Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วยที่ 2 มาตรฐานวิชาชีพตรวจสอบภายใน

หน่วยที่ 2 มาตรฐานวิชาชีพตรวจสอบภายใน

Published by kannika phiosa-ad, 2020-01-21 22:37:53

Description: หน่วยที่ 2 มาตรฐานวิชาชีพตรวจสอบภายใน

Search

Read the Text Version

วชิ า การควบคุมและตรวจสอบภายใน 3201 - 2103 หน่วยที่ 2 มาตรฐานวชิ าชีพ ตรวจสอบภายใน โดย ครูกรรณิการ์ ผวิ สะอาด

หน่วยที่ 2 มาตรฐานวชิ าชีพตรวจสอบภายใน สาระการเรียนรู้ (Chapter Objective) 2.1 มาตรฐานวชิ าชีพการตรวจสอบภายใน 2.1.1 มาตรฐานด้านคุณสมบัติ (Attribute Standards) 2.1.2 มาตรฐานการปฏิบัติงาน (Performance Standards)

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง (Learning Objective) 1. สามารถอธิบายถงึ การกาหนดมาตรฐานในการตรวจสอบภายในได้ 2. สามารถอธิบายถงึ มาตรฐานด้านคุณสมบัติของผู้ตรวจสอบภายในได้ 3. สามารถอธิบายถงึ มาตรฐานด้านการปฏิบัตงิ านของผู้ตรวจสอบภายในได้

มาตรฐานวชิ าชพี การ ตรวจสอบภายใน มาตรฐานดา้ นคณุ สมบตั ิ มาตรฐานการนาไปปฏบิ ตั ิ มาตรฐานการปฏบิ ตั งิ าน

มาตรฐานการปฏบิ ัติงานวชิ าชีพการตรวจสอบภายใน ประกอบด้วย 1. มาตรฐานด้านคุณสมบัติ (Attribute Standards) 2. มาตรฐานการปฏบิ ัตงิ าน (Performance Standards) 3. มาตรฐานการนาไปปฏิบัติ (Implementation

มาตรฐานด้านคุณสมบัติ คือ มาตรฐานเกยี่ วกับลกั ษณะขององค์กร และบุคลากร ท่ีทาหน้าท่ีตรวจสอบภายใน มาตรฐานการปฏิบัติงาน คือ มาตรฐานท่ีกล่าวถงึ ลักษณะของกิจกรรมการ ตรวจสอบภายใน และการกาหนดบรรทัดฐานทางคุณภาพ ท่ีสามารถนาไปใช้ ประเมินผลการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน มาตรฐานด้านคุณสมบัติและมาตรฐานการปฏิบัติงานสามารถนามาใช้กบั งาน ตรวจสอบภายในโดยท่ัวไป มาตรฐานการนาไปปฏิบัติจะนาไปใช้ได้กบั ภารกจิ บางประเภทเท่าน้ัน

คาแนะนาในการศึกษาเกยี่ วกบั มาตรฐาน มาตรฐานการนาไปปฏิบัตสิ าหรับการให้ความเชื่อม่นั จะมีตวั อกั ษร A ตามหลงั รหัสชุด มาตรฐานการนาไปปฏบิ ัตสิ าหรับการให้คาปรึกษา จะมีตัวอักษร C ตามหลงั รหัสชุด

มาตรฐานการปฏบิ ัตงิ านวชิ าชีพการตรวจสอบภายใน 2.1 มาตรฐานด้านคุณสมบัติ (Attribute Standards) 1000 – วตั ถุประสงค์ อานาจหน้าท่ี และความรับผดิ ชอบ วตั ถุประสงค์ อานาจหน้าที่ และความรับผดิ ชอบของงานตรวจสอบภายใน ควร กาหนดให้ชัดเจนไว้ในกฎบัตรของงานตรวจสอบภายใน ท้ังนีค้ วรสอดคล้องกับ มาตรฐานสากลการปฏิบัติงานวชิ าชีพการตรวจสอบภายใน และได้รับอนุมัติจาก คณะกรรมการขององค์กร

1100 – ความเป็ นอสิ ระและความเทยี่ งธรรม 1110 – ความเป็ นอสิ ระภายในองค์กร 1120 – ความเท่ยี งธรรมของผู้ตรวจสอบ 1130 – เหตุบั่นทอนความเป็ นอสิ ระหรือความเทย่ี งธรรม 1200 – ความเชี่ยวชาญและความระมดั ระวังเยย่ี งวชิ าชีพ 1210 – ความเช่ียวชาญเยย่ี งวิชาชีพ 1220 – ความระมดั ระวังเยย่ี งวิชาชีพ 1230 – การพฒั นาวชิ าชีพอย่างต่อเนื่อง

1300 – โครงการประกนั และปรับปรุงคุณภาพ 1310 – การประเมนิ โครงการประกนั และปรับปรุงคุณภาพ 1311 – การประเมนิ ภายในองค์กร 1312 – การประเมนิ จากภายนอกองค์กร 1320 – การรายงานผลการประเมินโครงการประกนั และปรับปรุง คุณภาพ 1330 – การใช้ข้อความ \"ปฏิบัตติ ามมาตรฐาน\" 1340 – การเปิ ดเผยข้อมูลการไม่ปฏบิ ัติตามมาตรฐาน

2.2 มาตรฐานการปฏิบัตงิ าน (Performance Standards) 2000 – การจดั การกจิ การการตรวจสอบภายใน 2010 – การวางแผน 2020 – การนาเสนอและอนุมตั ิแผนงานตรวจสอบ 2030 – การจัดการทรัพยากร 2040 – นโยบายและวธิ ีการปฏิบัติงาน 2050 – การประสานงาน 2060 – การรายงานต่อคณะกรรมการและผู้บริหารระดบั สูง

2100 – ลกั ษณะของงาน 2110 – การบริหารความเส่ียง 2120 – การควบคุม 2130 – การกากบั ดูแล

2200 – การวางแผนภารกจิ 2210 – วตั ถุประสงค์ของภารกจิ 2220 – ขอบเขตของภารกจิ 2230 – การจดั สรรทรัพยากรสาหรับภารกจิ 2240 – แนวทางการปฏิบัติงานตามภารกจิ

2300 – การปฏิบัตภิ ารกจิ 2310 – การระบุข้อมูล 2320 – การวเิ คราะห์และประเมินผล 2330 – การบันทกึ ข้อมูล 2340 – การกากบั การปฏบิ ัติภารกจิ

2400 – การรายงานผล การปฏบิ ัตภิ ารกจิ 2410 – เกณฑ์ของการรายงานผลการปฏบิ ัติภารกจิ 2420 – คุณภาพของการรายงาน 2430 – การเปิ ดเผยกรณไี ม่ได้ปฏบิ ัติตามมาตรฐาน 2440 – การเผยแพร่ผลงานตรวจสอบ 2500 – การตดิ ตามผลการตรวจสอบ 2600 – ข้อยุตกิ ารยอมรับความเสี่ยงของฝ่ ายจัดการ

กจิ กรรมเสนอแนะ ให้นักศึกษาช่วยกนั ยกตัวอย่างกรณที ่ีผ้ตู รวจสอบภายใน ขาดความเป็ นอสิ ระและขาดความรู้ความสามารถในการปฏิบัตงิ าน และอธิบายถึงผลกระทบทีม่ ตี ่อบุคคลภายนอกในกรณีดงั กล่าว

ใบงาน 2 มาตรฐานวชิ าชีพตรวจสอบภายใน กจิ กรรมการเรียนรู้ 1. ให้นักศึกษาแบ่งกลุ่ม ๆ ละ 5 - 7 คน 2. ให้นักศึกษาอธิบายถึงข้อดแี ละข้อเสียของการนามาตรฐานการ ปฏบิ ัติงานวชิ าชีพการตรวจสอบภายในมาใช้ 3.ให้นักศึกษากล่มุ อื่น ๆ ประเมนิ ผลตามแบบประเมนิ

คาถามท้ายหน่วยที่ 2 ตอนที่ 1 จงเติมคาหรือข้อความในช่องว่างให้ถูกต้อง 1. ในการจดั ทาแผนการตรวจสอบภายในควรจดั ทาอย่างน้อยปี ละกีค่ ร้ัง ตอบ 1 คร้ัง 2. ในการวางแผนการตรวจสอบควรพจิ ารณาเรื่องใดเป็ นหลัก ตอบ ความเสี่ยง 3. ในภารกิจที่ให้บริการแก่บุคคลภายนอกองค์กร สิ่งท่ีผู้ตรวจสอบภายในควรทา เป็ นลายลกั ษณ์อกั ษรคือเร่ืองใด ตอบ การสื่อสารผลของภารกจิ 4. ก่อนท่ีจะทาการเผยแพร่ข้อมูลควรได้รับความเห็นชอบจากใคร ตอบ การเผยแพร่ข้อมูลต้องได้รับความเห็นชอบจากผู้บริหารระดับสูง

5. การกาหนดวตั ถุประสงค์ อานาจหน้าท่ี และความรับผดิ ชอบจะต้องสอดคล้อง กบั อะไร ตอบ ควรสอดคล้องกับมาตรฐานสากลการปฏิบัติงานวชิ าชีพการตรวจสอบ ภายใน 6. ผู้ตรวจสอบภายใน ควรนาความรู้ ในเร่ืองของการควบคุมไปใช้ทาอะไร ตอบ ไปใช้ในกระบวนการ กาหนดและการประเมินความเส่ียงท่ีมนี ัยสาคัญของ องค์กร 7. ใครเป็ นผู้รับผิดชอบในการเสนอรายงานสรุปผลการให้คาปรึกษาต่อผู้บริหาร ตอบ หัวหน้าผู้บริหารงานตรวจสอบ

8. การประเมินจากภายนอกองค์กรควรจดั ให้มีขึน้ อย่างน้อยทุกก่ปี ี ต่อคร้ัง ตอบ อย่างน้อยทุกห้าปี ต่อคร้ัง 9. กรณีที่รายงานท่ีได้ส่งไปให้ผู้เก่ยี วข้องมีข้อผิดพลาดหัวหน้าผู้บริหารงานควร ทาอย่างไร ตอบ ควรรีบแก้ไขและจดั ส่งฉบับที่แก้ไขแล้วให้แก่ผู้ที่เคยได้รับรายงานทุกราย 10. การรายงานความคืบหน้าอาจมรี ูปแบบและสาระแตกต่างกันไป ขึน้ อยู่กบั อะไร ตอบ ลกั ษณะของแต่ละงานและความต้องการของผู้รับคาปรึกษา

ตอนท่ี 2 จงทาเคร่ืองหมาย (√) ลงหน้าข้อท่ีถูกต้อง 1. การประเมนิ ผลภายในองค์กรข้อใดไม่ถูกต้อง ก. การสอบทานการปฏิบัตงิ านตามปกติ ข. การสอบทานโดยวธิ ีการประเมนิ ตนเอง ค. การสอบทานโดยบุคคลอื่นภายในองค์กรทม่ี ีความรู้เกยี่ วกับมาตรฐาน และการปฏิบัตงิ าน √ง. การประกนั คณุ ภาพจากหน่วยงานภายนอกองค์กร 2. ข้อใดต่อไปนที้ แ่ี สดงถึงการขาดความเป็ นอสิ ระ ก. งบประมาณมจี ากดั ทาให้การตรวจสอบไม่ครอบคลุม ข. ให้คาปรึกษาในงานท่เี คยรับผดิ ชอบมาก่อน ค. มสี ่วนร่วมในการเสนอแผนงานตรวจสอบภายในประจาปี √ง. ตรวจสอบหน่วยงานท่เี คยวางระบบการปฏิบัตงิ านมาก่อน

3. ข้อใดกล่าวเกย่ี วกบั ความรู้ความสามารถของผ้สู อบบัญชีไม่ถูกต้อง ก. มคี วามรู้เกยี่ วกบั ความเส่ียงของธุรกจิ ทจี่ ะตรวจสอบ ข. มคี วามรู้เกย่ี วกบั การควบคุมในระบบสารสนเทศทตี่ รวจสอบ √ค. มคี วามเช่ียวชาญในเรื่องสืบสวนสอบสวนการทุจริต ง. มคี วามรู้เพยี งพอทส่ี ามารถระบุข้อบ่งชีข้ องการทุจริตได้ 4. การรายงานต่อคณะกรรมการและผ้บู ริหารระดบั สูงควรรายงานในเรื่องต่อไปนี้ ยกเว้น ก. วตั ถุประสงค์ในการตรวจสอบ ข. อานาจหน้าที่ ค. ความรับผดิ ชอบ √ง. งบประมาณทใ่ี ช้ในการตรวจสอบ

5. กจิ กรรมการตรวจสอบภายในสามารถประเมนิ และช่วยสนบั สนุนในเรื่องต่อไปนี้ ยกเว้นข้อ ใด ก. การบริหารความเสี่ยง ข. ระบบการควบคุม √ค. งบประมาณท่ีใช้ในการตรวจสอบ ง. กระบวนการกากบั ดแู ลกจิ การ 6. กจิ กรรมการตรวจสอบภายในควรประเมนิ ความเส่ียงในเรื่องดงั ต่อไปนยี้ กเว้น ก. การกากบั ดแู ลกจิ การ ข. การดาเนนิ งาน ค. ระบบสารสนเทศขององค์กร √ง. บุคลากรในองค์กร

7. ในการจดั ทาและบันทึกแผนของแต่ละภารกจิ ทร่ี ับผดิ ชอบ ควรมเี รื่องต่อไปนี้ ยกเว้นข้อใด ก. วตั ถุประสงค์ในการสอบทาน ข. ระยะเวลาในการสอบทาน √ค. การกากบั ดูแล ง. ทรัพยากรท่ีใช้ 8. ต่อไปนีเ้ ป็ นวตั ถุประสงค์หลกั ของการกากบั ดูแล ข้อใดกล่าวถูกต้องน้อยทส่ี ุด ก. เพ่ือเสริมสร้างจริยธรรมและคณุ ค่าทเ่ี หมาะสมภายในองค์กร ข. เพ่ือเป็ นหลกั ประกนั ว่าการบริหารงานมปี ระสิทธิผล √ค. เพื่อประสานงานระหว่างองค์กรกบั ภาครัฐบาล ง. เพ่ือสื่อสารระหว่างคณะกรรมการขององค์กรกบั ผู้ตรวจสอบภายใน

9. ในเรื่องการจดั สรรบุคลากร ข้อใดกล่าวถูกต้อง ก. จดั สรรบุคลากรขึน้ อยู่กบั งบประมาณ √ข. จดั สรรบุคลากรขึน้ อย่กู บั ความยากง่ายของธุรกจิ ค. จดั สรรบุคลากรขึน้ อย่กู บั ความสัมพนั ธ์กบั เจ้าของธุรกจิ ง. จดั สรรบุคลากรขนึ้ อย่กู บั ความอดทนของบุคลากร 10. ในการจดั ทาแนวทางการปฏิบัตงิ าน ข้อใดถูกต้อง ก. จัดทาเป็ นลายลกั ษณ์อกั ษร ข. ระบุวธิ ีการท่ใี ช้ในการวเิ คราะห์ ค. บันทึกข้อมูลระหว่างการปฏิบตั งิ าน √ง. ถูกทุกข้อ

ตอนท่ี 3 จงตอบคาถามต่อไปนีใ้ ห้ได้ใจความทสี่ มบูรณ์ 1. ความเป็ นอิสระภายในองค์กร หมายถงึ อะไร ตอบ หัวหน้าผู้บริหารงานตรวจสอบภายใน ควรขึน้ ตรงต่อผู้บริหาร ในระดับท่ี เอื้ออานวยให้การปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน สามารถดาเนินไปได้อย่างเต็มที่ ตามภาระหน้าที่ท่ีได้รับมอบหมาย 2. ความเที่ยงธรรม หมายถึงอะไร ตอบ ผู้ตรวจสอบภายในควรมีทัศนคติที่เป็ นกลาง ไม่ลาเอียง และไม่มอี คติ และ หลีกเลย่ี งในเรื่องของความขัดแย้งทางผลประโยชน์

3. ในเรื่องความเช่ียวชาญเยยี่ งวิชาชีพ ผู้ตรวจสอบภายในควรมีความรู้ เพยี งใด ตอบ ผู้ตรวจสอบภายในควรมีความรู้เพยี งพอทส่ี ามารถระบุข้อบ่งชี้ ของการทุจริต แต่ไม่จาเป็ นต้องมีความเช่ียวชาญเทยี บเท่ากบั ผู้มีหน้าที่ โดยตรง ในการสืบสวนและสอบสวนการทุจริต

4. จากคากล่าวที่ว่าผ้ตู รวจสอบภายในควรปฏบิ ตั หิ น้าทด่ี ้วยความระมดั ระวงั เยย่ี งผู้ประกอบ วชิ าชีพโดยท่ัวไป โดยให้คานงึ ถึงส่ิงใดบ้าง ตอบ 1) การขยายขอบเขตของงานทตี่ รวจสอบเท่าท่จี าเป็ น เพ่ือให้บรรลุ เป้าหมายของภารกจิ ทไี่ ด้รับมอบหมาย 2) ความซับซ้อน ความมนี ยั สาคญั และความสาคญั ของงานทใี่ ห้ความเช่ือม่ัน 3) ความเพยี งพอและประสิทธิผลของกระบวนการบริหารความเสี่ยง การควบคมุ และการกากบั ดแู ล 4) ความเป็ นไปได้ท่จี ะเกดิ ข้อผดิ พลาด ความผดิ ปกติ หรือการไม่ปฏบิ ตั ติ ามกฎระเบียบ อย่างมนี ัยสาคญั 5) ความค้มุ ค่าของความเชื่อมนั่ ต่อผลประโยชน์ทค่ี าดว่าจะเกดิ แก่องค์กร

5. ในกรณที ่ีหัวหน้าผู้บริหารงานตรวจสอบ มคี วามเห็นว่าความเส่ียงท่ี เหลืออย่อู าจจะไม่อยู่ในระดบั ที่องค์กรยอมรับได้ หัวหน้าผู้บริหารงาน ตรวจสอบควรทาอย่างไร ตอบ หัวหน้าผู้บริหารงานงานตรวจสอบควรหารือกบั ผู้บริหาร ระดับสูง หากยงั ไม่สามารถหาข้อยตุ ิได้ หัวหน้าผู้บริหารงาน ตรวจสอบและผ้บู ริหารระดบั สูงควรร่วมกนั เสนอต่อคณะกรรมการ ขององค์กรเพ่ือพจิ ารณาหาข้อยุติ THE END


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook