Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ทำเนียบทรัพย์สินทางปัญญา มทร.ธัญบุรี ประจำปี 2563

ทำเนียบทรัพย์สินทางปัญญา มทร.ธัญบุรี ประจำปี 2563

Published by IRD RMUTT, 2021-10-28 03:30:28

Description: ทำเนียบทรัพย์สินทางปัญญา มทร.ธัญบุรี ประจำปี 2563

Search

Read the Text Version

63001สทิ ธิบัตรการออกแบบผลติ ภเลณั ขฑที่ ลวดลายผา วนั ทีจ่ ดทะเบยี น : 14 มิถุนายน 2561 ชื่อผูอ อกแบบ : นางสาวชมจนั ทร ดาวเดอื น สังกดั : คณะศิลปกรรมศาสตร รายละเอยี ดผลงาน ขอถอื สิทธใิ นแบบผลติ ภัณฑ ซ่งึ ไดแ ก ลวดลายลักษณะ ของ ลวดลายผา ดงั มี รายละเอยี ดตามทปี่ รากฎในภาพแสดงแบบผลิตภณั ฑทไี่ ดเ สนอมาน้ี 85ทำเนียบทรัพยส นิ ทางปญ ญา มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธญั บรุ ี 2563

63002สิทธบิ ัตรการออกแบบผลิตภเลณั ขฑที่ ลวดลายผา วันทจี่ ดทะเบียน : 14 มิถุนายน 2561 ช่อื ผูออกแบบ : นางสาวชมจันทร ดาวเดอื น สงั กดั : คณะศิลปกรรมศาสตร รายละเอยี ดผลงาน ขอถอื สิทธใิ นแบบผลติ ภณั ฑ ซึ่งไดแก ลวดลายลกั ษณะ ของ ลวดลายผา ดงั มี รายละเอยี ดตามท่ปี รากฎในภาพแสดงแบบผลติ ภัณฑท ี่ไดเสนอมาน้ี 86 RInMteUlleTcTtual Property 2020

63003สิทธิบตั รการออกแบบผลติ ภเลณั ขฑที่ ลวดลายผา วนั ที่จดทะเบยี น : 14 มถิ ุนายน 2561 ชื่อผูออกแบบ : นางสาวชมจันทร ดาวเดอื น สังกัด : คณะศิลปกรรมศาสตร รายละเอียดผลงาน ขอถอื สิทธใิ นแบบผลติ ภณั ฑ ซงึ่ ไดแ ก ลวดลายลกั ษณะ ของ ลวดลายผา ดงั มี รายละเอยี ดตามทปี่ รากฎในภาพแสดงแบบผลติ ภณั ฑทไี่ ดเ สนอมาน้ี 87ทำเนยี บทรพั ยสินทางปญญา มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุรี 2563

63004สทิ ธบิ ัตรการออกแบบผลิตภเลัณขฑที่ ลวดลายผา วนั ทีจ่ ดทะเบียน : 14 มิถนุ ายน 2561 ชือ่ ผอู อกแบบ : นางสาวชมจนั ทร ดาวเดือน สังกัด : คณะศลิ ปกรรมศาสตร รายละเอยี ดผลงาน ขอถือสิทธใิ นแบบผลิตภณั ฑ ซง่ึ ไดแก ลวดลายลักษณะ ของ ลวดลายผา ดงั มี รายละเอยี ดตามทป่ี รากฎในภาพแสดงแบบผลิตภณั ฑท่ไี ดเสนอมานี้ 88 RInMteUlleTcTtual Property 2020

63005สิทธิบัตรการออกแบบผลิตภเลณั ขฑที่ ลวดลายผา วันที่จดทะเบียน : 14 มถิ ุนายน 2561 ชอ่ื ผอู อกแบบ : นางสาวชมจันทร ดาวเดือน สงั กัด : คณะศิลปกรรมศาสตร รายละเอยี ดผลงาน ขอถือสิทธิในแบบผลติ ภัณฑ ซึง่ ไดแ ก ลวดลายลกั ษณะ ของ ลวดลายผา ดังมี รายละเอยี ดตามที่ปรากฎในภาพแสดงแบบผลิตภัณฑท ่ไี ดเ สนอมาน้ี 89ทำเนียบทรัพยส ินทางปญ ญา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ ี 2563

13980อนุสิทธเิบลขตั ทรี่ หนุ ยนตสำหรบั ตรวจวัดและปรับสภาพดนิ อตั โนมตั ิ วนั ทีจ่ ดทะเบยี น : 14 มถิ ุนายน 2561 ช่ือผูประดษิ ฐ : นายเกยี รติศกั ดิ์ แสงประดิษฐ สังกัด : คณะวศิ วกรรมศาสตร รายละเอยี ดผลงาน การประดิษฐน้ีเปน การประดษิ ฐท ีเ่ ก่ียวของกบั หลกั การทำงานของหนุ ยนตส ำหรับ ตรวจวัดและปรับสภาพดินอัตโนมัติ โดยหุนยนตจะทำการตรวจวัดคาสารอาหาร ในดินแลว จะนำคา สารอาหารหลกั ในดนิ ที่วัดไดส งไปประมวลผลทบ่ี อรด ซึง่ บอรด จะประมวลผลสารอาหารหลักที่ไดจากเครื่องมือวัด จากนั้นหุนจะเคลื่อนตัว สปริงเกอรมายังจุดที่วัดและหลังจากนั้นบอรดจะสั่งใหปมที่บรรจุแรธาตุชนิดน้ำ ฉีดพนในบริเวณตำแหนงที่แรธาตุไมเพียงพอ โดยปริมาณสารที่พนนั้นขึ้นอยูกับ สภาพดินที่ตรวจวัดได หากในตำแหนงใดมีสารอาหารเพียงพอแลว หุนยนตก็จะ ไมท ำการฉีดพน สาอาหารหลกั เพมิ่ ซ่ึงเปน การใหแรธาตุอาหารในดินแบบแมน ยำ ตามความตองการของดินท่ตี อ งการปรบั ปรงุ 90 IRnMteUlleTcTtual Property 2020

อนสุ ิทธิบตั ร 14104เลขท่ี เคร�่องแกะเปลือกเมลด็ บัวหลวง วนั ที่จดทะเบียน : 20 กรกฎาคม 2561 ช่ือผูประดิษฐ : นายจตรุ งค ลังกาพินธุ สังกดั : คณะวศิ วกรรมศาสตร รายละเอยี ดผลงาน ลกั ษณะของเครอ่ื งแกะเปลอื กเมล็ดบัวหลวง ประกอบดว ย โครงสรางเครื่อง ชุดใบมดี กรีด เมล็ดกลไกสก็อทชโยค (Scotch Yoke) ระบบ สงกำลงั และใชมอเตอรเกียรข นาด 90 วตั ต เปนตนกำลัง เครื่องแกะเปลอื กเมล็ดบัวหลวง ตามการประดษิ ฐน ้ี มวี ตั ถปุ ระสงคเ พอื่ ชวยลด ระยะเวลาในการทำงานและลดแรงงานในการ แกะเปลือกเมล็ดบัวหลวงสดของเกษตรกร ในกระบวนการผลิตเมล็ดบัวหลวงอบของ วิสาหกิจชุมชน 91ทำเนียบทรัพยสนิ ทางปญญา มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุรี 2563

อนสุ ิทธบิ ตั ร 14439เลขท่ี กรรมว�ธีการสกดั พลาสตกิ ชีวภาพ ชนดิ โพลีไฮดรอกซีอลั คาโนเอตจากแบคทเี รย� ดว ยซลิ กิ าเจล วันทจ่ี ดทะเบยี น : 5 ตุลาคม 2561 ชอื่ ผปู ระดษิ ฐ : นางสาวจนั ทิมา ฑีฆะ, นายอัษฎาวุธ อารสี ิริสขุ , นายทรงพล จำดิษฐ, นางสาวฑิมพิกา หอมสมบัติ, นางสาวจิรประภา บัวภาเรอื ง, นายนวกร ฉายลม้ิ , นางสาวนสุ บา สุขสาล,ี นางสาวนัสรีนา ศรีสำราญ สังกัด : คณะวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี รายละเอยี ดผลงาน วิธีการสกัดพลาสติกชีวภาพชนิดโพลีไฮดรอกซีอัลคาโนเอตจากแบคทีเรียดวย ซิลิกาเจล ตามการประดิษฐนี้ เปนวิธีการที่เริ่มตนจากการเพาะเลี้ยงแบคทีเรีย เพื่อใหแบคทีเรียผลิตพลาสติกชีวภาพ จากนั้นปนเก็บเซลล และเติมซิลิกาเจล โดยใหซ ิลกิ าเจลเปน ตัวสกดั เอาพลาสติกชวี ภาพของมาจากเซลลแ บคทีเรยี และ ใชคลอโรฟอรมเปนตัวละลายพลาสติกชีวภาพออกมาจากสวนผสมของเซลล แบคทีเรียนและซิลิกาเจล และนำชั้นของคลอโรฟอรมไประเหย เพื่อใหเหลือ เฉพาะแผนฟลมพลาสติกชีวภาพ ในกรรมวิธีนี้จะลดปริมาณการใชสารเคมี หลายชนิด เพื่อลดผลกระทบตอสิ่งแวดลอม ลดคาใชจายลดผลกระทบของ สารเคมีตอโครงสรางหรือน้ำหนักของโพลีเมอร รวมถึงการตกคางของสารเคมี บนแผน พลาสติกชีวภาพอกี ดว ย ความมุงหมายของการประดษิ ฐน้ีเพอื่ สกดั เอาชวี ภาพชนิดโพลไี ฮดรอกซอี ัลคาโนเอต ที่ผลิตขึ้นในแบคทีเรีย ใหไดปริมาณมากที่สุด ราคาถูกลง และไมมีสารเคมี หลงเหลือตกคา งอยูในแผนฟล ม และสามารถนำมาประยุกตใ ชเปนวสั ดชุ ีวภาพ ดานการแพทยได 92 IRnMteUlleTcTtual Property 2020

อนสุ ิทธบิ ัตร 14509เลขที่ สตู รผลิตภัณฑเ มด็ สอดชอ งคลอดจากสารสกดั กระเทยี มและขา และกรรมวธ� กี ารผลิต วันท่จี ดทะเบียน : 24 ตุลาคม 2561 ชื่อผูประดิษฐ : นางสาวเอมอร ชยั ประทปี สังกดั : วิทยาลยั การแพทยแผนไทย รายละเอียดผลงาน ผลิตภัณฑเม็ดสอดชองคลอดจากสารสกัดกระเทียมและขา ประกอบดวยสารสกัด จากกระเทียมและขาผสมกับไมโครคริสตัลไลน พีเอช 102 แมกนีเซียมสเตียเรต (magnesium stearate) และทัลคัม (talcum) และสารละลายเจลาติน (gelatin solution) หรือสารละลายอะเคเซีย (acacia solution) ตอกอัดเปนเม็ดดวยวิธีตอก แบบแกรนูลเปยก (wet granulation) ดวยเครื่องตอกยาเม็ด ซึ่งเปนผลิตภัณฑ ท่ีผา นเกณฑมาตรฐานเภสัชตำรบั ของสหรัฐอเมรกิ า (USP 35/NF30) วตั ถปุ ระสงคข องการประดษิ ฐน เ้ี พอ่ื พฒั นาผลติ ภณั ฑส อดชอ งคลอดจากสมนุ ไพร ไทยที่มีฤทธิ์ยับยั้งเชื้อแคนดินา อัลบิแคนส ที่เปนของการเกิดตกขาว และได เม็ดสอดชอ งคลอดท่ีผานเกณฑม าตรฐานเภสชั ของสหรัฐอเมรกิ า (USP 35/NF30) อตั ราการดือ้ ยาแผนปจ จุบันมคี วามปลอดภัยของผูใ ช เปนอกี หน่งึ ทางเลือกสำหรบั ผูที่แพยาแผนปจจุบันซึ่งจะเปนการตอยอดภูมิปญญาสมุนไพรไทย เปนการสราง มูลคา ใหแ กสมนุ ไพรไทยและนำไปใชป ระโยชนใ นภาคอุตสาหกรรมตอไป 93ทำเนยี บทรพั ยส ินทางปญญา มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบุรี 2563

อนุสทิ ธิบตั ร 14542เลขท่ี สูตรนำ้ ตร�ผลานานาผลไม และกรรมว�ธีการผลิต วันทจี่ ดทะเบียน : 2 พฤศจิกายน 2561 ช่อื ผูประดษิ ฐ : นางสาวเอมอร ชัยประทปี , นางสาวพจนินท รอดฝน , นายศราวิน จนิ ตยานนท, นางสาวปทมาวรรณ อาภรณผ ล, นางสาวสุพตั รา พรมเกาะ, นางสาวสรุ สั วดี ประพนั ธ สังกัด : วิทยาลัยการแพทยแผนไทย รายละเอยี ดผลงาน สตู รนำ้ ตรผี ลานานาผลไม ตามการประดษิ ฐน ้ี ประกอบดว ย นำ้ สมอพเิ ภก ปรมิ าณ รอยละ 30-45 โดยน้ำหนัก น้ำสมอไทย ปริมาณรอยละ 20-35 โดยน้ำหนัก นำ้ มะขามปอ ม ปรมิ าณรอ ยละ 10-15 โดยนำ้ หนกั นำ้ สม ปรมิ าณรอ ยละ 20 - 35 โดยน้ำหนัก น้ำกีวี ปริมาณรอยละ 3-5 โดยน้ำหนัก น้ำเสาวรส ปริมาณรอยละ 10-25 โดยนำ้ หนกั รวมทง้ั กรรมวธิ กี ารผลติ ตรผี ลานานาผลไม ประกอบดว ยขน้ั ตอน ดังนี้ 1) การเตรียมน้ำตรีผลา 2) การเตรียมน้ำผลไม และ 3) การพาสเจอรไรส น้ำตรีผลานานาผลไม 94 IRnMteUlleTcTtual Property 2020

อนสุ ิทธบิ ัตร 14739เลขท่ี ระบบฉีดพน สารเคมแี บบแปรผนั อัตราไดร ว มกบั เทคนคิ การประมวลผลถา ยภาพสำหรับแปลงปลกู มะพราวทเ่ี กดิ โรค วันทจี่ ดทะเบยี น : 21 ธันวาคม 2561 ชื่อผปู ระดิษฐ : นายเกรียงไกร แซมสีมว ง สงั กัด : คณะวิศวกรรมศาสตร รายละเอยี ดผลงาน รถฉดี พน สารเคมีแบบแปรผนั อัตราไดร วมกบั เทคนคิ การประมวลผลภาพถา ยสำหรบั แปลงปลูกมะพราวทเี่ กดิ โรคสรางขึ้นเพ่อื ลดการใชแรงงานคน ลดการเกิดอันตราย ตอผูฉีดพนสารเคมีและเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการกำจัดแมลงศัตรูมะพราว เนื่องจากการฉีดพนสารเคมีโดยใชคนนั้นมีความเสี่ยงและอันตรายตอผูฉีดและมี ความแมนยำนอยในการฉีดสารเคมี ประกอบดว ยโครงสรางของเครอ่ื ง ชุดขบั เคลื่อน ระบบตนกำลงั ชุดถังเกบ็ และปม ฉีดยา ชุดเครน ชุดหัดฉดี พรอมระบบมองระยะไกล ชุดควบคุมการขับเคลื่อนและตัวเครน ในสวนของตนกำลังใชเครื่องยนตฮอนดา (Honda) ขนาด 10 แรงมา หลักการทำงาน ของเครื่อง เริ่มจากผูทำงานควบคุมเครื่อง ฉีดพนศัตรูมะพราวเคลื่อนที่ไปยังบริเวณ ตนมะพราว และเมื่อไดบริเวณที่จะฉีดพน ศัตรูมะพราวแลว จากนั้นจะปรับตั้งระบบ หัวฉีดพน ยาใหหันไปยังพ้นื ทีท่ ่ีศัตรูมะพรา ว อาศยั อยูด ว ยระบบมองระยะไกลเมือ่ หัวฉดี หนั ไปอยูใ นพืน้ ทีท่ ีเ่ กิดโรคระบาดศตั รูมะพราว แลวจึงควบคุมปมฉีดยาใหปลอยน้ำยาไปสู พื้นที่ที่เกิดโรคบนยอดมะพราว ดวยอัตรา ของนำ้ ยาทก่ี ำหนดไวใ นแตล ะตน 95ทำเนียบทรัพยสินทางปญญา มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธัญบุรี 2563

ทำเนียบทรัพยส ินทางปญ ญา ประจำป พ.ศ. 2562

อนสุ ทิ ธิบตั ร 14787เลขที่ สตู รและกรรมวธ� ีการผลิต ลอดชองสิงคโปรผสมงาดำ วันท่จี ดทะเบยี น : 4 มกราคม 2562 ช่อื ผปู ระดิษฐ : นายกฤติน ชุมแกว สังกดั : คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร รายละเอียดผลงาน การประดิษฐนี้เกี่ยวของกับการผลิต ลอดชองสงิ คโปรผ สมงาดำ ซ่ึงเปนขนมไทย ประเภทตม ทมี่ แี ปงมันสำปะหลงั งาดำ นำ้ ตาลทราย นำ้ สะอาด กะทิ และเกลอื เปนสวนประกอบ กรรมวิธีในการทำ เสนลอดชองสิงคโปรผสมงาดำ โดยนำ แปง มนั สำปะหลงั งาดำ นวดกบั นำ้ รอ น นำมาคลึงเปนแผน และตัดเปนเสนๆ จากนั้นนำไปตมใหเสนสุกใส กรรมวิธี ในการทำน้ำเชื่อม โดยนำน้ำตาลทราย และน้ำสะอาดตั้งไฟ พอสวนผสมเดือด และขนเล็กนอย และกรรมวิธีในการทำ น้ำกะทิ โดยนำกะทิและเกลือตั้งไฟ พอเดือดเล็กนอย วิธีรับประทานโดยตักเสนลอดชองสิงคโปรผสมงาดำพรอมกะทิ ใสภาชนะ ใสน้ำเชื่อมตามชอบ และใสน้ำแข็งปน การผสมงาดำในสวนผสมของ เสนลอดชองสิงคโปร ทำใหไดลอดชองสิงคโปรที่มีจุดเดน คือมีแคลเซียมสูงกวา ลอดชองสิงคโปรที่ไมไดเสริมงาดำในสวนผสมแปง และยังคงลักษณะที่ดีของ ลอดชอ งสงิ คโปรอ ยู คอื มลี กั ษณะเนอ้ื สมั ผสั ทเ่ี หนยี วนมุ และมกี ลน่ิ หอมงาดำเพม่ิ ขน้ึ และไดรับการยอมรับจากผูบริโภค เหมาะสำหรับผูบริโภคในปจจุบัน มีกรรมวิธี ในการทำที่ไมยุงยาก สามารถทำไดในครัวเรือน และระบบอุตสาหกรรม 97ทำเนยี บทรพั ยส ินทางปญ ญา มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธัญบุรี 2563

อนุสิทธิบตั ร 14852เลขท่ี แผนฟล� ม ยึดติดเย่อื บเุ มอื กจากสารสกัดใบพญายอ และกรรมวธ� กี ารผลติ วันที่จดทะเบียน : 23 มกราคม 2562 ช่อื ผปู ระดิษฐ : นางสาวเอมอร ชัยประทปี สังกัด : วิทยาลยั การแพทยแผนไทย รายละเอยี ดผลงาน แผนฟล ม ยึดตดิ เยอ่ื บเุ มอื กจากสารสกัดใบพญายอ มลี ักษณะเปน 2 ช้ัน ประกอบดว ย ชั้นที่ 1 เปนชั้นที่ไมมีตัวยา (backing layer) ซึ่งมีคุณสมบัติไมละลายน้ำจึงเปนชั้น ที่กันตัวยาไมใหสัมผัสกับน้ำลาย และชั้นที่ 2 ชั้นที่มีตัวยา (drug containing layer) ประกอบดวยสารสกัดจากใบพญายอผสมกับพอลิเมอรกอฟลมที่ชวยควบคุม การปลดปลอยของตัวยา (control release film former) พอลิเมอรกอฟลม (film former) พอลเิ มอรกอฟลมท่ีเปนตัวทำละลาย (solvent film former) พอลิเมอร กอฟล มท่ไี มล ะลายในนำ้ สารพลาสตไิ ซเซอร (plasticizer) สารแตงรส สารลดแรง ตงึ ผวิ และสารกนั เสยี ทง้ั นก้ี รรมวธิ แี ผน ฟล ม ยดึ ตดิ เยอ่ื บเุ มอื กจากสารสกดั ใบพญายอ ประกอบดวยขั้นตอนดังนี้ 1) การเตรียมสารสกัดจากใบพญายอ 2) การเตรียม แผนฟลมชั้นที่ 1 เปนชั้นที่ไมมีตัวยา และ 3) การเตรียมแผนฟลมชั้นที่ 2 เปนชั้น ที่มีตัวยาจากสารสกัดใบพญายอ 98 IRnMteUlleTcTtual Property 2020

อนุสิทธบิ ัตร 14882เลขท่ี สตู รผลิตภัณฑบราวนแ่ี ปงขา วเหนียวดำ และกรรมวธ� กี ารผลติ วันทจ่ี ดทะเบียน : 30 มกราคม 2562 ช่อื ผปู ระดิษฐ : นายไชยสิทธิ์ พนั ธุฟ จู นิ ดา สังกัด : คณะเทคโนโลยคี หกรรมศาสตร รายละเอียดผลงาน จากการประดิษฐนี้เกี่ยวของกับสูตรผลิตภัณฑบราวนี่แปงขาวเหนียวดำ โดยมี สว นผสมของแปง ขาวเหนียวดำเปนสว นประกอบ เพื่อชว ยใหค ณุ คา ทางโภชนาการ เพิ่มขึ้น ตามการประดิษฐนี้ประกอบดวย แปงสาลี แปงขาวเหนียว เนยจืด น้ำตาลทรายไขไก ผงโกโก เกลือ กล่นิ วนิลา ความมุงหมายของการประดิษฐเพื่อใหไดบราวนี่แปงขาวเหนียวดำ ที่มีคุณคา ทางโภชนาการเพิ่มขึ้น ไดแก แอนโทไซยานิน และไดบราวนี่ ที่มีลักษณะนุม 99ทำเนยี บทรัพยส ินทางปญญา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธญั บรุ ี 2563

อนสุ ิทธิบตั ร 15040เลขท่ี สูตรชาสมุนไพรพนั งเู ข�ยวผสมดอกพก� ุล และกรรมว�ธีการผลิต วนั ทจี่ ดทะเบยี น : 26 มีนาคม 2562 ชือ่ ผูประดิษฐ : นางสาวชมภู ยิม้ โต สังกัด : คณะเทคโนโลยคี หกรรมศาสตร รายละเอยี ดผลงาน ลกั ษณะของสตู รชาสมนุ ไพรพนั งเู ขยี วผสมกบั พกิ ลุ ประกอบดว ยใบงเู ขยี วแหง และ ดอกพกิ ุลผง ความมุงหมายของการประดิษฐนี้คือ เพื่อผลิตชาสมุนไพรพันงูเขียวผสมดอกพิกุล มี สี กิน รส ที่ดีตรงกับความตองการของผูบริโภคที่ดื่มชาเพื่อสุขภาพ เพิ่มความ หลากหลายใหกบั ผลติ ภณั ฑชาในทองตลาด เปน ทางเลือกใหก บั ผบู รโิ ภค มีความ ตอ งการดูแลรักษาสขุ ภาพและนิยมบริโภคผลิตภณั ฑเครื่องดื่มสมุนไพรเพ่ือสขุ ภาพ เปน การสรางมูลคาเพมิ่ ใหกับพชื สมุนไพรพนั งูเขียวท่ียังไมม ีการนำมาผลิตเปนชา และยังเปนการเพิ่มทางเลือกใหกับผูบริโภคในการเลือกซื้อผลิตภัณฑชาจากพืช สมุนไพร 100 IRnMteUlleTcTtual Property 2020

อนสุ ทิ ธิบตั ร 15086เลขที่ กรรมวธ� กี ารสกัดสารสกัดจากเงาะสชี มพส� ำหรับใชเ ปน สวนผสมในผลติ ภณั ฑย า เคร�่องสำอาง และเสรม� อาหาร วนั ที่จดทะเบยี น : 9 เมษายน 2562 ชอ่ื ผปู ระดิษฐ : ผูช วยศาสตราจารย ดร.กรวนิ ทวิชญ บญุ พิสทุ ธนิ นั ท สงั กัด : วิทยาลยั การแพทยแผนไทย รายละเอียดผลงาน กรรมวิธีการสกัดสารสกัดจากเงาะสีชมพูสำหรับใชในผลิตภัณฑยา เครื่องสำอาง หรอื เสรมิ อาหาร โดยใชต วั ทำละลายนำ้ หรอื ตวั ละลายอนิ ทรยี  ผสมเขา กบั เงาะสชี มพู ที่ผานการบดแหง นำไปเขยา นำสารละลายที่ไดมากรองหยาบดวยผาขาวบาง และกรองละเอียดดว ยกระดาษกรอง จากนน้ั จงึ นำไปปนเหวีย่ งอกี ครงั้ แลวจึงนำไป ระเหยดวยเครื่องกลั่นระเหยสารแบบหมุน จนกระทั่งสารสกัดมีลักษณะหนืด จึงนำ ไปทำแหงดวยวิธีการทำแหงแบบจุดเยือกแข็งหรือวิธีการทำแหงแบบสเปรยลมรอน สารสกัดที่ไดมีฤทธิ์ทางชีวภาพที่สามารถจะนำไปใชเปนวัตถุดิบหรือสวนผสมใน ผลติ ภณั ฑย า เครอ่ื งสำอาง หรอื เสรมิ อาหาร เพอ่ื ใชใ นดา นความงามและสรา งเสรมิ สขุ ภาพได 101ทำเนยี บทรัพยส ินทางปญ ญา มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ ี 2563

15087อนสุ ทิ ธเิบลขตั ทรี่ แผน รองเซน็ ชอ่ื สำหรับผบู กพรอ งทางการเห็น วนั ที่จดทะเบียน : 9 เมษายน 2562 ชอื่ ผปู ระดิษฐ : นางสุวรนิ ทร ปทมวรคณุ , นายนิพทั ธ จงสวัสดิ์ สังกัด : คณะวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี รายละเอียดผลงาน แผน รองเซ็นชอื่ สำหรับผบู กพรอ งทางการเหน็ ประกอบดวย ชอ ง อักษรเบรลล วงกลมเวาลงไป และขีดนูน 5 ขีด โดยมีความมุงหมายตามการประดิษฐนี้ เพื่อชวยใหผูบกพรองทางการเห็นสามารถเช็นชื่อไดในตำแหนงที่ตองการ และ ทราบวา ธนบัตรเปนธนบัตรชนิดราคา 20 บาท 50 บาท 100 บาท 500 บาท หรอื 1,000 บาท 102 IRnMteUlleTcTtual Property 2020

อนสุ ทิ ธิบัตร 15178เลขท่ี อปุ กรณดักจ�งิ จก วนั ท่จี ดทะเบียน : 21 พฤษภาคม 2562 ช่ือผูประดิษฐ : นายดนสุ รณ พมุ ทบั ทมิ และนายคมสัน เรืองโกศล สงั กัด : คณะศลิ ปกรรมศาสตร รายละเอียดผลงาน อุปกรณดักจิ้งจก ตามการประดิษฐนี้ เปนแผนพับที่สามารถใหความคงตัว ไดลักษณะหนึ่งประกอบดวย แผนพื้น ชน้ั ทส่ี อง (1) สำหรบั เปน ผนงั กน้ั บรเิ วณ ดานบนชั้นที่สอง แผนพื้นดานลาง (2) สำหรับเปนผนังกั้นบริเวณดานลาง และใชวางเหยื่อลอจิ้งจก และแผนพื้น ดานบนชน้ั ทห่ี นึ่ง (3) สำหรับเปน ผนังกน้ั บริเวณดานบนสุดและลา งสุด ความมุงหมายของการประดิษฐนี้ เพื่อผลิตอุปกรณสำหรับดักจิ้งจก ท่ีผลติ จากวสั ดุธรรมชาติทงั้ ตวั อปุ กรณ และเหย่อื ลอ ทม่ี ีความปลอดภัยตอผูใช ทอ่ี าศัยภายในอาคารบานเรอื น ทีเ่ ปน มิตรตอสิ่งแวดลอม มีราคาถูก และ ติดตั้งเองไดงาย อีกทั้งยังไมเปนการ ทรมานสัตวหรือทำใหสัตวตายภายใน หองพัก หรือที่อยูอาศัย ซึ่งอาจทำให เกิดกลนิ่ อนั ไมพงึ ประสงค ดูเปน แหลง สะสมของเชอ้ื โรคได 103ทำเนียบทรพั ยส นิ ทางปญ ญา มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ ี 2563

อนสุ ิทธบิ ตั ร 15293เลขที่ ปยุ นำ้ หมักชีวภาพจากขแ้� ดดนาเกลือ โดยใชจ �ลนิ ทรย� เปนตัวเรง วนั ทจี่ ดทะเบยี น : 27 มิถุนายน 2562 ชื่อผูประดษิ ฐ : ผูชว ยศาสตราจารย ฐิตยา ศรขวัญ สงั กัด : คณะวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี รายละเอยี ดผลงาน ลักษณะของปุยน้ำหมักชีวภาพจากขี้แดดนาเกลือ โดยใชจุลินทรียเปนตัวเรง ประกอบดวย ขี้แดดนาเกลือ เศษอาหารกระเพาะวัว กากเมล็ดกาแฟ กากน้ำตาล และจลุ นิ ทรยี โ ดยทำการผสมคลกุ เคลา ใหเ ขา กนั หมกั เปน เวลา 40-50 วนั ปยุ นำ้ หมกั ชีวภาพจากที่แดดนาเกลือ โดยใชจุลินทรียเปนตัวเรงที่ผลิตไดจะมีขอเดนแตกตาง จากการผลติ ทวั่ ไป เนื่องจากมีการใชจลุ ินทรยี ท สี่ ามารถเปนตัวเรง ในการยอยสลาย วัสดุหมักในระยะเวลาส้นั และไดผลิตภัณฑที่มีปริมาณธาตอุ าหารของพชื ท่ีเพียงพอ กบั ความตอ งการของพืช ความมุงหมายของนวัตกรรมการผลิตปุยน้ำหมักชีวภาพจากขี้แดดน้ำเกลือ โดยใช จลุ ินทรยี เ ปนตัวเรงเพอ่ื ชว ยใหไดปุยน้ำหมักชีวภาพทม่ี ีคณุ ภาพอยางรวดเร็ว เนอื่ งจาก ใชร ะยะเวลาในการยอ ยสลายวสั ดสุ น้ั กวา กรรมวธิ กี ารหมกั ปยุ นำ้ หมกั ชวี ภาพทว่ั ไป นอกจากนี้พบวามีปริมาณธาตุอาหารของพืช ในปริมาณที่เพิ่มขึ้นดวยเหมาะกับ ความตองการของเกษตรกร ทั้งยังเปนการสงเสริมเกษตรกรใหหันมาใชปุยน้ำหมัก ชีวภาพในภาคการเกษตรกนั มากขึ้น 104 RInMteUlleTcTtual Property 2020

อนุสิทธิบัตร 15357เลขที่ ระบบการอบแหงโดยใชพลังงานแสงอาทิตย รวมกบั แกสชีวภาพ วันทจี่ ดทะเบยี น : 24 กรกฎาคม 2562 ช่ือผปู ระดิษฐ : นายเกียรติศักดิ์ แสงประดิษฐ สังกดั : คณะวศิ วกรรมศาสตร รายละเอียดผลงาน การประดิษฐนี้เปนการประดิษฐที่เกี่ยวของกับหลักการทำงานของระบบอบแหง โดยใชพลังงานผสมสานจากพลังงานความรอนจากแสงอาทิตยเปนพลังงานหลัก และจะใชพลังงานการทำความรอนสำรองจากแกสชีวภาพในกรณีที่แสงแดด ไมเพียงพอ โดยตัวรับแสงพาราโบลาจะรับแสงและจะสะทอนแสงที่ไดไปยัง จุดศูนยรวมแสงที่ทำดวยโลหะเพื่อเก็บความรอนไวในทอ จากนั้นที่ทอทางเขา จะมพี ดั ลมทจ่ี ะพดั พาความรอ นทไ่ี ดส ง ไปยงั หอ งอบ ในกรณที ค่ี วามรอ นมคี วามรอ น ไมถึงทีก่ ำหนด ระบบจะส่งั ใหระบบแกสทำงานเพอื่ ทำการใหความรอ นกับทอแทน ทค่ี วามรอ นจากแสงอาทติ ยเ มอ่ื อณุ หภมู ไิ ดต ามตอ งการระบบจะสง่ั การหยดุ ระบบ แกสอัตโนมัติ ซึ่งเพิ่มประสิทธิภาพการอบแหงใหมีประสิทธิภาพรวดเร็วขึ้นจาก การใชตอู บโปรงแสงที่มอี ยแู ลว 105ทำเนยี บทรพั ยสินทางปญ ญา มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ ี 2563

อนสุ ิทธิบตั ร 15488เลขที่ อุปกรณร ะบายความรอนของคอยลรอ น โดยใชน้ำทีก่ ล่นั จากกระบวนการควบแนน ทค่ี อยลเ ย็น วนั ที่จดทะเบยี น : 6 กันยายน 2562 ชอ่ื ผูป ระดิษฐ : นายเกียรติศักดิ์ แสงประดษิ ฐ สงั กดั : คณะวิศวกรรมศาสตร รายละเอียดผลงาน อุปกรณระบายความรอนของคอยลรอนโดยใชน้ำที่กลั่นจากกระบวนการควบแนน ที่คอยลเย็น ตามการประดิษฐนี้เปนกระบวนการลดอุณหภูมิอากาศในการระบาย ความรอนของคอมเพรสเซอร โดยมีโครงสรางภายนอกทำจากพลาสติก และแผง ระบายความรอ นทท่ี ำจากครบี อลมู เิ นยี ม ซง่ึ มลี กั ษณะวางเรยี งสลบั ฟน ปลาในแนวตง้ั และมีชองวางระหวางครีบใหอากาศไหลผานไดสะดวก โดยแผงครีบอลูมิเนียม ทำหนาที่กรองสิ่งสกปรกปนเปอนในน้ำ ควบคุมการระเหยน้ำทิ้งในกระบวนการ ควบแนนจากคอยลเย็น และดักจับฝุนละอองที่เขามาพรอมอากาศ กอนไหลผาน แผงคอยลรอน โดยแผงครีบอลูมิเนียมติดตั้งบริเวณดานหลังคอยลรอนของระบบ ปรับอากาศ 106 RInMteUlleTcTtual Property 2020

อนสุ ิทธิบตั ร 15489เลขที่ เครอ่� งฉกี เสนหมูฝอย วันทจ่ี ดทะเบยี น : 6 กันยายน 2562 ชื่อผูป ระดษิ ฐ : นายศิริชยั ตอ สกุล, นายวิเชยี ร เถือ่ นเครือวลั ย, นายชวลิต อนิ ปญ โญ และนายกฤติธรณ นามสงา สังกัด : คณะวิศวกรรมศาสตร รายละเอียดผลงาน เครอ่ื งฉกี เสนหมูฝอย ตามการประดิษฐนี้ เปนการฉีกเสน หมูที่ผา นการตม จนสกุ และ นำมาแลใหเปนแผน โดยนำมาบดดวยชุดลูกกลิ้งบด เพื่อบดเนื้อหมูใหฉีกหรือแยก ออกจากกัน การบดนี้โดยใชหลักการกดอัดระหวางลูกกลิ้งบดแบบคู ที่หมุนเขาหากัน หรอื หมุนในทศิ ทางตรงกนั ขามเสมอ ดา นลา งชดุ ลกู กลิ้งบดมีตัวบงั คับทิศทางแผนหมู ที่มีชองวางใหแผนหมูที่ผานการบดไหลผานไปได เมื่อแผนหมูผานชองวางของตัว บังคับทิศทาง ทำใหถูกชุดตะขอเกี่ยวฉีกแผนหมูออกเปนเสนๆ โดยใชสวนปลายของ ตะขอเกย่ี วทม่ี ลี กั ษณะเปน ปลายแหลม ทำหนา ทฉ่ี กี หรอื ดงึ ใหเ นอ้ื หมแู ยกออกจากกนั การทำงานของเครื่องโดยใช มอเตอรไ ฟฟา เปนเครอื่ งตน กำลังขบั เคลือ่ นชดุ ลูกกลิง้ บด และชุดตะขอเกย่ี ว ซ่ึงควบคมุ การทำงานดวยสวติ ซเ ปด /ปด การออกแบบคิดคนเครื่องฉีก เสนหมูฝอยนี้ เพื่อเพิ่มกำลัง การผลิตมากยิ่งขึ้น ทดแทน การใชแรงงานคน และสามารถ ลดตน ทนุ ในการผลติ อกี ดว ย 107ทำเนียบทรพั ยสินทางปญญา มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธญั บุรี 2563

15593อนุสทิ ธเิบลขัตทร่ี เครอ�่ งตัดใบบวั หลวง วันที่จดทะเบียน : 9 ตุลาคม 2562 ชอ่ื ผูป ระดษิ ฐ : นายจตุรงค ลังกาพนิ ธ,ุ นายเอกชัย บัวคล่ี สงั กัด : คณะวศิ วกรรมศาสตร รายละเอียดผลงาน ลักษณะของเครื่องตัดใบบัวหลวง ประกอบดวย โครงสรางเครื่อง ชุดปอนลำเลียง ใบบัว ชุดตัดใบบัว กลไกลอเจนิวา ระบบสงกำลัง และใชมอเตอรเกียร (Gear Motor) ขนาด 150 วตั ต เปน ตน กำลงั เครอ่ื งตดั ใบบวั หลวงตามการประดษิ ฐน ้ี มวี ตั ถปุ ระสงค เพื่อชวยลดระยะเวลาในการทำงานและแรงงานในการตัดใบบัวหลวงสำหรับใชเปน วัตถดุ บิ ท่นี ำมาแปรรูปเปนชาใบบัวหลวงสำหรับวิสาหกจิ ขนาดกลางและขนาดยอ ม 108 RInMteUlleTcTtual Property 2020

15594อนุสิทธเบิลขตั ทร่ี รงั เลีย้ งชนั โรง กลุม ขนาดเลก็ เพอ�่ การผลติ น้ำผ้งึ เชิงพาณชิ ย วนั ท่จี ดทะเบยี น : 9 ตลุ าคม 2562 ชอ่ื ผูประดษิ ฐ : นางสาวอญั ชลี สวาสดธิ์ รรม สงั กัด : คณะเทคโนโลยีการเกษตร รายละเอียดผลงาน รังเลี้ยงชันโรง กลุมขนาดเล็กเพื่อการผลิตน้ำผึ้งเชิงพาณิชยมีลักษณะเปนกลอง สเ่ี หล่ยี มทำดวยไมประกอบดวย ฝารงั (1) รงั เล้ยี ง (2) การประดิษฐนี้มีความมงุ หมาย เพื่อใหรังเลี้ยงมีรูปแบบที่สามารถบังคับใหชันโรงวางกลุมถวยตัวออนที่แยกจาก บริเวณที่สรางถวยเก็บน้ำผึ้งอยางชัดเจนเพื่อสะดวกในการเก็บเกี่ยวน้ำผึ้งและ ภายหลังการเก็บน้ำผึ้ง หากน้ำพึ่งไหลเยิ้มออกมาเปอนบริเวณพื้นรังก็จะสามารถ ทำความสะอาด เช็ดใหแหงไดงายโดยสูญเสียกลุมถวยตัวออนนอย เปนวิธีที่เก็บ นำ้ ผงึ้ ไดสะดวกและในปรมิ าณมากยิง่ ข้นึ 109ทำเนยี บทรพั ยส นิ ทางปญญา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 2563

อนุสทิ ธิบัตร 15628เลขท่ี สตู รการผลติ ไมอดั จากตำแยแมว และกรรมวธ� ีการผลติ วนั ทจี่ ดทะเบยี น : 25 ตลุ าคม 2562 ชื่อผูประดิษฐ : นางสาวพรสริ ี พลายศรีโพธิ์ และนายณัฐพล ซอฐานุศักดิ์ สังกัด : คณะศลิ ปกรรมศาสตร รายละเอียดผลงาน ลักษณะของไมอดั จากตำแยแมวประกอบดวย ขเี้ ลอ่ื ยไม ตำแยแมว และ วัสดยุ ดึ ติด ความมุงหมายของการประดิษฐน ้ี เพอื่ พัฒนาไมอ ดั จากตำแยแมวทีม่ ีฤทธ์ใิ นการลอ และดึงดูดแมวเพื่อการใชเปนวัสดุตั้งตนในการผลิตของเลน เครื่องใชแมว และ ผลิตภณั ฑส ำหรบั แมวซ่ึงสามารถใชด ึงดูดใหแ มวอยูกบั ท่ีพักอาศยั แกปญหาท่ีแมว ชอบหนอี อกจากบานได 110 IRnMteUlleTcTtual Property 2020

อนสุ ิทธิบัตร 15672เลขท่ี กลองจดหมายแจง เตือนอัตโนมัติ วนั ทีจ่ ดทะเบียน : 8 พฤศจกิ ายน 2562 ช่ือผปู ระดษิ ฐ : ผูชว ยศาสตราจารย ดร.ชตุ ิมา ประสาทแกว สังกดั : คณะวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี รายละเอยี ดผลงาน ลักษณะของกลองจดหมายแจงเตือนอัตโนมัติประกอบไปดวยการทำงาน 5 สวน คอื 1) การรบั คา (input) จากโมดลู เซนเซอร 2) การลงทะเบยี นผา นแอปพลชิ นั ไลน และซิมการด (SIM Card) 3) การติดตั้งกลองจับภาพ 4) การบันทึกวันที่และเวลา ลงบนหนวยความจำสำรอง 5) การสงแจงเตือนมี 2 ทางเลือกคือรับเอสเอ็มเอส แจง เตอื นในกรณที ไ่ี มม สี ญั ญาณอนิ เทอรเ นต็ และสง ขอ มลู ไปยงั แอปพลเิ คชนั ไลน ผูร บั สามารถตรวจสอบขอมูลยอ นหลงั ได มแี บตเตอรี่ มีเสาสญั ญาณเชอ่ื มตอ อนิ เทอรเนต็ ไรสายแบบวายฟาย (WIFI) ความมงุ หมายของประดิษฐนค้ี ือ เพอื่ ใหกลอ งจดหมายแจง เตอื นอตั โนมัตสิ ามารถ แจงเตือนไดเมื่อมีจดหมายถูกสงเขากลองจดหมาย โดยผูรับตองลงทะเบียน แอปพลเิ คชันไลน เพอื่ รับแจงการแจง เตอื นผานไลน ทนั ทที มี่ กี ารสง เขา กลอ งจดหมาย และผูรับสามารถตรวจสอบภาพการสงจดหมายเขากลองได ดูวันที่และเวลาที่สง ยอนหลังได ในกรณีที่ผูรับการแจงเตือนไมสามารถตอสัญญาณอินเทอรเน็ตแบบ ไรสายไดระบบจะสงการแจงเตือนเปน (SMS) แทน ผูรับสามารถตรวจสอบขอมูล ไดทุกเวลา 111ทำเนียบทรัพยสนิ ทางปญญา มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธญั บุรี 2563

อนสุ ทิ ธิบัตร 15673เลขท่ี สูตรผลติ ภณั ฑเครปเคกแปงขาวไรซเบอรร่� และกรรมวธ� กี ารผลิต วันที่จดทะเบียน : 8 พฤศจกิ ายน 2562 ชอ่ื ผปู ระดิษฐ : นายไชยสิทธ์ิ พนั ธฟุ จู นิ ดา สงั กัด : คณะเทคโนโลยคี หกรรมศาสตร รายละเอียดผลงาน การประดษิ ฐน เ้ี กย่ี วขอ งกบั สว นผสมผลติ ภณั ฑเ คก แปง ขา วไรซเ บอรร โ่ี ดยมสี ว นผสม ของแปงขาวไรซเบอรรี่เปนสวนประกอบหลัก เพื่อชวยใหมีคุณคาทางโภชนาการ และสารตานอนุมูลอิสระที่สูงกวาเครปเคกปกติทั่วไป ผลิตภัณฑเครปเคกแปงขาว ไรซเ บอรต่ี ามการประดษิ ฐน ้ี ประกอบดว ยแปง ขา วไรซเ บอร่ี แปง เคก นำ้ ตาลทราย ไขไ ก เนยสด เนยละลาย วปิ ปง ครมี โดยมกี รรมวธิ กี ารผลติ คอื นำสว นผสมทกุ อยา ง ผสมเขาดวยกนั ยกเวน วิปปง ครมี พกั ไวใ นตูเยน็ 1 ช่ัวโมง นำมากลอกบนกระทะรอ น จนแปงสุก จากนน้ั ตวี ิปปง ครมี จนขึน้ ฟู นำมาปาด ระหวางชนั้ แปงขา วไรซเบอรที่ ี่สดุ จำนวน 15 ชิ้น ความมุงหมายของการประดิษฐนี้เพื่อใหไดเครปแปงขาวไรซเบอรี่ ที่มีคุณคาทาง โภชนาการสูงและมีสารตานอนุมูลอิสระที่มากกวาเคกแปงธรรมดาทั่วไป 112 RInMteUlleTcTtual Property 2020

อนสุ ทิ ธบิ ตั ร 15716เลขท่ี รวมกับรเะทบคบนติครปวรจะสมอวบลโผรคลภกาลพวยถไามยแเบพบ่�อคคววบบคคมุ ุมรกะายระไใกหลส ารเคมี แบบแมนยำสำหรับโรงเรอ� นมาตรฐาน วันทีจ่ ดทะเบยี น : 22 พฤศจกิ ายน 2562 ช่ือผปู ระดิษฐ : นายเกรียงไกร แซมสมี ว ง สงั กัด : คณะวิศวกรรมศาสตร รายละเอียดผลงาน ระบบตรวจสอบโรคกลวยไมแบบควบคุมระยะไกลรวมกับเทคนิคประมวลผลภาพถายเพื่อ ควบคุมการใหสารเคมแี บบแมน ยำสำหรบั โรงเรอื นมาตรฐาน ประกอบดว ย จอแสดงผล (1) หนวยประมวลผล (2) ชุดควบคุมอัตราการฉีด (3) ระบบฉีด (4) และถังบรรจุสารเคมี (5) โดยภาพถายที่ไดมาจากระบบถายภาพมุมสูงเคลื่อนที่บนรางที่ทำการออกแบบไวเหนือแนว แปลงปลูกในโรงเรือนมาตรฐาน พรอมระบบควบคุมการถายภาพระยะไกลแบบติดตั้งบน ระบบเคลอื่ นที่ จากนน้ั นำภาพมุมสูงทไ่ี ดน ำเขา สรู ะบบประมวลผลภาพถาย จากนนั้ ทำการ รวบรวมขอมูล นำขอมูลที่ไดไปออกแบบระบบฉีดพนสารเคมีแบบแปรผันอัตราไดในระบบ โรงเรือนมาตรฐาน โดยเฉพาะขอมูลดานคาการกระจายตัวของโรคพืชในพื้นที่ปลูก โดยมี วัตถุประสงคตามการประดิษฐนี้ เพื่อออกแบบและสรางระบบควบคุมการใหสารเคมีแบบ แมนยำสำหรับโรงเรือนมาตรฐาน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและความแมนยำในการบริหาร จัดการการใชสารเคมี ยาปราบศัตรูพืช และลดความเสียหายที่เกิดจากการระบาดของโรคพืช ในระบบโรงเรอื นมาตรฐานแบบทันทวงที เพอ่ื ใหเกษตรกรเจา ของระบบโรงเรอื นมาตรฐาน ทราบและเขาถึงขอมูลในพื้นที่ แปลงปลูกของตนเองที่สงผล กระทบตอตนทุนการผลิตและ ปริมาณผลผลิต ไดแก ขอมูล อัตราการเจริญเติบโต ขอมูล การกระจายตัวของโรคพืชใน ชวงเวลาทีเ่ กดิ การระบาดแบบ ทนั ทว งที และขอมูลสภาพความ อดุ มสมบูรณบนแปลงปลูกน้ันๆ 113ทำเนียบทรพั ยสนิ ทางปญญา มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธัญบรุ ี 2563

สทิ ธบิ ตั รการออกแบบผลติ ภณั ฑ 70509เลขท่ี แบบพับกลอ ง วันที่จดทะเบยี น : 27 มิถนุ ายน 2562 ชื่อผอู อกแบบ : นายดนสุ รณ พุมทับทิม และนายคมสัน เรืองโกศล สงั กัด : คณะศลิ ปกรรมศาสตร รายละเอยี ดผลงาน ขอถือสิทธิในแบบผลิตภณั ฑ ซึ่งไดแ ก รปู ราง ลกั ษณะ ของแบบพับกลอง ดงั มี รายละเอียดตามทป่ี รากฏในภาพแสดงแบบผลติ ภัณฑ ซง่ึ ไดย ่นื มาพรอมนี้ 114 IRnMteUlleTcTtual Property 2020

สทิ ธบิ ัตรการออกแบบผลติ ภัณฑ 70876เลขท่ี เคร่อื งกรองน้ำ วันทจ่ี ดทะเบียน : 24 กรกฎาคม 2562 ช่ือผอู อกแบบ : ผชู ว ยศาสตราจารยธรรมศกั ด์ิ โรจนว ิรฬุ ห, นางสาวอรกช สทุ ธิวฒั นกลุ , นางสาวรววี รรณ ชัชวาลย, นายณัฐพงศ โนจิตร, นางสาวนสั พรรณพร เย่ยี มบญุ ชัย, นางสาวไพลิน บวั พันธ, รองศาสตราจารยส ัญญา สริ ิวิทยาปกรณ, สงั กัด : คณะวิศวกรรมศาสตร รายละเอียดผลงาน ขอถือสทิ ธใิ นแบบผลติ ภัณฑ ซ่ึงไดแ ก รปู ราง ลักษณะ ของเครอื่ งกรองน้ำ ดงั มี รายละเอียดตามทปี่ รากฏในภาพแสดงแบบผลติ ภณั ฑ ซึ่งไดย นื่ มาพรอ มน้ี 115ทำเนียบทรัพยส ินทางปญญา มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุรี 2563

71267สทิ ธิบตั รการออกแบบผลิตภเลณั ขฑที่ เคร่�องกร�ดและขด� ไสกก วนั ท่จี ดทะเบยี น : 28 สงิ หาคม 2562 ชือ่ ผอู อกแบบ : นายอภริ มย ชเู มฆา สงั กัด : คณะครศุ าสตรอุตสาหกรรม รายละเอยี ดผลงาน ขอถอื สิทธิในแบบผลติ ภณั ฑ ซ่งึ ไดแก รูปราง ลกั ษณะ ของกรีดและขูดไสกก ดังมรี ายละเอียดตามทปี่ รากฏในภาพแสดงแบบผลิตภัณฑ ซง่ึ ไดย น่ื มาพรอมน้ี 116 IRnMteUlleTcTtual Property 2020

สิทธิบตั รการออกแบบผลิตภัณฑ 71459เลขที่ พวงกญุ แจ วันที่จดทะเบยี น : 11 กนั ยายน 2562 ชอ่ื ผอู อกแบบ : นางสาวสุนิษา นิราช, ผูชว ยศาสตราจารยจ ฑุ ามาศ เจรญิ พงษมาลา สงั กดั : คณะศิลปกรรมศาสตร รายละเอียดผลงาน ขอถอื สิทธใิ นแบบผลิตภัณฑ ซ่งึ ไดแ ก รูปราง ลักษณะ ของพวงกุญแจ ดังมี รายละเอยี ดตามทีป่ รากฏในภาพแสดงแบบผลิตภณั ฑ ซึง่ ไดย ื่นมาพรอ มนี้ 117ทำเนยี บทรัพยส นิ ทางปญญา มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบุรี 2563

สทิ ธิบัตรการออกแบบผลิตภณั ฑ 71692เลขท่ี ลวดลายผา วันทจ่ี ดทะเบียน : 26 กันยายน 2562 ชือ่ ผูอ อกแบบ : นางสาวใจภกั ด์ิ บุรพเจตนา สังกัด : คณะศิลปกรรมศาสตร รายละเอยี ดผลงาน ขอถือสิทธิในแบบผลิตภัณฑ ซ่ึงไดแก รูปราง ลกั ษณะ และลวดลายของ ลวดลายผา ดงั มีรายละเอยี ดตามที่ปรากฏในภาพแสดงแบบผลิตภณั ฑ ซึง่ ไดย ื่นมาพรอ มน้ี 118 IRnMteUlleTcTtual Property 2020

สิทธบิ ัตรการออกแบบผลติ ภณั ฑ 71693เลขท่ี ลวดลายผา วันท่ีจดทะเบยี น : 26 กนั ยายน 2562 ช่อื ผอู อกแบบ : นางสาวใจภกั ด์ิ บุรพเจตนา สงั กดั : คณะศิลปกรรมศาสตร รายละเอียดผลงาน ขอถอื สิทธใิ นแบบผลติ ภัณฑ ซ่งึ ไดแก รูปราง ลกั ษณะ และลวดลายของ ลวดลายผา ดงั มีรายละเอยี ดตามท่ีปรากฏในภาพแสดงแบบผลิตภัณฑ ซึ่งไดย ื่นมาพรอมน้ี 119ทำเนยี บทรพั ยส นิ ทางปญญา มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุรี 2563

สิทธบิ ตั รการออกแบบผลติ ภณั ฑ 71694เลขท่ี ลวดลายผา วันท่ีจดทะเบียน : 26 กนั ยายน 2562 ชอ่ื ผูออกแบบ : นางสาวใจภกั ดิ์ บรุ พเจตนา สงั กัด : คณะศลิ ปกรรมศาสตร รายละเอียดผลงาน ขอถือสทิ ธิในแบบผลติ ภณั ฑ ซึ่งไดแ ก รปู ราง ลกั ษณะ และลวดลายของ ลวดลายผา ดงั มีรายละเอยี ดตามทีป่ รากฏในภาพแสดงแบบผลติ ภัณฑ ซ่ึงไดย น่ื มาพรอ มนี้ 120 IRnMteUlleTcTtual Property 2020

สิทธบิ ัตรการออกแบบผลิตภัณฑ 71695เลขที่ ลวดลายผา วันทจ่ี ดทะเบียน : 26 กันยายน 2562 ชอื่ ผูออกแบบ : นางสาวใจภกั ด์ิ บรุ พเจตนา สังกดั : คณะศิลปกรรมศาสตร รายละเอียดผลงาน 121ทำเนียบทรัพยสินทางปญญา มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุรี 2563

สิทธบิ ัตรการออกแบบผลิตภัณฑ 71696เลขท่ี ลวดลายผา วนั ทีจ่ ดทะเบียน : 26 กันยายน 2562 ชื่อผอู อกแบบ : นางสาวใจภักดิ์ บุรพเจตนา สังกัด : คณะศิลปกรรมศาสตร รายละเอียดผลงาน ขอถือสิทธใิ นแบบผลิตภณั ฑ ซึง่ ไดแก รปู ราง ลกั ษณะ และลวดลายของ ลวดลายผา ดังมรี ายละเอียดตามท่ีปรากฏในภาพแสดงแบบผลติ ภัณฑ ซ่ึงไดย ื่นมาพรอมนี้ 122 RInMteUlleTcTtual Property 2020

สิทธบิ ัตรการออกแบบผลิตภณั ฑ 72205เลขท่ี เสื้อ วันท่จี ดทะเบยี น : 25 ตลุ าคม 2562 ชื่อผอู อกแบบ : ผชู ว ยศาสตราจารยอ อ ยทพิ ย ผูพฒั น สังกัด : คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร รายละเอียดผลงาน ขอถือสิทธใิ นแบบผลติ ภัณฑ ซ่ึงไดแก รูปราง ลักษณะ และลวดลายของ เสื้อ ดงั มี รายละเอยี ดตามที่ปรากฏในภาพแสดงแบบผลิตภณั ฑ ซงึ่ ไดย ่ืนมาพรอมน้ี 123ทำเนยี บทรพั ยส นิ ทางปญญา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุรี 2563

72206สิทธิบตั รการออกแบบผลิตภเลัณขฑท่ี เส้ือ วนั ท่ีจดทะเบยี น : 25 ตลุ าคม 2562 ชอื่ ผูออกแบบ : ผชู วยศาสตราจารยอ อ ยทพิ ย ผพู ฒั น สงั กดั : คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร รายละเอยี ดผลงาน ขอถอื สิทธิในแบบผลิตภัณฑ ซ่งึ ไดแก รูปราง ลกั ษณะ และลวดลายของ เสื้อ ดังมี รายละเอียดตามท่ีปรากฏในภาพแสดงแบบผลิตภัณฑ ซึง่ ไดยืน่ มาพรอมนี้ 124 IRnMteUlleTcTtual Property 2020

สิทธิบตั รการออกแบบผลติ ภัณฑ 72796เลขที่ เสอ้ื วันที่จดทะเบยี น : 22 พฤศจิกายน 2562 ชื่อผูอ อกแบบ : นางสาวศุภนชิ า ศรวี รเดชไพศาล สงั กดั : คณะเทคโนโลยคี หกรรมศาสตร รายละเอยี ดผลงาน ขอถือสิทธใิ นแบบผลติ ภัณฑ ซึง่ ไดแ ก รูปราง ลกั ษณะ และลวดลายของ เสอื้ ดงั มี รายละเอียดตามท่ปี รากฏในภาพแสดงแบบผลิตภณั ฑ ซึง่ ไดยื่นมาพรอ มนี้ 125ทำเนยี บทรัพยสนิ ทางปญญา มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุ ี 2563

สทิ ธบิ ตั รการประดิษฐ 73449เลขที่ เตาเผาเชือ้ เพลิงแขง็ แบบใชวสั ดพุ รนุ และมกี ารสลบั ทศิ ทางการไหลของแกสเปน จังหวะ วันทจ่ี ดทะเบยี น : 27 ธนั วาคม 2562 ชื่อผูป ระดิษฐ : ผชู วยศาสตราจารยบุณยฤ ทธิ์ ประสาทแกว สงั กดั : คณะวศิ วกรรมศาสตร รายละเอยี ดผลงาน เทคโนโลยกี ารสง เสรมิ การถา ยโอนความรอ นดว ยวสั ดพุ รนุ สามารถเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพ เชงิ ความรอ นของระบบเตาเผาไดด ี ลดมลพษิ ทป่ี ลอ ยออกมากบั ไอเสยี และสามารถ ลดขนาดของระบบลงได อยางไรก็ตาม ที่ผานมายังไมมีผูใดนำเทคโนโลยีนี้มาใชกับ เตาเผาที่ใชเชื้อเพลิงแข็งมากอน สิ่งประดิษฐนี้เปนเตาเผาเชื้อเพลิงแข็งเพื่อผลิต น้ำรอนแบบที่มีการติดตั้งวัสดุพรุนและมีการสลับทิศทางการไหลของอากาศและ ไอเสียเปนจังหวะ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของเตาเผาใหสูงขึ้น 126 IRnMteUlleTcTtual Property 2020

ทำเนียบทรัพยส ินทางปญญา ประจำป พ.ศ. 2563 127ทำเนยี บทรพั ยสนิ ทางปญ ญา มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ ี 2563

อนุสทิ ธิบตั ร 15877เลขท่ี เคร�่องฝานกลวย วนั ท่จี ดทะเบยี น : 30 มกราคม 2563 ชื่อผูประดิษฐ : นางดลหทัย ชูเมฆา, นายอภริ มย ชูเมฆา สังกดั : คณะวศิ วกรรมศาสตร รายละเอยี ดผลงาน เครื่องฝานกลวย ประกอบดวย โครงเคร่ืองทม่ี ีลกั ษณะ เปนโครงเครื่องสี่เหลี่ยม ดานลางของโครงเครื่องเปน ขาตั้งสี่ขา มีลอสำหรับเคลื่อนยาย มีมอเตอรสงกำลัง เกียรท ด ปรบั ความเร็วรอบกอนสง กำลังไปยงั สายพาน และมูเลของแกนเพลาของจานกลม ซึ่งอยูตรงกลาง ตัวเครื่องใชขับเคลื่อนจานกลมยึดใบมีดใหหมุน เปน วงกลม เพื่อใหใบมีดเขาฝานผลกลวย อยูภายในตัว เครื่องที่มีลักษณะเปนทรงกระบอก มีสวิตซเปด-ปด เครอ่ื ง ตดิ ต้ังท่ีดา นขางของโครงเครื่อง ดานบนตวั เครือ่ ง เปนแผนฝาครอบกลม มีชองปอนเปน ของอ 90 องศา เช่ือมติดกับแผนฝาครอบกลม ภายในตวั เครื่องซ่ึงติดตง้ั จานกลม จะเชอ่ื มยดึ ตดิ กับปลายดานหนึ่งของ แกนเพลา ของจานกลม เจาะชองสเ่ี หล่ียม 2 ฝง เพอ่ื ตดิ ตงั้ ใบมดี และแผน ปรบั ขนาดความหนาของแผนกลว ย ฝงละ 1 ชดุ เพื่อปรับขนาดความหนาของแผนกลวยตามตองการ ที่บริเวณโดยรอบจานกลมจะถูกครอบดวย ตัวเครื่อง มีตวั ล็อก สำหรับลอ็ กแผนฝาครอบกลมไวก ับตวั เครือ่ ง ที่ดานขาง แผนกลวยที่ฝานแลวจะตกลงสูถาด รองรับ ซึ่งวางบนชั้นวางถาดรองรับ ความมุงหมายของการ ประดิษฐนี้คือ จัดใหมีเครื่องฝานกลวยเพื่อใชในการ ฝานกลวยใหมีลักษณะเปนแผนกลวยบางเทากัน ดวยการเปด-ปดสวิตซการทำงานของเครื่องและปอน ผลกลวย โดยไมตองใชแรงงานคนฝานกลวยรวมกับ เครื่อง สงผลใหทำงานไดอยางรวดเร็ว และลดความ เมื่อยลาของรางกาย 128 IRnMteUlleTcTtual Property 2020

สิทธิบตั รการออกแบบผลติ ภัณฑ 74133เลขที่ ของประดบั ตกแตง วนั ท่ีจดทะเบยี น : 30 มกราคม 2563 ช่ือผอู อกแบบ : นายสุวัฒน แสนขัติยรตั น สงั กัด : คณะศิลปกรรมศาสตร รายละเอียดผลงาน ขอถอื สทิ ธิในแบบผลิตภัณฑ ซงึ่ ไดแ ก รปู ราง ลักษณะ ของ ของประดับตกแตง ดังมรี ายละเอยี ดตามที่ปรากฏในภาพแสดงแบบผลิตภณั ฑ ซ่งึ ไดย่ืนมาพรอ มนี้ 129ทำเนียบทรัพยส ินทางปญญา มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุรี 2563

อนุสทิ ธิบัตร 15971เลขที่ กรรมวธ� ีการผลติ บรรจ�ภณั ฑกระดาษจากเย่อื พช� ผสมสารสมุนไพร เพอ�่ ควบคมุ การเกิดโรคของผลไม วันทจ่ี ดทะเบียน : 28 กุมภาพนั ธ 2563 ช่ือผูประดิษฐ : นางประทมุ ทอง ไตรรัตน, นางสมพร เจนคุณาวัฒน สังกัด : คณะเทคโนโลยีส่ือสารมวลชน รายละเอียดผลงาน การประดิษฐน ี้มีวัตถุประสงคเ พ่ือแกไขปญหาทีไ่ ดกลาวไวขา งตน โดยกรรมวิธกี ารผลิตบรรจุภัณฑ กระดาษจากเยอ่ื พชื ผสมสารสมนุ ไพรเพอ่ื ควบคมุ การเกดิ โรคของผลไม ซง่ึ เปน ผลติ ภณั ฑ ทผ่ี ลติ ดวยมือจากวัสดุธรรมชาติไมมีสารเคมีอันตราย เยื่อหรือเสนใยที่ใชในการผลิตบรรจุภัณฑ ผลิตจากเศษเหลือทิ้งทางการเกษตรและวัชพืช ทำการผลิตบรรจุภัณฑโดยการนำเยื่อที่ไดมาผสม กบั พชื สมนุ ไพรท่ีมคี ุณสมบัติในการปอ งกันกำจัดเชือ้ สาเหตุโรคพืช โดยทำการผสมท้งั สวนของ พืชสมุนไพร โดยการนำสมนุ ไพรมาหน่ั และทำการผสมน้ำและทำการปน ดว ยเครอื่ งปนน้ำผลไม เพื่อใหไดสารสกัดในรปู แบบของนำ้ และนำไปสกดั ดว ยวธิ ีการสกัดสกดั เย็นไดเ ปนน้ำมนั หอมระเหย ของพืชสมนุ ไพร เพื่อนำไปฉดี ลงในบรรจุภัณฑทขี่ ้นึ รูปพรอมทจ่ี ะทำการบรรจุผลไมแ ละทำการ ฉีดลงที่ผลไมใหทั่วทั้งตัวบรรจุภัณฑและผลไมขึ้นอยูกับขนาดของผลไมโดยใหมีปริมาณทั่วทั้ง ตัวบรรจุภณั ฑแ ละผลไมจ ากการพนดวยหวั พนแบบละเอยี ดการขนึ้ รปู บรรจุภณั ฑตามรูปรางและ ขนาดของผลไมดวยแมพิมพ ทำการผลิตแมพิมพบรรจุภัณฑผลไมชนิดตางๆ โดยการใชการ ขึ้นแบบจากการหลอปูนปลาสเตอรเพื่อเปนตนแบบในการหลอแตเมื่อนำไปผลิตจริง การทำ โมแมแบบควรเปนการหลอดวยโลหะที่จะทำใหความรอนการขึ้นรูปจะมีประสิทธิภาพของการ แหงตัวของบรรจุภัณฑไดอยางมีประสิทธิภาพ โดยการนำผลไมมาเปนแบบในการหลอและ เทปูนปลาสเตอรรอบตัวผลไมเปนไปตามขนาดรูปรางของผลไม เมอื่ ปูนปลาสเตอรแ ละทง้ิ ใหแ หง และแข็งตัวก็จะไดแมพิมพรูปแบบเทากับผลไมตนแบบในการนำไปขึ้นรูปบรรจุภัณฑตอไป การขนึ้ รปู บรรจภุ ณั ฑโดยนำเยอ่ื วางหรอื ใชมอื แตะลงบนแมพ มิ พ เน้ือเยอ่ื แหง ทำการแกะออก จากแมพมิ พก ็จะไดบรรจุภัณฑผ ลไมท ีต่ อ งการ ความมุงหมายงานการประดิษฐนี้คือ การผลิตบรรจุภัณฑผลไมจากเยื่อดึงเสนใยของพืชที่เกิด จากสง่ิ เหลอื ทิง้ ทางการเกษตร และวัชพชื ผสมกบั สมนุ ไพรท่ีมีประสิทธภิ าพในการปอ งกนั และ กำจัดเชื้อกอโรคของผลไม โดยการนำสวนของพืชสมุนไพร น้ำคั้น สารสกัด น้ำมันหอมระเหย จากสมุนไพรผสมกับเยื่อและผลิตเปนบรรจุภัณฑที่มีรูปรางตามผลไมที่ตองการบรรจุ ลักษณะ การบรรจุผลไมลงในบรรจุภัณฑแบบกลองละลูกหรือหวีจะทำใหลดการกระแทกทำใหผลไม ไมเกิดการบอบช้ำ และสารสมุนไพรที่มีอยูในบรรจุภัณฑจะทำหนาที่ในการปองกันและกำจัด เชื้อโรคที่จะเขามาทำลายผลไมระหวางการขนสงและรอจำหนาย ลักษณะของบรรจุภัณฑและ การบรรจุผลไมสามารถนำไปวางจำหนาย ไดโดยตรงและผูบริโภคสามารถเก็บรักษาผลไม บรรจุภณั ฑไดจ นกวา จะบริโภค 130 IRnMteUlleTcTtual Property 2020

สิทธบิ ตั รการออกแบบผลิตภณั ฑ 74821เลขที่ เครอ่� งแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร วนั ทีจ่ ดทะเบยี น : 28 กุมภาพันธ 2563 ชอื่ ผอู อกแบบ : นายจตุรงค ลงั กาพนิ ธุ สงั กัด : คณะวิศวกรรมศาสตร รายละเอยี ดผลงาน ขอถือสิทธิในแบบผลติ ภณั ฑ ซ่งึ ไดแ ก รูปรา ง ลักษณะ ของ เคร่อื งแปรรปู ผลผลติ ทางการเกษตร ดงั มรี ายละเอยี ดตามท่ีปรากฏในภาพแสดงแบบผลิตภัณฑ ซง่ึ ได ยื่นมาพรอมนี้ 131ทำเนียบทรพั ยสนิ ทางปญ ญา มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 2563

16041อนุสิทธเลบิ ขัตทรี่ ผลิตภณั ฑขนมชนั้ จากใบยานาง และกรรมวธ� ีการผลิต วันทีจ่ ดทะเบียน : 13 มนี าคม 2563 ชอ่ื ผูป ระดิษฐ : นายกฤตนิ ชุมแกว สงั กัด : คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร รายละเอียดผลงาน การประดิษฐนี้เกี่ยวของกับการผลิตขนมชั้นจากใบยานาง โดยมีสวนผสมของ น้ำใบยานางเปนสวนผสมประกอบ เพื่อชวยใหมีคุณคาทางโชนาการเพิ่มขึ้น ตามการประดิษฐนี้มีองคป ระกอบหลักคือ แปง มันสำปะหลงั แปงทา วยายมอ ม แปง ถั่วเขยี ว แปงเขา เจา หัวกะทิ หางกะทิ น้ำตาลทราย และน้ำใบยา นาง ความมุงหมายของการประดิษฐนี้เพื่อใหไดขนมชั้นจากใบยานางที่มีคุณคาทาง โภชนาการเพ่ิมข้นึ ไดแ ก ธาตเุ หลก็ แคลเซียม และวิตามินเอ และไดข นมชัน้ ท่มี ี ลักษณะเหนยี วนมุ 132 IRnMteUlleTcTtual Property 2020

สิทธบิ ัตรการออกแบบผลติ ภัณฑ 75241,75242,75243, เลขท่ี 75244,75245,75246 ของประดบั ตกแตง วนั ทจี่ ดทะเบยี น : 20 มีนาคม 2563 ชอื่ ผูออกแบบ : นางปานฉัตท อินทรคง สังกัด : คณะศลิ ปกรรมศาสตร รายละเอียดผลงาน ขอถอื สทิ ธิในแบบผลติ ภัณฑ ซ่งึ ไดแ ก รูปราง ลกั ษณะ ของ ของประดับตกแตง ดงั มีรายละเอียดตามทปี่ รากฏในภาพแสดงแบบผลิตภัณฑ ซง่ึ ไดย่ืนมาพรอมน้ี 133ทำเนียบทรพั ยสินทางปญ ญา มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุรี 2563

อนุสทิ ธบิ ัตร 16090เลขที่ อุปกรณผ ลติ นำ้ บร�โภคแบบพกพา วนั ท่จี ดทะเบยี น : 27 มนี าคม 2563 ช่อื ผูประดิษฐ : ผชู วยศาสตราจารยธรรมศกั ดิ์ โรจนว ริ ฬุ ห, นางสาวอรกช สุทธวิ ัฒนกลุ , นางสาววีรวรรณ ชชั วาลย, นายณฐั พงศ โนจติ ร, นางสาวนสั พรรณพร เย่ยี มบุญชัย, นางสาวไพลนิ บวั พันธ, รองศาสตราจารย ดร.สัญญา สริ วิ ทิ ยากรณ สังกดั : คณะวศิ วกรรมศาสตร รายละเอยี ดผลงาน อุปกรณผลิตน้ำบริโภคแบบพกพา ประกอบดวย สวนประกอบหลัก 3 สวน คือ 1) ชุดใหแรงดัน สำหรับสรางแรงดันในการกรองน้ำ 2) ชุดแยก อปุ กรณปนเปอ นในนำ้ สำหรับอนภุ าคส่งิ ปนเปอ น ตางๆ ใหออกจากน้ำดวยกระบวนการทางเคมี และกายภาพ และ 3) ชุดกรองดวยเยื่อกรอง (Membrane) สำหรบั การกรองนำ้ โดยทง้ั สามสว น จะทำงานรวมกันโดยเริม่ จากการสรางแรงดันแบบ มือหมุนของชุดใหแรงดันที่มีเฟองทดแรงชวยใน การสรางแรงดัน โดยเฟอ งตรงขบกบั เฟอ งสะพาน ซ่งึ เปน กา นสูบดนั ลูกสบู ใหเ กดิ แรงดนั เพอ่ื กรองน้ำ ใหผานเยื่อกรอง จึงจะไดน้ำบริโภคที่ผานตาม มาตรฐาน โดยอุปกรณดังกลาวไมจำเปนตองใช ไฟฟาในการทำงาน สามารถพกพาไดสะดวก ใชงานงาย และสามารถถอดแยกชิ้นสวนเพื่อทำ ความสะอาดและซอมแซมไดงาย 134 IRnMteUlleTcTtual Property 2020