Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วยที่ 4 การบันทึกรายการค้าในสมุดรายวันขั้นต้น

หน่วยที่ 4 การบันทึกรายการค้าในสมุดรายวันขั้นต้น

Published by kannika phiosa-ad, 2020-06-10 05:44:46

Description: หน่วยที่ 4 การบันทึกรายการค้าในสมุดรายวันขั้นต้น

Search

Read the Text Version

หน่วยที่ 4 การบนั ทกึ รายการค้าในสมุดรายวนั ข้นั ต้น โดย ครูกรรณกิ าร์ ผวิ สะอาด วชิ า 30201 – 9006 การบญั ชีการเงนิ

การบันทึกรายการค้าในสมุดรายวันทั่วไป สมุดบนั ทึกรายการข้นั ตน้ (Book of Original Entry) หมายถึง สมุดบญั ชีเลม่ แรกที่ใชจ้ ดบนั ทึกรายการคา้ แบ่งเป็น 2 ประเภท 1. สมุดรายวนั เฉพาะ (Special Journal) หมายถึง สมุด บญั ชีข้นั ตน้ ที่ใชจ้ ดบนั ทึกรายการคา้ ที่เกิดข้ึนเฉพาะเร่ืองใดเร่ืองหน่ึง เช่น สมุดรายวนั รับเงิน (Cash Receipts Journal) ใชบ้ นั ทึกรายการ คา้ ที่เก่ียวกบั การรับเงิน สมดุ รายวนั จ่ายเงิน (Cash Payments Journal) ใชบ้ นั ทึกรายการ คา้ ท่ีเก่ียวกบั การจ่ายเงิน

การบันทึกรายการค้าในสมุดรายวนั ทั่วไป สมุดบนั ทึกรายการข้นั ตน้ (Book of Original Entry) 2. สมุดรายวนั ท่ัวไป (General Journal) หมายถึง สมดุ บญั ชี ข้นั ตน้ ที่ใชจ้ ดบนั ทึกรายการคา้ ท่ีเกิดข้ึนไดท้ ุกรายการ ถา้ กิจการน้นั ไมม่ ีการใชส้ มดุ รายวนั เฉพาะ แต่ถา้ กิจการน้นั มีการใชส้ มดุ รายวนั เฉพาะแลว้ สมดุ รายวนั ทว่ั ไปมีไวเ้ พือ่ จดบนั ทึกรายการคา้ อื่น ๆ ที่ เกิดข้ึนและ ไมส่ ามารถนาไปบนั ทึกในสมดุ รายวนั เฉพาะเล่มใดเลม่ หน่ึงได้ เช่น รายการเปิ ดบญั ชี รายการปรับปรุง รายการปิ ดบญั ชี เป็ นตน้

รูปแบบของสมุดรายวนั ทั่วไป ....... สมดุ รายวนั ทว่ั ไป (1) (2) หนา้ General Journal Page........ พ.ศ...... Year รายการ เลขท่ี จานวนเงินเดบิต จานวนเงินเครดิต Description บญั ชี Debit amount Credit amount เดือน วนั ท่ี Account Month Date No. (7) (3) (4) (5) (6)

หลกั การบันทกึ รายการค้าในสมดุ รายวนั ทวั่ ไป 1. เขียน พ.ศ. … เดือน ... วนั ท่ี ... ที่เกิดรายการคา้ โดยเขียน พ.ศ. ไว้ ตอนบนของทุกหนา้ สาหรับเดือนเขียนบรรทดั แรกของรายการแรกคร้ัง เดียวใน 1 หนา้ และใชต้ วั ยอ่ ส่วนวนั ที่ใหเ้ ขียนกากบั แต่ละรายการ วนั ท่ีท่ีซ้ากนั กไ็ มต่ อ้ งเขียนวนั ท่ีอีก 2. เขียนชื่อบญั ชีที่เดบิตใหช้ ิดเสน้ ทางซา้ ยมือในช่องรายการพร้อมท้งั ลงจานวนเงินที่เดบิตลงในช่องจานวนเงินเดบิต

หลกั การบนั ทกึ รายการค้าในสมุดรายวนั ทวั่ ไป 3. เขียนช่ือบญั ชีท่ีเครดิตในบรรทดั ต่อมาโดยใหเ้ ย้อื ง ไปทางดา้ นขวามือประมาณ 1 นิ้ว พร้อมท้งั ลงจานวนเงิน ท่ีเครดิตลงในช่องจานวนเงินเครดิต 4. เขียนคาอธิบายรายการโดยยอ่ ของรายการคา้ น้นั โดยเขียนใหช้ ิดเสน้ ทางซา้ ยมือของช่องรายการ

หลกั การบนั ทกึ รายการค้าในสมดุ รายวนั ทวั่ ไป 5. ขีดเสน้ คน่ั รายการเมื่อเขียนคาอธิบายจบ โดยขีดเฉพาะ ช่องรายการเพือ่ แสดงวา่ การบนั ทึกรายการคา้ น้นั เสร็จสิ้นแลว้ 6. เขียนเลขที่บญั ชีลงในช่องเลขที่บญั ชีเม่ือมีการผา่ นรายการ (Posting) ไปยงั บญั ชีแยกประเภททว่ั ไป

การบันทกึ รายการค้าในสมุดรายวันท่ัวไป การบนั ทึกรายการคา้ ต่าง ๆ ในสมุดรายวนั ทวั่ ไปแบ่งออกเป็น 2 ลกั ษณะ คือ 1 รายการเปิ ดบัญชี (Opening Entry) หมายถึง การบนั ทึกรายการ แรกในสมุดรายวนั ทว่ั ไป ซ่ึงอาจจะเกิดจากเม่ือมีการลงทุนคร้ังแรก หรือเมื่อมีการเริ่มรอบระยะเวลาบญั ชีใหม่ (เริ่มงวดบญั ชีใหม่) 2 รายการปกติอ่ืน ๆ (Journal Entry) หมายถึง การบนั ทึกรายการคา้ ต่าง ๆ ท่ีเกิดข้ึนหลงั จากมีการบนั ทึกรายการเปิ ดบญั ชีแลว้ แต่ละวนั โดยเรียงลาดบั ก่อนหลงั ของการเกิดรายการคา้

การวเิ คราะห์รายการค้า การวิเคราะห์รายการค้า (business transaction analysis) หมายถึง การแสดงถึงผลกระทบของการเกดิ รายการค้าทก่ี ่อให้เกดิ การแลกเปลี่ยนหรือการโอนเงินหรือส่ิงของมีค่าที่ตีราคาได้เป็ นตัว เงิน ระหว่างกจิ การกบั บุคคลหรือกิจการอ่ืน อันมีผลให้จานวนเงิน ในรายการของสมการบญั ชี ได้แก่ สินทรัพย์ หนีส้ ิน และส่วนของ เจ้าของ เปลย่ี นแปลงไปในลกั ษณะเพมิ่ หรือลดลง

1. สินทรัพย์ เพม่ิ ขนึ้ ส่วนของเจ้าของเพม่ิ ขนึ้ 2. สินทรัพย์ ลดลง ส่วนของเจ้าของลดลง 3. สินทรัพย์ เพม่ิ ขนึ้ หนีส้ ินเพมิ่ ขนึ้ 4. สินทรัพย์ ลดลง หนีส้ ินลดลง 5. สินทรัพย์ชนิดหนึ่งเพม่ิ ขนึ้ สินทรัพย์อีกชนิดหน่ึงลดลง

6. หนีส้ ินชนิดหนึ่งเพม่ิ ขนึ้ หนีส้ ินอกี ชนิดหน่ึงลดลง 7. ส่วนของผู้ถือหุ้นชนิดหนงึ่ เพมิ่ ขนึ้ ส่วนของเจ้าของอกี ชนิดหนึ่งลดลง 8. หนีส้ ินเพม่ิ ขนึ้ ส่วนของเจ้าของลดลง 9. หนีส้ ินลดลง ส่วนของเจ้าของเพมิ่ ขนึ้

ตวั อย่างท่ี 4.1 นายชัยชนะ ฐานะดี เป็ นเจ้าของกจิ การคนเดยี ว ได้เปิ ดให้บริการเกยี่ วกบั การแพทย์ ชื่อ “ชัยชนะการแพทย์” โดยเร่ิมกจิ การต้ังแต่วนั ที่ 1 มกราคม 25X1 รายการค้าที่ เกดิ ขนึ้ ระหว่าง เดือนมกราคม 25X1 มดี งั ต่อไปนี้ ม.ค. 1 นายชัยชนะนาเงนิ สดมาลงทุนเป็ น จานวน 600,000 บาท

ตวั อย่างท่ี 4.1 (ต่อ) ม.ค. 3 กจิ การซื้ออปุ กรณ์การแพทย์เป็ นเงนิ สด ราคา 150,000 บาท 5 กจิ การซื้อรถยนต์ 1 คนั จากบริษทั โตโยต้า จากดั ราคา 360,000 บาท โดยจ่ายเงนิ สด ไปเพยี ง 200,000 บาท ทเ่ี หลืออกี 160,000 บาท จะจ่ายชาระภายใน 60 วนั

ตวั อย่างท่ี 4.1 (ต่อ) ม.ค. 10 กจิ การให้บริการตรวจรักษานายชาญชัยคดิ จานวน เงนิ 60,000 บาท โดยกจิ การยงั ไม่ได้รับชาระเงิน 15 กจิ การซื้อวสั ดุสานักงานจากบริษทั โชคดี จากดั ราคา 15,400 บาท โดยกจิ การจ่ายชาระเป็ นตวั๋ เงิน จ่าย 18 กจิ การได้รับชาระหนีจ้ ากนายชาญชัย จานวน 20,000 บาท

ตวั อย่างท่ี 4.1 (ต่อ) ม.ค. 26 จ่ายค่าใช้สาธารณูปโภคเป็ นเงนิ สด จานวน 14,000 บาท 30 นายชัยชนะ ถอนเงนิ สดไปใช้ส่วนตวั จานวน 40,000 บาท 31 จ่ายเงินเดือนพนักงานเป็ นเงนิ สด จานวน 25,000 บาท และในวนั นีก้ จิ การได้จ่ายชาระหนีบ้ ริษทั โตโยต้า จากดั จานวน 100,000 บาท

การวเิ คราะห์รายการค้า รายการค้า วนั ท่ี 1 มกราคม 25X1 นายชัยชนะนาเงนิ สด มาลงทุนเป็ นจานวน 600,000 สินทรัพย์ = หนีส้ ิน + ส่วนของเจ้าของ เงนิ สด = ทุน – นายชัยชนะ +600,000 = +600,000

รายการค้า วนั ที่ 3 มกราคม 25X1 กจิ การซื้ออุปกรณ์ การแพทย์เป็ นเงนิ สด ราคา 150,0 00 บาท สินทรัพย์ = หนีส้ ิน + ส่วนของเจ้าของ เงนิ สด + อุปกรณ์ = หนีส้ ิน + ทุน – นายชัยชนะ ยกมา 600,000 = 600,000 3 มกราคม -150,000 +150,000 = รวม 450,000 + 150,000 = 600,000

รายการค้า วันท่ี 5 มกราคม 25X1 กิจการซื้อรถยนต์ 1 คัน จากบริษัท โตโยต้า จากดั ในราคา 360,000 บาท กจิ การจ่ายเงินสดไปเพียง 200,000 บาท ทเี่ หลืออกี 160,000 บาท จะจ่ายภายใน 60 วัน สินทรัพย์ = หนีส้ ิน + ส่วนของเจ้าของ เงินสด + อุปกรณ์ + รถยนต์ = เจ้าหนี้ + ทุน – นายชัยชนะ ยกมา 450,000 150,000 = 600,000 600,000 5 มกราคม -200,000 + 360,000 = +160,000 + รวม 250,000 + 150,000 + 360,000 = 160,000 + 600,000

รายการค้า วันที่ 10 มกราคม 25X1 กจิ การให้การตรวจรักษา นายชาญชั ย คิดเป็ นจานวนเงิน 60,000 บาท โดยกจิ การจะยงั ไม่ได้รับชาระเงนิ สินทรัพย์ = หนีส้ ิน + ส่วนของเจ้าของ เงินสด + ลูกหนี้ + อุปกรณ์ + รถยนต์ = เจ้าหนี้ + ทุน-นาย + กาไร การค้า ชัยชนะ (ขาดทุน) ยกมา 250,000 150,000 360,000 = 160,000 600,000 10 +60,000 = + 60,000 มกราคม รายได้ รวม 250,000 + 60,000 + 150,000 + 360,000 = 160,000 + 600,000 + 60,000

รายการค้า วันที่ 15 มกราคม 25X1 กิจการซื้อวัสดุสานักงานจาก บริษัทโชคดี จากัด ในราคา 15,400 บาท โดยกิจการจ่ายชาระ เป็ นตวั๋ เงนิ จ่าย = หนสี้ ิน + ส่วนของเจ้าของ สินทรัพย์ เงนิ สด + ลูกหนี้ + วสั ดุ + อปุ กรณ์ + รถยนต์ = เจ้าหนี้ ตว๋ั เงนิ + ทุน- + กาไร การค้า สานักงาน + จ่าย นายชัย (ขาดทุ ชนะ น) ยกมา 250,000 60,00 150,000 360,00 = 160,000 600,000 60,000 15 0 0 รายได้ มกราคม +15,400 = +15,400 รวม 250,000 + 60,00 + 15,400 + 150,000 + 360,00 = 160,000 + 15,400 + 600,000 + 60,000 00

รายการค้า วันที่ 18 มกราคม 25X1 กจิ การได้รับชาระหนีจ้ ากนาย ชาญชัย จานวน 20,000 บาท สินทรัพย์ = หนสี้ ิน + ส่วนของเจ้าของ เงนิ สด + ลกู หนี้ + วสั ดุ + อุปกร + รถยนต์ = เจ้าหนี้ ตว๋ั เงนิ + ทุน-นาย + กาไร การค้า สานกั งา ณ์ + จ่าย ชัยชนะ (ขาดทุน) น ยกมา 250,000 60,00 15,400 150,00 360,00 = 160,00 15,400 600,000 60,000 18 0 000 รายได้ มกราคม +20,000 - = 20,00 0 รวม 270,000 + 40,00 + 15,400 + 150,00 + 360,00 = 160,00 + 15,400 + 600,000 + 60,000

รายการค้า วันที่ 26 มกราคม 25X1 กจิ การจ่ายค่าสาธารณูปโภค เป็ นเงินสด จานวน 14,000 บาท สินทรัพย์ = หนสี้ ิน + ส่วนของเจ้าของ เงนิ สด + ลูกหนี้ + วสั ดุ + อุปกรณ์ + รถยนต์ = เจ้าหนี้ + ตวั๋ เงนิ + ทุน- + กาไร การค้า สานกั งาน จ่าย นายชัย (ขาดทุน) ชนะ ยกมา 270,000 40,000 15,400 150,000 360,000 = 160,000 15,400 600,000 60,000 26 รายได้ มกราคม -14,000 - 14,000 = ค่าสาธารณ-ู ปโภค รวม 256,000 + 40,000 + 15,400 + 150,000 + 360,000 = 160,000 + 15,400 + 600,000 + 46,000

รายการค้า วนั ท่ี 30 มกราคม 25X1 นายชัยชนะถอนเงนิ สดไปใช้ส่วนตวั จานวน 40,000 บาท สินทรัพย์ = หนสี้ ิน + ส่วนของเจ้าของ เงนิ สด + ลกู หนี้ + วสั ดุ + อุปกรณ์ + รถยนต์ = เจ้าหนี้ + ตั๋วเงนิ + ทุน-นาย - ถอนใช้ส่วนตวั + การค้า สานกั ง จ่าย ชัยชนะ กาไร (ขาดทุน) าน 256,000 40,000 15,400 150,000 360,000 = 160,000 15,400 600,000 46,000 ยกมา -40,000 = -40,000 30 216,000 + 40,000 + 15,400 150,000 + 360,000 = 160,000 + 15,400 + 600,000 - 40,000 + 46,000 มกราคม รวม

รายการค้า วนั ที่ 31 มกราคม 25X1 จ่ายเงินเดือนพนักงาน เป็ นเงินสด 25,000 บาท สินทรัพย์ = หนสี้ ิน + ส่วนของเจ้าของ เงนิ สด + ลูกหนี้ + วัสดุ + อปุ กรณ์ + รถยนต์ = เจ้าหนี้ + ต๋ัวเงนิ + ทุน-นาย - ถอนใช้ส่วนตวั + การค้า สานักงาน จ่าย ชัยชนะ กาไร (ขาดทุน) ยกมา 216,000 40,000 15,400 150,000 360,000 = 160,000 15,400 600,000 40,000 46,000 31 -25,000 = -25,000 มกรา -100,000 เงนิ เดือน คม -100,000 รวม 91,000 + 40,000 + 15,400 + 150,000 + 360,000 = 60,000 + 15,400 + 600,000 - 40,000 + 21,000 656,400 656,400

ตารางท่ี 4.1 ความสัมพนั ธ์ของการวิเคราะห์รายการค้ากบั การจัดทางบแสดงฐานะการเงิน และงบกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ สินทรัพย์ หนสี้ ิน + ส่วนของเจ้าของ กาไร (ขาดทนุ ) สุทธิ เจ้าหนี้ ตัว๋ เงนิ จ่าย ทุน-นายชัยชนะ รายได้ ค่าใช้จ่าย รายการค้า เงนิ สด ลกู หนี้ วสั ดุ อปุ กรณ์ รถยนต์ การค้า สานกั งาน +600,000 25X1 +600,000 มกราคม 1 3 -150,000 +150,000 5 200,000 +360,000 +160,000 10 +60,000 +60,000 รายได้ 15 +15,400 ค่าบริการ 18 +20,000 -20,000 +15,400 26 -14,000 -40,000 -14,000 30 -40,000 ถอนใช้ ส่ วนตวั ค่าสาธารณปู โภค 31 -25,000 31 -100,000 -25,000 เงนิ เดือน -100,000 รวม +91,000 +40,000 +15,400 +150,000 +360,000 +60,000 +15,400 560,000 +60,000 -39,000

รวม +91,000 +40,000 +15,400 +150,000 +360,000 +60,000 +15,400 560,000 +60,000 -39,000 ผลรวมของสินทรัพย์ = กาไรสุทธิ 656,400 21,000 ส่วนของเจา้ ของ 581,000 ผลรวมของหน้ีสินและส่วนของเจา้ ของ 656,400 ร้านชัยชนะการแพทย์ ร้านชัยชนะการแพทย์ งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 มกราคม 25X1 งบกาไรขาดทนุ เบด็ เสร็จ สาหรับระยะเวลา 1 เดือน สิ้นสุด วันท่ี 31 มกราคม 25X1 สินทรัพย์ หนีส้ ินและส่วนของเจ้าของ รายได้ รายได้ค่าบริการ สินทรัพย์ หนี้สินหมนุ เวยี น 60,000 หมุนเวยี น ค่าใช้จ่าย ค่าสาธารณูปโภค 14,000 เงนิ สด 91,000 เจ้าหนี้ 60,000 เงินเดือน 25,000 39,000 ลูกหนี้การค้า 40,000 ตว๋ั เงินจ่าย 15,400 กาไร (ขาดทนุ ) สุทธิ 21,000 วัสดสุ านักงาน 15,400 หนี้สินระยะยาว สินทรัพย์ไม่หมุนเวยี น ส่ วนของเจ้ าของ อุปกรณ์การแพทย์ 150,000 ทนุ -นายชัยชนะ 600,000 รถยนต์ 360,000 บวก กาไรสุทธิ 21,000 621,000 หัก ถอนใช้ 40,000 581,000 656,400 ส่ วนตวั รวมสินทรัพย์ 656,400 รวมหนสี้ ินและส่วนของเจ้าของ

การจดั หมวดหมู่และการกาหนดผงั บญั ชี ผงั บญั ชี (chart of accounts) หมายถงึ รายการแสดงชื่อและเลขทบ่ี ญั ชีท้งั หมดทใี่ ช้ใน ระบบบญั ชีของกจิ การ โดยจดั หมวดหมู่ไว้ อย่างเป็ นระบบและมหี ลกั เกณฑ์

1. การกาหนดเลขท่ีบัญชีหลกั แรก หมวดสินทรัพย์ เลขทบี่ ัญชีประจาหมวดหลกั แรกคือ 1 หมวดหนีส้ ิน เลขทบ่ี ัญชีประจาหมวดหลกั แรกคือ 2 หมวดส่วนของเจ้าของ เลขทบ่ี ญั ชีประจาหมวดหลกั แรกคือ 3 หมวดรายได้ เลขทบี่ ญั ชีประจาหมวดหลกั แรกคือ 4 หมวดค่าใช้จ่าย เลขทบี่ ญั ชีประจาหมวดหลกั แรกคือ 5

2. การกาหนดเลขท่ีบญั ชีหลกั ท่ีสอง สินทรัพย์หมุนเวยี นและหนีส้ ินหมุนเวียน เลขท่บี ัญชีประจา ประเภทบัญชีคือ 1 สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนและหนีส้ ินระยะยาว เลขทีบ่ ัญชีประจา ประเภทบัญชีคือ 2 ส่วนของเจ้าของ เลขที่บัญชีประจาประเภทบัญชีคือ 0 รายได้และค่าใช้จ่ายจากการดาเนินงานปกติ เลขทบ่ี ัญชีประจา ประเภทบัญชีคือ 1 รายได้และค่าใช้จ่ายทไี่ ม่ได้เกดิ จากการดาเนินงานตามปกติ เลขท่ี บัญชีประจาประเภทบัญชีคือ 2

3. การกาหนดเลขทบ่ี ัญชีหลกั ที่สาม บญั ชีเงนิ สด ได้แก่ 111 บญั ชีเงนิ ก้รู ะยะยาว ได้แก่ 221 บญั ชีทุน ได้แก่ 301 บญั ชีรายได้ค่าบริการ ได้แก่ 411 บญั ชีดอกเบยี้ จ่าย ได้แก่ 519

หลกั การบันทกึ รายการทางบัญชี ห ลั ก ก า ร บั น ทึ ก ร า ย ก า ร ท า ง บั ญ ชี หมายถึง วิธีการปฏิบัติเกี่ยวกับการบันทึก รา ย ก า รค้ า ท่ีเ กิดขึ้น แ ต่ ละ ร า ย ก า ร ใ น บั ญ ชี ท่ีเก่ียวข้องอย่างเป็ นระบบ หลักการบันทึก รายการทางบัญชีมี 2 ระบบ ได้แก่

1.ระบบบัญชีเดยี่ ว ระบบบัญชีเดี่ยว (single – entry system หรือ single – entry bookkeeping) หมายถึง วิธีการบัญชีที่บันทึกเฉพาะรายการในบัญชีเงิน สดหรือบัญชีบุคคลเท่าน้ัน และมักจะไม่สมบูรณ์ ครบตามระบบบัญชีคู่ ซึ่งต้องลงรายการบัญชีท้ัง ด้านเดบิตและเครดิตจนเกดิ ดุลในตวั

2.ระบบบัญชีคู่ ระบบบัญชีคู่ (double – entry system หรือ double – entry bookkeeping) หมายถึง วิธีการท่ีใช้ปฏิบัติ ในการบนั ทกึ รายการบญั ชีต่าง ๆ ประกอบด้วยรายการในสมุด รายวันท่ัวไป รายการในสมุดแยกประเภท ตลอดจนเอกสาร หลักฐาน การบันทึกเหล่านีม้ ีระบบและประเพณีปฏิบัติต่าง ๆ ซึ่งอาจใช้ได้กบั ท้งั กจิ การขนาดเลก็ และใหญ่ - single journal entry - compound journal entry

ความหมายของคาว่าเดบติ และเครดติ เดบติ (debit) หมายถงึ 1. จานวนเงนิ ที่แสดงทางด้านซ้ายของบญั ชี 2. การลงรายการทางด้านซ้ายของบญั ชีหรือการผ่านบญั ชี อนั กระทาให้สินทรัพย์หรือค่าใช้จ่ายเพม่ิ ขนึ้ 3. การลงรายการทางด้านด้านซ้ายของบญั ชีหรือ การผ่านบญั ชีอนั กระทาให้หนีส้ ินรายการเงนิ ทนุ หรือ รายได้ลดลง

เครดติ (credit) หมายถงึ 1. จานวนเงนิ ทแี่ สดงทางด้านขวาของบญั ชี 2. การลงรายการทางด้านขวาของบญั ชีหรือการผ่านบญั ชี อนั กระทาให้หนีส้ ิน รายการเงนิ ทุนหรือรายได้เพมิ่ ขนึ้ 3. การลงรายการทางด้านขวาของบญั ชีหรือการผ่านบญั ชี อนั กระทาให้สินทรัพย์หรือค่าใช้จ่ายลดลง

สรุป 1. เดบติ หรือใช้ตวั ย่อว่า Dr หมายถึง การนาผลของ การวเิ คราะห์รายการค้าท่เี กดิ ขนึ้ มาบนั ทกึ รายการ ทางบญั ชีด้านซ้ายมือ 2. เครดติ หรือใช้ตวั ย่อว่า Cr หมายถงึ การนาผลของ การวเิ คราะห์รายการค้าที่เกดิ ขนึ้ มาบนั ทกึ รายการ ทางบญั ชีด้านขวามือ

รายการคา้ การวิเคราะห์รายการคา้ • สินทรัพยเ์ พ่มิ ข้ึน • สินทรัพยล์ ดลง • หน้ีสินลดลง • ส่วนของเจา้ ของลดลง • หน้ีสินเพม่ิ ข้ึน • ส่วนของเจา้ ของเพิ่มข้ึน • รายไดล้ ดลง • รายไดเ้ พิม่ ข้ึน • คา่ ใชจ้ ่ายลดลง • คา่ ใชจ้ ่ายเพิ่มข้ึน บนั ทึกบญั ชีดา้ นเดบิต บนั ทึกบญั ชีดา้ นเครดิต

ข้อ 4.2 ต่อไปนีเ้ ป็ นรายการค้าระหว่างเดือนกรกฎาคม 25X1 ของ “ร้านโชคดมี อเตอร์ 25X1 ก.ค. 1 นายโชคดนี าเงินสดมาลงทุน จานวน 150,000 บาท 3 นาเงินสดไปฝากธนาคาร จานวน 50,000 บาท 5 ซื้ออุปกรณ์สานักงานเป็ นเงนิ สด จานวน 40,000 บาท 8 ซื้อวัสดุสิ้นเปลืองในการซ่อมรถเป็ นเงนิ เช่ือจานวน 15,000 บ. 10 ส่งบิลเรียกเกบ็ เงินค่าบริการซ่อมรถจากลกู ค้าจานวน 20,000 บาท แต่ยงั มไิ ด้รับชาระเงนิ 13 จ่ายชาระหนีค้ ่าวสั ดุสิ้นเปลืองเป็ นเงนิ สด จานวน 10,000 บาท 15 จ่ายค่าเช่าร้านเป็ นเงนิ สด จานวน 5,000 บาท 15 รับชาระหนีจ้ ากลูกค้าเป็ นเงินสด จานวน 12,000 บาท 20 นายโชคดีถอนเงนิ มาใช้ส่วนตัวเป็ นเงนิ สด จานวน 8,000 บาท

ข้อ 4.2 ต่อไปนีเ้ ป็ นรายการค้าระหว่างเดือนกรกฎาคม 25X1 ของ “ร้านโชคดมี อเตอร์ 25X1 ก.ค. 25 รับเงนิ ค่าบริการซ่อมรถเป็ นเงนิ สด จานวน 35,000 บาท 30 จ่ายค่าสาธารณูปโภคเป็ นเงินสด จานวน 3,000 บาท 31 จ่ายเงนิ เดือนพนักงานเป็ นเงนิ สด จานวน 25,000 บาท ให้ทา วิเคราะห์รายการค้าทเ่ี กดิ ขนึ้ ในแต่ละวนั ว่ามผี ลกระทบต่อรายการใน สมการบัญชีเช่นไร โดยแสดงการวิเคราะห์เช่นเดยี วกบั ตวั อย่างที่ 3.1

ข้อ 4.2 การวเิ คราะห์รายการค้า รายการค้า วนั ท่ี 1 กรกฎาคม 25X1 นายโชคดนี าเงนิ สด มาลงทุนเป็ นจานวน 600,000 สินทรัพย์ = หนีส้ ิน + ส่วนของเจ้าของ เงนิ สด = ทุน – นายโชคดี +150,000 = +150,000

รายการค้า วนั ท่ี 3 กรกฎาคม 25X1 นาเงนิ สดไปฝาก ธนาคาร ราคา 50,0 00 บาท สินทรัพย์ = หนีส้ ิน + ส่วนของเจ้าของ เงนิ สด + เงินฝาก = หนีส้ ิน + ทุน – นายโชคดี ธนาคาร ยกมา 150,000 = 150,000 3 ก.ค. -50,000 +50,000 = รวม 100,000 + 50,000 = 150,000

รายการค้า วันท่ี 5 กรกฎาคม 25X1 ซื้ออุปกรณ์ สานักงาน เป็ นเงนิ สด 40,000 บาท สินทรัพย์ = หนีส้ ิน + ส่ วนของเจ้าของ ทุน – นายโชคดี เงนิ สด + เงินฝาก + อุปกรณ์ = เจ้าหนี้ + ธนาคาร 150,000 ยกมา 100,000 50,000 = 150,000 5 ก.ค. -40,000 + 40,000 = + รวม 60,000 + 50,000 + 40,000 = +

รายการค้า วนั ท่ี 8 กรกฎาคม ซื้อวสั ดุสิ้นเปลืองในการซ่อมรถ เป็ นเงนิ เชื่อจานวน 15,000 บ. สินทรัพย์ = หนีส้ ิน + ส่วนของเจ้าของ เงนิ สด + เงินฝาก + วสั ดุ + อุปกรณ์ = เจ้าหนี้ + ทุน-นาย + กาไร ธนาคาร สิ้นเปลือง โชคดี (ขาดทุน) ยกมา 60,000 50,000 40,000 = 150,000 8 ก.ค. +15,000 = +15,000 + รวม 60,000 + 50,000 + 15,000 + 40,000 = 15,000 + 150,000 +

รายการค้า วันที่ 11 กรกฎาคม 25X1 ส่งบิลเรียกเกบ็ เงนิ ค่าบริการ ซ่อมรถจากลกู ค้า จานวน 20,000 บาท แต่ยงั มิได้รับชาระเงิน สินทรัพย์ = หนสี้ ิน + ส่วนของเจ้าของ เงนิ สด + เงนิ ฝาก + ลกู หนี้ + วสั ดุ + อปุ กรณ์ = เจ้าหนี้ + ทุน-นาย + กาไร ธนาคาร การค้า สานักงา + โชคดี (ขาดทุน) น ยกมา 60,000 50,000 15,000 40,000 = 15,000 150,000 11 ก.ค. +20,00 = +20,000 0 รายได้ รวม 60,000 + 50,000 + 20,000 + 15,000 + 40,000 = 15,000 + + 150,000 + 20,000

รายการค้า วันที่ 13 กรกฎาคม 25X1 จ่ายชาระหนีค้ ่าวัสดุสิ้นเปลือง เป็ นเงินสด จานวน 10,000 บาท สินทรัพย์ = หนสี้ ิน + ส่วนของเจ้าของ เงนิ สด + เงนิ ฝาก + ลกู หนี้ + วสั ดุ + อุปกรณ์ = เจ้าหนี้ + ทุน-นาย + กาไร ธนาคาร การค้า สานักงา + โชคดี (ขาดทุน) น ยกมา 60,000 50,000 20,000 15,000 40,000 = 15,000 150,000 +20,000 รายได้ 13 ก.ค. -10,000 = -10,000 รวม 50,000 + 50,000 + 20,000 + 15,000 + 40,000 = 5,000 + + 150,000 + 20,000

รายการค้า วนั ท่ี 15 กรกฎาคม 25X1 จ่ายค่าเช่าร้านเป็ นเงนิ สด จานวน 5,000 บาท สินทรัพย์ = หนสี้ ิน + ส่วนของเจ้าของ เงนิ สด + เงนิ ฝาก + ลูกหนี้ + วสั ดุ + อปุ กรณ์ = เจ้าหนี้ + ทุน-นาย + กาไร ธนาคาร การค้า สานักงา + โชคดี (ขาดทุน) น ยกมา 50,000 50,000 20,000 15,000 40,000 = 5,000 150,000 +20,000 รายได้ 15 -5,000 = ค่าเช่า ก.ค. -5,000 รวม 45,000 + 50,000 + 20,000 + 15,000 + 40,000 = 5,000 + + 150,000 + 15,000

รายการค้า วนั ที่ 15 กรกฎาคม 25X1 รับชาระหนีจ้ ากลกู ค้าเป็ นเงิน สด จานวน 12,000 บาท สินทรัพย์ = หนสี้ ิน + ส่วนของเจ้าของ เงนิ สด + เงนิ ฝาก + ลูกหนี้ + วสั ดุ + อุปกรณ์ = เจ้าหนี้ + ทุน-นาย + กาไร ธนาคาร การค้า สานักงาน + โชคดี (ขาดทุน) ยกมา 45,000 50,000 20,000 15,000 40,000 = 5,000 150,000 +20,000 รายได้ - 5,000 ค่าเช่า 15 ก.ค. +12,000 -12,000 = รวม 57,000 + 50,000 + 8,000 + 15,000 + 40,000 = 5,000 + + 150,000 + 15,000

รายการค้า วันที่ 20 กรกฎาคม 25X1 นายโชคดถี อนเงนิ มาใช้ส่วนตัว เป็ นเงินสด จานวน 8,000 บาท สินทรัพย์ = หนีส้ ิน + ส่วนของเจ้าของ เงินสด + เงินฝาก + ลูกหนี้ + วสั ดุ + อุปกรณ์ = เจ้า + ทุน- + ถอนใช้ + กาไร ธนาคา การค้า สานัก ร งาน หนี้ โชคดี ส่วนตวั (ขาดทุน) ยกมา 57,000 50,000 8,000 15,000 40,000 = 5,000 150,00 +20,000 0 รายได้ - 5,000 ค่าเช่า 20 = -8,000 ก.ค. -8,000 รวม 49,000 + 50,000 + 8,000 + 15,000 + 40,000 = 5,000 + 150,00 -8,000 + 15,000 0

รายการค้า วันท่ี 25 กรกฎาคม 25X1 รับเงินค่าบริการซ่อมรถเป็ นเงนิ สด จานวน 35,000 บาท สินทรัพย์ = หนีส้ ิน + ส่วนของเจ้าของ เงนิ สด + เงินฝาก + ลกู หนี้ + วสั ดุ + อุปกรณ์ = เจ้า + ทุน- + ถอนใช้ + กาไร ธนาคา การค้า สานัก ร งาน หนี้ โชคดี ส่วนตวั (ขาดทุน) ยกมา 49,000 50,000 8,000 15,000 40,000 = 5,000 150,00 -8,000 +20,000 0 รายได้ -5,000 ค่าเช่า 25 + +รายได้ = 35,000 ก.ค. 35,000 รวม 84,000 + 50,000 + 8,000 + 15,000 + 40,000 = 5,000 + 150,00 -8,000 + 50,000 0

รายการค้า วันที่ 30 กรกฎาคม 25X1 จ่ายค่าสาธารณูปโภคเป็ นเงนิ สด จานวน 3,000 บาท สินทรัพย์ = หนสี้ ิน + ส่ วนของเจ้าของ เงนิ สด + เงนิ ฝาก + ลูกหนี้ + วสั ดุ + อปุ กรณ์ = เจ้า + ทุน- + ถอนใช้ + กาไร ธนาคา การค้า สานัก ร งาน หนี้ โชคดี ส่วนตวั (ขาดทุน) ยกมา 84,000 50,000 8,000 15,000 40,000 = 5,000 150,000 -8,000 +55,000 รายได้ 30 = -5,000 ก.ค. ค่าเช่า -3,000 -ค่า รวม 81,000 + 50,000 + 8,000 + 15,000 + 40,000 = 5,000 + 150,000 สาธารณูปโภค 3,000 -8,000 + 47,000


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook