัพยสินทางปญญาไปใชประโยชนมากขึ้น ทั้งในสวนของการใชประโยชนจากผลงานวิจัย ที่ไมกอใหเกิดรายไดและแบบที่กอใหเกิดรายได หรือที่เรียกวาการนำไปใชประโยชนใน เชงิ พาณชิ ยท ำเนยี บทรพั ยส นิ ทางปญ ญา มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ ี ประจำป 2562 เปน เอกสารเผยแพรใ นรปู แบบของเลม เอกสารและไฟลห นงั สอื อเิ ลคทรอนกิ ส (e-Book) ทส่ี ถาบนั วจิ ยั และพฒั นา มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ ี ไดด ำเนนิ การรวบรวมจาก ผลงานวิจัย สิ่งประดิษฐ นวัตกรรมและงานสรางสรรคของมหาวิทยาลัยฯ เพื่อชวยในการ สงเสริมและสนับสนุนการนำผลงานวิจัยไปใชประโยชนในเชิงพาณิชยใหเปนรูปธรรมมาก ยิ่งขึ้น รวบรวมผลงานวิจัย นวัตกรรม และงานสรางสรรคที่ไดรับการจดทะเบียนคุมครอง จากกรมทรัพยส นิ ทางปญ ญาประเภทสทิ ธิบัตรและอนุสทิ ธิบัตร ในระหวางป 2555 - 2562 รวมทัง้ สนิ้ จำนวน 114 ผลงาน ดงั น้ี ผลงานทรัพยส นิ ทางปญญา ประจำป พ.ศ. 2555 มจี ำนวน 8 เรื่อง ผลงานทรพั ยส นิ ทางปญญา ประจำป พ.ศ. 2556 มจี ำนวน 2 เรอ่ื ง ผลงานทรัพยสินทางปญญา ประจำป พ.ศ. 2557 มจี ำนวน 1 เรอื่ ง ผลงานทรพั ยสินทางปญ ญา ประจำป พ.ศ. 2558 มจี ำนวน 12 เรื่อง ผลงานทรัพยสนิ ทางปญ ญา ประจำป พ.ศ. 2559 มจี ำนวน 25 เรื่อง ผลงานทรพั ยสนิ ทางปญ ญา ประจำป พ.ศ. 2560 มจี ำนวน 9 เรื่อง ผลงานทรัพยสนิ ทางปญญา ประจำป พ.ศ. 2561 มีจำนวน 28 เรือ่ ง ผลงานทรพั ยส ินทางปญ ญา ประจำป พ.ศ. 2562 มจี ำนวน 29 เรอ่ื ง ดิฉนั ในนามคณะผูจัดทำ ขอแสดงความยินดีกบั นกั วจิ ยั ทกุ ทา นทีไ่ ดร บั การจดทะเบียน คุมครองจากกรมทรัพยสินทางปญญา ขอขอบคุณและขอชื่นชมในความวิริยะอุตสาหะของ นักวิจัย บุคลากร และนักศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรีทุกทานที่สามารถ สรางสรรคผลงานวิจัย สิ่งประดิษฐ และนวัตกรรม ใหเปนที่ยอมรับและแสดงใหเห็นถึง ศักยภาพดานทรัพยสินทางปญญาของมหาวิทยาลัยฯ สามารถเผยแพรและประชาสัมพันธ ไปยังกลุมทมี่ คี วามพรอมในการขอรบั การถา ยทอดเทคโนโลยที มี่ ีความสนใจตอไป (ผชู วยศาสตราจารย ดร.วารุณี อริยวริ ยิ ะนนั ท) ผอู ำนวยการสถาบันวจิ ัยและพฒั นา มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ ี

สารบญั ความรทู ัว่ ไปดา นทรัพยส ินทางปญญา หนา 1 ทรัพยส ินทางปญญา ประจำป พ.ศ. 2555 5 6 1. เครื่องอัดชน้ิ งานเซรามกิ สทม่ี ีการควบคมุ การทำงานดว ยไมโครคอนโทรลเลอร 7 2. เคร่ืองดดั โลหะขับเคลือ่ นโดยชดุ เฟองสะพานขบกับเฟอ งตรงควบคุมดว ยระบบ 8 9 ไฮดรอลกิ 10 3. ชดุ ยกและเคลื่อนยา ยผปู ว ย ควบคุมดว ยรีโมทคอนโทรล 11 4. เคก ขาวกลองนง่ึ 12 5. เครื่องผสมน้ำเคลอื บ ควบคมุ ดวยไมโครคอนโทรลเลอร 6. อุปกรณเสรมิ เหล็กพยุงขาสำหรับชวยการเดินของผพู ิการ 7. รถเข็นคนพกิ ารแบบขบั ถายระบบไฟฟา ควบคุมดว ยไมโครคอนโทรลเลอร 8. เครอื่ งจับชนิ้ ทดสอบนำ้ เคลือบ ควบคุมดวยไมโครคอนโทรลเลอร ทรพั ยส นิ ทางปญญา ประจำป พ.ศ. 2556 14 15 9. กรรมวธิ กี ารผลติ ตะขบอบแหง 10. กอ นดนิ ทม่ี สี ว นผสมของน้ำยางธรรมชาตแิ ละกระบวนการผลิต ทรพั ยส นิ ทางปญ ญา ประจำป พ.ศ. 2557 17 11. สตู รผสมของวุนผลไมและกรรมวธิ กี ารผลติ ทรัพยสินทางปญ ญา ประจำป พ.ศ. 2558 19 20 12. ผลิตภัณฑเ กลอื สปาทม่ี ใี บสะเดาแหงบดเปน วัสดุขดั ผวิ 21 13. หมอ นึ่งลูกประคบสมนุ ไพรไทยแบบหยบิ จบั งาย 22 14. กรรมวธิ ีการผลติ บล็อกประสานจากเศษหินบะซอลต 23 15. บล็อกปูพืน้ ระบายน้ำชนิดควบคุมทิศทางการไหล 24 16. เคก ขาวธัญพืช 25 17. การใชน ้ำยางธรรมชาติในงานเขียนผา บาติก 26 18. แบบพับกลอง 27 19. แบบพบั กลอง 28 20. กรรมวิธีในการผลิตกา นบัวแหง 29 21. เครอ่ื งใหบ ริการกระจายสัญญาณอินเตอรเน็ตแบบหยอดเหรียญ 30 22. กรรมวธิ กี ารผลิตบลอ กปพู ้นื จากเศษหนิ บะซอลต 23. กรรมวิธีการผลิตคอนกรตี ท่ีมีเศษหนิ บะซอลตเปน มวลรวม

หนา ทรัพยส นิ ทางปญญา ประจำป พ.ศ. 2559 24. กระเบอ้ื งหลงั คา 32 25. ลวดลายผา 33 26. ลวดลายผา 34 27. ลวดลายผา 35 28. ลวดลายผา 36 29. ลวดลายผา 37 30. ลวดลายผา 38 31. ลวดลายผา 39 32. ลวดลายผา 40 33. ลวดลายผา 41 34. กรรมวธิ ีการผลติ ผักแผนทีม่ ีแคลเซียมสูง 42 35. กรรมวธิ ีการเตรียมวสั ดนุ าโนจากแรแ ม็กเนติกลโู คซีน เพื่อใชเปนวสั ดุลดทอน 43 และปองกันรังสเี อก็ ซ (X-ray) 36. กรรมวิธกี ารเตรียมแผน บางขนาดนาโนจากแรอลิ เมไนท เพ่ือใชใ นการการขจดั สี 44 ในสียอ มนำ้ เสียจากสง่ิ ทอ 37. กรรมวิธกี ารเตรียมแผนบางขนาดนาโนจากแรแมก็ เนตกิ ลโู คซีน เพอื่ ใชเ ปน ตัวเรง 45 ปฏกิ ริ ยิ าโดยใชแสง 38. โคมไฟ 46 39. อุปกรณเพือ่ การชมทศั นียภาพใตนำ้ สำหรบั การดำน้ำตนื้ 47 40. ปุย อนิ ทรยี จ ากข้ีแดดนาเกลอื โดยใชจุลนิ ทรียเ ปนตวั เรง 48 41. กรรมวธิ ีการเตรียมกลองช้นิ งานกลวงจากวัสดผุ สมพลาสตกิ รไี ซเคลิ พอลเิ อทลิ นี 49 ความหนาแนนสูงและกากกาแฟโดยวธิ ีการขึน้ รูปแบบหมนุ 42. ชดุ อุปกรณผลิตกระแสไฟฟา จากการเคลือ่ นท่ขี องลฟิ ต 50 43. กระเบ้อื งหลังคา 51 44. กรรมวิธีการผลิตกะหร่ปี ป จากแปง ขาวสาลีผสมแปงขา วเจาท่ีใหพลงั งานต่ำ 52 45. กรรมวธิ ีการผลติ แยมนำ้ ผ้ึงจากนำ้ ผ้งึ ทานตะวัน 53 46. กรรมวธิ ีการผลติ วุน เสน แกน ตะวนั 54 47. กระเบอ้ื งหลังคา 55 48. เคร่อื งวัดคาการยุบตวั ของผิวทางแบบก่งึ อตั โนมตั ิ 56 ทรพั ยส ินทางปญญา ประจำป พ.ศ. 2560 49. กรรมวธิ กี ารผลติ เสนดา ยจากเสน ใยผักตบชวา 58 50. กรรมวธิ ีการผลิตไอศกรมี นม จากตน ออ นขาวพันธหุ อมมะลสิ ตู รปราศจากน้ำตาล 59 51. เข็มกลดั 60 52. กรรมวิธีการผลิตผลติ ภัณฑข าวไรซเบอรรีเ่ พาะงอกพรอมบริโภค 61 53. ชุดกระโปรง 62 54. ชุดกระโปรง 63

หนา 55. ชุดกระโปรง 64 56. กรรมวธิ ีผลิตเสน ดา ยจากเสน ใยมะพราวออ น 65 57. กรรมวิธกี ารเตรียมแผน ดดู ซบั คลืน่ แมเ หล็กไฟฟาโดยใชว สั ดุรีไซเคลิ ขวดพอลเิ อทลิ นี 66 ชนิดความหนาแนน สงู และวสั ดนุ าโนหรอื ไมโครจากแรร ูไทล ทรพั ยส นิ ทางปญ ญา ประจำป พ.ศ. 2561 58. แบบพับกลอง 68 59. กระปุก 69 60. แบบพบั กลอ ง 70 61. พวงกุญแจ 71 62. พวงกุญแจ 72 63. พวงกญุ แจ 73 64. พวงกุญแจ 74 65. พวงกญุ แจ 75 66. พวงกญุ แจ 76 67. พวงกญุ แจ 77 68. พวงกญุ แจ 78 69. พวงกญุ แจ 79 70. พวงกญุ แจ 80 71. พวงกุญแจ 81 72. กรรมวิธีการเตรียมแคลเซียมคารบอเนตจากเปลือกหอยเชอรี่เพื่อใชเปน 82 สารเตมิ แตงในพอลิเมอร 73. กรรมวิธีการผลิตแผนผนังดินอัดสำเร็จรูปที่ตานทานการชะลางชนิดมีรูทะลุ 83 ถงึ กนั สองดา น 74. กรรมวิธีการผลติ เตา หแู ขง็ จากเมลด็ ฟกทอง 84 75. ลวดลายผา 85 76. ลวดลายผา 86 77. ลวดลายผา 87 78. ลวดลายผา 88 79. ลวดลายผา 89 80. หนุ ยนตส ำหรบั ตรวจวดั และปรับสภาพดินอัตโนมัติ 90 81. เครือ่ งแกะเปลอื กเมล็ดบัวหลวง 91 82. กรรมวิธกี ารสกดั พลาสติกชีวภาพชนิดโพลไี ฮดรอกซอี ัลคาโนเอตจากแบคทีเรยี 92 ดว ยซลิ กิ าเจล 83. สูตรผลิตภัณฑเม็ดสอดชองคลอดจากสารสกัดกระเทียมและขา และกรรมวิธี 93 การผลติ 84. สูตรน้ำตรีผลานานาผลไม และกรรมวธิ กี ารผลิต 94 85. ระบบฉดี พน สารเคมีแบบแปรผันอัตราไดรว มกบั เทคนิคการประมวลผลถายภาพ 95 สำหรับแปลงปลกู มะพราวทีเ่ กดิ โรค

หนา ทรพั ยสินทางปญ ญา ประจำป พ.ศ. 2562 86. สตู รและกรรมวธิ กี ารผลิตลอดชองสงิ คโปรผสมงาดำ 97 87. แผน ฟล มยึดตดิ เย่อื บเุ มือกจากสารสกดั ใบพญายอ และกรรมวธิ กี ารผลติ 98 88. สูตรผลิตภณั ฑบ ราวนแ่ี ปง ขาวเหนียวดำ และกรรมวธิ กี ารผลติ 99 89. กรรมวธิ ีการสกดั สารสกัดจากเงาะสชี มพสู ำหรบั ใชเ ปน สว นผสมในผลติ ภณั ฑยา 100 เครื่องสำอาง และเสรมิ อาหาร 90. แผนรองเซน็ ชอื่ สำหรบั ผบู กพรองทางการเห็น 101 91. อุปกรณดกั จ้งิ จก 102 92. ปุยน้ำหมกั ชวี ภาพจากขแ้ี ดดนาเกลือ โดยใชจ ลุ นิ ทรยี เ ปนตวั เรง 103 93. ระบบการอบแหงโดยใชพ ลงั งานแสงอาทติ ยรว มกับแกสชวี ภาพ 104 94. อปุ กรณระบายความรอ นของคอยลรอนโดยใชนำ้ ท่ีกล่ันจากกระบวนการ 105 ควบแนนทีค่ อยลเ ยน็ 95. เครอ่ื งฉีกเสน หมฝู อย 106 96. เครือ่ งตัดใบบวั หลวง 107 97. รังเลย้ี งชนั โรง กลุม ขนาดเลก็ เพอ่ื การผลิตนำ้ ผึง้ เชงิ พาณิชย 108 98. สูตรการผลิตไมอัดจากตำแยแมวและกรรมวิธกี ารผลิต 109 99. กลองจดหมายแจง เตือนอตั โนมัติ 110 100. สตู รผลิตภัณฑเ ครปเคก แปง ขาวไรซเ บอรร่ี และกรรมวิธกี ารผลิต 111 101. ระบบตรวจสอบโรคกลว ยไมแบบควบคุมระยะไกลรวมกับเทคนิคประมวลผล 112 ภาพถา ยเพ่อื ควบคมุ การใหส ารเคมแี บบแมน ยำสำหรบั โรงเรอื นมาตรฐาน 102. แบบพับกลอง 113 103. เครอ่ื งกรองน้ำ 114 104. เครอื่ งกรีดและขูดไสก ก 115 105. พวงกญุ แจ 116 106. ลวดลายผา 117 107. ลวดลายผา 118 108. ลวดลายผา 119 109. ลวดลายผา 120 110. ลวดลายผา 121 111. เสื้อ 122 112. เสอ้ื 123 113. เส้ือ 124 114. เตาเผาเชือ้ เพลงิ แขง็ แบบใชวัสดพุ รนุ และมีการสลับทศิ ทางการไหลของแกส 125 เปน จงั หวะ

ทรพั ยส ินทางปญ ญา Intellectual Property

ทรัพยสนิ ทางปญ ญา ทรพั ยส นิ ทางปญ ญา หมายถงึ ผลงานอนั เกดิ จากประดษิ ฐ คดิ คน หรือสรางสรรคของมนุษย ซึ่งเนนที่ผลผลิตของสติปญญาและความ ชำนาญ โดยไมจำกัดชนิดของการสรางสรรคหรือวิธีในการแสดงออก ทรัพยสินทางปญญาอาจแสดงออกในรูปแบบของสิ่งที่จับตองได เชน สินคาตางๆ หรือในรูปแบบของสิ่งที่จับตองไมได เชน บริการแนวคิด ในการดำเนินธุรกิจ กรรมวิธีการผลิตทางอุตสาหกรรม เปนตน ประเภทของทรพั ยส ินทางปญ ญา ทรัพยสินทางปญญาแบงออกเปน 2 ประเภท ตามหลักสากล ไดแก ทรัพยสินทาง ปญญาทางอุตสาหกรรม และลิขสิทธิ์ ทรัพยส นิ ทางปญญาทางอตุ สาหกรรม (Industrial Property) หมายถึง ความคิดสรางสรรคของมนุษยที่เกี่ยวกับสินคาอุตสาหกรรมตางๆ ซึ่งอาจ เปนความคิดในการประดิษฐคิดคน เชน กระบวนการหรือเทคนิคในการผลิตที่ได ปรับปรุงหรือคิดคนขึ้นใหม หรือการออกแบบผลิตภัณฑทางอุตสาหกรรมที่เปน องคประกอบและรูปรางของตัวผลิตภัณฑ เปนตน จึงสามารถแบงออกไดดังนี้ • สิทธิบัตร (Patent) o สิทธิบัตรการประดิษฐ (Invention Patent)/ อนุสิทธิบัตร (Petty Patent) o สิทธิบัตรการออกแบบผลิตภัณฑ (Design Patent) • แบบผังภูมิของวงจรรวม (Layout-design of Integrated Circuits) • เครื่องหมายการคา (Trademark) • ความลับทางการคา (Trade Secret) • สิ่งบงชี้ทางภูมิศาสตร (Geographical indications) ลิขสิทธ์ิ (Copyright) หมายถงึ สทิ ธแิ ตเ พยี งผเู ดยี วของผสู รา งสรรคท จ่ี ะกระทำการใดๆ กบั งานทผ่ี สู รา งสรรค ไดทำขึ้น โดยประเภทของงานอันมีลิขสิทธิ์ที่กฏหมายกำหนดไว ไดแก งานวรรณกรรม นาฎกรรม ศิลปกรรม ดนตรีกรรม โสตทัศนวัสดุ ภาพยนต สิ่งบันทึกเสียง งานแพรเสียง แพรภาพ หรอื งานอ่นื ใดในแผนกวรรณคดี แผนกวทิ ยาศาสตร หรอื แผนกศลิ ปะ ไมว า งาน ดงั กลาวจะแสดงออกโดยวิธีหรือรปู แบบอยางใด การคุม ครองลขิ สิทธไ์ิ มครอบคลุมถงึ ความคดิ ข้ันตอน กรรมวธิ ี ระบบวิธีใชหรอื วิธี ทำงาน แนวความคิด หลักการ การคน พบ หรือทฤษฎีทางวทิ ยาศาสตรหรอื คณติ ศาสตร ทำเนยี บทรัพยสินทางปญ ญา 1 มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธญั บรุ ี 2562

แผนภมู ิทรพั ยสนิ ทางปญญา สิทธบิ ตั รการออกแบบผลิตภัณฑ สทิ ธิบัตรการประดษิ ฐ อนสุ ิทธิบัตร Design Patent Invention Patent Petty Patent สPทิ aธtิบenัตtร แบบผังภมู ขิ องวงจรรวม InLtaeygoruatteDdeCsigircnuoitfs Cสoขิpสyrิทigธhิ์ t ทรพั ยสนิ เคร่ือTงraหdมeาmยaกrาkรคา ทางปญญา Intellectual Property ควาTมraลdับeทSาeงcกrาeรtคา Geสogิ่งบraง pชhท้ี icาaงlภInมู dศิ iaาcสaตtiรo ns การใหค วามคุมครองพันธุพ ืชใหม Protection of New Varieties of Plant *อยภู การยะใทตรก วางรกดาูแรลเกขอษงตกรรแมลวะชิสาหกการรณเก ษตร เครอ่ื งหมายการคา เครื่องหมายบรกิ าร เคร่อื งหมายรบั รอง เครือ่ งหมายรว ม Trademark Service Mark Certification Mark Collective Mark (ท่มี า : ความรเู บ้อื งตน ดา นทรพั ยสนิ ทางปญ ญา กรมทรพั ยสนิ ทางปญญา กระทรวงพาณชิ ย, 2558) 2 RInMteUlleTcTtual Property 2019

ความหมายของทรพั ยสนิ ทางปญญาประเภทสทิ ธบิ ตั ร (Patent) เปน การคมุ ครองการคดิ คน สรา งสรรคท เ่ี กย่ี วกบั การประดษิ ฐ (Invention) หรือการออกแบบผลิตภัณฑ (Industrial Design) ทมี่ ีลกั ษณะตามทีก่ ฏหมาย กำหนด ซึ่งจำแนกไดเปน สิทธิบัตรการประดิษฐ อนุสิทธิบัตร และสิทธิบัตร การออกแบบผลิตภัณฑ สทิ ธิบตั รการประดิษฐ (Invention Patent) หมายถงึ การใหค วามคุมครอง การคิดคนเก่ียวกับลักษณะองคประกอบ โครงสราง หรือกลไกของผลิตภัณฑ รวมทั้งกรรมวิธีในการผลิต การ เก็บรักษา หรอื การปรบั ปรุงคณุ ภาพของผลิตภัณฑ อนสุ ิทธิบตั ร (Petty Patent) หมายถึง การใหการคุมครองการประดิษฐจากความคิดสรางสรรค ทมี่ ีระดับการพัฒนาเทคโนโลยีไมสูงมาก โดยอาจเปนการประดิษฐ คดิ คน ขน้ึ ใหมห รือปรบั ปรุงจากการประดษิ ฐท ่ีมีอยกู อนเพียงเลก็ นอย สทิ ธิบตั รการออกแบบผลติ ภณั ฑ (Design Patent) หมายถึง การใหความคุมครองความคิดสรางสรรคที่เกี่ยวกับรูปราง และลักษณะภายนอกของผลิตภัณฑ องคประกอบของลวดลายหรือ สขี องผลติ ภณั ฑ ซง่ึ สามารถใชเ ปน แบบสำหรบั ผลติ ภณั ฑอ ตุ สาหกรรม รวมทั้งหัตถกรรมได และแตกตางไปจากเดิม ผูทรงสิทธิบัตรหรือ อนุสิทธิบัตรมีสิทธิเด็ดขาด (ที่มา : ความรูเ บือ้ งตน ดานทรัพยสนิ ทางปญ ญา กรมทรัพยส ินทางปญญา กระทรวงพาณชิ ย, 2558) ทำเนยี บทรพั ยส ินทางปญ ญา 3 มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ ี 2562

ทำเนยี บทรพั ยสินทางปญ ญา 2555 ประจำป พ.ศ.

7486อนุสทิ ธบิ ัตร เลขท่ี เครอ่ื งอัดชน้ิ งานเซรามกิ ส ท่ีมีการควบคมุ การทำงานดวยไมโครคอนโทรลเลอร วันท่จี ดทะเบยี น : 21 กันยายน 2555 ชือ่ ผูประดิษฐ : ผูชว ยศาสตราจารย ดร.เบญจลักษณ เมอื งมีศรี สังกดั : คณะศิลปกรรมศาสตร รายละเอียดผลงาน การประดษิ ฐน จ้ี ะทำใหส ามารถอดั ชน้ิ งานเซรามกิ สที่มลี กั ษณะแบบเรยี บ ไมวาจะ เปนทรงกลม ทรงสามเหลี่ยม หรือทรงสี่เหลี่ยม สามารถกำหนดความหนาแนน ของชนิ้ งานไดจ ากการกำหนดความดันตงั้ แต 30, 40, 50, 60 บาร ดวยระบบไฟฟา ซึ่งจะสงผลใหการนำชิ้นงานไปใชในการเคลือบมีมาตรฐานในการบันทึกผลการ ทดลอง การประดษิ ฐเ ครอ่ื งอดั ชน้ิ งานเซรามกิ สน ้ี มลี กั ษณะของการทำงานทค่ี วบคมุ ดวยไมโครคอนโทรลเลอร ซึ่งเปนโปรแกรมการสั่งงานดวยไมโครคอนโทรลเลอร ตัวโครงสรางเครื่องอัดชิ้นงานมีลักษณะเปนระบบไฮดรอลิกส การทำงานของระบบ กำหนดใหมคี วามเร็วการเคลอ่ื นท่ี 2 ระดับ กอนถึงการอัดชิ้นงาน และสามารถปรับความดันของ แรงดันขณะกดอัดชิ้นทดสอบ ไดตามความตองการของผูใช เพื่อใหเกิดการแนนของเนื้อดิน ที่ใชในการกดอัด ทำเนยี บทรพั ยสินทางปญ ญา 5 มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุรี 2562

อนสุ ทิ ธิบตั ร 7565เลขท่ี เครื่องดดั โลหะขับเคลือ่ นโดยชุดเฟอ งสะพานขบ กับเฟองตรงควบคุมดว ยระบบไฮดรอลิก วนั ทจี่ ดทะเบียน : 26 ตุลาคม 2555 ชื่อผูป ระดิษฐ : นายศริ ชิ ัย ตอ สกุล สังกดั : คณะวศิ วกรรมศาสตร รายละเอยี ดผลงาน เครื่องดัดโลหะขับเคลื่อนโดยชุดเฟองสะพานขบกับเฟองตรงควบคุมดวยระบบ ไฮดรอลิก เปนเครื่องที่สามารถทำการดัดโลหะที่มีรูปทรงกลมและโลหะแผน โดยใชแมพิมพมัลติฟงกชัน ที่สามารถถอดเปลี่ยนได ตามลักษณะชิ้นงานที่ ตอ งการดัด โดยมีแขนดดั ทีส่ ามารถปรบั ระยะเขา-ออก ของกระบอกสบู ไฮดรอลิก ขบั เคลอ่ื นชดุ เฟอ งตรงทข่ี บกบั เฟอ งสะพาน สามารถหมนุ ดดั ทำมมุ ในการดดั สงู สดุ 90 ดวยใชสวิตซกด 2 ระบบพรอมกัน คือ กดดวยมือและเทาเหยียบเพื่อความ ปลอดภัยในการทำงาน 6 RInMteUlleTcTtual Property 2019

7566อนสุ ิทธเบิลขตั ทรี่ ชุดยกและเคล่อื นยายผูปวย ควบคุมดวยรโี มทคอนโทรล วนั ที่จดทะเบยี น : 26 ตลุ าคม 2555 ช่อื ผูประดษิ ฐ : ดร.เดชฤทธิ์ มณีธรรม, ผศ.นพ.นิยม ละออปก ษิณ สังกดั : คณะครศุ าสตรอตุ สาหกรรม, ศนู ยก ารแพทย สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี รายละเอียดผลงาน แนวคิดขางตนทำใหมองเห็นถึงปญหาที่เกิดขึ้น อันเนื่องมาจากการชวยเหลือ ผูปวยใหสามารถเคลื่อนที่หรือขับถายไดโดยสะดวก ซึ่งจากเดิมการชวยเหลือ ของญาติจะใชการอุม หรือการยกซึ่งอาจจะทำใหผูปวยกระทบกระเทือนจาก การใชวิธีการที่ไมถูกวิธี และเพื่อใหผูปวยไดเคลื่อนที่หรือขับถายโดยไมเปนภาระ กบั ญาตหิ รอื ผชู ว ย การใชช ดุ ยกและเคลอ่ื นยา ยผปู ว ย ควบคมุ ดว ยรโี มทคอนโทรล ซึ่งสามารถเคลื่อนยายผูปวยเพื่อนำไปขับถายทั้งรูปแบบอุจจาระ และปสสาวะ ดังนั้นจึงไดนำเทคโนโลยีเพื่อการชวยเหลือรูปแบบใหมในการชวยเหลือผูปวย คือ นำเอาไมโครคอนโทรลเลอร มาควบคุมการยกและเคลื่อนยาย ผปู ว ย โดยเฉพาะผทู ีป่ ระสบปญ หา การเคลื่อนไหว ตลอดจนผูที่มี นำ้ หนกั มากไมส ามารถเคลอ่ื นทไ่ี ด การพัฒนาชุดยกและเคลื่อนยาย และควบคุมดวยรีโมทคอนโทรล ซึ่งการประดิษฐงานชุดนี้สามารถ ทำใหผปู วยลดการกระทบกระเทอื น และสงผลถึงการบาดเจ็บรางกาย และบาดแผล ตลอดจนทำใหผูปวย มีสขุ ภาพจิตดีขนึ้ และญาติไมเ หน่อื ย อีกดวย ทำเนยี บทรพั ยส ินทางปญญา 7 มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธัญบรุ ี 2562

7567อนุสิทธเิบลขตั ทร่ี เคก ขา วกลอ งน่ึง วันทีจ่ ดทะเบียน : 26 ตุลาคม 2555 ช่ือผูประดษิ ฐ : นางสาวเดอื นเตม็ ทิมายงค, ผูชวยศาสตราจารยส วิ ลี ไทยถาวร สงั กัด : คณะเทคโนโลยคี หกรรมศาสตร รายละเอยี ดผลงาน เคกขาวกลองนึ่ง ประกอบดวย แปงสาลี ขาวกลอง น้ำตาล หัวกะทิ น้ำ ยีสต ไข และเกลือ เนื้อขนมมีลักษณะนุมฟู และมีความหนึบจากกากใยของขาวกลอง 8 IRnMteUlleTcTtual Property 2019

7619อนสุ ทิ ธเบิลขตั ทรี่ เคร่อื งผสมน้ำเคลอื บ ควบคมุ ดวยไมโครคอนโทรลเลอร วนั ท่ีจดทะเบยี น : 19 พฤศจิกายน 2555 ช่ือผปู ระดิษฐ : ผชู ว ยศาสตราจารย ดร.เบญจลกั ษณ เมืองมีศรี สงั กดั : คณะศลิ ปกรรมศาสตร รายละเอียดผลงาน เครื่องผสมน้ำเคลือบนี้มีลักษณะที่เปนเครื่องที่ปนหมุนใหน้ำเคลือบผสมกัน ในอัตราสวนที่ทำการทดลอง โดยมีอุปกรณควบคุมการเคลื่อนที่ดวยกดปุมสวิตซ หลงั จากนัน้ จะสง สัญญาณอนิ พทุ ไปทีไ่ มโครคอนโทรลเลอร เพือ่ ทำการประมวลผล และสงสัญญาณเอาตพุทไปยังอุปกรณควบคุมความเร็วมอเตอร โดยระบบการ ขับเคลอื่ นจะมที ัง้ แนวดิง่ และแนวราบ สำหรับการเคล่อื นท่จี ะเปนแบบ 2 แกน คอื แกนแซดและแกนวาย โดยจะทำงาน อสิ ระตอ กนั ในการเคลือ่ นที่ ซ่ึงเครื่อง ผสมน้ำเคลือบ ควบคุมดวยไมโคร คอนโทรลเลอร จะถูกออกแบบให เหมาะสมสำหรับการเคลือบน้ำยา ปริมาณนอย ลดขั้นตอนการทำงาน เคลื่อนยายสะดวกและสามารถปรับ ความเร็วของมอเตอรในขณะทำงาน ไดดวย ทำเนียบทรัพยสนิ ทางปญญา 9 มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธญั บุรี 2562

7695อนสุ ทิ ธเิบลขัตทร่ี อุปกรณเ สริมเหล็กพยงุ ขาสำหรบั ชวยการเดนิ ของผพู กิ าร วันทจ่ี ดทะเบยี น : 24 ธันวาคม 2555 ช่อื ผปู ระดษิ ฐ : ดร.เดชฤทธิ์ มณีธรรม สังกดั : คณะครุศาสตรอ ุสาหกรรม รายละเอยี ดผลงาน การประดิษฐอุปกรณเสริมเหล็กพยุงขา สำหรับชวยการใชเหล็กพยุงขา ใหการเดิน ของผูพิการสะดวกขึ้น จะเปนเหล็กพยุงขา ทมี่ ีใชอยแู ลว โดยอุปกรณเ สริมเหล็กพยุงขา นี้จะประกอบไปดวย 2 สวน คือ เบาสวม รองรบั สปรงิ และสปรงิ โดยสปรงิ จะมจี ำนวน ขด 4 ขด พับรอบนอกของเบาสวมรองรับ สปริง ทำใหสามารถพาอุปกรณพยุงปลาย เทาและนองยืดหดได ดังนั้นขณะที่ผูพิการ เดินจะสามารถงอหัวเขาและยืดหัวเขาได ในทวงทาที่ปกติหรือใกลเคียงกับคนปกติ ซึ่งจะแตกตางจากเหล็กพยุงขาของเดิม ที่ไมสามารถยืดหดหรือพับงอได 10 IRnMteUlleTcTtual Property 2019

7696อนสุ ทิ ธเิบลขัตทรี่ รถเขน็ คนพกิ ารแบบขับถายระบบไฟฟา ควบคมุ ดวยไมโครคอนโทรลเลอร วนั ทจ่ี ดทะเบยี น : 24 ธนั วาคม 2555 ช่ือผปู ระดิษฐ : ดร.เดชฤทธ์ิ มณธี รรม, ผูชวยศาสตราจารย นพ.นิยม ละออปกษณิ สังกัด : คณะครุศาสตรอ สุ าหกรรม, ศูนยการแพทย สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี รายละเอยี ดผลงาน รถเข็นคนพิการแบบขับถายนี้มีลักษณะที่เปนรถเข็นที่อาศัยพลังงานที่สะสมใน แบตเตอรี่มาขับเคลื่อน รถเข็นนี้สามารถใชงานได 2 ลักษณะคือ ใชเปนรถเข็น ที่สามารถขับถายได และใชเปนรถเข็นที่เปนพาหนะไปที่ตางๆ ตามที่ตองการได โดยมีอุปกรณควบคุมที่เปนโปรแกรม เมื่อไดรับสัญญาณควบคุมจากกดปุมสวิตช จะทำการประมวลผลและสงสัญญาณไปยังอุปกรณควบคุมความเร็วมอเตอร และ อุปกรณตางๆ โดยระบบการขับเคลื่อนจะมีการขับเคลื่อนแบบลอขับเคลื่อนหลัก แตละลอไมขึ้นตอกัน การเลี้ยวใชหลักการความแตกตางของความเร็วระหวางลอ ทั้งสองขาง และสามารถหมุนรอบตัวเอง 360 องศาได ใชหลักการการหมุนใน ทิศทางตรงกันขามของลอขับเคลื่อนทั้งสองขาง ทิศทางการเคลื่อนที่ของรถจะ อาศัยตำแหนงของการกดปุมสวิตชเปนตัวกำหนดทิศทาง ความเร็ว และลักษณะ การวิ่งของรถ ซึ่งรถเข็นคนพิการแบบขับถายจะถูกออกแบบใหเหมาะสมสำหรับ เปน พาหนะสำหรับคนพิการท่ีใชก าร ขบั เคลือ่ นในอาคารหรอื รอบบริเวณ ภายนอกอาคาร และที่สำคัญคือ รถเข็นนี้ ผูปวยสามารถนั่งขับถาย บนรถเข็นได โดยมีระบบการทำ ความสะอาดกน ระบบสเปรยน้ำ ระบบเปาทำความสะอาดกน และ ระบบจดั เก็บถงุ อุจจาระและปสสาวะ ทำใหผ ปู ว ย ผูสงู อายุ ตลอดจนผดู แู ล ผูปวยมีความสะดวกสบายยิ่งขึ้น 11ทำเนียบทรัพยส ินทางปญญา มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุ ี 2562

อนสุ ิทธิบัตร 7697เลขที่ เครื่องจบั ช้ินทดสอบน้ำเคลือบ ควบคุมดวยไมโครคอนโทรลเลอร วนั ที่จดทะเบียน : 24 ธนั วาคม 2555 ชอ่ื ผูประดิษฐ : ผชู ว ยศาสตราจารย ดร.เบญจลกั ษณ เมืองมศี รี สงั กดั : คณะศิลปกรรมศาสตร รายละเอยี ดผลงาน แนวคิดขางตนทำใหมองเห็นถึงปญหาของการทดลองเคลือบดวยการชุบหรือ จุมชิ้นทดลอง แตละครั้งที่ผูทดลองตองใชมือจุมอาจทำใหเกิดอันตรายกับผูชุบ เคลือบสำหรับผูแพสารบางชนิด และเพื่อใหไดมาตรฐานในการควบคุมความหนา ของการเคลือบ และพื้นที่ในการเคลือบใหไดที่ผูทดลองกำหนด จะสงผลใหการ ทดลองนำ้ เคลอื บมคี วามเทย่ี งตรงและมคี วามเชอ่ื มน่ั ตอ การทดลองซำ้ ในการละครง้ั ของการทดสอบ และอีกประการคือ การใชเ ครอ่ื งมอื จบั ชน้ิ ทดสอบนำ้ เคลอื บ ควบคุมดวยไมโครคอนโทรลเลอร จะชวยลดความเมื่อยลาของผูทดลอง ชิ้นงานจำนวนหลายชิ้นตลอดจนได ความเที่ยงตรงแมนยำกับตำแหนง ความเร็วที่คงที่ตลอดเวลา และลด อุบัติเหตุลงดวย 12 RInMteUlleTcTtual Property 2019

ทำเนยี บทรพั ยสินทางปญ ญา 2556 ประจำป พ.ศ.

อนุสทิ ธิบตั ร 8106เลขท่ี กรรมวิธีการผลิตตะขบอบแหง วนั ที่จดทะเบยี น : 20 มิถนุ ายน 2556 ชือ่ ผูป ระดิษฐ : ดร.อรวลั ภ อุปถมั ภานนท สังกดั : คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร รายละเอยี ดผลงาน กรรมวิธีการผลิตตะขบอบแหง เปนการคัดเลือกผลตะขบที่มีสีแดงทั้งผล นำมา ลา งนำ้ สารละลายกรดแอสคอรบ คิ ผง่ึ ใหแ หง โดยใชล มเปา จากนน้ั เขา ตอู บลมรอ น (Tray Dryer) จนไดคา water activity (aw) เหมาะสม แลวจึงนำไปบรรจุแบบ สุญญากาศ ตะขบอบแหงที่ไดจะมีสีแดงเขมคลายลูกเกด เก็บรักษาไดนาน 14 RInMteUlleTcTtual Property 2019

8107อนสุ ทิ ธเิบลขตั ทรี่ กอ นดนิ ทมี่ สี วนผสมของน้ำยางธรรมชาติ และกระบวนการผลติ วันทีจ่ ดทะเบยี น : 20 มิถุนายน 2556 ช่อื ผูประดิษฐ : นายประชุม คำพฒุ , วาท่ีรอ ยโทกติ ตพิ งษ สวุ โี ร สังกัด : คณะวศิ วกรรมศาสตร, หนวยจัดการทรพั ยสนิ ทางปญญา และถา ยทอดเทคโนโลยี รายละเอียดผลงาน กอนดินที่มีสวนผสมของน้ำยางธรรมชาติ เปนการประดิษฐกอนดินสำหรับใชในงาน กอสรางอาคาร หรือสว นประกอบของอาคาร ที่ทำจากดิน โดยผสมน้ำยางธรรมชาติ เพ่อื ชวยใหก อ นดนิ มีคุณสมบตั ิในการปอ งกนั การชะลา งและการดดู ซมึ นำ้ ทด่ี ขี น้ึ และมคี า ความตานทานแรงอัดและความตานทาน แรงดัดที่สูงขึ้น ซึ่งสวนผสมประกอบดวย ดิน น้ำ น้ำยางธรรมชาติ สารลดแรงตึงผิว วัสดุผสมเพิ่ม ผสมรวมกัน จากนั้นปนหรือ อัดเปนกอนแลวทำใหแหงในสภาพอากาศ ปกติหรือใหความรอนที่อุณหภูมิ 30-120 องศาเซลเซียส 15ทำเนยี บทรัพยส ินทางปญ ญา มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 2562

ทำเนยี บทรพั ยสินทางปญ ญา 2557 ประจำป พ.ศ.

8851อนุสทิ ธเิบลขตั ทร่ี สตู รผสมของวนุ ผลไมแ ละกรรมวธิ กี ารผลติ วันท่ีจดทะเบียน : 8 พฤษภาคม 2557 ชื่อผปู ระดิษฐ : นางสาวจรี วฒั น เหรยี ญอารยี , นายอภชิ าต โคเวยี ง สังกัด : คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร รายละเอยี ดผลงาน กรรมวิธีการผลิตวุนผลไมสำหรับตกเเตงอาหาร เปนการนำเจลาติน ผงวุน น้ำสะอาด เเละน้ำผลไม มาผสมเเละตมเคี่ยว นำไปใสถุงบีบลงบนน้ำมนั จากนน้ั นำไปเเชในตูเย็น เทผานกระชอน พักไวใหสะเด็ด เเลวนำวุนผลไมที่ไดไปเเช นำ้ เชอ่ื ม เเละนำไปเเชเ ย็นทีอ่ ณุ หภูมิ 0 องศาเซลเซยี ส ไดว นุ ผลไมสำหรับตกเเตง อาหาร 17ทำเนียบทรัพยส ินทางปญญา มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบรุ ี 2562

ทำเนยี บทรพั ยสินทางปญ ญา 2558 ประจำป พ.ศ.

9695อนสุ ทิ ธบิ ัตร เลขที่ ผลติ ภณั ฑเกลอื สปาท่มี ีใบสะเดาแหง บดเปน วสั ดขุ ัดผวิ วันทีจ่ ดทะเบยี น : 26 มีนาคม 2558 ชื่อผปู ระดิษฐ : รองศาสตราจารย ดร.อัญชลี สงวนพงษ สงั กดั : คณะเทคโนโลยีการเกษตร รายละเอียดผลงาน ผลิตภัณฑเกลือสปาที่มีใบสะเดาเปนวัสดุขัดผิว ประกอบดวย เฟสของสวนผสม 2 สวน คือ สวนที่ 1 เรียกวา เฟสของแข็ง ที่ประกอบดวยเกลือทะเล ผสมอยูกับ ใบสะเดาบดแหง เปน ผง และสว นท่ี 2 เรยี กวา เฟสของเหลว ประกอบดว ยสว นผสม 7 ชนิดคือ นำ้ มนั เงา ผสมปรุงแตงนำ้ มันมะกอกฝร่ัง น้ำมันมะนาว นำ้ มันเจอราเนียม น้ำมนั ลาเวนเดอร น้ำมันโรสแมรแี ละนำ้ มนั พทั โชลี เฟสท้งั สองของสว นผสม บรรจุ ในภาชนะแยกกนั สามารถนำมาผสมกนั ไดต ามตอ งการ 19ทำเนยี บทรัพยสนิ ทางปญญา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุรี 2562

อนุสิทธบิ ัตร 9721เลขที่ หมอนึ่งลกู ประคบสมนุ ไพรไทยแบบหยิบจบั งาย วนั ทจี่ ดทะเบยี น : 27 มีนาคม 2558 ชื่อผปู ระดิษฐ : นางสุวรินทร ปท มวรคุณ, นายจตุรพิธ เกราะแกว , นายไกรมน มณีศลิ ป สังกัด : คณะวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี รายละเอียดผลงาน หมอนึ่งลูกประคบสมุนไพรแบบหยิบจับงาย เปนภาชนะที่มีลักษณะพิเศษคือ ใชนึ่งลูกประคบสมุนไพรไดจำนวนหนึ่งตามชองที่ใสลูกประคบ โดยไมขึ้นตอกัน สำหรับลูกประคบขนาดมาตรฐานที่มีการผลิตทั้งโดยชุมชนเพื่อการจำหนาย หรือการผลิตในครัวเรือนเพื่อใชสวนตัว โดยมีการประดิษฐใหฝาหมอนึ่งมีชอง ใหดามลูกประคบอยูพอดีตรงชองและฝาหมอออกมาได และโผลพนชองได ขึ้นกับความยาวดามลูกประคบ ทำใหลูกประคบเมื่อไดรับความรอนจากไอน้ำ ตรงดา มจบั จะไมรอนเทาตวั ลกู ประคบ ทำใหผใู ชเ ปดฝาหมอแปลงจบั ลูกประคบ สมนุ ไพรไดง า ย 20 IRnMteUlleTcTtual Property 2019

9970อนสุ ิทธเิบลขตั ทร่ี กรรมวิธกี ารผลติ บลอ็ กประสานจากเศษหนิ บะซอลต วันที่จดทะเบยี น : 10 มิถุนายน 2558 ชอ่ื ผปู ระดษิ ฐ : นายประชมุ คำพุฒ, วา ทีร่ อยเอกกิตติพงษ สวุ โี ร, นายอมเรศ บกสวุ รรณ สงั กดั : คณะวิศวกรรมศาสตร, หนวยจัดการทรพั ยสนิ ทางปญญา และถา ยทอดเทคโนโลยี รายละเอียดผลงาน กรรมวิธีการผลิตบล็อกประสานจากเศษหินบะซอลต เปนกระบวนการผลิต วสั ดกุ อ ผนงั ทม่ี สี ว นประกอบของปนู ซเี มนตป อรต แลนดป ระเภท 1 เศษหนิ บะซอลต เนื้อโพรงขาย และน้ำประปา ผสมสวนประกอบใหเขากันกอนอัดขึ้นรูปดวยเครื่อง อัดบล็อกประสาน ไดบล็อกประสานจากเศษหินบะซอลตที่มีลักษณะภายนอก สมบูรณไมแตกหักงาย ความตานทานแรงอัดสูง การดูดกลืนน้ำต่ำ น้ำหนักเบา และเปนฉนวนปองกันความรอนที่ดี สำหรับนำไปใชประโยชนในอุตสาหกรรม การกอสราง และการจัดสวนทั่วไป 21ทำเนียบทรัพยสินทางปญ ญา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบรุ ี 2562

10063อนุสทิ ธเิบลขตั ทร่ี บล็อกปูพื้นระบายนำ้ ชนดิ ควบคุมทศิ ทางการไหล วนั ทจี่ ดทะเบียน : 7 กรกฎาคม 2558 ช่ือผปู ระดิษฐ : นายประชุม คำพฒุ , นายกติ ติพงษ สวุ โี ร สังกัด : คณะวศิ วกรรมศาสตร, หจก. สยามอนิ โนเวชน่ั แอสโซซเิ อชน่ั รายละเอยี ดผลงาน บล็อกปูพื้นระบายน้ำชนิดควบคุมทิศทางการไหล เปนวัสดุ 2 ชั้น คือ ชั้นบน เปนคอนกรีตพรุนจากปูนซีเมนต ทราย หิน และน้ำ โดยใหมีปริมาณของหินมาก เพื่อใหเกิดชองวางของเนื้อวัสดุเมื่อแข็งตัว สำหรับใหน้ำระบายลงไปได ชั้นลาง เปนคอนกรีตกำลังสูงจากปูนซีเมนต ทราย หิน และน้ำ โดยใหมีปริมาณของ ปนู ซเี มนตและทรายมากกวาชั้นบน เพ่อื ใหทึบน้ำและแขง็ แรง โดยข้นึ รปู ใหชั้นลาง ลาดเอยี งใหนำ้ ไหลไปในทศิ ทางทีต่ องการ 22 IRnMteUlleTcTtual Property 2019

10199อนุสิทธเิบลขตั ทร่ี เคกขาวธญั พชื วนั ที่จดทะเบยี น : 7 สิงหาคม 2558 ชื่อผูประดิษฐ : นางสาวเดอื นเตม็ ทิมายงค, วาทีร่ อ ยเอกกิตตพิ งษ สุวีโร สงั กัด : กรมพลาธิการทหารอากาศ, หนว ยจดั การทรพั ยส ินทางปญ ญา และถา ยทอดเทคโนโลยี รายละเอียดผลงาน เคกขาวธัญพืช ประกอบดวย เเปงสาลี ขาวหุงสุก น้ำตาลทราย หัวกะทิ น้ำ ไขไก ยีสต และธัญพืชตมสุก เนื้อขนมมีลักษณะนุมฟู และมีกากใย รสชาติ กลิ่น สี และเนอ้ื สมั ผัสจากธญั พืช 23ทำเนยี บทรพั ยส นิ ทางปญ ญา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 2562

10634อนสุ ทิ ธเิบลขัตทร่ี การใชน ้ำยางธรรมชาติในงานเขยี นผาบาตกิ วันท่ีจดทะเบยี น : 26 ตลุ าคม 2558 ชือ่ ผปู ระดิษฐ : ผูช ว ยศาสตราจารยสาคร ชลสาคร สงั กดั : คณะเทคโนโลยคี หกรรมศาสตร รายละเอียดผลงาน การใชน้ำยางธรรมชาติในงานเขียนผาบาติก เปนการนำน้ำยางธรรมชาติมาผสม เขากับแบะแซ และกาวลาเทกซ ใหเขากัน กอนนำไปใสในภาชนะทรงกรวยที่ สวนแหลมมีชองเปด-ปด แลวจึงนำไปเขียนเปนลวดลายบนผาเพื่อกั้นสำหรับ ทำผาบาติก กอนลางออกไดดวยน้ำ ซึ่งการใชน้ำยางธรรมชาตินี้ สามารถชวยให การเขียนลวดลายผาบาติก มีขั้นตอนที่งายและสะดวกมากกวาการเขียนลวดลาย บาติกดวยนำ้ เทียนทั่วไป รวมท้ังกระบวนการเขยี นไมต อ งใชค วามรอน จึงประหยัด พลงั งานและชวยลดภาวะโลกรอ นได 24 IRnMteUlleTcTtual Property 2019

47102สทิ ธิบตั รการออกแบบผลิตภัณฑ เลขท่ี แบบพับกลอง วันท่จี ดทะเบยี น : 23 พฤศจิกายน 2558 ช่ือผอู อกแบบ : นางสาวจุฑามาศ เจรญิ พงษม าลา, นายคมสนั เรืองโกศล สังกดั : คณะศิลปกรรมศาสตร รายละเอียดผลงาน 25ทำเนยี บทรัพยสินทางปญ ญา มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ ี 2562

สทิ ธบิ ตั รการออกแบบผลิตภณั ฑ 47103เลขท่ี แบบพบั กลอง วันทจ่ี ดทะเบียน : 23 พฤศจิกายน 2558 ชอ่ื ผอู อกแบบ : นางสาวจฑุ ามาศ เจริญพงษมาลา, นายคมสนั เรืองโกศล สังกัด : คณะศลิ ปกรรมศาสตร รายละเอยี ดผลงาน 26 IRnMteUlleTcTtual Property 2019

10783อนุสิทธิบตั ร เลขท่ี กรรมวิธีในการผลิตกา นบวั แหง วันทีจ่ ดทะเบยี น : 23 พฤศจกิ ายน 2558 ช่อื ผูประดษิ ฐ : นางรจุ ริ า เดชสงู เนิน สังกดั : กองกลาง รายละเอียดผลงาน กรรมวิธีในการผลิตกานบัวแหง เปนการรักษาสภาพกานบัวสำหรับใชประดับ ตกแตง รว มกบั ดอกบวั แหง หรอื ไมด อกแหง ชนดิ ตา งๆ โดยใชก ระบวนการ ประกอบ ดว ย การแชก า นบวั ในกลเี ซอรนี และนำ้ อนุ กอ นนำไปผง่ึ ในทร่ี ม และเกบ็ ไวใ นกลอ ง ท่ใี สซ ิลิกา เจล ไดก า นบัวแหง สำหรับนำไปใชงาน 27ทำเนยี บทรัพยสินทางปญ ญา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธญั บุรี 2562

อนุสิทธิบัตร 10882เลขที่ เครอ่ื งใหบ ริการกระจายสัญญาณอินเตอรเน็ต แบบหยอดเหรยี ญ วันท่จี ดทะเบียน : 14 ธนั วาคม 2558 ช่ือผปู ระดษิ ฐ : ผชู วยศาสตราจารย ดร.ชุติมา ประสาทแกว, นายสิทธชิ ยั หยองใหญ, นายแมคเครน สขุ ใจ, นายภมร บญุ พันธ, นางสาวขวัญฤทัย อำนวยศลิ ป, นางสาวกันยารตั น ลีชวนคา สังกดั : คณะวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี รายละเอยี ดผลงาน เครอ่ื งใหบ รกิ ารกระจายสญั ญาณอนิ เตอรเ นต็ แบบหยอดเหรยี ญ ทม่ี สี ว นประกอบ หลักประกอบดวย การรับขอมูลแบบจอสัมผัส ทำหนาที่รับคำสั่งจากผูรับบริการ สามารถติดตั้งอุปกรณปุมสำหรับรับคาโดยเชื่อมตอกับโปรแกรมประมวลผล หรอื ใชก ารแสดงผลทางเสยี งผา นลำโพงโดยเชอ่ื มตอ กบั โปรแกรมประมวลผลแทน สง เขา ระบบพรอ มใสเหรยี ญในเครือ่ งหยอดเหรยี ญตรงกนั สามารถเพมิ่ เตมิ อุปกรณ รับธนบัตรสำหรับรับธนบัตรจากผูใชได สงผานขอมูลไปยังแผงวงจรแปลงสัญญาณ อนาล็อกเปนดิจิตอล เพื่อสงสัญญาณการตรวจสอบการรับเหรียญ โดยโปรแกรม ประมวลผลตรวจสอบยอดเงินที่ผูรับบริการสั่งผานหนาจอแบบสัมผัสกับยอดเงิน ทห่ี ยอดเหรยี ญกนั หรอื ไม และทำงานประสานกนั กบั โปรแกรมควบคมุ เปน โปรแกรม ใชควบคมุ แผงวงจรแปลงสัญญาณอนาลอ็ กเปน ดิจิตอล ทำงานไดถูกตองตามเงื่อนไขที่กำหนด ทอ่ี ยภู ายในคอมพวิ เตอร มหี นา ทป่ี ระมวลผลรวม เพื่อสงผานขอมูลไปยังเครื่องพิมพ ที่ใชพิมพ Username และ Password ใหผูรับบริการไดใช ในการเขาใชบริการสัญญาณอินเตอรเน็ตของ เครื่องหลายคนในเวลาเดียวกัน หรือใชอุปกรณ ออกบัตรเพื่อออกบัตรชื่อผูใชและรหัสผานสำหรับ ใชง านในระบบโดยทไ่ี มผ า น โปรแกรมประมวลผล การเชื่อมตออินเตอรเน็ตผานเครือขายไรสาย Wireless LAN (WLAN) ทม่ี อี ปุ กรณ Access Point ชวยกระจายสัญญาณไดชัดเจน เพื่อขยายระบบ สัญญาณใหบรกิ ารอยใู นบริเวณท่ไี ดร บั สญั ญาณ ไดกวางออกไป 28 RInMteUlleTcTtual Property 2019

10959อนสุ ทิ ธบิ ตั ร เลขที่ กรรมวิธีการผลิตบลอ กปูพื้นจากเศษหินบะซอลต วันท่ีจดทะเบยี น : 30 ธนั วาคม 2558 ชอื่ ผูประดิษฐ : นางสมพศิ ตันตวรนาท, วา ทรี่ อยเอกกติ ติพงษ สวุ โี ร, นายประชุม คำพฒุ สงั กัด : คณะวิศวกรรมศาสตร, หนวยจัดการทรัพยสินทางปญญา และถายทอดเทคโนโลยี รายละเอียดผลงาน กรรมวิธีการผลิตบลอกปูพื้นจากเศษหินบะซอลต เปนกระบวนการผลิตวัสดุ ปูพื้นที่มีสวนประกอบของปูนซีเมนตปอรตแลนดประเภท 1 ปูนซีเมนตขาวชนิด ผสมซิลิกา เศษหินบะซอลต และน้ำประปา ผสมสวนประกอบใหเขากัน กอนอัด ขน้ึ รปู เปน 2 ชน้ั ดว ยเครอ่ื งอดั บลอ กปพู น้ื (ชน้ั ลา ง ) และแบบหลอ บลอ กปพู น้ื แบบ ถอดประกอบได (ชั้นบน) ไดบล็อกปูพื้นจากเศษหินบะซอลต ที่มีลักษณะภายนอก สมบรู ณไ มแ ตกหกั งา ย ตา นทานแรงดดั ดี รบั แรงอดั สงู มอี ณุ หภมู ผิ วิ หนา ตำ่ นำ้ หนกั เบาและซึมผานนำ้ ได สำหรับนำไปใชประโยชนในอตุ สาหกรรมการกอ สรา ง 29ทำเนียบทรพั ยสนิ ทางปญญา มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 2562

อนสุ ิทธิบตั ร 10960เลขที่ กรรมวธิ ีการผลติ คอนกรตี ท่ีมเี ศษหนิ บะซอลตเปน มวลรวม วนั ที่จดทะเบยี น : 30 ธันวาคม 2558 ชื่อผปู ระดษิ ฐ : นางสาวนริ มล ปน ลาย, วาทร่ี อ ยเอกกิตตพิ งษ สวุ ีโร, นายประชมุ คำพุฒ สงั กัด : คณะสถาปตยกรรมศาสตร, คณะวิศวกรรมศาสตร, หนว ยจัดการทรัพยส นิ ทางปญญาและถา ยทอดเทคโนโลยี รายละเอียดผลงาน กรรมวิธีการผลิตคอนกรีตที่มีเศษหินบะซอลตเปนมวลรวม เปนกระบวนการผลิต วัสดุคอนกรีตที่มีสวนประกอบของปูนซีเมนตปอรตแลนดประเภท 1 ทรายหยาบ เศษหนิ บะซอลต และนำ้ ประปา ผสมสว นประกอบใหเ ขา กนั ไดค อนกรตี ทม่ี เี ศษหนิ บะซอลตเปนมวลรวม ที่มีน้ำหนักเบา แข็งแรง และเปนฉนวนปองกันความรอน สำหรับนำไปใชประโยชนในอุตสาหกรรมกอสราง 30 RInMteUlleTcTtual Property 2019

ทำเนยี บทรพั ยสินทางปญ ญา 2559 ประจำป พ.ศ.

สทิ ธิบัตรการออกแบบผลิตภณั ฑ 49608เลขที่ กระเบอ้ื งหลังคา วันที่จดทะเบยี น : 31 พฤษภาคม 2559 ชอ่ื ผูอ อกแบบ : นายประชุม คำพุฒ, วา ท่ีรอยตรกี ิตติพงษ สุวโี ร สงั กดั : คณะวิศวกรรมศาสตร, หนว ยจัดการทรพั ยส นิ ทางปญ ญา และถายทอดเทคโนโลยี รายละเอียดผลงาน 32 IRnMteUlleTcTtual Property 2019

49609สทิ ธบิ ตั รการออกแบบผลิตภเลัณขฑที่ ลวดลายผา วันที่จดทะเบยี น : 31 พฤษภาคม 2559 ชื่อผอู อกแบบ : ผูช วยศาสตราจารยใ จภกั ด์ิ บุรพเจตนา สงั กัด : คณะศลิ ปกรรมศาสตร รายละเอียดผลงาน 33ทำเนียบทรัพยสนิ ทางปญ ญา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธญั บุรี 2562

49610สิทธิบัตรการออกแบบผลติ ภเลณั ขฑท่ี ลวดลายผา วนั ท่ีจดทะเบยี น : 31 พฤษภาคม 2559 ช่อื ผูออกแบบ : ผชู วยศาสตราจารยใ จภกั ดิ์ บรุ พเจตนา สังกัด : คณะศลิ ปกรรมศาสตร รายละเอยี ดผลงาน 34 IRnMteUlleTcTtual Property 2019

49611สิทธบิ ัตรการออกแบบผลิตภณั ฑ เลขที่ ลวดลายผา วันทจี่ ดทะเบยี น : 31 พฤษภาคม 2559 ชื่อผูออกแบบ : ผูชว ยศาสตราจารยใ จภกั ดิ์ บรุ พเจตนา สงั กัด : คณะศลิ ปกรรมศาสตร รายละเอยี ดผลงาน 35ทำเนยี บทรพั ยสินทางปญ ญา มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธญั บุรี 2562

สิทธบิ ัตรการออกแบบผลิตภณั ฑ 49612เลขที่ ลวดลายผา วนั ทจ่ี ดทะเบียน : 31 พฤษภาคม 2559 ชือ่ ผอู อกแบบ : ผูชวยศาสตราจารยใจภกั ด์ิ บรุ พเจตนา สงั กดั : คณะศลิ ปกรรมศาสตร รายละเอียดผลงาน 36 IRnMteUlleTcTtual Property 2019


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook