Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ทำเนียบทรัพย์สินทางปัญญา มทร.ธัญบุรี ประจำปี 2563

ทำเนียบทรัพย์สินทางปัญญา มทร.ธัญบุรี ประจำปี 2563

Published by IRD RMUTT, 2021-10-28 03:30:28

Description: ทำเนียบทรัพย์สินทางปัญญา มทร.ธัญบุรี ประจำปี 2563

Search

Read the Text Version

อนุสิทธบิ ตั ร 16091เลขท่ี วธ� ีการแยกและปรับปรงุ คุณภาพเสน ใยกลวยใหน มุ เคร�อ่ งสำอาง และการเกษตร วันทจี่ ดทะเบยี น : 27 มีนาคม 2563 ชอ่ื ผปู ระดิษฐ : นางสาวชนากานต เรอื งณรงค, นางสาวสาคร ชลสาคร, นางสาวศิริกลุ แซล ่มิ สังกดั : คณะเทคโนโลยคี หกรรมศาสตร รายละเอยี ดผลงาน วิธีการแยกและปรับปรุงคุณภาพเสนใยกลวยใหนุม โดยการเตรียมตนกลวยเปนทอนๆ ตามความยาว ลำตน นำมาแยกกาบ แลวนำเขา เครื่องแยกเสน ใย โดยเหวยี่ งเขาเครือ่ ง แยกเสน ใยและดึงออกมาโดยดึงใหก าบ กลว ยใหส ะบัดไปมาสลบั กนั ทางซา ยและขวา จะไดเสนใยกลวยออกมา นำเสนใยกลวยที่ไดไปผึ่งลมจนเสนใยกลวยแหง และนำ เสนใยกลวยที่แหงแลวมาเขาเครื่องแยกเสนใยเพื่อตีใหเนื้อกาบกลวยสวนเกินออก จะไดเสนใยกลวยที่เรียบ เนียนนุม และสะอาดมากขึ้น ซึ่งจะใชเทคนิคการเหวี่ยงตี กาบกลว ยเขา เครื่องโดยสะบัดไปมา สลับกนั ท้ังซา ยและขวา เพอื่ สกดั เนื้อกาบสวนเกิน ออก เพื่อสกัดแยกเสนใย ใหเหลือแตเสนใยกลวยที่เกลี้ยง เรียบ เนียนนุมขึ้น โดย ผูประดษิ ฐมคี วามมงุ หมายของการประดษิ ฐน ้ี เพือ่ ผลติ และปรบั ปรงุ เสนใยกลว ยใหนมุ ดวยวิธีการเหวี่ยงเสนใยกลวยเขาเครื่องขูดเสนใยเชิงกลโดยสะบัดไปมาสลับกันทั้งซาย และขวา เมื่อออกมาแลว ใหนำไปผึ่งลมใหแหง และนำมาทำซ้ำ เพื่อสกัดเนื้อกาบ สว นเกินออก เพือ่ สกัดแยกเสนใย ใหเหลือแตเ สน ใย กลวยท่เี กลี้ยง เรยี บ เนียนนุม ขนึ้ เพอ่ื เพิม่ โอกาสในการนำไปใชใ หเ หมาะสมกบั อตุ สาหกรรมการผลติ สิ่งทอตอ ไป 135ทำเนียบทรพั ยส นิ ทางปญญา มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธญั บรุ ี 2563

สทิ ธบิ ัตรการประดษิ ฐ 75465เลขที่ เคร�่องกำเนดิ ไอน้ำแบบเผาไหมโ ดยตรง ทมี่ กี ารสง เสร�มการถา ยโอนความรอนดว ยวัสดุพรุน วนั ทจ่ี ดทะเบียน : 1 เมษายน 2563 ช่อื ผปู ระดษิ ฐ : ผชู ว ยศาสตราจารย ดร.บุณยฤ ทธ์ิ ประสาทแกว สังกดั : คณะวิศวกรรมศาสตร รายละเอียดผลงาน เทคโนโลยีการสงเสริมการถายโอนความรอนดวยวัสดุพรุนสามารถเพิ่มประสิทธิภาพ เชิงความรอน ของระบบที่เกี่ยวของกับการถายโอนความรอนโดยเฉพาะระบบการ เผาไหมไดด ี ชวยลดมลพิษทป่ี ลอ ยออกมากับไอเสยี และสามารถลดขนาดของระบบ ลงได อยางไรก็ตาม ที่ผานมายังไมมีผูใดนำเทคโนโลยีนี้มาใชกับเครื่องกำเนิดไอน้ำ มากอน ส่งิ ประดิษฐน ้ีเปนเคร่ืองกำเนิดไอนำ้ แบบใหมท อ่ี อกแบบใหการเผาไหมแ ละ การระเหยของน้ำเกิดขึ้นในหองเดียวกัน ที่เรียกวา 'เผาไหมโดยตรง' เครื่องกำเนิด ไอน้ำนี้จะไมมีการระบาย ไอเสียทิ้ง กลาวคือไอเสียหรือผลิตภัณฑจากการเผาไหม ทัง้ หมดจะผสมรวมไปกบั ไอนำ้ ทผี่ ลิตไดแ ละนำไปใช ประโยชนใ นกระบวนการตอ ไป จึงทำใหประสิทธิภาพของเครื่องกำเนิดไอน้ำและประสิทธิภาพของระบบรวมสูงขึ้น และขนาดของเคร่ืองกำเนิดไอน้ำจะมีขนาดเล็กลง 136 IRnMteUlleTcTtual Property 2020

อนุสิทธิบัตร 15876เลขท่ี สูตรผลติ ภณั ฑผ งน้ำพร�กแกงเลียงเสร�มแคลเซียม จากกา งปลา และ กรรมว�ธกี ารผลิต วันท่จี ดทะเบยี น : 30 มกราคม 2563 ช่ือผปู ระดิษฐ : นางอภญิ ญา พุกสุขสกลุ , นางสาวอรวรรณ พง่ึ คำ, นายณฐั ชรฐั แพกลุ สังกดั : คณะเทคโนโลยคี หกรรมศาสตร รายละเอียดผลงาน ลักษณะของสูตรผลิตภัณฑผงน้ำพริกแกงเลียงเสริมแคลเซียมจากกางปลา ซึ่งมี สวนประกอบของพริกไทยเม็ด กะป กงุ แหง หอมแดง และกา งปลา กรรมวธิ ีการผลิต ประกอบดวยขั้นตอนการเตรียมผงแคลเซียมจากกางปลา ขั้นตอนการเตรียมผง นำ้ พริกแกงเลียงเสรมิ แคลเซยี มจากกา งปลา ความมุงหมายของการประดิษฐเพื่อพัฒนาสูตรและกระบวนการผลิตผงน้ำพริก แกงเลียงเสริมกางปลา ใหมีปริมาณแคลเซียมสูงขึ้น โดยศึกษาคุณภาพดาน กายภาพ เคมี จุลชวี วยิ า โภชนาการ ของผงนำ้ พริกแกงเลยี งสำเรจ็ รปู เสริมกางปลา เพื่อมุงเนนใหเปนอาหารเพื่อสุขภาพ เคมี จุลชีววิทยา โภชนาการ ของผงน้ำพริก แกงเลียงสำเร็จรปู เสรมิ กางปลา เพ่อื มงุ เนนใหเ ปน อาหารเพ่ือสขุ ภาพและถา ยทอด องคค วามรสู ูชุมชนท่เี กี่ยวขอ งเพ่ือสง เสรมิ อาชพี การแปลรูปปลา โดยนำสว นเหลือ ทง้ิ จากกางปลามาแปลรปู ใหเ กิดประโยชน 137ทำเนยี บทรัพยส ินทางปญ ญา มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุรี 2563

อนุสิทธิบัตร 16186เลขที่ สตู รและกรรมวธ� กี ารผลติ ขนมรังนกท่ีมีสวนประกอบ ของสมนุ ไพรจาก ขง� ตะไคร หอมแดง และใบมะกรดู วนั ท่จี ดทะเบยี น : 1 พฤษภาคม 2563 ชอื่ ผปู ระดิษฐ : นางสาวชมภู ยิ้มโต สงั กัด : คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร รายละเอยี ดผลงาน สูตรขนมรงั นกที่มีสวนประกอบของสมนุ ไพรจาก ขิง ตะไคร หอมแดง และใบมะกรดู ตามการประดษิ ฐน ป้ี ระกอบดว ย ขงิ หอมแดง และใบมะกรดู โดยมกี รรมวธิ กี ารผลติ ทป่ี ระกอบดวยขัน้ ตอนดังน้ี การทำความสะอาดสมนุ ไพร การห่นั เปนชนิ้ ยาว จากน้ัน นำสมุนไพรไปทอดจนสุกกรอบ นำมาผสมกับน้ำเชื่อมเขมขนและเปนรูปเปนกอน ขนมรงั นก ความมุงหมายของการประดิษฐนี้ เพื่อพัฒนาผลติ ภณั ฑใ หเพิม่ คณุ คา ทางโภชนาการ ใหกับขนมไทยรูปแบบใหมที่มีความอรอยลงตัวและสงผลดีตอสุขภาพ เพื่อพัฒนา สูตรขนมรังนก ใหตรงกับผูบริโภคโดยเนนเรื่องสุขภาพเปนหลัก เพื่อเปดประชาคม อาเซียนยิ่งเปนโอกาสของผูประกอบอาชีพขนมไทยเพราะเชื่อวาในบรรดาชาติ ในอาเซียน ขนมไทยถือเปนขนมที่มีรสชาติมีความประณีต รวมถึงการการแปรรูป ผลิตภัณฑที่เนนสุขภาพของผูบริโภคเปนหลักตลอดจนเพิ่มความหลากหลายของ ผลิตภัณฑและเปนแนวทางในการนำวัตถุดิบ ที่มีในทองถิ่นมาแปรรูปเพื่อใหเกิด ประโยชน ตลอดจนเปนการสรางอาชีพที่มั่นคงใหแกผูที่สนใจในการผลิตและการ กระจายรายไดสทู อ งถ่ิน 138 IRnMteUlleTcTtual Property 2020

อนุสทิ ธบิ ตั ร 16229เลขที่ ระบบควบคุมสำหรบั โรงเพาะเห็ดถง่ั เชาแบบอตั โนมตั ิ วนั ท่ีจดทะเบยี น : 15 พฤษภาคม 2563 ชอ่ื ผูประดษิ ฐ : นายจักรี ศรนี นทฉัตร, นายสรายทุ ธ แยมประยรู สงั กดั : คณะวศิ วกรรมศาสตร รายละเอียดผลงาน โรงเพาะเหด็ ถงั เชา ท่ตี ดิ ตัง้ ระบบควบคุมแบบอตั โนมัติตามการประดษิ ฐ ประกอบดวย โครงสรางภายนอกที่ประกอบไปดวย หองเก็บความเย็น ที่มีทางเขา (2) ทางออก (3) และหลังคากันสาด (4) และโครงกรา งภายในมชี ดุ ทำความเยน็ (5) พรอ มอุปกรณ เซนเซอรว ดั อุณภมู แิ ละความชนื้ (6) มีชุดควบคมุ ปริมาณกา ซคารบอนไดออ กไซด (CO2) มีแผงวงจรควบคุม (12) เชื่อมตอกับอุปกรณภายในของโรงเพาะเห็ดถั่งเชาที่ติดตั้ง ระบบควบคมุ แบบอตั โนมตั ิ การประดษิ ฐน ้ีมีวตั ถุประสงคเ พื่อใชควบคมุ สภาพแวดลอ มและปจ จัยทีส่ ำคญั สำหรบั การเติบโตของเห็ดถั่งเชาแบบอัตโนมัติ เชน อุณหภูมิตางๆ ความชื้น และออกแบบ ระบบฆาเชื่อ ระบบดูดคารบอน รวมถึงมีการเก็บขอมูลตางๆ ผานระบบการเก็บ ขอมูลออนไลน ทั้งนี้ระบบดังกลาวจะชวยใหเห็ดถั่งเชาสามารถสรางสารคอรไดซิปน หรือ คอรไดซิปค แอชิคซึ่งไดอยางสมบูรณ และเพื่อการเพาะเลี้ยงเห็ดถั่งเชาใหมี โครงสรางและคุณภาพที่สมบูรณ และชวยใหเกษตรสรางผลผลิตเห็ดถั่งเชาไดอยาง มปี ระสทิ ธาพ 67 4 45 3 !! ! 12 1 !! ! 2 8 11 ! 139ทำเนียบทรพั ยสินทางปญ ญา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบรุ ี 2563

16294อนุสิทธเลิบขัตทรี่ กรรมว�ธีการผลติ และสูตรแผน แปะผิวหนงั บรรเทาอาการ เคลด็ ขัด ยอก ที่มสี วนผสมของสารสกดั สมนุ ไพรไทย วนั ที่จดทะเบียน : 29 พฤษภาคม 2563 ช่ือผปู ระดษิ ฐ : นางสาวเอมอร ชัยประทปี สงั กัด : วทิ ยาลัยการแพทยแผนไทย รายละเอียดผลงาน สูตรแผนแปะผิวหนังบรรเทาอาการเคล็ด ขัด ยอกที่มีสวนผสมของสารสกัด สมุนไพรไทยมีสวนประกอบหลัก ไดแก ไพล ขมิ้น การบูร ผลกระวาน กานพลู และเมนทอล ซง่ึ มกี ารวิธีการผลิตดงั นี้ การสกัดหยาบจากสมนุ ไพรในตำรับยอดยา ใชทา นำมาผสมกับพอลิเมอรกอฟลมจากธรรมชาติ (natural film former) ไดแก โชเดียมอัลจิเนต (sodium alginate) และเนื้อวานหางจระเข พลาสติไซเซอร (plasticizer) สารชว ยเพม่ิ การซึมผา นและสารอืน่ ๆ ในตำรับวธิ ีการเตรียมแผนแปะ ผิวหนังบรรเทาอาการเคล็ด ขัด ยอกที่มีสวนผสมของสารสกัดสมุนไพรไทย เรมิ่ โดยผสมสว นประกอบในรปู ของของเหลวเขาดวยกนั ทลี ะชนิด ผสมกนั จนเปน เนื้อเดียวกัน ทำการเทลงบนภาชนะพื้นผิวเรียบเพื่อใหเกิดเปนแผนแปะบางๆ แลวทำใหแ หงท่ีอณุ หภมู ิทเ่ี หมาะสม ความมุงหมายของการประดิษฐนี้ เพื่อใช แปะผิวหนังบรรเทาอาการเคล็ด ปวดบวม กระดกู เคลือ่ น ยอก ขดั ลมคงั่ ขอ ตอภายใน โดยเพิ่มความรวมมือในการใชยาของผูปวย ในการใชสมุนไพรไทย ลดการใชยาแผน ปจ จุบนั ท่มี รี าคาคอ นขางสูงและสรางมลู คา เพิ่มใหกับภูมิปญญาไทย เพื่อใหเปนท่ี ยอมรับในระดับสากล 140 IRnMteUlleTcTtual Property 2020

76547สทิ ธิบตั รการออกแบบผลิตภเลณั ขฑท่ี เคร�่องฝานผลไม วนั ท่ีจดทะเบียน : 12 มถิ นุ ายน 2563 ชื่อผูออกแบบ : นางดลหทัย ชูเมฆา, นายอภิรมย ชเู มฆา สงั กัด : คณะวศิ วกรรมศาสตร รายละเอียดผลงาน ขอถือสิทธิในแบบผลิตภัณฑ ซึ่งไดแก รูปราง ลักษณะ ของ เครื่องฝานผลไม ดงั มรี ายละเอยี ดตามทป่ี รากฏในภาพแสดงแบบผลติ ภณั ฑ ซึง่ ไดยืน่ มาพรอมนี้ รูปท่ี 1 รูปที่ 2 รูปที่ 3 รูปท่ี 4 รูปที่ 5 141ทำเนยี บทรัพยส นิ ทางปญ ญา มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุ ี 2563

16439 76548อนสุ ทิ ธเบิลขตั ทร่ี สทิ ธบิ ัตรการออกแบบผลติ ภัณฑ เลขที่ เคร่อ� งเหวย�่ งแยกน้ำออกจากหนังหมู สำหรบั ใชท ำแคบหมู วันที่จดทะเบียน : 3 กรกฎาคม 2563 วนั ที่จดทะเบยี น : 12 มถิ ุนายน 2563 ชอ่ื ผูประดษิ ฐ : นายมานพ แยม แฟง ชอื่ ผูออกแบบ : นายมานพ แยม แฟง สังกัด : คณะวศิ วกรรมศาสตร สงั กัด : คณะวิศวกรรมศาสตร รายละเอยี ดผลงาน เครือ่ งเหว่ยี งแยกนาํ้ ออกจากหนงั หมูสำหรับใชท ำแคบหมู ประกอบดวยสว นประกอบหลัก โดยมีถัง รูปทรงกระบอกซอนกันสามชั้น คือ ถังชั้นนอก (1) ถังชั้นกลาง (2) และถังชั้นใน (3) มีมอเตอร (4) สายพาน (5)มูเล (6) ชุดรองรับถังทรงกระบอกทั้งสามชั้น (7) คันโยก (8) เพลา (9) แบริ่ง (10) โครงสรางเครื่อง (11) ลอ (12) โดยมีวัตถุประสงคเพื่อชวยเหลือ ผปู ระกอบการผลิตแคบหมู เน่อื งจากชน้ั ตอนท่ีตอ งการแยกน้าํ ออกจากหนังหมู หลงั จากท่ี ผา นกระบวนการขูดขนออกแลว วธิ กี ารที่ผปู ระกอบการทำอยคู ือการนำหนังหมูแขวนที่ราว เหมือนการตากผาและรอเวลาใหน ํ้าออกจากหนังหมูจนไดค วามชืน้ ทีต่ อ งการ ซ่ึงถาตอ งการ ใหนํ้าออกจาก หนังหมูไดรวดเร็วขึ้นก็จะใชพัดลมเปาชวย ซึ่งในขั้นตอนนี้จะใชเวลานาน ทำใหเ กดิ การรอวตั ถดุ บิ ในกระบวนการถดั ไปและยงั สน้ิ เปลอื งพลงั งานไฟฟา ทเ่ี กดิ จากพดั ลม ทำใหเปนการเพิ่มตนทุนในการผลิต อีกทั้งอาจจะเกิดอันตรายกับผูปฏิบัติงานในขณะที่นำ หนงั หมไู ปตากทร่ี าวเนือ่ งจากพ้นื ท่ีทำงานมลี ักษณะล่นื ซ่ึงเกดิ จากความมนั ของน้ําทีห่ ยดลง มาจากหนงั หมู ดงั นน้ั เพอ่ื แกป ญ หาดงั กลา วผวู จิ ยั จงึ ไดอ อกแบบและสรา งเครอ่ื งเหวย่ี งแยกนา้ํ ออกจากหนังหมเู พือ่ ชว ยลดระยะเวลาและตน ทุนในการผลติ แคบหมใู หผปู ระกอบการ อกี ทงั้ ยังเพม่ิ ความปลอดภยั ใหกับผปู ฏบิ ตั งิ าน 142 IRnMteUlleTcTtual Property 2020

76549สิทธิบัตรการออกแบบผลิตภเลัณขฑท่ี เครอ�่ งแยกของเหลวในอาหาร วนั ที่จดทะเบยี น : 12 มิถุนายน 2563 ช่ือผอู อกแบบ : นายมานพ แยมแฟง สังกดั : คณะวิศวกรรมศาสตร รายละเอยี ดผลงาน ขอถือสิทธิในแบบผลติ ภณั ฑ ซึ่งไดแก รูปรา ง ลกั ษณะ ของ เคร่ืองแยกของเหลว ในอาหาร ดังมีรายละเอียดตามที่ปรากฏในภาพแสดงแบบผลิตภัณฑ ซึ่งไดยื่น มาพรอมน้ี 143ทำเนยี บทรพั ยส ินทางปญ ญา มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบรุ ี 2563

76550สทิ ธบิ ตั รการออกแบบผลิตภเลณั ขฑท่ี เคร�อ่ งกร�ดใบตอง วันที่จดทะเบยี น : 12 มถิ ุนายน 2563 ช่ือผูอ อกแบบ : นางดลหทัย ชูเมฆา, นายอภริ มย ชูเมฆา สงั กัด : คณะครุศาสตรอตุ สาหกรรม รายละเอียดผลงาน ขอถือสิทธิในแบบผลิตภัณฑ ซึ่งไดแก รูปราง ลักษณะ ของ เครื่องกรีดใบตอง ดังมีรายละเอียดตามที่ปรากฏในภาพแสดงแบบผลิตภัณฑ ซึ่งไดยื่นมาพรอมนี้ 144 IRnMteUlleTcTtual Property 2020

อนุสทิ ธบิ ตั ร 16356เลขที่ กรรมวธ� กี ารเตร�ยมสารสกัดจากบัวผนั วนั ทจ่ี ดทะเบียน : 12 มิถนุ ายน 2563 ชอ่ื ผูประดิษฐ : ผูชว ยศาตราจารย ดร.กรวนิ ทว ชิ ญ บญุ พสิ ทุ ธินนั ท สังกัด : วทิ ยาลัยการแพทยแ ผนไทย รายละเอยี ดผลงาน กรรมวิธีการเตรียมสารสกัดจากบัวผันมีขั้นตอนคือ ดอกเกสร กาน ใบ เหงา ของบัวผันมาตัดใหเปนชิ้นเล็กๆ แลวนำไปอบจนแหงแลวนำมาบดใหเปนผง และนำผงดงั กลาวไปสกดั เปนตัวทำละลาย และนำสารละลายมาทำการระเหย ตัวทำลายออก แลวนำไปทำแหงแบบจุดเยอื กแขง็ หรือแบบสเปรยลมรอน ความมงุ หมายของการประดษิ ฐค ือ เพื่อหากรรมวธิ กี ารเตรียมสารสกดั จากบวั ผัน ที่สามารถทำใหไดสารสกัดที่มีฤทธิ์ทางชีวภาพสูง สามารถนำไปใชในวัตถุดิบ สำหรบั ยา เครือ่ งสำอางและอาหารเสรมิ ได 145ทำเนียบทรัพยส นิ ทางปญ ญา มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบุรี 2563

อนสุ ทิ ธบิ ัตร 16146เลขที่ เคร�่องขอดเกล็ดปลาสำหรับปลาท่มี ขี นาดเล็ก วนั ที่จดทะเบยี น : 17 เมษายน 2563 ช่ือผูป ระดษิ ฐ : นายศริ ชิ ยั ตอ สกลุ สงั กดั : คณะวิศวกรรมศาสตร รายละเอียดผลงาน เครื่องขอดเกล็ดปลาสำหรบั ปลาทมี่ ขี นาดเลก็ ตามการประดิษฐน ปี้ ระกอบดวยโครงเครอ่ื ง (1) ตัวถัง (2) ที่มีตะแกรง (8) และใบกวน (9) ที่ติดตั้งอยูภายในตัวถัง (2) ดานบนตัวถัง (2) มฝี าปด (6) สำหรบั ปอ งกนั ไมใ หต วั ปลากระเดน็ ออกจากตวั ถงั (2) ขณะทส่ี ว นลา งของตวั ถงั มวี าลว เปด/ปด (7) ติดตง้ั อยูสำหรับการระบายน้ำออกจากตัวถัง (2) และดานลา งของตวั ถัง (2) มีถังน้ำ (16) และระบบจายน้ำไวจายน้ำไปยังตัวถัง (2) ดวยปมน้ำไฟฟา (19) เพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพในการขอดเกล็ดปลา และการขับเคลื่อนใบกวน (9) ใชมอเตอรไฟฟา (11) เปน ตน กำลงั ขบั เคลอ่ื น โดยสง ถา ยกำลงั ผา นสายพาน (12) และพเู ล (13) เพอ่ื ใหช ดุ เกยี รท ด (10) ที่เชื่อมตอเขากับใบกวน (9) เกิดการหมุนซึ่งการควบคุมการทำงานของมอเตอรไฟฟา (11) ถกู ควบคุมการทำงานดว ยสวิตชเปด -ปด (14) ที่ตดิ ตัง้ อยกู ับกลอ งควบคุม (15) ความมงุ หมายของการประดษิ ฐน ม้ี วี ตั ถปุ ระสงคเ พอ่ื ทดแทนแรงงานคนในการขอดเกลด็ ปลา ขนาดเลก็ เพอ่ื ใชห ลกั การขอดเกลด็ ปลาโดยการทำใหต วั ปลาไปสมั ผสั หรอื ขดู กบั ตะแกรง (8) จนทำใหเ กล็ดปลาหลุดออกจากตัวปลา และใชน ำ้ เพ่ือชว ยในการขอดเกล็ดรวมถงึ การทำ ความสะอาดตวั ปลา 146 RInMteUlleTcTtual Property 2020

อนุสทิ ธบิ ัตร 16509เลขที่ กรรมว�ธีการผลติ ผงอนภุ าคไมโครโปรตีนจากหอยเชอร�่ เพ่อ� ใชในงานดานสง�ิ ทอ เครอ่� งสำอาง และการเกษตร วันทจ่ี ดทะเบยี น : 17 กรกฎาคม 2563 ชือ่ ผปู ระดิษฐ : นายอภิชาติ สนธสิ มบตั ิ สังกัด : คณะวิศวกรรมศาสตร รายละเอยี ดผลงาน กรรมวิธีการผลิตผงอนุภาคไมโครโปรตีนจากหอยเชอรี่ เพื่อใชในงานดานสิ่งทอ เครอ่ื งสำอาง และ การเกษตร มขี น้ั ตอนดงั น้ี การเตรยี มหอยเชอร่ี การละลายโปรตนี จากเนอ้ื หอยเชอร่ี การทำแหง และทำใหเ ปน ผงโปรตนี การกรองอนภุ าคผงโปรตนี จากหอยเชอรี่ และการตรวจสอบความละเอียดของผงอนุภาค ไมโครโปรตีน กรรมวิธี การนำไมโครโปรตีนจากหอยเชอรี่ไปใชประโยชน ไดแก การพนสเปรยเคลือบวัสดุ ดานสิ่งทอ การผสมในสูตรการผลิตเครื่องสำอาง ปุยเสริมธาตุอาหารในการเกษตร และผสมอาหารสัตว ความมุงหมายของกรรมวิธีการผลิตผงอนุภาคไมโครโปรตีน จากหอยเชอร่ี เพอ่ื ใชในงานดานสิง่ ทอ เคร่ืองสำอาง และการเกษตรน้ีคือ การผลิต ผงอนุภาคไมโครโปรตีนจากหอยเชอรี่ ที่ละลายนํ้าได มีความบริสุทธิ์ สูง ตนทุนต่ำ และผงอนุภาคไมโครโปรตีนจากเนื้อหอยเชอรี่ที่ผลิตขึ้น สามารถนำไปใชในเชิง พาณชิ ยไ ดหลากหลายอตุ สาหกรรม ไดหลากหลายรูปแบบ เปนอกี หนึ่งทางเลอื กให กบั ผบู รโิ ภค และตอบสนองกบั ผูใชง าน มากขน้ึ กวา สินคา ท่มี ปี รากฏอยใู นทอ งตลาด 147ทำเนยี บทรพั ยส ินทางปญ ญา มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุรี 2563

สิทธบิ ัตรการออกแบบผลติ ภัณฑ 77421 77422เลขที่ ,, 77423 กระเปา วนั ทจี่ ดทะเบียน : 17 กรกฎาคม 2563 ชอ่ื ผูออกแบบ : นายกรณทั สขุ สวสั ดิ์ สังกัด : คณะเทคโนโลยคี หกรรมศาสตร รายละเอยี ดผลงาน ขอถอื สิทธิในแบบผลิตภัณฑ ซ่ึงไดแ ก รูปราง ลักษณะ และลวดลายของ กระเปา ดังมี รายละเอียดตามทีป่ รากฏในภาพแสดงแบบผลิตภัณฑ ซ่งึ ไดย่ืนมาพรอมนี้ รูปที่ 1 รปู ที่ 2 รปู ที่ 1 รปู ที่ 2 148 IRnMteUlleTcTtual Property 2020

16391อเลนขุสททิี่ ธิบัตร ชุดอุปกรณคดั แยกความสุก ของเนอ้ื สับปะรดโดยใชระดับสี วันทีจ่ ดทะเบยี น : 19 มิถุนายน 2563 ชื่อผปู ระดิษฐ : นายฉัตรชัย ศภุ พทิ ักษส กุล สงั กัด : คณะวิศวกรรมศาสตร รายละเอยี ดผลงาน ชดุ อุปกรณคัดแยกความสุกของเนื้อสบั ปะรดโดยใชร ะดับสี ประกอบดว ย โครงหลกั , ชุดสายพานลำเลียงเนื้อสับปะรด, อุโมงคใหแสง, แหลงกำเนิดแสงสวาง, อุปกรณ ตรวจวัดระดับสีความสุกของเนื้อสับปะรด, กระบอกลมหลัก, กระบอกลมรอง, รางลาด และแผนคัดแยก เพื่อนำไปใชในการชวยคัดแยกระดับความสุกของเนื้อ สับปะรดออกเปน 3 ระดับ และลดจำนวนแรงงานคนในสวนการคัดแยกระดับ ความสุกจากเฉดสีของเนื้อสับปะรด 149ทำเนยี บทรัพยส ินทางปญ ญา มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ ี 2563

อนสุ ทิ ธบิ ตั ร 16392เลขที่ ตูอ บขนมโดยใชร ะบบปด วนั ท่ีจดทะเบยี น : 19 มิถุนายน 2563 ช่อื ผปู ระดิษฐ : ผชู วยศาสตราจารย ดร.อรวัลภ อปุ ถัมภานนท สังกัด : คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร รายละเอยี ดผลงาน ลักษณะของตูอบโดยใชระบบปด ประกอบดวย ตูอบที่ (1) มีลักษณะเปนหองสี่เหลี่ยมที่มี ขนาดใหญก วาและตดิ ต้งั อยเู หนอื ตูอ บที่สอง (10) และตอู บทส่ี อง (10) ท่ีมลี กั ษณะเปน หอ ง สี่เหลี่ยม ติดตั้งอยูบนขาตั้งอยางนอยสี่ขา ซึ่งตูอบทั้งสองตูมีผนังโดยรอบเปนผนังสองชั้น ทำจากโลหะ มีตัวควบคุมอุณหภมู ิ ตวั ตงั้ เวลา และล้ินชัก (7) สำหรับพกั ขนมเพอ่ื รอขนั้ ตอน การรมควันตอไป โดยมีความมุงหมายของการประดิษฐตูอบขนมโดยใชระบบปดตามการ ประดิษฐนี้ เพื่อสรางตูอบขนมโดยใชการอบและรมควันในระบบปด เพื่อลดการใชใบจาก และมลภาวะที่เกิดจากการยาง ทำใหบรรจุภัณฑสะอาด ถูกสุขอนามัย มีความเปนสากล ยืดอายุการเก็บลดการปนเปอน รักษาคุณภาพตามหลัก GMP และสรางความสะดวกตอ ผูบริโภค แตยังคงเอกลักษณของขนมจากคือยังมีกลิ่นของใบจากอยูเปนกลยุทธในการ พัฒนาศักยภาพอาหารทองถิ่นและการตอยอดภูมิปญญา นอกจากนี้ยังใชสงเสริมใหเกิด ประโยชนในเชิงพาณิชยที่เปนพื้นฐานในการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนอยางยั่งยืน ตามแนว ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และยังสามารถผลิตไดทั้งอุตสาหกรรมขนาดเล็ก ขนาดกลาง ไปจนถึงอตุ สาหกรรมขนาดใหญ 150 RInMteUlleTcTtual Property 2020

อนุสทิ ธิบตั ร 16393เลขท่ี เคร่�องคดั ขนาดเมลด็ บวั หลวง วนั ที่จดทะเบียน : 19 มิถนุ ายน 2563 ชื่อผูประดษิ ฐ : รองศาสตราจารย ดร.จตรุ งค ลงั กาพินธุ สงั กัด : คณะวิศวกรรมศาสตร รายละเอียดผลงาน ลกั ษณะของเครอ่ื งคดั ขนาดเมลด็ บวั หลวง ประกอบดว ย โครงสรา งหลกั ชดุ คดั ขนาด ถงั ปอ นเมลด็ ระบบกำลงั สง และใชม อเตอรไ ฟฟา ขนาด 1 แรงมา เปน ตน กำลงั เครอ่ื ง คัดขนาดเมล็ดบัวหลวง ตามการประดิษฐนี้ มีวัตถุประสงคเพื่อชวยลดระยะเวลาในการ ทำงานและแรงงานในการคดั ขนาดเมลด็ บวั หลวง สำหรบั ใชกบั เคร่อื งแกะและกะเทาะ เปลือกเมล็ดบัวหลวง เพื่อใหทั้งสองเครื่องดังกลาวมีประสิทธิภาพการทำงานสูงขึ้น สำหรับใชใ นวสิ าหกจิ ขนาดกลางและขนาดยอม 151ทำเนียบทรพั ยส ินทางปญ ญา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธัญบุรี 2563

อนุสทิ ธิบัตร 16356เลขท่ี กรรมว�ธกี ารเตรย� มสารสกัดจากบวั ผนั วนั ทีจ่ ดทะเบยี น : 12 มิถุนายน 2563 ช่อื ผปู ระดิษฐ : ผชู ว ยศาตราจารย ดร.กรวินทวชิ ญ บญุ พสิ ทุ ธนิ ันท สังกัด : วิทยาลัยการแพทยแ ผนไทย รายละเอยี ดผลงาน กรรมวธิ กี ารเตรยี มสารสกดั จากบวั ผนั มขี น้ั ตอนคอื นำ ดอก เกสร กา น ใบ เหงา ของบวั ผนั มาตดั ให เปน ชน้ิ เลก็ ๆ แลว นำไปอบจนแหง แลว นำบดใหเ ปน ผง และนำผง ดงั กลา วไปสกดั กบั ตวั ทำละลาย และนำ สารละลายมาทำการระเหยตวั ทำละลายออก แลวนำไปทำแหงแบบจุดเยือกแข็งหรือแบบสเปรยลมรอน จะได สารสกัดบัวผัน ท่สี ามารถทำใหไดส ารสกัดทม่ี ีฤทธิท์ างชวี ภาพสูง สามารถนำไปใชเ ปน วัตถุดบิ สำหรับ ยา เคร่ืองสำอาง และอาหารเสรมิ ได สารสกัดจากบัวผันที่สกัดโดยใชตัวทำละลายนํ้าหรือตัวละละลายอินทรีย ผสม เขากับบัวผันที่ผานการ บดแหง นำไปเขยา นำสารละลายที่ไดมากรองหยาบดวย ผาขาวบาง และกรองละเอียดดวยกระดาษกรอง จากนั้นจึงนำไปปนเหวี่ยงอีกครั้ง แลวจงึ นำไประเหยดว ยเครอ่ื งกลน่ั ระเหยสารแบบหมนุ จนกระทง่ั สารสกัด มลี ักษณะ หนืด จึงนำไปทำแหงดวยวิธีการทำแหงแบบจุดเยือกแข็งหรือวิธีการทำแหงแบบ สเปรยลมรอน สาร สกัดที่ไดมีฤทธิ์ทางชีวภาพที่สามารถจะนำไปใชเปนวัตถุดิบหรือ สวนผสมในผลติ ภัณฑยา เครือ่ งสำอาง หรืออาหารเสริม เพ่อื ใชในดานความงามและ สรางเสรมิ สุขภาพได 152 IRnMteUlleTcTtual Property 2020

สทิ ธิบัตรการออกแบบผลิตภัณฑ 77594,77595เลขที่ กลอ งใสก ระดาษทชิ ชู วันท่ีจดทะเบียน : 24 กรกฎาคม 2563 ชอ่ื ผอู อกแบบ : นายกรณัท สขุ สวสั ดิ์ สงั กัด : คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร รายละเอยี ดผลงาน ขอถอื สิทธใิ นแบบผลิตภัณฑ ซ่ึงไดแ ก รูปรา ง ลกั ษณะ และลวดลายของ กลองใสกระดาษทิชชู ดงั มรี ายละเอียดตามท่ีปรากฏในภาพแสดงแบบผลิตภัณฑ ซึง่ ไดย น่ื มาพรอมนี้ 153ทำเนยี บทรพั ยส นิ ทางปญญา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุรี 2563

อนสุ ิทธบิ ตั ร 16679เลขที่ เคร�อ่ งอัดและรดั กระบะกาบมะพรา วดว ยระบบนิวแมติกส สำหรบั ปลกู พ�ชรากอากาศ วนั ทีจ่ ดทะเบยี น : 28 สิงหาคม 2563 ช่ือผูประดิษฐ : ผชู วยศาสตราจารย ดร.ชยั ยะ ปราณตี พลกรัง สงั กดั : คณะวิศวกรรมศาสตร รายละเอยี ดผลงาน เคร่ืองอดั และรดั กระบะกาบมะพราวดว ยระบบนวิ แมติกสสำหรบั ปลูกพืชรากอากาศ ประกอบดวย โครงเครื่อง (1) ตัวปรับแรงลม (2) วาลวมือโยกลมตัวที่หนึ่ง (3) วาลวมือโยกลมตัวที่สอง (4) วาลว มือโยกลมตัวที่สาม (5) กระบอกสูบลมตัวที่หนึ่ง (6) กระบอกสูบลมตัวที่สอง (7) กระบอกสูบลม ตัวที่สาม (8) แผนอัดกาบมะพราว (9) ราง (10) แผนกดไม (11) สวิทซเปดเครื่องฮิตเตอรรัดสาย (12) สวิทซปรับอุณหภูมิ (13) วาลวมือโยกกลมตัวที่สอง (14) ปุมปลอยสายรัด (15) แผนโตะ เครื่องอัดและรัดกระบะกาบมะพราวดวยระบบนิวแมติกสสำหรับปลูกพืชรากอากาศ (16) ชุด อุปกรณสายรัด (17) มอเตอร (18) พูลเลยตัวที่หนึ่ง (19) พูลเลยตัวที่สอง (20) เพลาสงกำลัง ตัวที่หนึ่ง (21) พูลเลยตัวที่สอง (22) เพลาสงกำลังตัวที่สอง (23) เฟองตัวที่หนึ่ง (24) เฟองตัวที่สอง (25) เฟอ งตวั ทส่ี าม (26) ลอ พาสายรดั ตวั ทห่ี นง่ึ (27) ฮสี เตอรต ดั สายรดั (28) ลอ พาสายรดั ตวั ทส่ี อง (29) ใบมีดตัดสายรัด (30) แผนจับยึดอุปกรณรัดสายกระบะกาบมะพราว (31) สายพาน (32) เพื่อ ชวยอัดและรัดกาบมะพราวเพื่อทำเปนกระบะสำหรับการปลูกพืชรากอากาศ เชน กลวยไม ที่ชวย ประหยดั เวลาในการผลิต ลดการใชแ รงงานคน ความเมอื่ ยลาของผปู ฏบิ ัตงิ าน นอกจากนี้ผลติ ภณั ฑ ที่ไดยังมีความสวยงามแข็งแรง คงทนมากขึ้น และยังเปนการนำกาบมะพราวที่เหลือใชจากการทำ ผลิตภณั ฑจากมะพราว ซ่งึ เปนการสรางรายไดใ หก มุ ชนอีกทางหน่งึ 154 RInMteUlleTcTtual Property 2020

สิทธบิ ัตรการออกแบบผลิตภเลณั ขฑที่ 78262,78263,78264, 78265,78266,78267, 78268,78269,78270 ลวดลายผา วนั ทีจ่ ดทะเบียน : 28 สงิ หาคม 2563 ชอ่ื ผอู อกแบบ : ผชู วยศาสตราจารย ดร. ออยทิพย ผูพัฒน สังกัด : คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร รายละเอียดผลงาน ขอถือสทิ ธิในแบบผลติ ภัณฑ ซ่ึงไดแ ก รปู รา ง ลกั ษณะ และลวดลายของ ลวดลายผา ดงั มีรายละเอียดตามท่ปี รากฏในภาพแสดงแบบผลิตภัณฑ ซ่ึงไดยน่ื มาพรอ มนี้ 78262 78263 78264 78265 78267 78268 78266 78269 78270 155ทำเนยี บทรพั ยส ินทางปญญา มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ ี 2563

อนุสิทธิบตั ร 16711เลขท่ี ปา ยแจงเตือนความเรว็ พลวตั แบบเคล่ือนท่ี วันท่ีจดทะเบยี น : 10 กนั ยายน 2563 ชื่อผูประดษิ ฐ : รองศาสตราจารย ดร.พทุ ธพล ทองอินทรด ำ สังกดั : คณะวิศวกรรมศาสตร รายละเอียดผลงาน ปายแจงเตือนความเร็วพลวัตรแบบเคลื่อนที่ ประกอบดวย โครงสรางของปายแจงเตือน ความเร็ว (1) กรอบปา ยแจง เตอื นความเรว็ (2) ชุดอปุ กรณจ บั ยดื (4) และสว นฐานรองรบั (5) ซึ่งเปนการคิดคน พัฒนาสิ่งประดษิ ฐขน้ึ มาโดยอาศยั การทำงานผา นอปุ กรณอ เิ ลก็ ทรอนกิ ส สำหรับการตรวจวดั ความเรว็ ของผูข ับข่ีและแสดงผลผานหนาจออิเล็กทรอนกิ สแ บบแอลอีดี โดยเครื่องมือที่พัฒนาขึ้นประกอบไปดวย ปายแจงเตือนความเร็ว ใชสำหรับตรวจจับ ความเร็วของผูขับขี่และสามารถแสดงผลแบบทันที กรอบปายแจงเตือนความเร็วสำหรับ ติดตั้งและยึดติดปายแจงเตือนความเร็ว โดยโชคค้ำยันและบานพับใชสำหรับปรับระดับ ของปายสำหรับการติดตั้งการใชงานและการเคลื่อนยาย ชุดอุปกรณจับยึดใชเปนสวน เชื่อมตอระหวางกรอบปายแจงเตือนความเร็วกับสวนฐานรองรับ โดยสวนฐานรองรับ ตดิ ต้งั อุปกรณป รับหมุนปา ยทสี่ ามารถปรบั หมุนได 360 องศา ตามแนวนอน เพ่อื ทผ่ี ขู บั ขี่ สามารถสังเกตเหน็ ปายไดอยา งชดั เจนโดยไมมีผลกระทบตอการจราจรและประสิทธิภาพ การขับขี่ของผูขับขี่ยานพาหนะ และสวนฐานรองรับสามารถยึดติดกับแร็คหลังคารถยนต (Roof Rack) ไดโดยไมจ ำเปนตองมีเสาหรือขาตั้งเพอ่ื ทำการตดิ ต้งั ปา ยแจง เตือนความเร็ว 156 IRnMteUlleTcTtual Property 2020

78261สิทธบิ ตั รการออกแบบผลิตภเลัณขฑที่ ลวดลายผา วนั ท่จี ดทะเบียน : 28 สิงหาคม 2563 ชอ่ื ผอู อกแบบ : นายกรณัท สุขสวสั ด์ิ สงั กดั : คณะเทคโนโลยคี หกรรมศาสตร รายละเอียดผลงาน ขอถือสทิ ธใิ นแบบผลติ ภัณฑ ซง่ึ ไดแ ก รปู รา ง ลกั ษณะ และลวดลายของ ลวดลายผา ดังมีรายละเอียดตามท่ปี รากฏในภาพแสดงแบบผลิตภณั ฑ ซง่ึ ไดยนื่ มาพรอ มน้ี 157ทำเนยี บทรพั ยส นิ ทางปญญา มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ ี 2563

78460สทิ ธบิ ตั รการออกแบบผลิตภเลณั ขฑท่ี โคมไฟ วันทีจ่ ดทะเบยี น : 10 กนั ยายน 2563 ชอ่ื ผูออกแบบ : ผูชว ยศาสตราจารย ดร.ชมจันทร ดาวเดือน สงั กดั : คณะศิลปกรรมศาสตร รายละเอยี ดผลงาน ขอถอื สทิ ธใิ นแบบผลติ ภณั ฑ ซง่ึ ไดแ ก รปู รา ง ลกั ษณะ ของโคมไฟ ดงั มรี ายละเอยี ดตามท่ี ปรากฏในภาพแสดงแบบผลติ ภณั ฑ ซง่ึ ไดย น่ื มาพรอ มน้ี 158 IRnMteUlleTcTtual Property 2020

79245การออกเแลบขบที่ นาิกา วันทีจ่ ดทะเบียน : 16 ตุลาคม 2563 ชอื่ ผูอ อกแบบ : นางสาวชมจนั ทร ดาวเดอื น สังกดั : คณะศิลปกรรมศาสตร รายละเอียดผลงาน ขอถอื สทิ ธใิ นแบบผลติ ภณั ฑ ซง่ึ ไดแ ก รปู รา ง ลกั ษณะ ของโคมไฟ ดงั มรี ายละเอยี ดตามท่ี ปรากฏในภาพแสดงแบบผลติ ภณั ฑ ซง่ึ ไดย น่ื มาพรอ มน้ี 159ทำเนยี บทรพั ยสินทางปญ ญา มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุ ี 2563

อนุสทิ ธบิ ตั ร 16747เลขที่ สตู รแผน แปะผิวหนังแกป วดจากสารสกดั ใบพญายอ วันท่จี ดทะเบียน : 18 กนั ยายน 2563 ชอื่ ผูประดิษฐ : ผูชว ยศาสตราจารยเอมอร ชยั ประทปี , นางสาววราพรรณ จินดาประทุม, นางสาวสุวนันท เนตรทอง, นางสาวณัฐสรา รอตเสียงคล้ำ สงั กัด : วทิ ยาลยั แพทยแ ผนไทย รายละเอยี ดผลงาน สูตรแผน แปะผวิ หนังแกป วดจากสารสกัดใบพญายอ ตามการประดิษฐนี้ประกอบดวย สารสกดั หยาบใบพญายอ ผสมกบั พอลเิ มอรก อ ฟล ม จากธรรมชาติ (natural film former) พลาสติไซเซอร (plasticizer) สารชวยเพิ่มการซึมผาน และสารอื่นๆ ในตำรับ วิธีการ เตรียมแผนแปะผิวหนังแกปวดจากสารสกัดใบพญายอ เริ่มโดยผสมสวนประกอบ ในรูปของของเหลวเขาดวยกันทีละชนิด ผสมกันจนเปนเนื้อเดียวกัน ทำการเทลง บนภาชนะพื้นผิวเรียบเพื่อใหเกิดเปนแผนแปะบางๆ แลวทำใหแหงที่อุณหภูมิที่ เหมาะสม ความมุงหมายเพื่อใชแ ปะผวิ หนงั บรรเทา อาการปวดโดยเพิม่ ความรว มมอื ในการใชยาของ ผูปวย ในการใชสมุนไพรไทย ลดการใชยาแผน ปจจุบันที่มีราคาคอ นขา งสงู และสรางมลู คาเพมิ่ ใหก บั ภมู ปิ ญ ญาไทย เพอ่ื ใหเ ปน ทย่ี อมรบั ในระดบั นานาชาติ 160 IRnMteUlleTcTtual Property 2020

16850อนสุ ทิ ธเบิลขตั ทร่ี ว�ธกี ารเตร�ยมฟองอากาศขนาดเลก็ ในน้ำ วันทจี่ ดทะเบียน : 16 ตุลาคม 2563 ช่ือผูประดษิ ฐ : นายสรพงษ ภวสปุ รยี  สงั กัด : คณะวิศวกรรมศาสตร รายละเอยี ดผลงาน วิธีการเตรียมฟองอากาศขนาดเล็กในน้ำ ประกอบดวย การเตรียมน้ำปราศจาก ไอออนโดยนำน้ำผานระบบกำจัดไอออน นำมาทำใหอุณหภูมิต่ำ จากนั้นเตรียม ฟองอากาศขนาดเลก็ ในนำ้ โดยผา นเครอ่ื งกำเนดิ ฟองอากาศระดบั นาโน และการ นำฟองอากาศนาโนผสมกับตัวเรงปฏิกิริยาโดยใชแสง โดยมีความมุงหมายของ การประดิษฐน ี้ เพ่ือใหไ ดนำ้ ทีม่ ฟี องอากาศขนาดเลก็ ทีผ่ สมตัวเรง ปฏกิ ริ ยิ าโดยใช แสงได เพอ่ื นำมาประยกุ ตใ ชใ นการบำบดั นำ้ เสยี การประมง หรอื ทางดา นเกษตรกรรม รวมถงึ ดา นวสั ดแุ ละเครอ่ื งสำอาง ชว ยทำใหป ระสทิ ธภิ าพการนำไปใชง านเพม่ิ ขน้ึ อกี ทัง้ ชว ยเพมิ่ มลู คาใหกบั ผลิตภณั ฑของชมุ ชนและระดับอุตสาหกรรม 161ทำเนียบทรัพยสนิ ทางปญ ญา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ ี 2563

16851อนสุ ิทธเบิลขัตทร่ี ขนมหมอแกงขา วแผนท่มี ีปร�มาณนำ้ ตาลตำ่ วันที่จดทะเบยี น : 16 ตุลาคม 2563 ชือ่ ผปู ระดิษฐ : นางสาวอรอุมา คำแดง, นางสาวรัตนาภรณ มะโนกจิ สงั กัด : คณะเทคโนโลยคี หกรรมศาสตร รายละเอียดผลงาน สูตรขนมหมอแกงขาวแผนที่มีปริมาณน้ำตาลต่ำ เปนผลิตภัณฑใหมที่มีการขึ้นรูป แบบแผนเพื่อใหสะดวกในการขนสง มีปริมาณน้ำตาลนอยกวา และสามารถ รับประทานไดทันที ที่มีสวนผสมประกอบดวยไขเปด น้ำตาล ขาวหอม หัวกะทิ น้ำ ใบเตย และกรรมวิธีในการผลิตที่ประกอบดวยขั้นตอน การเตรียมขาวหอม การเตรียมสวนผสม การกวนขนม การอบขนม และการขึ้นรูปขนม ขนมหมอแกงขาวแผนท่มี ีปริมาณน้ำตาลต่ำมจี ุดประสงค เพ่อื พัฒนาขนมหมอ แกง โดยการใชขาวหอมเพื่อลดปริมาณน้ำตาล จะไดรับวิตามินจากขาวหอมซึ่งดีตอ สุขภาพ อีกทั้งยังนำมาขึ้นรูปขนมเปนแผนคลายชีสแผนสามารถนำมารับประทาน เปนมื้อเชารวมกับขนมปงแซนวิช หรือขนมปงกรอบได เพื่อใหสะดวกในการขนสง การพกพา การบริโภค และยงั เปนการสรา งมลู คาเพม่ิ ใหก บั ขนมไทยอีกดวย 162 IRnMteUlleTcTtual Property 2020

79354สิทธิบตั รการออกแบบผลิตภเลณั ขฑที่ เคร�่องขอดเกลด็ ปลา วนั ท่จี ดทะเบยี น : 22 ตลุ าคม 2563 ช่อื ผอู อกแบบ : รองศาสตราจารย ดร.ศริ ชิ ยั ตอสกุล สังกัด : คณะวศิ วกรรมศาสตร รายละเอยี ดผลงาน ขอถอื สิทธิในแบบผลิตภัณฑ ซง่ึ ไดแก รปู รา ง ลกั ษณะ ของ เคร่ืองขอดเกลด็ ปลา ดงั มรี ายละเอียดตามที่ปรากฏในภาพแสดงแบบผลติ ภัณฑ ซ่งึ ไดย ่ืนมาพรอ มน้ี 163ทำเนียบทรพั ยส นิ ทางปญ ญา มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุรี 2563

การออกแบบ 79622เลขท่ี โคมไฟ วันทีจ่ ดทะเบยี น : 6 พฤศจกิ ายน 2563 ชือ่ ผูอ อกแบบ : นางสาวชมจนั ทร ดาวเดอื น สังกัด : คณะศิลปกรรมศาสตร รายละเอียดผลงาน ขอถอื สทิ ธิในแบบผลิตภัณฑ ซ่งึ ไดแ ก รูปรา ง ลกั ษณะ ของ โคมไฟ ดงั มรี ายละเอยี ด ตามท่ีปรากฏในภาพแสดงแบบผลติ ภณั ฑ ซ่ึงไดย่นื มาพรอมน้ี 164 IRnMteUlleTcTtual Property 2020

16970อนสุ ิทธเลิบขัตทรี่ กรรมวธ� ีการผลิตแคลลสั กานพลอู ัดเม็ด สำหรับพักและขนสงปลา วันทจี่ ดทะเบยี น : 26 พฤศจิกายน 2563 ช่อื ผูป ระดิษฐ : ผูช ว ยศาสตราจารย ดร.นพรตั น พทุ ธกาล, ดร.เสาวณีย บวั โทน สังกดั : คณะวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี รายละเอยี ดผลงาน กรรมวิธีการผลิตแคลลัสกานพลูอัดเม็ดสำหรับพักและขนสงปลา ประกอบดวย ข้ันตอนดังนี้การเพาะเลยี้ งเนือ้ เยอ่ื แคลลสั กานพลู การสกดั สารจากแคลลัสกานพลู กระบวนการอัดเม็ดแคลลัสกานพลูและการนำไปใชในการสงบประสาทและการ พักปลา ความมุงหมายของการประดิษฐนี้ เพื่อผลิตแคลลัสกานพูลอัดเม็ดสำหรับพักและ ขนสงปลาไดอยางปลอดภยั อกี ทง้ั ยงั เปนการแกปญ หาการขาดแคลนกานพลแู ละ ลดตนทุนในการนำเขากานพูลเพื่อประโยชนทางอุตสาหกรรม เภสัชกรรม และ ดานการประมงที่จำเปนตอการอนุบาลลูกปลา การขนสง และการพักปลาไดอยาง ปลอดภยั 165ทำเนยี บทรพั ยส ินทางปญญา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ ี 2563

16971อนุสิทธเลบิ ขัตทรี่ อปุ กรณช วยในการระบายความรอน ใหกบั คอยลร อ นของเคร่�องปรับอากาศแบบแยกสวน วันที่จดทะเบียน : 26 พฤศจิกายน 2563 ชื่อผปู ระดิษฐ : นายเกยี รตศิ ักด์ิ เเสงประดษิ ฐ สงั กดั : คณะวิศวกรรมศาสตร รายละเอียดผลงาน อปุ กรณชวยในการระบายความรอ นใหกับคอยลร อนของเคร่อื งปรบั อากาศแบบแยกสว น โดยใช แผงครบี อลมู ิเนียมในการระเหยนำ้ ท้ิงทเี่ กิดจากกระบวนการควบแนน จากคอยลเ ย็น และดกั จบั ฝนุ ละอองท่เี ขา มาพรอ มอากาศ โดยปมสบู น้ำไหลผา นแผงครีบอลมู ิเนยี ม ซ่ึงมลี กั ษณะวางเรยี ง สลับฟนปลาในแนวตั้ง เมื่อน้ำไหลผานแผงครีบอลูมิเนียมจะเกิดการระเหยของน้ำขึ้น อุณหภูมิ อากาศดา นหนาและดา นหลงั แผงที่อลมู เิ นยี มลดลงและนำ้ ท่ีไหลลงมาจะทำการดกั จบั ฝนุ ละออง ในอากาศ ทำใหฝุนละอองไมสามารถผานไปติดแผงคีบอลูมิเนียมของคอยลรอนได และการ ออกแบบแผงที่อลูมิเนียมโดยใชลมชวยในการระบายความรอนใหกับคอยลรอนของเครื่องปรับ อากาศ สามารถไหลผานได ไมเกิดการปดกั้น อีกทั้งเปนการเพิ่ม EER แกเครื่องปรับอากาศ ใหสามารถใชงานไดอยางเต็มประสิทธิภาพ ซึ่งประกอบดวย โครงสราง (1) ทอน้ำเขา (2) ทอ ระบายน้ำ (3) เซ็นเซอรวัดระดับน้ำ (14) และแผนกรองสิ่งสกปรก (16) หลอดไฟสัญญาณระดับ นำ้ ต่ำสุด (12) หลอดไฟสญั ญาณระดบั นำ้ ปานกลาง (11) หลอดไฟสญั ญาณระดับน้ำสูงสุด (10) หลอดไฟสญั ญาณการหยดุ ทำงานของปม นำ้ (9) ชดุ ควบคมุ ระดบั นำ้ (7) ทอ จา ยนำ้ (8) ชดุ ฝาปด ดานบน (5) คอมเพรสเซอร (18) คอยลรอน (19) อุปกรณลดความดัน (20) แผงคอยลเย็น (21) คอยลเย็น (22) แผนกรอบสิ่งสกปรก (16) สวนกักเก็บน้ำ (24) เซ็นเซอรวัดระดับน้ำ (14) ปมน้ำ (13) แผงครีบอลูมิเนียม (15) พัดลมของคอมเพรสเซอรทำหนาที่ดูดอากาศ (28) สวนกักเก็บน้ำ (24) ชอ งระบายนำ้ (3) ความมุงหมายของการประดิษฐนี้คือ เพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพในการระบายความรอนใหกับ คอยลรอนของเครื่องปรับอากาศแบบแยกสวน โดยใชหลักการมานน้ำลงมาเก็บไวที่แผงครีบ อลูมิเนียม เพื่อใหน้ำเย็นที่ไดจากขบวนการ ควบแนนของคอยลเย็น ทำใหครีบอลูมิเนียม เย็น ทำใหการแลกเปลี่ยนความรอนกับอากาศ มา นนำ้ เย็นและแผนครบี มีประสิทธิภาพ ทำให สามารถลดอณุ หภูมิของลมในกระบวนการระบาย ความรอ นของคอมเพรสเซอรม ปี ระสิทธภิ าพมากขึ้น นอกจากนี้มานน้ำที่ไหลลงมายังชวยดักจับฝุน ละอองที่เขามาพรอมอากาศกอนไหลผานแผง คอยลร อนไดอีกดว ย 166 RInMteUlleTcTtual Property 2020

สทิ ธบิ ัตรการออกแบบผลติ ภณั ฑ 79957เลขท่ี ลกู กลง�ิ ตัดผลผลติ ทางการเกษตร วนั ทีจ่ ดทะเบียน : 26 พฤศจกิ ายน 2563 ชอื่ ผอู อกแบบ : นายมานพ แยมแฟง สงั กัด : คณะวิศวกรรมศาสตร รายละเอยี ดผลงาน ขอถือสิทธิในแบบผลิตภัณฑ ซึ่งไดแก รูปราง ลักษณะ ของ ลูกกลิ้งตัดผลผลิต ทางการเกษตร ดังมีรายละเอียดตามที่ปรากฏในภาพแสดงแบบผลิตภัณฑ ซึ่งไดยื่นมาพรอมนี้ 167ทำเนียบทรพั ยส นิ ทางปญ ญา มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุ ี 2563

อนสุ ิทธบิ ัตร 17023เลขที่ กรรมวธ� กี ารสกัดสารสกัดจากวา นเพชรหึง สำหรับใชเ ปน สวนผสมในผลติ ภัณฑย า เคร�่องสำอาง และเสร�มอาหาร วนั ท่ีจดทะเบยี น : 4 ธนั วาคม 2563 ช่อื ผปู ระดษิ ฐ : นายกรวนิ ทวชิ ญ บุญพสิ ุทธินันท สงั กัด : วทิ ยาลยั การแพทยแผนไทย รายละเอยี ดผลงาน กรรมวิธีการสกัดสารสกัดจากวานเพชรหึง สำหรับใชเปนสวนผสมในผลิตภัณฑ ยาเครือ่ งสำอางและเสรมิ อาหาร ประกอบดวย การนำชิ้นสวนของวา นเพชรหงึ มาลา งทำความสะอาด ผงึ่ ลมใหแหง แลวพักท้งิ ไว นำมาตดั ใหเ ปน ชนิ้ เล็กๆ อบ จนแหง นำเขาเครื่องบดใหเปนผง จากนั้นผสมตัวทำละลายและผงวานเพชรหึง ใหเขา แลวนำสารละลายไปเขยา กรองหยาบและกรองละเอียด แลวปนเหวี่ยง จากนน้ั นำสารละลายทไ่ี ดไ ประเหยดว ยเครอ่ื งระเหยสารแบบหมนุ แลว นำไปทำ แหงดว ยวธิ ีการทำแหง แบบจุดเยือกแขง็ หรอื วธิ ีการทำแหงแบบสเปรยลมรอ น การประดิษฐนี้มีความมุงหมาย เพื่อพัฒนากรรมวิธีในการสกัดสารสกัดจากวาน เพชรหึง และเพื่อนำสารสกัดวานเพชรหึงที่พัฒนาไดมาใชในการเปนสวนผสม ของผลติ ภัณฑยา เครื่องสำอาง และเสริมอาหารไดม กี ารนำสวนตา งๆ ของวาน เพชรหึง มาสกัดดวยวิธีตางๆ ที่เหมาะสมเพื่อที่จะประเมินประสิทธิภาพดาน การออกฤทธท์ิ างชวี ภาพ 168 RInMteUlleTcTtual Property 2020

อนุสทิ ธิบตั ร 17024เลขที่ สูตรและกรรมวธ� ีการผลิตซอสผดั ไทย ปราศจากนำ้ ตาลและมปี รม� าณโซเดียมต่ำ วันที่จดทะเบยี น : 4 ธันวาคม 2563 ชื่อผปู ระดษิ ฐ : นายพงษศ ักดิ์ ทรงพระนาม สังกดั : คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร รายละเอยี ดผลงาน การประดิษฐน เ้ี ก่ียวขอ งกับสตู รและกรรมวิธกี ารผลิตซอสผัดไทยปราศจากนํา้ ตาล โซเดยี มตา่ํ ซง่ึ เปน ซอสผดั ไทยปรงุ สำเรจ็ ทป่ี ระกอบดว ย นา้ํ มะขามเปย ก นำ้ ปลา (โซเดียม 40%) สารใหความหวาน (ซูคราโรส) พริกปน แปง และน้ำสะอาด โดยกรรมวิธีในการทำซอสผัดไทยปราศจากนํ้าตาลโซเดียม มีขั้นตอนดังนี้ ผสม นํ้ามะขามเปยก น้ำปลา พริกปน แลวยกขึ้นตั้งไฟพอเดือด ใชไฟปานกลาง เคี่ยวใชเวลา 15 นาที ผสมแปง นํ้า และสารใหความหวาน (ซูคราโรส) นำไปใสใน สว นผสมทต่ี ้งั ไฟไว คนใหเ ขากนั ตัง้ ไฟตอ 5 นาที พอสว นผสมเขากันดี ยกลง ตัก ใสถ งุ ๆ ละ 50 กรัม ปดปากถงุ ใหส นทิ ขณะรอ น ผา นน้ําเยน็ ใหน าํ้ ซอสผัดไทยเยน็ สนิท การใชส ารใหค วามหวานทดแทนนา้ํ ตาลและใชน า้ํ ปลาโซเดยี มตา่ํ 40% มจี ดุ เดน คอื เปน ซอสผดั ไทยใหค วามหวาน แตไ มใ หพ ลงั งาน รา งกายดดู ซมึ ไมไ ด เหมาะสำหรบั ผดู ูแลสุขภาพ ตลอดจนยงั คงความเปนรสชาติ 3 รส เปรยี้ ว หวาน เค็ม กลมกลอ ม แบบต้ังเดิม ใชเ วลาทำนอยกวา สะดวก รวดเรว็ วธิ กี ารทำไมย ุงยาก สามารถทำได ในครวั เรอื น และระบบอุตสาหกรรม 169ทำเนยี บทรัพยส ินทางปญญา มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 2563

สิทธบิ ัตรการออกแบบผลิตภัณฑ 80419เลขท่ี เส้อื วันทีจ่ ดทะเบยี น : 25 ธันวาคม 2563 ชอ่ื ผูออกแบบ : นายกรณทั สุขสวสั ดิ์ สงั กดั : คณะเทคโนโลยคี หกรรมศาสตร รายละเอียดผลงาน ขอถือสิทธิในแบบผลิตภัณฑ ซึ่งไดแก รูปราง ลักษณะ และลวดลาย ของ เสื้อ ดังมีรายละเอียดตามที่ปรากฏในภาพแสดงแบบผลิตภัณฑ ซึ่งไดยื่นมาพรอมนี้ โดยไมรวมองคประกอบของสี 170 RInMteUlleTcTtual Property 2020

80420,80421สิทธิบตั รการออกแบบผลิตภเลัณขฑท่ี ชุดกระโปรง วนั ทจ่ี ดทะเบยี น : 25 ธันวาคม 2563 ชือ่ ผูออกแบบ : นายกรณทั สขุ สวัสดิ์ สังกัด : คณะเทคโนโลยคี หกรรมศาสตร รายละเอยี ดผลงาน ขอถือสทิ ธิในแบบผลติ ภัณฑ ซ่งึ ไดแ ก รปู รา ง ลักษณะ และลวดลาย ของ ชุดกระโปรง ดังมีรายละเอียดตามที่ปรากฏในภาพแสดงแบบผลิตภัณฑ ซึ่งไดยื่นมาพรอมนี้ โดยไมรวมองคประกอบของสี 171ทำเนียบทรพั ยสนิ ทางปญญา มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุรี 2563

สทิ ธิบตั รการออกแบบผลติ ภณั ฑ 80422เลขท่ี ลวดลายบนวัสดแุ ผนผืน วันทีจ่ ดทะเบียน : 25 ธันวาคม 2563 ชอื่ ผอู อกแบบ : ผูชว ยศาสตราจารยปวีณริศา บญุ ปาน สงั กัด : คณะศิลปกรรมศาสตร รายละเอียดผลงาน ขอถือสิทธิในแบบผลติ ภัณฑ ซึ่งไดแก รูปราง ลกั ษณะ และลวดลาย ของ ลวดลาย บนวัสดุแผนผืน ดังมีรายละเอียดตามที่ปรากฏในภาพแสดงแบบผลิตภัณฑ ซึ่งได ยื่นมาพรอมนี้ โดยไมรวมองคประกอบของสี 172 IRnMteUlleTcTtual Property 2020

อนสุ ิทธบิ ตั ร 17111เลขท่ี เครอ�่ งตัดใบบัวหลวงแบบกดตดั วันที่จดทะเบียน : 25 ธันวาคม 2563 ช่อื ผูประดษิ ฐ : นายจตุรงค ลังกาพินธุ สงั กัด : คณะวศิ วกรรมศาสตร รายละเอยี ดผลงาน ลกั ษณะของเครอ่ื งตดั ใบบวั หลวงแบบกดตดั ประกอบดว ย โครงสรา งเครอ่ื ง ชดุ ปอ น ลำเลียงใบบัว ชุด กดตัดใบบัว ระบบสงกำลัง และใชมอเตอรไฟฟา เปนตน กำลัง เครอ่ื งตดั ใบบวั หลวงแบบกดตดั ตามการ ประดษิ ฐน ้ี มวี ตั ถปุ ระสงคเ พอ่ื ชว ยลดระยะ เวลาในการทำงานและแรงงานในการตัดใบบัวหลวงลำหรับใชเปน วัตถุดิบที่นำมา แปรรปู เปน ชาใบบวั หลวงสำหรบั วิสาหกจิ ขนาดกลางและขนาดยอม 173ทำเนียบทรพั ยส ินทางปญญา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธญั บรุ ี 2563

RMUTT Intellectual Property 2020 ที่ปรึกษา รองศาสตราจารย ดร.สมหมาย ผิวสอาด อธิการบดี รองศาสตราจารย ดร.กฤษชนม ภมู ิกิตตพิ ชิ ญ รองอธิการบดี รองศาสตราจารย ดร.สรพงษ ภวสุปรยี  ผชู ว ยอธิการบดี ผูชวยศาสตราจารย ดร.วารุณี อริ ิยวิริยะนนั ท ผอู ำนวยการสถาบันวจิ ยั และพฒั นา ผูชว ยศาสตราจารย ดร.เกยี รตศิ ักดิ์ แสงประดษิ ฐ รองผอู ำนวยการสถาบนั วิจยั และพัฒนา ดร.ไฉน นอ ยแสง รองผอู ำนวยการสถาบนั วจิ ยั และพัฒนา คณะผูจ ัดทำ สถาบนั วิจัยและพฒั นา นางมยุรี จอยเอกา สถาบนั วจิ ัยและพัฒนา นางพัชรี ซลิ วา สถาบนั วิจัยและพฒั นา นางสาวฉตั รวดี สายใยทอง สถาบนั วจิ ัยและพฒั นา นางสาวอภญิ ญา อะภัย สถาบนั วจิ ัยและพฒั นา นางสาวประภารัตน เหล็กดี สถาบันวจิ ยั และพฒั นา นางสาวกมลวรรณ กระตา ยแกว ทำเนียบทรัพยสินทางปญญา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 2563 จัดพิมพโดย สถาบนั วิจยั และพัฒนา มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธญั บรุ ี http://www.ird.rmutt.ac.th พิมพครัง้ ท่ี 1 พฤษภาคม 2564 จำนวนพมิ พ 150 เลม เลขมาตรฐานสากลประจำหนังสอื 978-974-625-887-6 ออกแบบและพิมพท ี่ บรษิ ัท ดไี ซน ดไี ลท จำกดั 69/18 หมู 7 ต.เสาธงหนิ อ.บางใหญ จ.นนทบรุ ี 11140 174 RInMteUlleTcTtual Property 2020

ปกหนา

หนว ยจัดการทรพั ยส นิ ทางปญ ญาและถา ยทอดเทคโนโลยี สถาบนั วจิ ัยและพฒั นา มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธญั บุรี เลขท่ี 39 หมู 1 ถนนรงั สิต-นครนายก ตำบลคลองหก อำเภอธญั บุรี จังหวัดปทุมธานี 12110 โทรศัพท 0 2549 4493 โทรสาร 0 2549 4680 อีเมลล [email protected] http://www.ird.rmutt.ac.th Facebook/ Fanpage : สถาบันวจิ ัยและพัฒนา มทร.ธัญบรุ ี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook