Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์ขนมบัวลอยสอดไส้

โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์ขนมบัวลอยสอดไส้

Published by poning5555, 2021-09-24 05:09:49

Description: โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์ขนมบัวลอยสอดไส้

Search

Read the Text Version

โครงการพฒั นาผลิตภัณฑข์ นมบวั ลอยสอดไส้ จัดทาโดย วรศิ รา จนั ทรส์ ทิ ธ์ิ รหสั นักเรยี น 63302010042 ฐิติมา ศรพราหมณ์ รหสั นักเรยี น 63302010044 เสนอ อาจารยน์ ิพร จทุ ยั รตั น์ รายงานนี้เปน็ สว่ นหนึ่งของการศึกษา วิชา โครงการ สาขาวชิ า การบัญชี ประเภทวิชา บริหารธุรกิจ ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2564 วทิ ยาลยั อาชวี ศึกษาชลบุรี



โครงการพฒั นาผลิตภัณฑ์ขนมบวั ลอยสอดไส้ จัดทาโดย นางสาววริศรา จันทรส์ ทิ ธิ์ รหสั นักเรียน 63302010042 นางสาวฐิตมิ า ศรพราหมณ์ รหสั นักเรียน 63302010044 เสนอ อาจารยน์ พิ ร จุทยั รตั น์ รายงานนีเ้ ป็นสว่ นหน่งึ ของการศึกษา วิชา โครงการ สาขาวชิ า การบญั ชี ประเภทวิชา บริหารธรุ กิจ ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2564 วิทยาลยั อาชวี ศกึ ษาชลบุรี

ก ใบรบั รองโครงการ ระดับประกาศนยี บัตรวชิ าชพี ชนั้ สูง ช้ันปีท่ี 2 (ปวส.) วิทยาลัยอาชีวศกึ ษาชลบรุ ี เร่ือง พฒั นาผลติ ภัณฑข์ นมบวั ลอยสอดไส้ จัดทาโดย นางสาววรศิ รา จันทร์สทิ ธ์ิ นางสาวฐติ มิ า ศรพราหมณ์ ไดร้ ับการรบั รองให้นับเปน็ สว่ นหนง่ึ ของการศกึ ษาตามหลกั สตู รประกาศนียบตั รวิชาชีพช้นั สงู สาขาวิชาการบัญชี ประเภทวชิ าบริหารธุรกจิ .......................................หวั หนา้ แผนกวิชา ...................................รองผอู้ านวยการฝา่ ยวิชาการ (นางนิพร จุทยั รตั น)์ (นายยรรยงค์ ประกอบเกอ้ื ) วนั ที.่ .....เดือน..................พ.ศ............... วันท.ี่ ......เดอื น................พ.ศ............ คณะกรรมการสอบโครงการ .......................................................ประธานกรรมการ (อาจารย์ทีป่ รึกษาโครงการ) (.....................................................) .......................................................กรรมการ (.....................................................) ......................................................กรรมการ (....................................................)

ข ช่ือผลงาน : พฒั นาผลติ ภัณฑ์ขนมบวั ลอยสอดไส้ ผู้จัดทา : นางสาววรศิ รา จนั ทรส์ ทิ ธิ์ สาขาวิชา นางสาวฐิตมิ า ศรพราหมณ์ ประเภทวชิ า : การบญั ชี ปกี ารศึกษา : บรหิ ารธุรกิจ : 2564 บทคัดย่อ โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์ขนมบัวลอยสอดไส้ มีวัตถุประสงค์ 1. เพ่ือพัฒนาผลิตภัณฑ์ขนมบัว ลอยสอดไส้ให้เป็นที่น่าสนใจมากขึ้นและเป็นทางเลือกให้แก่ผู้บริโภค 2. เพ่ือศึกษาความพึงพอใจของ กลุ่มเป้าหมายท่ีมีต่อผลิตภัณฑ์ขนมบัวลอยสอดไส้ 3. เพื่อเป็นช่องทางการจัดจาหน่ายและสามารถต่อ ยอดเป็นอาชพี เสริมได้ กลุ่มเป้าหมาย ไดแ้ ก่ ประชาชนคนท่ัวไปที่อาศัยในหมู่บ้านจวนทอ้ ตาบลบา้ นสวน อาเภอเมือง จงั หวัดชลบรุ ี 20000 จานวน 20 คน เคร่ืองมือท่ใี ชใ้ นการศกึ ษาแบบสอบถามและสถิติทีใ่ ช้ใน การวิเคราะห์ ได้แก่ ร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Arithmetic Mean) ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation S.D) ผลการดาเนนิ งานโครงการ ดงั นี้ 1. พบว่าความพึงพอใจของกลุ่มเป้าหมายที่มีต่อผลิตภัณฑ์ขนมบัวลอยสอดไส้ ในแต่ละด้าน โดยรวมมีความคิดเห็นเหมาะสมในระดับมาก มีค่าเฉลี่ย 4.10 ด้านการออกแบบโลโก้ผลิตภัณฑ์มีความ คิดเห็นเหมาะสมในระดับมาก รองลงมา คือ ด้านคุณภาพผลิตภัณฑ์มีความคิดเห็นเหมาะสมในระดับมาก ด้านบรรจุภัณฑ์และการใช้งานมีความคิดเห็นเหมาะสมในระดับมาก และ ด้านส่งเสริมการจัดจาหน่ายมี ความคดิ เห็นเหมาะสมในระดับมาก 2. ด้านคุณภาพผลิตภัณฑ์ โดยรวมมีความพึงพอใจในระดับมาก มีค่าเฉล่ีย 4.15 ขนาดของ แป้งขนมบัวลอยมีขนาดพอดีต่อการรับประทานมีความพึงพอใจในระดับ รองลงมา คือ น้าของขนมบัว ลอยมีรสชาตเิ ข้มขน้ มคี วามพึงพอใจในระดับมาก ไส้ของขนมบัวลอยมีความโดดเด่น หลายชนิดมีความพึง พอใจในระดบั มาก และ มีความสวยงาม ทาใหอ้ าหารน่ารบั ประทานมคี วามพงึ พอใจในระดบั มาก

ค 3. ด้านบรรจุภัณฑ์และการใช้งาน โดยรวมมีความพึงพอใจในระดับมาก มีค่าเฉลี่ย 4.04 บรรจุ ภัณฑ์มีขนาดท่ีเหมาะสม สามารถนากลับบ้านไดส้ ะดวกมีความพงึ พอใจในระดับมาก รองลงมา คือ บรรจุ ภัณฑ์มีสามารถย่อยสลายได้ง่ายเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อมมีความพึงพอใจในระดบั สามารถเปิดรับประทาน ได้ง่ายและสะดวกตอ่ การทานมีความพึงพอใจในระดับมาก และ บรรจุภณั ฑ์มีรูปทรงท่ีสวยงามและสะดุด ตามคี วามพงึ พอใจในระดับมาก 4. ด้านส่งเสริมการจัดจาหน่าย โดยรวมมีความพึงพอใจในระดับมาก มีค่าเฉล่ีย 4.04 สามารถ หาซ้ือผลิตภัณฑ์ได้ง่ายมีความพึงพอใจในระดับมาก รองลงมา คือ ผลิตภัณฑ์มีราคาเหมาะสมโดยรวมมี ความพงึ พอใจในระดับมาก ผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์มีความเหมาะสมมีความพึงพอใจในระดับมาก และ รปู ลักษณ์ของผลติ ภัณฑม์ คี วามน่าสนใจ สะดุดตา นาเปน็ ของฝากได้มีความพึงพอใจในระดบั มาก 5. ด้านการออกแบบโลโก้ผลิตภัณฑ์ โดยรวมมีความพึงพอใจในระดับมาก มีค่าเฉล่ีย 4.16 สามารถสื่อให้ผู้บริโภคเข้าใจได้ว่าจาหน่ายผลิตภัณฑ์อะไรมีความพึงพอใจในระดับมาก รองลงมา คือ รูปลักษณ์ของโลโก้ผลิตภัณฑ์โดยรวมมีความสมบูรณ์มีความพงึ พอใจในระดับมาก โลโก้ผลิตภัณฑ์มีความ สวยงามและเข้ากับผลิตภัณฑ์มีความพึงพอใจในระดับมาก และ โลโก้ผลิตภัณฑ์มีความดึงดูทาให้บรรจุ ภณั ฑน์ ่าสนใจมคี วามพึงพอใจในระดับมาก คาสาคญั : ขนมบวั ลอย , กะทิ , ชอ็ กโกแลต

ง กติ ติกรรมประกาศ การศึกษาโครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์ขนมบัวลอยสอดไส้ ในคร้ังน้ี สามารถสาเร็จลุล่วงอย่าง สมบูรณ์ด้วยความเมตตา จากอาจารย์นิพร จุทัยรัตน์ ท่ีปรึกษาโครงการท่ีให้คาปรึกษาแนะนาแนวทางท่ี ถูกตอ้ ง และเอาใจใส่ดว้ ยดตี ลอดระยะเวลาในการทาโครงการ ผู้ทาโครงการรสู้ ึกซาบซ้งึ เป็นอยา่ งยิง่ จงึ ขอ กราบขอบพระคณุ เปน็ อย่างสงู มา ณ โอกาสน้ี ขอขอบพระคุณบิดดา มารดา และเพ่ือน ๆ ทุกคน ที่ได้ให้คาแนะนาช่วยเหลือสนับสนุนผู้ทา โครงการมาตลอด โครงการจะสาเร็จลุลว่ งไปไมไ่ ด้ หากไม่มบี ุคคลดังกล่าวในการจัดทาโครงการ คุณค่าและประโยชน์ของโครงการน้ี ผู้ทาโครงการขอมอบเป็นกตัญญูกตเวทิตาแด่บุพการี บูรพาจารย์ และผู้มีพระคุณทุกท่านท้ังในอดีตและปจั จบุ ัน ที่ไดอ้ บรม สั่งสอน ชีแ้ นะแนวทางในการศกึ ษา จนทาให้ผู้ทาโครงการประสบความสาเร็จมาจนตราบทุกวันนี้ วรศิ รา จนั ทรส์ ทิ ธิ์ ฐิติมา ศรพราหมณ์

จ สารบัญ หน้า ใบรบั รองโครงการ.....................................................................................................................................ก บทคดั ยอ่ ...................................................................................................................................................ข กติ ตกิ รรมประกาศ.....................................................................................................................................ง สารบัญ......................................................................................................................................................จ สารบญั ตาราง............................................................................................................................................ช สารบญั ภาพ...............................................................................................................................................ซ บทที่ 1 บทนา............................................................................................................................................1 ความเปน็ มาและความสาคญั ของโครงการ……………………………………………………………………...…..1 วัตถุประสงค์ของโครงการ………………………………………………………………………………………………….2 ขอบเขตของการศึกษา………………………………………………………………………………………………………2 ประโยชนท์ คี่ าดวา่ จะไดร้ ับ…………………………………………………………………………………………………2 นยิ ามศพั ท…์ …………………………………………………………………………………………………………………….2 บทที่ 2 เอกสาร ทฤษฎีและงานวิจัยท่ีเกี่ยวข้อง..........................................................................................4 จุดประสงคร์ ายวชิ า สมรรถนะรายวิชา และคาอธบิ ายรายวิชา……………………………………………….4 แนวคดิ การวเิ คราะหก์ ารตลาดแบบการจัดองค์กรอุตสาหกรรม.....................................................5 แนวคดิ เก่ยี วกบั การขอรบั รองมาตรฐานผลติ ภัณฑช์ มุ ชน………………………………………………………..8 ทฤษฎกี ลยทุ ธก์ ารตลาด (4PS) และ (8PS) , กลยทุ ธ์ตลาดออนไลน์………………………………………13 การบรโิ ภคและทฤษฎีพฤตกิ รรมผู้บริโภค (Buyer Behavior’s Model)……………………………….22 แนวคิดการออกแบบบรรจุภัณฑ…์ …………………………………………………………………………………….23 ทฤษฎีกลไกราคา…………………………………………………………………………………………………………….32 แนวความคิดของหลกั การบญั ชีต้นทุน……………………………………………………………………………….33 งานวจิ ัยทเ่ี กี่ยวข้อง………………………………………………………………………………………………………….34

ฉ สารบัญ (ตอ่ ) หน้า บทท่ี 3 วิธกี ารดาเนนิ โครงการ……………………………………………………………………………………………………36 ประชากรและกลุม่ ตวั อย่าง……………………………………………………………………………………………..36 เคร่อื งมอื ทใี่ ชก้ ารศึกษา...............................................................................................................36 ขัน้ ตอนในการสรา้ งเครือ่ งมือ…………………………………………………………………………………………..37 การเก็บรวบรวมข้อมูล…………………………………………………………………………………………………...38 วธิ กี ารวเิ คราะหข์ อ้ มลู และสถติ ิท่ีใชใ้ นการศกึ ษา………………………………………………………………..38 บทท่ี 4 ผลการวเิ คราะห…์ …………………………………………………………………………………………………………40 สัญลกั ษณ์ทใี่ ช้ในการวเิ คราะห์ขอ้ มูล………………………………………………………………………………..40 การนาเสนอผลการวิเคราะห…์ …………………………………………………………………………………………40 บทที่ 5 สรุปผล อภปิ รายผล และขอ้ เสนอแนะ……………………………………………………………………………..55 สรปุ ผลการศกึ ษา……………………………………………………………………………………………………………55 อภปิ รายผล……………………………………………………………………………………………………………………58 ข้อเสนอแนะเพิม่ เติม...................................................................................................................59 บรรณานุกรม……………………………………………………………………………………………………………………………60 ภาคผนวก………………………………………………………………………………………………………………………………..61 ภาคผนวก ก แบบขออนุมตั ิโครงการ/แบบเสนอโครงการ.......................................................62 ข แบบสอบถาม………………………………………………………………………………………….69 ค เอกสารประกอบ (รปู ภาพ)……………………………………………………………………….70 ประวัติผจู้ ดั ทาโครงการ……………………………………………………………………………………………………………..81

ช สารบญั ตาราง หน้า ตารางท่ี 1 แสดงความถีแ่ ละร้อยละของกลมุ่ เป้าหมายจาแนกตามเพศ…………………………………………….41 ตารางท่ี 2 แสดงความถ่รี อ้ ยละของกลุ่มเปา้ หมายจาแนกตามช่วงอายุ...................................................42 ตารางท่ี 3 แสดงความถร่ี ้อยละของกล่มุ เปา้ หมายจาแนกตามสถานะ……………………………………………..43 ตารางที่ 4 แสดงความถ่ีและร้อยละของกลมุ่ เปา้ หมายจาแนกตามระดับรายไดต้ อ่ เดอื น........................44 ตารางท่ี 5 แสดงคา่ เฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน โครงการพฒั นาผลิตภัณฑ์ ขนมบวั ลอยสอดไส้ความพึงพอใจตอ่ ผลิตภณั ฑ์และบรรจุภัณฑ์ของกลุ่มเป้าหมาย สรปุ แต่ละดา้ น.......................................................................................................................45 ตารางที่ 6 แสดงค่าเฉล่ยี และส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐาน ความพงึ พอใจของกลุม่ เป้าหมาย ทมี่ ตี อ่ ผลิตภณั ฑข์ นมบวั ลอยสอดไส้……………………………………………………………………………47 ตารางที่ 7 แสดงค่าเฉลีย่ และสว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน ความพึงพอใจของกล่มุ เป้าหมาย ทมี่ ีตอ่ ผลิตภณั ฑข์ นมบัวลอยสอดไส้……………………………………………………………………………49 ตารางท่ี 8 แสดงค่าเฉล่ยี และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ความพงึ พอใจของกลุม่ เป้าหมาย ทีม่ ีต่อผลติ ภณั ฑข์ นมบัวลอยสอดไส้……………………………………………………………………………51 ตารางที่ 9 แสดงคา่ เฉล่ีย และส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน ความพงึ พอใจของกล่มุ เปา้ หมาย ที่มตี ่อผลิตภณั ฑ์ขนมบวั ลอยสอดไส.้ ......................................................................................................53

ซ สารบัญรูปภาพ หน้า ภาพท่ี 1 ปรึกษาหารอื ……………………………………………………………………………………………………………….74 ภาพที่ 2 เสนอหัวขอ้ ในการทาโครงการ……………………………………………………………………………………….74 ภาพท่ี 3 เตรยี มวัตถดุ บิ ……………………………………………………………………………………………………………..75 ภาพท่ี 4 เทแปง้ ข้าวเหนยี วลงภาชนะ………………………………………………………………………………………….75 ภาพท่ี 5 ผสมน้ากบั แปง้ ข้าวเหนียวและป้ันใหเ้ ปน็ แผ่น………………………………………………………………….76 ภาพท่ี 6 นาชอ็ กโกแลตมาปน้ั เขา้ กับแปง้ …………………………………………………………………………………….76 ภาพที่ 7 ใสแ่ ปง้ ลงน้าตม้ เดอื ดเม่อื สกุ แลว้ ก็นาขึน้ มาพักไว้……………………………………………………………..77 ภาพที่ 8 เทนมสดลงหมอ้ ตม้ ………………………………………………………………………………………………………77 ภาพท่ี 9 เทนมขน้ จืดลงไป…………………………………………………………………………………………………………78 ภาพที่ 10 เทนา้ ตาลลงหมอ้ และผสมให้เขา้ กัน……………………………………………………………………………..78 ภาพท่ี 11 ตดั นมสดราดลงบนแปง้ พร้อมทาน……………………………………………………………………………….79 ภาพท่ี 12 ตอบแบบสอบถาม...................................................................................................................81

1 บทที่ 1 บทนา ความเปน็ มาและความสาคญั ของโครงการ ตั้งแต่สมัยโบราณจนถึงปัจจุบันในประเทศไทยของเรามีขนมไทยค่อนข้างมากมายและ หลากหลายชนิดด้วยกัน ขนมไทยเร่มิ แพรห่ ลายมากขนึ้ ในสมัยอยุธยา นั่น คอื ในสมยั ของพระบาทสมเดจ็ พระนารายณ์มหาราช ยุคสมัยน้ันนับว่าการทาขนมเจริญรุ่งเรืองอย่างมาก และเม่ือถึงสมัยของ พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยหู่ ัว ไดม้ ีการเร่มิ พมิ พต์ าราอาหารไทยและขนมไทยเลม่ แรก รวมไป ถึงประเทศไทยได้รับเอาวัฒนธรรมด้านอาหารของชาติต่างๆ มาดัดแปลง นาวัตถุดิบที่หาได้ เคร่ืองมือ เคร่อื งใช้ทีพ่ อมมี าสรา้ งสรรคเ์ พื่อใหเ้ ขา้ กบั คนไทยมากยง่ิ ขน้ึ ขนมบัวลอย เป็นขนมไทยพืน้ บา้ นอกี ชนิดหนึ่งของชาวไทยท่ีรู้จักกันท่ัวทุกภมู ิภาค แต่ละพ้ืนท่ีจะ มีสูตรแตกต่างกันไป ขนมบัวลอยเป็นท่ีนิยมต้ังแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน มีสีสันน่าตาน่าทาน มีหลากหลาย รสชาติ บวั ลอย คือ อาหารทที่ ามาจากแป้งโดยมนี ้าตาลและกะทิเป็นส่วนผสม ตามประเพณี บัวลอย เป็น ขนมที่ขาดไม่ไดใ้ นงานบญุ ต่าง ๆ รสชาตสิ ่วนใหญ่ที่คนไทยนิยมทานกันมาก เช่น บัวลอยไข่หวาน บัวลอย มะพร้าวอ่อน และน้าของบัวลอยมีเพียงแค่ น้ากะทิและน้าขิง ทาให้เด็กเล็ก ๆ บางคนไม่สามารถทานได้ เพราะน้าขิงมีกล่ินท่ีฉุนและรสชาติค่อนข้างขม ในส่วนน้ีอาจทาให้เยาวชนรุ่นตอ่ ๆไปไม่ชอบขนมไทยของ เรา เพราะค่อนข้างทานได้ยากและมีรสชาติให้เลือกค่อนข้างน้อย รวมไปถึงในปัจจุบันมีขนมต่าง ๆท่ีเรา ไดร้ บั อิทธพิ ลมาจากตา่ งประเทศ เชน่ บงิ ซู ฮันน่ีโทส เค้ก และขนมหลายชนดิ ทเี่ ดก็ ๆ สมยั น้ชี อบทานกัน ดังน้นั ทางผู้รับผิดชอบโครงการพัฒนาผลิตภณั ฑข์ นมบวั ลอยไดท้ าการพัฒนาผลติ ภณั ฑเ์ พอ่ื ทาให้ ขนมบัวลอยให้มีคนรับประทานมากขึ้นไม่ว่าจะอยู่ในช่วงวัยใดก็ตาม ท้ังนี้ทางผู้รับผิดชอบโครงการจึงจะ พัฒนาให้ขนมบัวลอยน้ันมีความหลากหลายมากขึ้น ในเรื่องของน้าบัวลอย ที่ตอนแรกมีเพียงแค่น้ากะทิ กับน้าขิง ทางผู้รับผิดชอบโครงการจึงทาให้มันเหมาะสมกับยุคสมัยมากขึ้น โดยใช้น้าชงโบราณ เช่น นม สด ช็อกโกแลต ชาเขียว ชาไทย กาแฟ เป็นตน้ แปง้ ท่ีใชก้ ็จะมีการสอดไส้ช็อกโกแลต ไส้ชสี ไส้งาดา หรือ ไส้ถั่วแดง เพ่ือทาให้ตัวแป้งน่าทานมากขึ้นและเป็นการเพ่ิมทางเลือกให้กับผู้บริโภคที่จะทานขนมบัวลอย ใหม้ มี ากขึ้น

2 วตั ถุประสงคข์ องโครงการ 1. เพ่ือพัฒนาผลิตภัณฑ์ขนมบัวลอยสอดไส้ให้เป็นท่ีน่าสนใจมากข้ึนและเป็นทางเลือกให้แก่ ผ้บู รโิ ภค 2. เพ่ือศึกษาความพงึ พอใจของกลมุ่ เปา้ หมายที่มีตอ่ ผลติ ภณั ฑ์ขนมบวั ลอยสอดไส้ 3. เพ่ือเปน็ ช่องทางการจัดจาหน่ายและสามารถต่อยอดเป็นอาชีพเสริมได้ ขอบเขตของการศึกษา 1. ขอบเขตดา้ นเนอื้ หาทใี่ ช้ในการศึกษาครงั้ นี้ ไดแ้ ก่ พฒั นาผลติ ภณั ฑ์ขนมบัวลอยสอดไส้ 2. ขอบเขตดา้ นกลุ่มเปา้ หมายท่ใี ชใ้ นการศกึ ษาครัง้ น้ี ได้แก่ ประชาชนคนทวั่ ไปที่อาศัยใน หมบู่ า้ นจวนท้อ ตาบลบ้านสวน อาเภอเมอื ง จังหวดั ชลบุรี 20000 จานวน 20 คน 3. ขอบเขตด้านระยะเวลาท่ีใช้ในการศึกษาคร้ังนี้ ได้แก่ ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2564 ต้ังแต่วันท่ี 1 มถิ นุ ายน 2564 ถึงวันที่ 1 ตุลาคม 2564 ประโยชน์ทค่ี าดวา่ จะไดร้ บั 1. ผลติ ภณั ฑ์ขนมบวั ลอยสอดไสเ้ ป็นทน่ี ่าสนใจมากข้นึ และเป็นทางเลือกให้แก่ผู้บรโิ ภค 2. ไดท้ ราบความพงึ พอใจของกลุ่มเปา้ หมายท่มี ตี อ่ ผลิตภัณฑ์ขนมบวั ลอยสอดไส้ 3. ได้ช่องทางการจัดจาหนา่ ยและสามารถตอ่ ยอดเปน็ อาชพี เสรมิ ได้ นยิ ามเฉพาะศพั ท์ 1. ขนมบัวลอย หมายถึง ขนมชนิดหนึ่งที่ทามาจากแป้งข้าวเหนียว ป้ันเป็นเม้ดกลม ๆ เล็ก ๆ และนาไปต้มใหส้ กุ ทานพร้อมกบั นา้ กะทิผสมนา้ ตาล 2. น้ากะทิ หมายถึง เป็นส่วนประกอบในการทาอาหาร มีลักษณะเป็นน้าสขี าวข้นคล้ายนม ได้มา จากการคั้นน้าจากเน้ือมะพร้าวแก่ สีและรสชาติที่เข้มข้นของกะทิมาจากน้ามันมะพร้าวและน้าตาล มะพร้าวท่ีอยูใ่ นเน้ือมะพร้าว โดยมรี สชาตมิ นั และหวาน 3. ช็อกโกแลต หมายถึง ผลิตผลที่ได้มาจากเมล็ดของต้นโกโก้เขตร้อน ช็อกโกแลตเป็นส่วนผสม ของของหวานหลายชนิดไม่ว่าจะเป็นไอศกรีม ลูกอม คุกก้ี เค้ก หรือว่าพาย ช็อกโกแลตถือได้ว่าเป็นของ หวานอย่างหน่ึงท่ีถูกใจคนทั่วโลก ช็อกโกแลตทาจากการหมัก ค่ัว และบดอย่างไม่ละเอียดของเมล็ดโกโก้

3 ซ่ึงได้มาจากต้นโกโก้เขตร้อน (tropical cacao tree) ซ่ึงมีต้นกาเนิดจากอเมริกากลางและเม็กซิโก ต้น โกโก้น้ันค้นพบโดยชาวอินเดียนแดงและชาวอัซเตก (Aztecs) แตใ่ นปัจจุบันได้แพร่กระจายและปลูกไปท่วั เขตร้อน เมล็ดของต้นโกโก้นั้นมีรสฝาดที่เข้มข้นมาก ผลผลิตของเมล็ดโกโก้รู้จักกันในนาม \"ช็อกโกแลต\" หรือบางส่วนของโลกในนาม \"โกโก\"้ 4. นมสด หมายถึง นม หรือ น้านม หมายถึงของเหลวสีขาวที่ประกอบด้วยสารอาหารที่ออกมา จากเต้านมของสัตว์เล้ียงลูกด้วยนม นมจะประกอบไปด้วยสารอาหารหลักที่จาเป็นสาหรับเด็กหรือสัตว์ เกดิ ใหม่ ซงึ่ นมสามารถนาไปสรา้ งผลติ ภัณฑ์อื่นไดอ้ กี ดว้ ย 5. ชาเขียว หมายถึง ชาท่ีไม่ผ่านการหมัก ซึ่งมีประโยชน์ต่อสุขภาพและมีคุณสมบัติในการ ตา้ นทานโรคได้นานาชนิดจึงเป็นท่ีนิยมของคนส่วนใหญ่ น้าชาจะเปน็ สีเขียวหรือเหลืองอมเขียว กลิ่นหอม อ่อนกว่าอหู่ ลง ชาเขียวหลงจิ่งที่ราคาสงู ท่ีสดุ คือ ฉือเฟ่งิ หลงจิ่ง ท่ีชงจากใบ จะให้กลนิ่ หอมอ่อน ๆ บ้างว่า คล้ายถ่ัวเขียว รสฝาดน้อย เซนฉะท่ีชงจากใบมีกล่ินอ่อน ๆ จนเข้มได้ขึ้นกับการคั่ว บางคร้ังมีรสอุมามิ จนถงึ รสหวานที่รับรู้ได้เฉพาะบางคนเทา่ นัน้ น้ามนั ในตวั ชาเขยี วผา่ นการกล่นั มีผลดตี อ่ ร่างกาย ในประเทศ ไทยจะมกี ารแตง่ กลนิ่ เพ่อื ใหเ้ กดิ ความน่ารบั ประทานมากข้ึน 6. ชาไทย หมายถึง เป็นเครื่องดืม่ เย็นดบั รอ้ นท่ชี งโดยใช้ชาซลี อน แตเ่ นื่องจากชาซีลอนมีราคาสูง หลายแหง่ จงึ มกั ใช้ใบเม่ียงผสมสอี าหารแทน หรือเป็นผงของชาซีลอนทีม่ ีคุณภาพไม่สูงนกั โดยวัตถุดบิ ที่สาคญั และเป็นเอกลักษณ์ของชาไทยคือ ใบชา และ นมข้นหวานหรือน้าตาล หลังจากชงด้วย น้ารอ้ นแล้วจงึ นาไปเทใส่แก้วหรอื ถงุ ทีม่ ีน้าแขง็ หรือนาไปแช่เย็นไว้ดืม่ ภายหลัง 7. กาแฟ หมายถึง เป็นเครื่องดื่มที่ทาจากเมล็ดซ่ึงได้จาก ต้นกาแฟ หรือมักเรียกว่า เมล็ด กาแฟ ค่ัว มีการปลูกต้นกาแฟในมากกว่า 70 ประเทศท่ัวโลก กาแฟเขียว (กาแฟซึ่งยังไม่ผ่านการคั่ว) เป็น หนึ่งในสินค้าทางการเกษตรซึ่งมีการซ้ือขายกันมากที่สุดในโลก กาแฟมีส่วนประกอบของคาเฟอีน ทาให้มี สรรพคณุ ชูกาลังในมนุษย์ ปัจจบุ นั กาแฟเปน็ เครือ่ งดมื่ ซงึ่ ไดร้ บั ความนิยมมากท่สี ุดในโลก 8. ความพึงพอใจ หมายถงึ ความรสู้ ึกนกึ คิดของกลมุ่ เปา้ หมายทม่ี ีความชอบต่อแชมพสู มนุ ไพร

4 บทท่ี 2 เอกสาร ทฤษฎี และงานวิจัยทเ่ี กย่ี วข้อง การดาเนินการโครงการพฒั นาผลิตภัณฑ์ขนมบัวลอยสอดไส้ ณ บ้านเลขท่ี 288/63 หมู่ 4 ตาบลบ้านสวน อาเภอเมือง จังหวัดชลบุรี ระหว่างวันที่ 1 มิถุนายน 2564 ถึงวันท่ี 1 ตุลาคม 2564 ผู้ดาเนินโครงการได้ รวบรวม เอกสาร ทฤษฎี และงานวิจัยทเี่ ก่ยี วข้องมหี วั ขอ้ ตอ่ ไปนี้ 1. จดุ ประสงค์รายวชิ า สมรรถนะรายวชิ า และคาอธบิ ายรายวิชา 2. แนวคดิ การวเิ คราะห์การตลาดแบบการจัดองค์กรอุตสาหกรรม 3. แนวคิดเกย่ี วกบั การขอรบั รองมาตรฐานผลิตภณั ฑช์ ุมชน 4. ทฤษฎกี ลยทุ ธ์การตลาด (4Ps) และ (8Ps) , กลยทุ ธต์ ลาดออนไลน์ 5. การบรโิ ภคและทฤษฎีพฤติกรรมผบู้ ริโภค (Buyer Behavior’s Model) 6. แนวคิดการออกแบบบรรจุภัณฑ์ 7. ทฤษฎีกลไกราคา 8. แนวความคดิ ของหลักการบญั ชีตน้ ทนุ 9. งานวจิ ัยทเี่ กยี่ วข้อง 1. จุดประสงค์รายวชิ า สมรรถนะรายวชิ า และคาอธบิ ายรายวชิ า 1.1 จดุ ประสงคร์ ายวชิ า 1.1.1 เข้าใจข้นั ตอนกระบวนการสรา้ งหรอื พัฒนางานอาชีพอยา่ งเป็นระบบ 1.1.2 สามารถบูรณาการความรู้และทักษะในการสร้างหรือพัฒนางานในสาขาวิชาชีพตาม กระบวนการวางแผน การดาเนนิ งาน การแกไ้ ขปัญหาประเมินผลทารายงานและนาเสนอผลงาน 1.1.3 มีเจตคติและกิจนิสัยในการศึกษาค้นคว้าเพื่อสร้างหรือพัฒนางานอาชีพด้วยความ รับผิดชอบ มีวินัย คุณธรรม จริยธรรม ความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ ขยัน อดทนและสามารถทางานร่วมกับ ผู้อืน่

5 1.2 สมรรถนะรายวชิ า 1.2.1 แสดงความรูเ้ ก่ียวกบั หลักการและกระบวนการสร้างและ/หรือพัฒนางานอาชีพอย่าง เป็นระบบ 1.2.2 เขยี นโครงการสรา้ งและหรือพัฒนางานตามหลักการ 1.2.3 ดาเนินงานตามแผนงานโครงการตามหลกั การและกระบวนการ 1.2.4 เก็บข้อมลู วิเคราะห์ สรุปและประเมนิ ผลการดาเนนิ งานโครงการตามหลักการ 1.2.5 นาเสนอผลการดาเนินงานดว้ ยรูปแบบวิธกี ารต่างๆ 1.3 คาอธิบายรายวชิ า ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับการบูรณาการความรู้ และทักษะในระดับเทคนิคท่ีสอดคล้องกับ สาขาวิชาชีพท่ีศึกษา เพื่อสร้างหรือพัฒนางานด้วยกระบวนการทดลอง สารวจ ประดิษฐ์คิดค้น หรือการ ปฏิบัติงานเชิงระบบ การเลือกหัวข้อโครงการ การศึกษาค้นคว้าข้อมูลและเอกสารอ้างอิง การเขียน โครงการการดาเนินงานโครงการ การเก็บรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์แปรผล การสรุปผลการดาเนินงาน และจัดทารายงาน การนาเสนอผลงานโครงการ ดาเนินการเปน็ รายบคุ คลหรือกลุ่ม ตามลักษณะของงาน ใหแ้ ลว้ เสรจ็ ในระยะเวลาที่กาหนด 2. แนวคิดการวิเคราะหก์ ารตลาดแบบการจัดองคก์ รอุตสาหกรรม ก่อนที่ผู้ประกอบการจะเริ่มวางแผนการตลาด ผู้ประกอบการควรเข้าใจก่อนว่า ความต้องการ ผู้บริโภคในยุคปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ไปตามรูปแบบการดารงชีวิต เทคโนโลยี สังคม วัฒนธรรม และสภาพเศรษฐกิจท่ีเปล่ียนแปลงไป สาหรับผู้ประกอบการรายใดท่ีสามารถวางแผนกลยุทธ์ ให้สอดคล้อง และรวดเร็วทันกับความต้องการของผู้บริโภคย่อมเป็นผู้ได้เปรียบ ในการช่วงชิงและ ครอบครองพ้นื ทก่ี ารตลาดไดม้ ากขน้ึ 2.1 ขอ้ คานึงก่อนการวางแผนการตลาด 2.1.1 สภาพความเป็นอยู่ในสังคมเปล่ียนแปลงไป ผู้คนในสังคมมีปฏิสัมพันธ์กันน้อยลง คนทางานมีความเครยี ดสูงข้นึ ต้องการความสะดวกสบาย ความรวดเร็ว ความเพลดิ เพลนิ และการพักผอ่ น หย่อนใจ ดงั น้ัน สินค้าหรอื บรกิ ารท่หี าซือ้ ได้งา่ ย สะดวก รวดเรว็ และกลุ่มสินค้าหรือบริการเพื่อความผ่อน คลายจะได้ความนยิ มมากข้ึน

6 2.1.2 ผู้บริโภคมีระดับการศึกษามากข้ึนและสามารถเข้าถึงข้อมูลข่าวสารได้ง่ายมากขึ้น ทา ให้มีการหาข้อมูลท้ังในด้านราคา และคุณภาพของสินค้าและบริการมาเปรียบเทียบก่อนการตัดสินใจซื้อ รวมถึงมีการสอบถามความคิดเห็นจากเพ่ือนฝูงหรือผู้คนในสังคมออนไลน์ ท่ีมีประสบการณ์ในการใช้งาน สินค้าท่ีตนเองสนใจก่อน เพ่ือมาใช้เป็นข้อมูลประกอบการตัดสินใจซ้ือ พฤติกรรมผู้บริโภคที่ใจร้อน ไม่ ชอบการรอคอย ต้องการความสะดวก รวดเร็ว ทันใจ สินค้าหรือบริการท่ีมีขั้นตอน ยุ่งยาก ต้องรอคอย นาน จะทาให้ผู้บริโภคเบื่อหน่ายหันไปใช้สินค้าหรือบริการของผู้ที่ให้บริการได้รวดเร็ว และสะดวกสบาย กว่า 2.1.3 ผู้บริโภคยุคใหม่มีพฤติกรรมเบื่อง่าย ไม่ชอบความซ้าซาก จาเจ ต้องการความแปลก ใหม่ และมคี วามคาดหวังการเปลยี่ นแปลงใหมๆ่ จากผูผ้ ลติ อยู่เสมอ ทาให้ผผู้ ลติ จะตอ้ งมีการปรับปรุงและ พัฒนาผลิตภัณฑ์ (R&D) อย่างต่อเน่ือง เพื่อให้ลูกค้ามีความรู้สึกว่า ได้ใชส้ ินค้าท่ีทันสมัยอยู่ตลอดเวลา ซ่ึง จะเห็นได้จากระยะเวลาการออกสินค้ารุ่นใหม่ของผ้ผู ลิตสมาร์ทโฟนจะมรี อบเวลาท่ีส้ันลง 2.1.4 การวางแผนการตลาดตอ้ งมีความยืดหยุ่น คล่องตัว สามารถปรับตัวให้ทันกับกระแส การเปล่ียนปลงของสังคม ต้องค้นหาจุดเด่นขององค์กรและผลิตภัณฑ์ของตนเองให้พบแล้วประกาศให้ ชดั เจน เพอื่ ใหส้ ังคมผู้บริโภครบั รู้ และสร้างเปน็ ภาพจาในใจของผู้บรโิ ภค 2.1.5 แผนกลยุทธ์การตลาดทกุ แผนลว้ นแต่มีคา่ ใช้จา่ ยทางการเงินท้งั สน้ิ ผู้ประกอบการควร วางแผนกลยทุ ธ์ไวห้ ลายๆ แนวทาง และเลือกกลยทุ ธ์การตลาดทีม่ ีความคมุ้ ค่าในการใช้จ่ายเงนิ มากที่สดุ 2.1.6 ให้ความสาคัญกับการสร้างความสัมพันธ์ท่ีดีกับลูกค้า (Customer relationship management ; CRM) เพราะจะทาให้ลูกค้าเกิดความผูกพันและมีความจงรักภัคดีต่อสินค้าหรือองค์กร เพื่อเปน็ การรักษาลูกค้าเดิมของกิจการไว้ ซ่ึงค่าใช้จ่ายในการรักษาลูกค้าเดมิ จะต่ากวา่ ค่าใช้จ่ายในการหา ลกู ค้าใหมถ่ งึ 5 เทา่ 2.2 ผู้ประกอบการจะต้องจัดทาแผนการตลาดเชิงกลยุทธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ท่ีกาหนด ไว้ 2.2.1 ข้ันตอนเตรียมการ เป็นขั้นตอนท่ีควรจะต้องปฏิบัติก่อนการลงมือทาแผนการตลาด โดยการรวบรวมข้อมูลภายในองค์กรในด้านบุคลากร และทรัพยากรต่างๆ ท่ีจาเป็นต้องใช้ในการจัดทา แผนการตลาด รวมถงึ ประชุมร่วมกับผเู้ กี่ยวข้องทั้งหมด เพื่อใหท้ กุ คนในองคก์ รได้รับทราบ

7 และมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น ซ่ึงจะทาให้เกิดความร่วมมือทางานตามแผนการตลาดท่ีจะ กาหนดข้ึน ร่วมกันวางแผนการตลาด พร้อมกับแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบในการจัดทาแผนการตลาดให้ ผ้เู กย่ี วข้อง อธบิ ายวิธีการและข้ันตอนต่างๆ ในการปฏบิ ตั ิให้รับทราบ เริม่ ไปปฏิบัติ 2.2.2 ขั้นตอนของการศึกษาหาข้อมูล เป็นขั้นตอนหาข้อมูลท่ีจาเป็นต่อการวางแผน การตลาด กจิ การจะตอ้ งรขู้ อ้ มลู ตลาด มขี ้อมลู อยูส่ องประเภททีก่ ิจการตอ้ งรู้ก่อนวางแผนตลาด 2.2.2.1 ข้อมูลภายนอก หาจากแหล่งข้อมูลต่างๆ ได้แก่ข้อมูลด้านเศรษฐกิจ การตลาด สภาพการแข่งขันในอุตสาหกรรมนี้ คู่แข่งขัน เทคโนโลยีท่ีเกี่ยวข้อง รวมถึงแนวโน้มกระแส ความนยิ มของผูบ้ รโิ ภค 2.2.2.2 ข้อมูลภายในกิจการ เป็นข้อมูลท่ีได้มาจากการจดบันทึกข้อมูลจากการ ทางานท่ีผ่านมาของกิจการเช่น การวเิ คราะห์การขายแยกตามรายการผลิตภัณฑ์ ตามรายลูกค้า หรือตาม พ้ืนที่การขาย ต้นทุนแยกตามสายผลิตภัณฑ์ รวมถึงข้อมูลการใช้จ่ายเพ่ือกระตุน้ การขายที่เคยดาเนินการ มา 2.2.3 ข้ันตอนการกาหนดกลยุทธ์การตลาด กิจการควรแบ่งส่วนตลาดของธุรกิจที่ตนเอง ดาเนินการอยู่ออกเป็นส่วนย่อยๆ โดยเลือกวิธีการแบ่งส่วนตลาดที่เหมาะสมกับสินค้าหรือบริการของ ตนเอง เช่น แบ่งตามลักษณะประชากร หรือแบ่งตามพฤติกรรมการบริโภค หรือแบ่งตามภูมิศาสตร์ท่ีอยู่ ของผบู้ ริโภค หรอื แบง่ ตามลกั ษณะจติ วทิ ยา แล้วเลือกกลุม่ ลกู คา้ เปา้ หมายของตลาดย่อยท่คี ดิ ว่าเหมาะสม กบั เราท่สี ดุ จากน้ันทาการกาหนดวิธีการปฏบิ ัติที่เหมาะสมกบั กลมุ่ ลกู ค้า เปา้ หมาย ซ่ึงจะนาไปสู่ความสา เร็จของแผนการตลาดท่ีวางไว้ และสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่กาหนด รวมถึงมีวิธีการที่จะใช้วัดผล ความสาเรจ็ ของแผนการตลาดด้วย 2.2.4 ข้ันตอนการทาแผนการตลาดให้ชัดเจน เป็นข้ันตอนที่นาเอากลยุทธต์ ่างๆ ท่ีกาหนด ขึ้น มาจัดทาเป็นแผนปฏิบัติการ (Action Plan) ท่ีแสดงรายละเอียดต่างๆ ทีละข้ันตอน ผู้รับผิดชอบ ชว่ งเวลาในการปฏบิ ัติ และประมาณการ ค่าใช้จ่ายที่จะต้องใช้ รวมถึงเป้าหมายทตี่ อ้ งการในแต่ละกลยทุ ธ์ ตามตวั อยา่ งดา้ นลา่ ง

8 2.2.5 ข้ันตอนการนาไปปฏิบัตแิ ละติดตามทบทวนแผน เมื่อจัดทาแผนการตลาดเรียบร้อย แล้ว ผู้ประกอบการจะต้องนาแผนการตลาดท่ีจัดทาไว้มาปฏิบัติ และจะต้องติดตามทบทวนประเมินผล จากการดาเนินงานตามแผนการตลาด และเพ่ือนาผลท่ีเกิดข้ึนปรับปรุงในรายละเอียดปลีกย่อยให้ สอดคล้องกับสถานการณ์จริง โดยอยู่ภายใต้งบประมาณและทรัพยากรต่างๆ ท่ีได้วางแผนไว้ และเพ่ือให้ แผนท่ีวางไวม้ คี วามทนั สมัย สอดคล้องกับความเปน็ จริงการวางแผนการตลาดจาเป็นต้องมีจุดเร่มิ ตน้ และ วิธีการดาเนินการไปสู่จุดสิ้นสุดอย่างเป็นข้ันตอนที่เรียกว่ากระบวนการ หากวางแผนการตลาดโดยไม่ คานึงถึงกระบวนการเหล่านี้ จะทาให้การจัดทาแผนการตลาดมีความสับสน ส่งผลให้ประสิทธิภาพของ แผนการตลาดด้อยลง หรอื อาจทาใหม้ ีค่าใชจ้ า่ ยทีส่ ูงเกนิ ความจาเป็น กจ็ ะส่งผลให้กาไรจากการดาเนนิ งาน ไม่เป็นไปตามท่ีคาดหวัง ดังน้ัน ผู้ประกอบการจึงควรทาความเข้าใจในแต่ละข้ันตอนก่อนการวางแผน การตลาดใหด้ ี 3. แนวคิดเกี่ยวกับการขอรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชมุ ชน 3.1 วิสัยทัศน์ การมาตรฐานไทยขับเคลื่อนสินค้าและบริการ ให้เป็นที่ยอมรับและแข่งขันได้ใน ระดับสากล 3.2 นโยบาย มุ่งม่ันดาเนินงานด้านการมาตรฐาน เพื่อส่งเสริมและพัฒนาอุตสาหกรรมให้เกิด ประโยชน์สูงสุด แกผ่ ู้ประกอบการ ผู้บริโภคและประเทศชาติโดยรวม 3.3 วัตถุประสงคก์ ารดาเนนิ งาน 3.3.1 คมุ้ ครองผบู้ ริโภค 3.3.2 รักษาสิ่งแวดล้อม และทรัพย์พยากรธรรมชาติ 3.3.3 พฒั นาอตุ สาหกรรมของประเทศให้สามารถแขง่ ขนั ได้ในตลาดโลก 3.3.4 สร้างความเป็นธรรมในการซื้อขายขจัดปัญหา และอุปสรรคทางการค้าที่เกิดจาก มาตรการด้านมาตรฐาน 3.4 อานาจหน้าที่ สมอ. มีอานาจหน้าท่ีในการปฏิบัติงานตามพระราชบัญญัติมาตรฐาน ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 มติคณะรัฐมนตรี นโยบายรัฐบาล แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แหง่ ชาติ นโยบายและแผนแมบ่ ทของกระทรวงอตุ สาหกรรม

9 3.5 พนั ธกิจ 3.5.1 กาหนดมาตรฐานท่ีตรงความต้องการและสอดคล้องกบั แนวทางสากล 3.5.2 กากับดูแลผลิตภัณฑ์ และการตรวจสอบและรับรองด้านการมาตรฐานให้ได้รับการ ยอมรบั 3.5.3 สง่ เสริมและพัฒนาด้านการมาตรฐานของประเทศ 3.6 กจิ กรรมด้านการมาตรฐานของ สมอ. 3.6.1 การกาหนดมาตรฐาน 3.6.1.1 มาตรฐานระดับประเทศ กาหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (มอก.) ประเภทบงั งคับและไม่บงั คับตามความต้องการ และการขยายตัวของอุตสาหกรรม การค้า และเศรษฐกิจ ของประเทศ รวมท้ังนโยบายของรฐั บาล เพ่อื ค้มุ ครองผ้บู รโิ ภค รกั ษาสงิ่ แวดลอ้ ม และทรพั ยากรธรรมชาติ และสง่ เสริมใหภ้ าคอุตสาหกรรมไทยแข่งขันได้ในตลาดโลก 3.6.1.2 มาตรฐานระดับสากล ร่วมกาหนดมาตรฐานกับองค์กรสากลท่ีสาคัญ คือ องค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐาน (International Organization for standardization : ISO) คณะกรรมาธิการระหว่างประเทศว่าด้วยมาตรฐานสาขาอิเล็กทรอนิกส์ ( International Electrotechnical Commission : IEC) 3.6.2 การรบั รองคุณภาพผลติ ภณั ฑ์ 3.6.2.1 การรับรองตามมาตรฐานของประเทศ สมอ. ให้การรับรองคุณภาพ ผลติ ภัณฑ์ โดยการอนญุ าตใหแ้ สดงเครอ่ื งหมายมาตรฐาน จานวน 2 แบบ คือ เครือ่ งหมายมาตรฐานทั่วไป เครือ่ งหมายมาตรฐานบังคับ

10 3.6.2.2 การรับจดทะเบียนผลติ ภัณฑ์ สมอ. ให้การรับรองคุณภาพผลิตภณั ฑ์ สาหรบั ผลติ ภัณฑท์ ี่ยังมไิ ด้กาหนดมาตรฐาน โดยการจดทะเบียนผลติ ภณั ฑ์ ตามมติคณะรฐั มนตรี 3.6.2.3 การเป็นหน่วยตรวจให้กับสถาบันมาตรฐานต่างประเทศ สมอ. ได้รับ มอบหมายให้เป็นหน่วยตรวจของสถาบันมาตรฐานต่างประเทศ เพื่อรับรองคุณภาพผลิตภัณฑ์ตาม มาตรฐานของประเทศญีป่ ุ่น ประเทศสาธารณรัฐสังคมนิยมประชาธิปไตยศรลี งั กา และประเทศสาธารณรัฐ ฟลิ ปิ ปนิ ส์ นอกจากนี้ยังตรวจตดิ ตามผลใหก้ ับประเทศสาธารณรฐั แอฟรกิ าใต้ 3.6.2.4 การรับรองฉลากเขียว (Green Label) สมอ. ร่วมกับสถาบันสิ่งแวดล้อมไทย ดาเนินโครงการฉลากเขียวเพื่อให้การรับรอง โดยให้ใช้ฉลากเขียวสาหรับผลิตภัณฑ์ ท้ังน้ีเพ่ือช่วยลด มลภาวะจากสิ่งแวดล้อม และเพื่อผลักดันให้ผู้ผลิตใช้เทคโนโลยี หรือวิธีการผลิต ที่ให้ผลกระทบต่อ สิ่งแวดล้อม 3.6.3 การรบั รองคุณภาพผลติ ภณั ฑช์ ุมชน (มผช.) เป็นการให้การรับรองคุณภาพผลิตภัณฑ์ชุมชนของผู้ผลิตในชุมชนที่เกิดจากการ รวมกลุ่มกันประกอบกิจกรรมใดกิจกรรมหนึ่งหรือชุมชนในโครงการหน่ึงตาบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ท่ีผ่านการ คัดเลือกจากจังหวัด และ/หรือหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชมุ ชน ท่ีสานักงานมาตรฐาน ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ได้ประกาศกาหนดไว้ และจะแสดงเครื่องหมายมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชนกับ ผลติ ภณั ฑ์ทไี่ ด้รับการรบั รอง

11 3.6.4 การรบั รองระบบงาน 3.6.4.1 การรับรองความสามารถห้องปฏิบัติการ สมอ. ได้ดาเนินการรับรองขีด ความสามารถทางวิชาการ และระบบคุณภาพ การทดสอบของห้องปฏิบัติการสอบเทียบและ ห้องปฏิบัติการทดสอบตามมาตรฐานข้อกาหนดทั่วไปว่าด้วยความสามารถของห้องปฏิบัติการสอบเทียบ และห้องปฏิบัติการทดสอบ (มอก.17025-2543) ซึ่งเหมือนกันทุกประการกับ ISO/IEC 17025 ซ่ึง ขอบข่ายของการรับรองอาจเป็นการรับรองการทดสอบหรือสอบเทียบทุกรายการหรือบางรายการของ หอ้ งปฏิบัตกิ ารกไ็ ด้ 3.6.4.2 การจดทะเบียนบุคลากร ผู้ทรงคุณวุฒิ หลักสูตรและองค์กรฝึกอบรมด้าน การมาตรฐาน เป็นการให้การจดทะเบียนบุคลากร ผู้ทรงคุณวุฒิด้านการประเมินการจดทะเบียน หลักสูตรผึกอบรมและองค์กรฝึกอบรมด้านการมาตรฐานในกลุ่มสาขาต่าง ๆ ได้แก่ ระบบการบริหารงาน คุณภาพ ระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม ระบบการวิเคราะห์อันตรายและจุดวิกฤตท่ีตอ้ งควบคุมในการผลิต อาหาร ระบบห้องปฏิบัติการทดสอบและห้องปฏิบัติการสอบเทียบระบบการจัดการอาชีวอนามัยและ ความปลอดภัยระบบการรับรองผลิตภัณฑ์และระบบอื่น ๆ ตามมาตรฐานสากลหรือมาตรฐานอ่ืน ๆ ท่ี สากลยอมรบั 3.6.5 การบรกิ ารขอ้ สนเทศมาตรฐาน 3.6.5.1 บริการข้อสนเทศด้านการมาตรฐาน โดยให้ข้อมูลและตอบข้อซักถามทาง วิชาการเกยี่ วกับมาตรฐาน กฎระเบียบทางวชิ ากากร และการรบั รองคณุ ภาพทงั้ ของไทยและตา่ งประเทศ 3.6.5.2 เป็นศูนย์ตอบข้อซักถาม (Enquiry Point) ของไทย ภายใต้ความตกลงว่า ด้วยอปุ สรรคทางเทคนิคตอ่ การคา้ (TBT) ขององคก์ ารการค้าโลก (WTO) 3.6.5.3 บริการข้อมูลด้านการมาตรฐานผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตท่ี http://www.tisi.go.th 3.6.5.4 บริการห้องสมุดมาตรฐาน สมอ. โดยเป็นศูนย์รวมเอกสารมาตรฐานท้ัง ของไทยและของต่างประเทศ ตลอดจนเอกสารทางด้านการรับรองคุณภาพ กฎระเบียบทางวิชาการและ เอกสารอน่ื ๆ ท่คี รบถ้วนและทนั สมัยทั้งในรูปของเอกสารและไมโครฟิล์ม

12 3.6.6 การปฏิบตั ติ ามพนั ธกรณคี วามตกลงภายใตอ้ งค์การการค้าโลก สมอ. เป็นแกนกลางในการปฏิบัติตามพันธกรณีตามมติคณะรัฐมนตรี ได้แก่ ความ ตกลงว่าด้วยอุปสรรคทางเทคนิคต่อการค้า (Agreement on Technical Barriers to Trade : TBT) ยกเวน้ ส่วนท่เี กย่ี วข้องกบั สนิ ค้าเกษตรและอาหาร 3.6.7 งานดา้ นการมาตรฐานระหวา่ งประเทศและภูมิภาค 3.6.7.1 กิจกรรมมาตรฐานระหว่างประเทศ สมอ. ได้เข้าร่วมเป็นสมาชิกใน องค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการ (International Organization for Standardization : ISO) และ คณะกรรมาธิการระหว่างประเทศว่าด้วยมาตรฐานสาขาอิเล็กทรอเทคนิกส์ (International Electrotechnical Commission : IEC) ด้านการรับรองหน่วยงานท่ีให้บริการฝึกอบรมและข้ึนทะเบียน บุคลากรด้านตรวจประเมินรวมทั้งร่วมดาเนินการรับรองห้องปฏิบัติการทดสอบกับ International Laboratory Accreditation Conference ILAC 3.6.7.2 กจิ การมาตรฐานภมู ิภาค สมอ. ไดเ้ ขา้ รว่ มกจิ กรรมงานดา้ นมาตรฐาน และ การรบั รองในส่วนภมู ิภาคกบั ASEAN Consultative Committee for Standards and Quality ACCSQ แ ล ะ Asia PacificEconomic Cooperation : Standardsand conformance Sub- Committee (APEC/CTI/SCSC) นอกจากน้ียังได้เข้าร่วมเป็นสมาชิกในกลุ่ม Pacific Area Standards Congress PASC 3.6.8 การสง่ เสริมมาตรฐานและพัฒนาดา้ นการมาตรฐาน สมอ. ดาเนินการส่งเสริมและสนับสนุนให้ภาคเอกชน และหน่วยงานภาครัฐพัฒนา ระบบการจักการให้สอดคล้องกบั หลักปฏิบตั มิ าตรฐานสากล เพื่อประโยชน์ในการพัฒนาขดี ความสามารถ ของอุตสาหกรรม และเพ่ิมศักยภาพในการแข่งขันทางการค้าระหว่างประเทศ และส่งเสริมเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ สร้างความเข้าใจแก่ผู้ผลิต ผู้บริโภค และผู้เก่ียวข้องทุกระดับ เพื่อให้ตระหนักถึง ความสาคัญของคุณภาพ และการมาตรฐาน และนาไปใช้ เพ่ือประโยชน์ในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ของประเทศ

13 3.6.9 การพัฒนาบุคลากร สมอ. ได้ดาเนินการพัฒนาบุคลากรด้านการมาตรฐานท้ัง ภาครัฐ และเอกชนให้มีขีดความสามารถท่ีจะดาเนินการด้านมาตรฐาน ให้สอดคล้องกับสากล และเป็นท่ี ยอมรบั 4. ทฤษฎกี ลยทุ ธ์การตลาด (4Ps) และ (8Ps) , กลยุทธ์ตลาดออนไลน์ 4P หรือ Marketing Mix สามารถเรียกเป็นภาษาไทยได้ว่า ส่วนผสมทางการตลาด เป็นทฤษฎี หนึ่งท่ีนิยมใช้ในการวางแผนการตลาด โดยแบ่งออกเป็น 4 ส่วนหลักๆ ได้แก่ Product, Price, Place และ Promotion เราต้องวางแผนให้แต่ละส่วนมีความสอดคล้องและไปในทิศทางเดียวกัน ครั้งแรกท่ีคิด ออกมาอาจจะไม่สมบูรณ์แบบ เราก็สามารถปรบั ไปเร่อื ย ๆ 4.1 ผลติ ภณั ฑ์ (Product) ธุรกิจมีองค์ประกอบหลักซ่ึงเป็นปัจจัยสาคัญอย่างแรก คือ ผลิตภัณฑ์สินค้า (Goods) หรือ บริการ (Service) สาหรับในส่วนสินค้าน้ันแบ่งออกเป็น สินค้าประเภทจับต้องได้ และสินค้าประเภทจับ ต้องไม่ได้ สาหรับการบริการน้ันแบ่งออกเป็น บริการแบบมีส่วนร่วม และการบริการแบบไม่มีส่วนร่วม ดังนั้นสินค้า และบริการจึงนับได้ว่าเป็นหัวใจสาคัญของการดาเนินธุรกิจอย่างแท้จริง โดยต้องมี คุณลักษณะสาคัญ คือ คุณภาพ (Quality) สาหรับในส่วนของคุณภาพนั้นยังมีความหมายรวมถึง ด้าน ความเหมาะสมในการใช้งาน คุณภาพการออกแบบ และคุณภาพตามมาตรฐานท่ีกาหนดไว้อีกด้วย นอกจากน้นั คณุ ภาพยงั เป็นตัวบง่ ช้สี าคัญถึงภาพลักษณข์ องธุรกจิ เราอกี ด้วย 4.2 ราคา (Price) การกาหนดราคานับว่าเปน็ กลยุทธ์สาคัญอีกอย่างหน่ึงของการดาเนินธรุ กิจ โดยมักจะข้ึนอยู่ กับปัจจัยต่าง ๆ เช่น ขนาดของตัวธุรกิจ ประเภทของสินค้าท่ีต้องการจาหน่าย ค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ส่ิงแวดลอ้ มทางการตลาด กฎหมาย ความเปล่ียนแปลกของราคาวัตถุดิบ หรอื แมแ้ ตร่ ะบบการจดั จาหน่าย ต้นทุนการผลิต และการส่งเสริมการขาย เป็นต้น สาหรับธุรกิจขนาดเล็กน้ัน การกาหนดราคาขายของ สินค้าเป็นสิ่งจาเป็นอย่างย่ิง เนื่องจากราคานั้น เป็นส่ิงท่ีใช้วัดค่า และประโยชน์ของตัวสินค้า และยังเป็น ตัวกาหนดว่าเราจะสามารถใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจากัดไปในทิศทางใด จะสามารถขายสินค้าอย่างไร จานวนเท่าไหร่ ราคาขายจะเป็นเคร่ืองบ่งชี้สาคัญ ของความสามารถในการทากาไรของธุรกิจนั้น ทั้งน้ี เน่ืองจากกาไรนั้นคานวณจาก รายรับหักลบด้วยต้นทุน และรายรับได้จากปริมานจานวนที่ขายคุณด้วย

14 ราคาต่อหน่วย อีกหนึ่งกลยุทธ์การขายสินค้าที่นิยมนามาใช้กัน อย่างแพร่หลาย ได้แก่ การให้ส่วนลด (Discount) การขายเชอื่ (Credit) และการฝากขาย (Consignment) และยงั มกี ารใช้นโยบายการตงั้ ราคา มาใช้อกี ด้วย 4.3 ชอ่ งทางการจดั จาหนา่ ย (Place) การนาสินค้าไปให้ถึงมือของลูกค้า โดยยึดหลักความมีประสิทธิภาพ ความถูกต้อง ความ ปลอดภัย และความรวดเร็ว วิธีขายหรือกระจายสินค้าท่ีสามารถทาให้เกิดผลกาไรมากที่สุด ต้องกระจาย สินค้าให้ตรงกลุ่มเป้าหมายมากทส่ี ุด หากเปน็ สินค้าที่ขายไปหลายๆ แหง่ วิธกี ารขายหรือการกระจายสินคา้ น้ันจะมีความสาคัญมาก โดยหลักการของการเลือกวิธีกระจายสินค้านั้นไม่ใช่ขายให้มากสถานท่ี ท่ีสุดจะดี เสมอ เพราะมนั ขึน้ อยู่กับว่า สินคา้ ของทา่ นคืออะไร และกลมุ่ เป้าหมายท่านคอื ใคร 4.4 การสง่ เสรมิ การขาย (Promotion) ความสาเร็จทางด้านธุรกิจ คือ การขายสินค้า หรือบริการให้ได้มากท่ีสุด แต่มักจะปัญหาว่า ต้องทาอย่างไร การส่งเสริมการขาย จึงมีบทบาทสาคัญท่ีช่วยให้ยอดขายเพ่ิมมากข้ึน กิจกรรมดังกล่าว ประสบความสาเรจ็ และมีประสิทธิภาพ เมือ่ ธรุ กจิ ทราบว่าลูกคา้ ตอ้ งการอะไร มีรสนิยมแบบไหน เพ่ือทีจ่ ะ สามารถสร้างโปรโมชั่นท่ีตอบสนองความต้องการของลูกค้าได้โดยตรง แต่การส่งเสริมการขายนั้นมี ความสมั พนั ธใ์ กล้ชดิ กับงบประมาณ ดา้ นคา่ ใชจ้ ่ายอยา่ งมาก และควรจะต้องพยายามให้ไดผ้ ลลพั ธก์ ลบั คืน อยา่ งคมุ้ ค่าทส่ี ุด ซ่งึ มีอยู่หลายวธิ ที ีส่ ามารถชว่ ยไดท้ ัง้ ทางตรง และทางอ้อม 4.5 กลยุทธ์ทางการตลาด (8 P’s Strategy) หมายถึง กลยุทธ์ทางการตลาดสมัยใหม่ซึ่งเป็น ส่วนผสมทางการตลาด (Marketing Mix) หรือที่เรียกสั้นๆ ว่า 8P’s ซ่ึงต้องมีแนวทางความคิดทางการ สื่อสารการตลาด(IMC)โดยอาศัยเครื่องมือการ ติดต่อสื่อสารกับผู้บริโภคแบบสมัยใหม่ซึ่งแบ่งส่วนขยาย เพ่ิมเติมจากเดิมอีก หลายส่วนท้ังงานศึกษาทั้งภายในและภายนอกประเทศเชื่อมโยงสู่การทาธุรกิจสมัย ใหม่ซ่ึงเน้นการสร้างผลกาไรสูงสดุ บนความพอใจของผูบ้ ริโภคซึง่ เป็นการทา ธรุ กิจระยะยาว (Long-Term Business) พร้อมกับพฤติกรรมท่ีเปล่ียนไปของผู้บรโิ ภคสมยั ใหม่ซง่ึ เปลี่ยนไปอย่างมากโดยเฉพาะการแบง่ ส่วนการตลาด (Segmentation) ซ่ึงไม่สามารถแบ่งส่วนการตลาดแบบ เดิมๆ ได้แล้ว ซ่ึงการเอกสาร การศึกษาในส่วนแรกเป็นแนวทางทาธุรกิจและก่อให้เกิดพฤตกรรมในการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร

15 ส่วนท่ีเอกสารอื่นๆจะชว่ ยในการวางแผนการตลาด ในธรุ กิจผลิตภัณฑ์เสริมอาหารท่ีมีความเกี่ยวข้องและ สอดคล้องกบั การศึกษาในคร้ังนี้ 4.5.1 แนวคิดทางการวางแผนกลยทุ ธท์ างการตลาดโดยใช้ 8P’s 4.5.1.1 กลยทุ ธผ์ ลติ ภณั ฑ์ (Product Strategy) กลยทุ ธผ์ ลิตภัณฑ์ (Product Strategy) คอื กลยุทธ์ผลติ ภณั ฑ์น้นั จะเกย่ี วข้องกบั กระบวนการตดั สนิ ใจ เก่ียวกบั (ก) คณุ สมบัติผลิตภัณฑ์ (Product attribute) (ข) ส่วนประสมผลิตภณั ฑ์ (Product mix) (ค) สายผลิตภณั ฑ์ (Product lines) 4.5.1.2 ส่งิ ทตี่ อ้ งพจิ ารณาเก่ียวกับผลติ ภณั ฑ์ (ก) แนวความคดิ ด้านผลิตภณั ฑ์ (Product Concept) เปน็ คณุ สมบตั ทิ ี่ สาคญั ของผลิตภณั ฑท์ สี่ ามารถตอบสนองความต้องการของผู้บริโภค Product ได้ ต้องมีความชัดเจนใน ตวั ผลิตภณั ฑน์ นั้ ๆ (ข) คุณสมบัตผิ ลิตภณั ฑ์ (Product attribute) จะตอ้ งทราบว่า ผลิตภัณฑ์น้นั ผลิตมาจากอะไร มีคุณสมบัตอิ ย่างไร ลักษณะทางกายภาพ ฟสิ ิกส์ เคมี ชีวะ ขนาด ความดี ความงาม ความคงทนทานด้านรูปร่าง รูปแบของผลิตภัณฑท์ ี่มีอยู่ในตวั ของมันเอง (ค) ลกั ษณะเด่นของสินคา้ (Product Feature) การนาสนิ คา้ ของบรษิ ทั ไปเปรียบเทียบกบั สนิ คา้ ของคู่แข่งขนั แลว้ มีคณุ สมบัตแิ ตกต่างกัน และจะตอ้ งรวู้ า่ สนิ ค้าเรามอี ะไรเด่นกวา่ เช่นลักษณะเดน่ ของ Dior คอื เปน็ ผลติ ภณั ฑ์ชนั นาจากปารสี (ฆ) ประโยชน์ของผลติ ภัณฑ์ (Product Benefit) พิจารณาว่าสินคา้ มี ลักษณะเด่นอย่างไรบา้ ง และสินคา้ ใหป้ ระโยชน์อะไรกับลูกคา้ บ้าง ระหวา่ งการให้สัญญากบั ลกู ค้า กบั การ พิสูจนด์ ว้ ยลักษณะเดน่ ของสนิ คา้ 4.5.2 กลยทุ ธร์ าคา (Price Strategy) กลยทุ ธร์ าคา (Price Strategy) เปน็ การกาหนดวา่ เราจะต้งั ราคาแบบใด กลยุทธ์ ราคาสูงหรอื ราคาตา่ สิ่งทีจ่ ะตอ้ งตระหนกั คอื ราคาทีไดก้ าหนดไว้น้ันเหมาะสมในการแขง่ ขัน หรอื

16 สอดคล้องกับตาแหนง่ ผลิตภณั ฑ์ของสนิ คา้ น้นั หรอื ไมก่ ลยทุ ธ์ ด้านราคา (Price strategy) การกาหนดกล ยุทธ์ดา้ นราคามีประเด็นสาคัญทจ่ี ะตอ้ งพจิ ารณา ดงั น้ี 4.5.2.1 ตง้ั ราคาตามตลาด (On going price) หรอื ต้งั ราคาตามความพอใจ (Leading price) (ก) ต้ังราคาตามตามตลาด (On going price) เหมาะสาหรบั สินค้าทส่ี ร้าง ความแตกตา่ งไดย้ ากจงึ ไมส่ ามารถจะตัง้ ราคาให้แตกตา่ งจากตลาดคูแ่ ข่งขนั ได้ นั่น คือ การต้งั ราคาตาม ค่แู ขง่ ขัน (ข) ตัง้ ราคาตามความพอใจ (Leading price) เปน็ การตัง้ ราคาตามความ พอใจโดยไม่คานงึ ถึงคู่แข่งขัน เหมาะสาหรับผลติ ภัณฑ์ทีม่ ีความแตกตา่ งในตราสินค้า สนิ คา้ ท่ีมีเอกลกั ษณ์ ส่วนตวั มีภาพพจนท์ ่ดี ี จะตง้ั ราคาเทา่ ไรก็ไมม่ ใี ครเปรียบเทยี บ 4.5.2.2 สนิ คา้ จะออกเป็นแบบราคาสูง (Premium price) เมื่อแนใ่ จในคณุ ภาพท่ี เหนือกว่า และการยอมรับในราคาของลูกค้า หรือราคามาตรฐาน (Standard) เม่ือใชก้ ารต้งั ราคาโดย พจิ ารณาจากราคาของคแู่ ข่งขัน หรอื ตราสนิ คา้ เพ่อื การแข่งขัน (Fighting brand) เปน็ สนิ คา้ ด้อยคณุ ภาพ กวา่ คแู่ ข่งขนั เลก็ นอ้ ย จะลงตลาดลา่ ง 4.5.2.3 การตัง้ ราคาเทา่ กนั หมด (One pricing) คือ สินคา้ หลายอยา่ งที่มรี าคาติด อยบู่ นกลอ่ งหมายถึง ไม่ว่าจะขายอยทู่ ี่ใดฤดูหนาวหรอื ฤดรู อ้ นราคากเ็ ท่ากนั หมด หรือราคาแตกตา่ งกัน (Discriminate price) ข้อดี คอื สามารถเรยี กราคาไดห้ ลายราคา แต่ขอ้ เสียกค็ อื เราตอ้ งหาเหตผุ ลในการ ตง้ั ราคาหลายอย่าง เพ่ือใหค้ นยอมรับได้ 4.5.2.4 การขยายสายผลติ ภณั ฑ์ (Line extension) ในกรณนี กี้ ารนาเสนอสินค้า เริม่ ตน้ ด้วยราคาหนึง่ แลว้ มกี ลยุทธ์เผยแพรค่ วามนยิ มไปยงั ตลาดบน หรือตลาดลา่ ง 4.5.2.5 การขยับซอื้ สงู ข้นึ (Trading up) เปน็ การปรับราคาสูงขึ้นทาให้ได้กาไรมาก ขึ้นจงึ พยายามขายใหป้ รมิ าณมากขนึ้ หรอื การขยบั ซ้ือต่าลง (Trading down) เป็นการผลติ สินคา้ ทม่ี รี าคา แพงใหม้ ีคณุ ภาพกวา่ สนิ คา้ ทร่ี าคาถูกเลก็ น้อยแต่ ตั้งราคาสูงกว่า เพอื่ ใหค้ นซ้อื สินคา้ ทร่ี องลงมา 4.5.2.6 การใชก้ ลยทุ ธด์ า้ นขนาด (Size) คือ ไม่ทาขนาดเท่ากับผู้ผลิตรายอื่น ๆ

17 4.5.3 กลยทุ ธ์การจัดจาหน่าย (Place Strategy) 4.5.3.1 ช่องทางการจัดจาหน่าย (Channel of distribution) เป็นเส้นทางที่สินค้า เคล่อื นยา้ ยจากผู้ผลติ หรอื ผูข้ ายไปยงั ผบู้ รโิ ภคหรอื ผ้ใู ช้ ซ่งึ อาจจะผา่ นคนกลางหรือไมฝ่ ่ายคนกลางก็ได้ 4.5.3.2 ประเภทของร้านค้า (Outlets) ในทุกวันน้ีจะพบได้ว่าวิวัฒนาการของการ จัดจาหน่ายน้ันเป็นสิ่งที่เจริญเติบโตรวดเร็วมากประเภทของร้านค้ามีมากมายจนแทบจะตามไม่ทันจะขอ เรยี งลาดับประเภทของรา้ นค้าจากใหญ่ไปหาเล็ก (ก) ร้านคา้ ส่ง (Wholesale store) เปน็ ร้านค้าที่ขายสินค้าในปริมาณมาก ลกู ค้าสว่ นใหญ่เป็นคนกลาง (ข) ร้านคา้ ขายของถูก (Discount store) เปน็ รา้ นคา้ ที่ขายสินค้าราคา พเิ ศษ (ค) ร้านหา้ งสรรพสินค้า (Department store) (ฆ) ซูเปอรม์ ารเ์ กต็ ท่ีอยูเ่ ด่ยี ว ๆ (Stand alone supermarket) เปน็ รา้ นท่ี มีทาเลเดย่ี วไมต่ ิดกบั รา้ นค้าใด ๆ (ง) ชอ้ ปปงิ้ ชุมชน (Community mall) เปน็ รา้ นคา้ ทอี่ ยู่ในย่านชุมชน (จ) Minimart จะเหน็ ไดจ้ ากรา้ นค้าเลก็ ๆ ตามตกึ อาคารสูง ๆ ใน โรงพยาบาล ซ่ึงตัง้ ฮั่วเสง็ เริม่ บุกตลาด Minimart พอสมควร (ฉ) ร้านคา้ สะดวกซอ้ื (Convenience store) เป็นรา้ นค้าทข่ี ายสินคา้ อปุ โภคบรโิ ภค หรอื สินค้าสะดวกซอื้ บางร้านจะเปดิ บรกิ าร 24 ชั่วโมง (ช) รา้ นคา้ ในป๊มั น้ามนั (ซ) ซุม้ ขายของ (Kiosk) เป็นรา้ นทจี่ ดั เป็นซมุ้ ขายของ (ฌ) เครือ่ งขายอัตโนมตั ิ (Vending machine) เปน็ การขายสนิ คา้ ผา่ น เครอื่ งจักรอตั โนมัติ (ญ) การขายทางไปรษณีย์ (Mail order) เปน็ การขายสินค้าซึ่งใช้จดหมาย สง่ ไปยงั ลกู คา้ มีการลงในหนงั สือพมิ พ์ นติ ยสาร ถ้าพอใจกส็ ่งขอ้ ความสั่งซื้อ ทางไปรษณีย์

18 (ฎ) ขายโดยแคตตาลอ็ ก (Catalog sales) (ฏ) ขายทางโทรทัศน์ (T.V. Sales) (ฐ) ขายตรง (Direct sales) การขายโดยใช้พนักงานขายออกเสนอขาย ตามบ้าน (ฑ) ร้านคา้ สวัสดิการ เปน็ รา้ นคา้ ทีต่ ้งั ขน้ึ เพ่ืออานวยความสะดวกกับ พนกั งานตามหนว่ ยงานราชการ ตา่ ง ๆ ของบริษทั หรือสานกั งานตา่ ง ๆ (ฒ) ร้านคา้ สหกรณ์ เปน็ ร้านค้าที่ตั้งอยู่ตามมหาวิทยาลยั และโรงเรยี น 4.5.3.3 จานวนคนกลางในช่องทาง (Number of intermediaries) หรือความ หนาแน่นของคนกลางในช่องทางการจัดจาหน่าย (Intensity of distribution) ในการพิจารณาเลือกช่อง ทางการจดั จาหนา่ ยจะมีกระบวนการ 3 ขนั้ ตอน ดังนี้ (ก) การพจิ ารณาเลือกลกู คา้ กลมุ่ เป้าหมายว่าเป็นใคร (ข) พฤตกิ รรมในการซอื้ ของกลุม่ เป้าหมาย เช่น ซอ้ื เงนิ สดหรือเครดติ ตอ้ ง จดั สง่ หรอื ไม่ ซอื้ บ่อยเพยี งใด (ค) การพจิ ารณาท่ตี ง้ั ของลูกคา้ ตามสภาพภูมิศาสตร์ 4.5.3.4 การสนบั สนนุ การกระจายตวั สนิ คา้ เขา้ สตู่ ลาด เปน็ กิจกรรมที่เก่ยี วข้องกับ การเคลอ่ื นย้ายปัจจัยการผลติ และตัวสินคา้ จากแหล่งปจั จัยการผลิตผ่านโรงงานของผู้ผลิต แล้วกระจาย ไปยังผู้บรโิ ภค 4.5.4 กลยทุ ธ์การสง่ เสรมิ การตลาด (Promotion Strategy) กลยทุ ธ์การสง่ เสริมการตลาดจะต้องประสานกับแผนการตลาดโดยรวมและควร กาหนดแผนการสง่ เสริมการตลาดทเี่ ฉพาะเจาะจง 4.5.5 กลยุทธ์การบรรจุภัณฑ์ (Packaging Strategy) การตัดสินใจเลือกรูปแบบการบรรจุภัณฑ์และประเภทวัสดุของบรรจุภัณฑ์มักจะใช้ กับสินค้าอุปโภคบริโภคท่ีพัฒนาใหม่หรือเม่ือมีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงสินค้าใหม่กลยุทธ์การบรรจุภัณฑ์ มีหลกั ในการพจิ ารณา ดงั น้ี

19 4.5.5.1 บรรจภุ ณั ฑน์ ั้นเหมาะสมทจ่ี ะบรรจุสนิ คา้ (Put in) หรือไม่ 4.5.5.2 สนิ ค้าเมือ่ วางบนชน้ั แล้วได้เปรยี บ (เดน่ ) (Put up) หรอื ไม่ 4.5.5.3 สนิ ค้าเม่ือนาเอามาใชแ้ ลว้ เก็บสะดวก (Put away) หรอื ไม่ 4.5.5.4 บรรจุภณั ฑส์ วยงาม (Prettiness) หรือไม่ 4.5.5.5 สามารถเชิญชวนใหใ้ ช้ (Pleading) ไดห้ รือไม่ 4.5.5.6 บรรจุภัณฑส์ ามารถสะทอ้ นตาแหนง่ ครองใจของสนิ คา้ (Positioning) ได้ หรอื ไม่ 4.5.5.7 บรรจภุ ัณฑส์ ามารถสะท้อนบุคลกิ ภาพของสนิ ค้า (Personality) ไดห้ รือไม่ 4.5.5.8 บรรจุภัณฑส์ ามารถปกป้องสินค้า (Protection) ไดห้ รอื ไม่ 4.5.5.9 บรรจภุ ัณฑม์ ีความสะดวกตอ่ การใชง้ าน (Practicality) หรือไม่ 4.5.5.10 บรรจุภณั ฑ์ทีเ่ ลอื กนัน้ สามารถทากาไรไดม้ ากขึน้ (Profitability) ไดห้ รือไม่ 4.5.5.11 บรรจภุ ัณฑน์ นั้ สามารถนามาใช้ในการสง่ เสรมิ การตลาด (Promotion) ได้ หรอื ไม่ 4.5.5.12 เปน็ การบอกถงึ วธิ ีการใช้สนิ คา้ (Preaching) ไดห้ รือไม่ 4.5.5.13 สามารถดูแลรักษาสิ่งแวดลอ้ ม (Preservation) ไดห้ รือไม่ ถา้ นาส่ิงเหลา่ นี้ มาพิจารณาท้งั หมดจะเหน็ วา่ ในการออกแบบบรรจภุ ัณฑ์ของบรษิ ัทจะเป็นโลโก้ตัวหนงั สือ ตัวอักษรการ เลือกเปน็ กระดาษเป็นโฟมหรือเครอ่ื งหมายสสี นั ตา่ งๆบรษิ ัทจะได้บรรจุภณั ฑท์ ี่ดี 4.5.6 กลยุทธก์ ารใช้พนกั งานขาย (Personal Strategy) การขายโดยใช้พนกั งานขายจัดเป็นรูปแบบการปฏบิ ตั ิตวั ตอ่ ตวั ระหวา่ งกจิ การกบั ลกู ค้าทง้ั นเี้ พ่ือมุ่งหวงั คาสง่ั ซือ้ ด้วยรปู แบบการขายทีแ่ ตกตา่ งกนั การขายโดยพนกั งานขายนัน้ เกี่ยวข้องกับ การจา้ งพนกั งานขาย การจัดการทั่วๆไปเก่ยี วกบั พนักงานขาย ตลอดจนการบริหารสินคา้ คงคลัง การ เตรยี มการเสนอขายและการบริการหลงั การขาย ในการพฒั นาแผนกการขายนน้ั กิจการจะเริ่มตั้งแต่การ ตั้งวัตถปุ ระสงค์และปฏิบตั ิการ ซง่ึ ตอ้ งมคี วามชดั เจนและสอดคล้องกบั ประเภทของธุรกจิ โดยอาจเป็น ธุรกจิ ค้าปลกี ธุรกจิ การบรกิ าร หรือธรุ กจิ การผลติ จากนน้ั จงึ กาหนดกลยุทธก์ ารขาย และการดาเนินงาน การขายโดยใชพ้ นกั งานขายนั้นหวังผลลพั ธเ์ พ่ือเพิม่ ยอดขายและขณะเดียวกนั ก็ เพ่ือสรา้ งสมั พันธ์ภาพ

20 ระยะยาวกบั ลกู คา้ อกี ดว้ ย นอกจากนกี้ ารขายโดยใช้พนกั งานขายนน้ั ยงั มกี ารใชโ้ บวช์ ัวร์ เอกสาร ใบปลิว วัสดุอปุ กรณ์ต่างๆ เพอื่ ช่วยในการนาเสนอขายของพนักงาน ตลอดจนเป็นหลักฐานอา้ งอิงและสามารถ มอบไวใ้ ห้ลูกค้าเพือ่ ศกึ ษาข้อมูลเพิม่ เตมิ 4.5.7 กลยทุ ธ์การให้ขา่ วสาร (Public Relation Strategy) การใหข้ า่ วสารน้ันคอื รูปแบบหนงึ่ ของการตดิ ตอ่ สอื่ สารที่ไม่เสยี ค่าใชจ้ า่ ยในการซื้อ ส่ือทั้งน้เี พ่ือสร้างทศั นคติทเี่ ปน็ บวกต่อสนิ คา้ และกิจการของเรา แต่ปจั จบุ นั การส่ือสารโดยวธิ ดี ังกล่าวอาจ มคี า่ ใช้จ่ายอน่ื ๆ รวมท้ังคา่ ใชจ้ ่ายทางอ้อมเกี่ยวกบั สอื่ อีกด้วย การใหข้ า่ วสารแกส่ าธารณะชน นน้ั เปน็ รปู แบบหน่ึงของการประชาสัมพนั ธ์ การให้ขา่ วสารจัดวา่ เปน็ การสร้างภาพลักษณ์ในระยะยาวแกอ่ งคก์ ร และต้องการใหผ้ ลลพั ธ์นี้ออกมาในเชงิ บวกแก่องค์กร สงิ่ ทีเ่ ราต้องพจิ ารณาอยา่ งยิ่งในการให้ขา่ วสารคือ กลมุ่ เป้าหมายท่ตี อ้ งการได้รับขา่ วสารและส่ือโฆษณาทจ่ี ะใช้เพื่อการสอ่ื ข่าวสาร 4.5.8 กลยทุ ธพ์ ลงั (Power Strategy) พลังในท่ีนี้ หมายถึง อานาจในการต่อรองและควบคุม ซึ่งดูเหมือนจะเป็นสิ่งท่ียาก ที่สุดในการเนรมิตให้เกิดข้ึน แต่ก็เป็นสิ่งจาเป็นและขาดเสียไม่ได้ในองค์ประกอบ P ส่วนสุดท้ายน้ี เพราะ อานาจต่อรองจะเป็นพลังพิเศษท่ีนามาใช้ต่อรองแลกเปลี่ยนผลประโยชน์ทางการค้าให้บริษัทได้รับ ข้อเสนอทด่ี ีทส่ี ุดในกรณที ไ่ี มส่ ามารถตกลงกนั ตามกรอบได้อย่างลงตวั 4.6 กลยุทธ์ตลาดออนไลน์ 4.6.1 กลยุทธ์ท่ี 1 ปรับตัวให้ทันกับสถานการณ์ปัจจุบัน หลากหลายธุรกิจยังคงทา การตลาดรูปแบบเดิม ๆ ที่ขายออฟไลน์เพียงอย่างเดียว ยุคนี้คงไม่เพียงพออีกตอ่ ไป เมื่อเกิดวิฤตการแพร่ ระบาดของเช้ือไวรัสโควิด 19 ทาให้มีข้อจากัดต่าง ๆ มากมาย คนออกจากบ้านน้อยลง งดเดินทาง งดน่ัง ร้านอาหาร งดท่องเท่ียว ใช้ชีวิตอยู่ที่พักมากยิ่งข้ึนและนิยมซื้อของออนไลน์ หรือสั่งอาหารแบบเดลิเวอร่ี เพื่อลดการออกไปสัมผัสเชอ้ื ทาให้หลากหลายธรุ กิจท่ียังขายรูปแบบเดิม ๆ หยุดชะงัก แก้ไขงา่ ย ๆ เพียง แค่คุณปรับตัวให้ทันกันสถานการณ์ปัจจุบันเพ่ือความอยู่รอดของธุรกิจ ทันพฤติกรรมของผู้บริโภคและ เทคโนโลยีที่เข้ามาช่วยให้การขายง่ายขึ้น เร่งเคร่ืองการตลาดเชงิ รุก บุกตลาดออนไลน์ด้วยการ ออกแบบ เว็บไซต์ E-commerce , โฆษณาสินค้าและบริการของคุณให้ลูกค้าเห็นด้วย Google Ads , โฆษณา

21 ออนไลน์บนแพลตฟอร์มท่ีมีผู้ใชง้ านมากมาย เช่น Facebook Ads เพียงเท่าน้ีไม่ว่าจะวิกฤตไหนยอดขาย คณุ ก็จะไม่หยดุ นง่ิ อกี ตอ่ ไป 4.6.2 กลยุทธ์ท่ี 2 สู้กับคู่แข่งให้แซงหน้า ปิดยอดขายแบบฉับไว คู่แข่งทางการค้าสาคัญ มาก เพราะมกี ล่มุ เปา้ หมายเดียวกนั สินค้าและบรกิ ารคล้ายคลึงกัน คณุ ควรดงึ ดูดลูกค้าให้สนใจสนิ ค้าและ บริการของมากยิ่งขึ้น เพราะผู้ประกอบการมจี านวนมหาศาลทาให้มกี ารแขง่ ขันที่สงู คุณต้องสู้เพื่อชัยชนะ ในการตลาดท่ีดเุ ดือดแบบ Red Ocean เลือกทาการตลาดออนไลน์และสใู้ ห้ถูกทางโดยเนน้ ผู้เชีย่ วชาญมา วางแผน ออกแบบ ดาเนินการ วิเคราะห์ผล เพ่ือให้ผลลัพธ์ออกมาดีท่ีสุด เพื่อท่ีคุณจะได้เดินเกมส์ การตลาดเชิงลุกได้ถูกทาง และทาการตลาดออนไลน์ที่ช่วยปิดการขายได้แบบฉับไว การันตีด้วย ประสบการณ์ของผู้เชี่ยวชาญ ท่ีจะทาให้ธุรกิจของคุณสามารถสร้างยอดขายและพุ่งเข้าหากลุ่มเป้าหมาย ไดแ้ บบรวดเร็วจนแซงคู่แขง่ ไดอ้ ยา่ งแนน่ อน 4.6.3 กลยุทธ์ท่ี 3 เชื่อมโยงทุกช่องทางการขายเข้าหากัน อย่างที่เราได้บอกเสมอว่า การ ขายของเพียงช่องทางเดียวอาจจะไม่เพียงพออีกต่อไป เพราะไม่สามารถรองรับการหล่ังไหลเข้ามาของ ลูกค้าบนโลกออนไลน์อันมหาศาลได้ และด้วยพฤตกิ รรมของผู้บริโภคที่เปล่ียนไปในทุก ๆ ปี ทาให้ลูกค้ามี ตัวเลือกหลากหลายช่องทาง หากคุณยังคงขายด้วยช่องทางเดิม ๆ ก็จะมีเพียงแค่กลุ่มลูกค้าเดิม ๆ ที่ให้ ความสนใจเท่าน้ัน เพียงแค่คุณเร่ิมปรับเปลี่ยนการตลาดออนไลน์ เพ่ิมช่องทางการขายให้รับรองลูกค้า มากยิ่งข้ึนและเชื่อมโยงทุกช่องทางเข้าหากัน เพ่ือให้ลูกค้าไม่พลาดการติดต่อ และสามารถติดตามความ เคล่ือนไหวของแบรนด์หรือคอย Update ข่าวสารโปรโมชน่ั ไว้ เพ่ือเพ่มิ โอกาสให้ลกู ค้าได้กลับมาซื้อสนิ คา้ ของคุณใหม่ไดอ้ ีกครั้ง 4.6.4 กลยทุ ธท์ ี่ 4 กลา้ ท่จี ะโฆษณา ลยุ ไปใหส้ ดุ หากคุณมสี นิ คา้ อยใู่ นมือ แตไ่ ม่สามารถทา ให้ผู้คนรู้จักและมองเห็นสินค้าของคุณได้ เชื่อเถอะว่ายอดขายของคุณก็จะนิ่งตามอย่างแน่นอน เพราะ สินค้าดีอย่างเดียวคงไม่พอ คุณต้องสร้างภาพลักษณ์เพ่ิมมูลค่าให้กับสินค้าและโฆษณาบนโลกออนไลน์ เพ่อื ใหก้ ลุ่มเปา้ หมายไดเ้ ขา้ มาดแู ละเลือกชือ้ สินค้าของคุณได้จากทุกท่ี ทุกมุมโลก ทางเราแนะนาว่าสิ่งแรก ท่ีคุณต้องลงทุนในการทาโฆษณาออนไลน์คือการออกแบบเว็บไซต์ที่รองรับ SEO และควรทาโฆษณา บน google เพ่ือเปิดการมองเห็น ดึงดูดลูกค้าเข้ามาให้ได้มากท่ีสุด พร้อมโฆษณา Facebook อีกช่องทาง

22 รับรองว่าโฆษณาทุกรูปแบบ จัดหนัก จัดเต็มขนาดนี้ ยอดขายของคุณจะเพ่ิมขึ้นหลายเท่าตัวในเวลาไม่ นาน 5. การบริโภคและทฤษฎีพฤตกิ รรมผูบ้ รโิ ภค (Buyer Behavior’s Model) 5.1 พฤตกิ รรม (Behavior) การกระทาหรือการแสดงออกของสัตว์เพ่ือตอบสนองต่อส่ิงเร้า หรือส่ิงที่มากระตุ้น (stimulus) ซงึ่ อาจจะเกิดขึ้นทันทหี รอื เกิดขนึ้ หลังจากท่ีถกู กระตนุ้ มาแล้วระยะหน่ึง 5.2 ผซู้ อื้ (Buyer) ผู้ได้รับบริการจากผู้ประกอบธุรกิจ หรือผู้ซึ่งได้รับการเสนอหรือชักชวนจากผู้ประกอบ ธุรกิจ เพื่อให้ซ้ือสินค้าหรือบริการ และหมายความรวมถึงผู้ใช้สินค้าหรือผู้ได้รับบริการจากผู้ประกอบ ธุรกิจโดนชอบ แมม้ ไิ ด้เสียคา่ ยตอบแทนก็ตาม 5.3 พฤติกรรมของผบู้ รโิ ภค (Consumer Behavior) การแสดงออกของแต่ละบุคคลที่เก่ียวข้องโดยตรงกับการใช้สินค้าและบริการทางเศรษฐกิจ รวมท้ังกระบวนการในการตัดสนิ ใจทีม่ ผี ลตอ่ การแสดงออก 5.3.1 สิ่งกระตุ้น (stimulus) หมายถึง ส่ิงกระตุ้นท่ีอาจเกิดข้ึนเองจากภายในร่างกาย และ ส่ิงกระตุ้นจากภายนอก นักการตลาดจะต้องสนใจและจัดส่ิงกระตุ้นภายนอก เพ่ือให้ผู้บริโภคเกิดความ ต้องการผลิตภัณฑ์ สิ่งกระตุ้นนี้ถือว่าเป็นเหตุจูงใจให้เกิดการซื้อสินค้า ซึ่งอาจใช้เหตุจูงใจซื้อด้านเหตุผล และใช้เหตจุ ูงใจใหซ้ ้ือในดา้ นจติ วทิ ยา (อารมณ)์ 5.3.2 กล่องดาหรือความรสู้ ึกนึกคดิ ของผู้ซอื้ (buyer’s black box) หมายถงึ ความรสู้ กึ นกึ คิดของผู้ซ้ือ ซึ่งเปรียบเสมือนกล่องดา ท่ีผู้ผลิตหรือผู้ขายไม่สามารถทราบได้ จึงต้องพยายามค้นหา ความรู้สึกนึกคิดของผู้ซื้อ ความรู้สึกนึกคิดของผู้ซื้อจะได้รับอิทธิพลมาจากลักษณะและกระบวนการ ตัดสนิ ใจของผู้ซอ้ื 5.3.3 การตอบสนองของผู้ซ้ือ (buyer’s response) หรือการตดั สินใจซื้อของผู้บรโิ ภคหรือ ผู้ซื้อ ผู้บรโิ ภคจะมีการตัดสินใจในประเด็นต่างๆ

23 6. แนวคดิ การออกแบบบรรจภุ ัณฑ์ การทาความเข้าใจเกี่ยวกับความหมาย ความเป็นมา ตลอดจนความสาคัญของบรรจุภัณฑ์ เป็น แนวคดิ ในการเรยี นรู้อดีต ศกึ ษาปจั จุบนั เพอ่ื กา้ วไปในอนาคต ความเขา้ ใจเรอ่ื งราวของบรรจุภัณฑ์ในบทน้ี จะช่วยให้การนาความรู้ไปประยุกต์ใช้ได้เหมาะสม เกิดประสิทธิภาพสูงสุด เป็นทางเลือกให้กับ ผู้ประกอบการได้เล็งเห็นความสาคัญในการเลือกพัฒนาบรรจุภัณฑ์ให้กับผลิตภัณฑ์ของตนเอง ได้อย่าง โดดเด่นน่าสนใจ บรรจภุ ัณฑ์มบี ทบาทสาคญั มากขน้ึ ตอ่ ผผู้ ลิต ซง่ึ เปน็ หน้าทีข่ องนกั ออกแบบท่ตี ้องคานึงถึง ศาสตร์และศิลป์สาหรับใชแ้ ก้ ปญั หา ในการออกแบบบรรจุภัณฑ์แตล่ ะดา้ นใหเ้ กิดผลลพั ธ์ที่มปี ระสิทธิภาพ มากท่ีสุด และถูกใจผู้บริโภคมากท่ีสุด ซ่ึงสิ่งสาคัญในการออกแบบบรรจุภัณฑ์ หรือออกแบบกราฟิกบน บรรจุภัณฑ์ ทผี่ ู้ออกแบบหรือผู้ผลิตต้องเข้าใจคอื วตั ถุประสงค์ของการออกแบบบรรจุภณั ฑ์ องค์ประกอบ ของการออกแบบบรรจุภัณฑ์ การออกแบบกราฟิกสาหรับบรรจุภัณฑ์ ข้ันตอนการออกแบบบรรจุภัณฑ์ การวางแผนเพ่ือผลิต บรรจุภัณฑ์ หรือแม้กระทั้งเทคนิคการออกแบบบรรจุภัณฑ์ ดังนั้นการบรรจุภัณฑ์ท่ี เหมาะสมกับผลิตภัณฑ์น้ัน เป็นส่ิงที่มีความสาคัญเป็นอย่างย่ิงต่อการจาหน่ายสินค้าทั้งในด้านการจัด จาหน่ายและการขนส่ง ตลอดจนการตัดสินใจเลือกซื้อสินค้า เพ่ือให้สามารถสู้คู่แข่งทางการค้าในตลาดได้ อยา่ งมคี ุณภาพ และมปี ระสทิ ธภิ าพตอ่ ไปในอนาคตได้อย่างยัง่ ยืน 6.1 ประวตั ิความเป็นมาของบรรจุภัณฑ์ กาเนิดของการบรรจุภัณฑ์ จากวนั นี้ย้อนกลับไปในอดีต ชว่ งปลายศตวรรษที่ 18 ในชว่ ง แรกอาหารจะนาไปบรรจุในภาชนะโลหะที่ปิดผนึกและถูกหลักอนามัย นั่นคือกระป๋องบรรจุอาหารที่ทา จากดบี กุ (Tin Can) หรอื กลอ่ งกระดาษแขง็ ไดใ้ ช้กนั อยา่ งกว้างขวาง เพราะมนี า้ หนักเบา สามารถพมิ พ์ทับ ลงไปได้ง่ายบนแผ่นกระดาษก่อนที่นาไปทาแบบบรรจุ และเป็นการประหยัดพื้นท่ี กล่องโลหะก็ได้รับการ พัฒนากันอย่างกว้างขวาง เช่นเดียวกันในเวลาน้ัน เพราะเป็นอีกทางเลือกหน่ึงที่ดีกว่าการใช้กล่อง กระดาษแข็ง โดยเฉพาะสินค้าที่บูดเน่าได้ เช่น ขนมปังกรอบ หรือขนมหวาน ทาให้ระดับความต้องการที่ จะเก็บรักษาสินค้าเพ่ิมจานวนมากขนึ้ หันกลับมามองในศตวรรษท่ี 20 ปัจจุบันน้ีเทคนิคในการผลติ ไดก้ ้าว ไกลไปมากพอที่จะทาให้บรรจุภัณฑ์โลหะเหล่านี้มีรูปแบบหรือรูปทรงต่าง ๆ ได้ตามต้องการด้วยการนา เทคนิคคอมพิวเตอร์มาช่วยในการผลิต รวมถึงพลาสติกท่ีได้รับการพัฒนาให้ดียิ่งข้ึน เราจึงนามาใช้ในทุก วันน้ี เทคนิคการพิมพ์ที่เฟ่ืองฟูมาตั้งแต่ต้นศตวรรษท่ี 19 น้ันต้องการการพัฒนาในเร่ืองเทคนิคการพิมพ์

24 บรรจุภัณฑ์ท่ีมีความรวดเร็ว ตราผลิตภัณฑ์หรือย่ีห้อน้ันจาเป็นต้องมีติดอยู่บนภาชนะบรรจุไม่ว่าจะเป็น วัสดุประเภทไหนก็ตาม ขวดแก้ว หม้อดินเผา กล่องหรือกระป๋องโลหะ กล่องกระดาษแข็ง หรือกระดาษ ห่อธรรมดา ก็ต้องมีฉลากที่จะบอกย่ีห้อของผลิตภัณฑ์น้ัน ผลที่ตามมาน้ันไปไกลเกินคาดในเร่ืองของการ เพิ่มคุณค่า และความสนใจให้กับสินค้าท่ัวไป ตัวอย่างเช่น รูปภาพ สีสด ชัดเจน ที่อยู่บนกล่องผงซักฟอก ย่อมจะดงึ ดดู ผู้บริโภคมากกว่าตวั ผงซกั ฟอก 6.2 ความหมายของบรรจุภัณฑ์ ความหมายหรือนิยามของคาว่าการออกแบบ (Design) และ บรรจุภัณฑ์ (Packaging) มีนกั วชิ าการและผเู้ ชยี่ วชาญ ได้กลา่ วไว้ ดังน้ี 6.2.1 กูด (Good) กล่าวว่า การออกแบบ เป็นการวางแผนหรือกาหนดรูปแบบรวมท้ังการ ตกแต่งในโครงสร้างรูปทรงของงานศลิ ปะ ทัศนศิลป์ดนตรี ตลอดจนวรรณกรรม 6.2.2 วิรุณ ต้ังเจริญ กล่าวว่า การออกแบบ หมายถึง การวางแผนสร้างสรรค์รูปแบบ โดย การวางแผนจดั ส่วนประกอบของการออกแบบใหส้ มั พนั ธก์ ับประโยชน์ใชส้ อย วสั ดุ และการผลิต 6.2.3 นิไกโด เคล็คเตอร์ (Nikaido Clecture) กลา่ วว่า บรรจุภัณฑ์ เป็นเทคนคิ ที่ส่งเสรมิ การ ขายกับการประสานประโยชน์ระหว่างวัตถุกับภาชนะบรรจุ โดยมีความมุ่งหมายเพ่ือการคุ้มครองใน ระหวา่ งการขนสง่ และการเก็บรักษาในคลงั 6.2.4 จรูญ โกสีย์ไกรนิรมล กล่าวว่า บรรจุภัณฑ์ คือการนาเอาวัสดุ เช่น กระดาษ พลาสติก แก้ว โลหะ ไม้ ประกอบเป็นภาชนะห่อหุ้มสินค้า เพื่อประโยชน์ในการใชส้ อยท่ีมีความแข็งแรง สวยงามได้ สัดส่วนท่ถี กู ต้องสรา้ งภาพพจนท์ ีด่ ี มภี าษาในการตดิ ตอ่ ส่อื สาร และทาใหเ้ กิดความพึงพอใจจากผู้ซือ้ สนิ ค้า 6.3 วัตถุประสงค์ของบรรจุภัณฑ์ บรรจุภัณฑ์ คือการนาเอาวัสดุ เช่น กระดาษ พลาสติก แก้ว โลหะ และไม้ ประกอบเป็นภาชนะห่อหุ้มสินค้า เพ่ือประโยชน์ในการใช้สอยที่มีความแข็งแรง สวยงามได้ สดั สว่ นทถี่ ูกต้องสรา้ งภาพพจนท์ ่ีดี มีภาษาในการติดต่อสื่อสาร และทาให้เกดิ ความพงึ พอใจจากผู้ซ้ือสินค้า โดยวตั ถุประสงค์ของการออกแบบบรรจุภณั ฑ์ มดี งั น้ี 6.3.1 เพื่อช่วยปกปอ้ งคมุ้ ครองและรักษาคณุ ภาพสินคา้ 6.3.2 เพือ่ เปน็ ตวั ช้ีบ่ง และสอ่ื สารรายละเอยี ดสินค้า ดงึ ดดู ผูบ้ รโิ ภค ใหแ้ สดงถึงภาพลกั ษณ์ 6.3.3 เพื่อสร้างบรรจุภัณฑ์ให้สามารถเอื้อประโยชน์ด้านหน้าที่ใช้สอยได้ดี มีความ ปลอดภัย ประหยัดและมีประสทิ ธิภาพ

25 6.3.4 เพ่ือสร้างบรรจุภัณฑ์ให้สามารถส่ือสาร และสร้างผลกระทบต่อผู้บริโภคโดยใช้ ความรู้แขนงศิลปะเข้ามาสร้างคุณ ลักษณะ เช่น มีเอกลักษณ์ลักษณะพิเศษท่ีดึงดูดและสร้างการจดจา ตลอดจนเขา้ ถงึ ความหมายและคุณประโยชน์ของผลติ ภัณฑ์ 6.4 ความสัมพนั ธข์ องบรรจุภณั ฑ์ ประเทศไทยของเรามีสนิ ค้ามีผลติ ผลทางด้านการเกษตรกรรม และการประมงมากมาย เช่น ผักสด ผลไม้สด และสินค้าท่ีเป็นอาหารจากทะเล สิ่งท่ีกล่าวมาน้ีจะได้รับ ความเสียหายมากเนื่องจากสภาวะของอากาศการบรรจุหีบห่อ และการขนส่งที่เหมาะสมมีส่วนที่จะช่วย ลดความเสียหายเหล่านั้นลงได้ซ่ึงเป็นการช่วยให้ผลผลิตท่ีกล่าวถึงมือผู้บริโภคในสภาพที่ดี และจะทาให้ ขายไดใ้ นราคาท่ีสูงอีกดว้ ย จะเห็นได้ว่าการบรรจภุ ัณฑ์นัน้ มคี วามสาคัญเปน็ อยา่ งยิ่งตอ่ ผลผลติ ซง่ึ สามารถ สรปุ เปน็ รายละเอยี ดไดด้ ังนี้ 6.4.1 รักษาคุณภาพ และปกป้องตัวสินค้าเร่ิมต้ังแต่การขนส่ง การเก็บให้ผลผลิต หรือ ผลิตภัณฑ์เหล่านั้นมิให้เสียหายจากการปนเปื้อนจากฝุ่นละออง แมลง คน ความช้ืนความร้อน แสงแดด และการปลอมปนอื่น ๆ เป็นตน้ 6.4.2 ให้ความสะดวกในเรื่องการขนส่ง การจัดเก็บมีความรวดเร็วในการขนส่ง เพราะ สามารถรวมหน่วยของผลิตภณั ฑเ์ หล่าน้ันเป็นหนว่ ยเดยี วได้ เช่น ผลไม้หลายผลนาลงบรรจใุ นลงั เดยี วหรือ เครือ่ งด่มื ที่เปน็ ของเหลวบรรจุลงในกระป๋องหรอื ขวดได้ เปน็ ตน้ 6.4.3 ส่งเสริมทางด้านการตลาด บรรจุภัณฑ์เพื่อการจัดจาหน่ายเป็นสิ่งแรกที่ผู้บริโภคเห็น ดังน้ันบรรจุภัณฑ์จะต้องจะทาหน้าท่ีบอกกล่าวส่ิงต่าง ๆ ของตัวผลิตภัณฑ์โดยการบอกข้อมูลที่จาเป็น ท้ังหมดของตัวสินค้าและนอกจากนั้นจะต้องมรี ูปลักษณท์ ี่สวยงามสะดุดตาเชิญชวนให้เกิดการตัดสนิ ใจซอ้ื ซึง่ การทาหน้าท่ีดงั กลา่ วของบรรจุภัณฑ์นั้นเป็นเสมือนพนกั งานขายทไี่ ร้เสียง (Silent Salesman) 6.5 หน้าท่ีและประโยชน์ของบรรจุภัณฑ์ ทาหน้าที่ทั้งต่อตัวผลิตภัณฑ์โดยตรง และหน้าท่ี สอื่ ข้อมูลทเ่ี กี่ยวกบั ตวั ผลติ ภณั ฑ์ มีดงั นคี้ ือ 6.5.1 การทาหน้าท่ีบรรจใุ สส่ ินคา้ เชน่ ใสห่ อ่ สินคา้ ด้วยการชง่ั ตวงวดั หรือนบั 6.5.2 การทาหน้าทค่ี ุ้มครองปอ้ งกันตวั ผลิตภณั ฑ์ ไมใ่ หส้ นิ คา้ เสยี รปู แตกหกั ไหลซึม 6.5.3 ทาหน้าที่รักษาคุณภาพอาหาร เช่น ป้องกันอากาศซึมผ่าน ป้องกันแสง และป้องกัน ความชืน้ เปน็ ตน้

26 6.5.4 ทาหนา้ ท่ีเปน็ ฉลากแสดงขอ้ มลู รายละเอียดของสนิ คา้ เช่น เครื่องหมายการค้า ข้อมูล สว่ นผสม และแหล่งผลติ เป็นต้น 6.5.5 ทาให้ตงั้ ราคาขายไดส้ ูงข้ึน เน่ืองจากความสวยงามของบรรจุภัณฑ์จะสร้างมูลค่าเพ่ิม ให้แก่สินคา้ 6.5.6 เพื่ออานวยความสะดวกในการจดั วางขนส่งและจดั แสดง 6.5.7 สรา้ งความน่าสนใจและดึงดดู ผูบ้ ริโภค เป็นการสง่ เสรมิ การขายและเพม่ิ ยอดขาย 6.6 ประเภทของบรรจุภัณฑ์ ในสภาวะตลาดท่ีมีการแข่งขันกันสูงในปัจจุบนั การเลือกใช้บรรจุ ภณั ฑ์จะมีส่วนสาคัญในการเพิ่มมูลค่า และสร้างความโดดเดน่ ให้กับตัวสินค้า โดยเฉพาะอย่างย่ิงสินค้าที่มี คุณสมบัติพิเศษเหนือกว่าสินค้าอ่ืนในท้องตลาด มีความจาเป็นอย่างยิ่งท่ีจะต้องเลือกใช้บรรจุภัณฑ์ท่ีมี มูลค่าสูง เพื่อสามารถยกระดับมาตรฐานสินค้าให้สูงขึ้น โดยประเภทบรรจุภัณฑ์แบ่งได้หลายวิธีตาม หลักเกณฑ์ต่าง ๆ ดงั นี้ 6.6.1 แบ่งตามวธิ กี ารบรรจุและวิธีการขนถ่าย 6.6.1.1 บรรจุภัณฑ์เฉพาะหน่วย (Individual Package) คอื บรรจภุ ัณฑท์ ่ีสมั ผสั อยู่ กับผลิตภณั ฑ์ชั้นแรก เปน็ ส่ิงท่บี รรจุผลิตภัณฑ์เอาไวเ้ ฉพาะหน่วย โดยมีวัตถปุ ระสงคข์ ัน้ แรก คือเพมิ่ คณุ ค่า ในเชิงพาณิชย์ เช่น การกาหนดให้มีลักษณะพิเศษเฉพาะหรือทาให้มีรูปร่างท่ีเหมาะแก่การจับถือ และ อานวยความสะดวกตอ่ การใช้ผลิตภัณฑ์ พร้อมทงั้ ทาหน้าทีใ่ หค้ วามปกปอ้ งแกผ่ ลติ ภณั ฑ์โดยตรงอกี ด้วย 6.6.1.2 บรรจภุ ณั ฑ์ชัน้ ใน (Inner Package) คือบรรจภุ ณั ฑ์ที่อยู่ถัดออกมา เป็นช้นั ที่ สอง มีหน้าท่ีรวบรวมบรรจุภัณฑ์ข้ันแรกเข้าไว้ด้วยกันเป็นชุด ในการจาหน่ายรวม ต้ังแต่ 2–24 ชิ้นขึ้นไป โดยมีวัตถุประสงค์ข้ันแรก คือ การป้องกันรักษาผลิตภัณฑ์จากน้า ความช้ืน ความร้อน แสง แรง กระทบกระเทือน และอานวยความสะดวกแก่การขายปลีกย่อย เป็นต้น โดยตัวอย่างของบรรจุภัณฑ์ ประเภทนี้ ได้แก่ กลอ่ งกระดาษแขง็ ท่ีบรรจุเคร่ืองด่มื จานวน 1 โหล และสบู่ 1 โหล เปน็ ต้น 6.6.1.3 บรรจุภัณฑ์ชั้นนอกสุด (Out Package) คือบรรจุภัณฑ์ที่เป็นหน่วยรวม ขนาดใหญ่ทีใ่ ชใ้ นการขนสง่ โดยปกตแิ ล้วผูซ้ ือ้ จะไมไ่ ดเ้ ห็นบรรจุภณั ฑป์ ระเภทนมี้ ากนัก เน่ืองจากทาหนา้ ที่ ป้องกันผลิตภัณฑ์ในระหว่างการขนส่งเท่าน้ัน ลักษณะของบรรจุภัณฑ์ประเภทนี้ ได้แก่ หีบ ไม้ลัง กล่อง

27 กระดาษขนาดใหญ่ท่ีบรรจุสินค้าไว้ภายใน ภายนอกจะบอกเพียงข้อมูลท่ีจาเป็นต่อการขนส่งเท่าน้ันเช่น รหสั สินคา้ (Code) เลขที่ (Number) ตราสินคา้ และสถานทส่ี ่ง เปน็ ตน้ 6.6.2 แบง่ ตามวตั ถปุ ระสงค์ของการใช้ 6.6.2.1 บรรจุภัณฑ์เพื่อการขายปลีก (Consumer Package) เป็นบรรจุภัณฑ์ที่ ผู้บริโภคซื้อไปใช้ไป อาจมีชั้นเดียว หรือหลายช้ันก็ได้ ซึ่งอาจเป็น Primary Package หรือ Secondary Package กไ็ ด้ 6.6.2.2 บรรจุภัณฑ์เพ่ือการขนส่ง (Transportation Package) เป็นบรรจุภัณฑ์ท่ีใช้ รองรับหรือห่อหุ้มบรรจุภัณฑ์ขั้นทุติยภูมิ ทาหน้าที่รวบรวมเอาบรรจุภัณฑ์ขายปลีกเข้าด้วยกันให้เป็น หน่วยใหญ่ เพอื่ ความปลอดภยั และความสะดวกในการเก็บรักษา และการขนสง่ เชน่ กลอ่ งกระดาษลกู ฟูก ที่ใช้บรรจยุ าสีฟนั กล่องละ 3 โหล 6.6.3 แบ่งตามความคงรูป 6.6.3.1 บรรจุภัณฑ์ประเภทรูปทรงแข็งตัว (Rigid Forms) ไดแ้ ก่ เคร่ืองแก้ว (Glass Ware) เซรามิก (Ceramic) พลาสติกจาพวก Thermosetting ขวดพลาสติก ส่วนมากเป็นพลาสติกฉีด เครื่องป้ันดินเผา ไม้ และโลหะ มีคุณสมบัติแข็งแกร่งทนทานเอ้ืออานวยต่อการใช้งาน และป้องกัน ผลติ ภัณฑจ์ ากสภาพแวดลอ้ มภายนอกไดด้ ี 6.6.3.2 บรรจุภัณฑ์ประเภทรูปทรงกึ่งแข็งตัว (Semi Rigid Forms) ได้แก่ บรรจุ ภัณฑ์ที่ทาจากพลาสติกอ่อน กระดาษแข็งและอะลูมิเนียมบาง คุณสมบัติทั้งด้านราคา น้าหนัก และการ ป้องกนั ผลิตภัณฑ์จะอยู่ในระดับปานกลาง 6.6.3.3 บรรจุภัณฑ์ประเภทรูปทรงยืดหยุ่น (Flexible Forms) ได้แก่ บรรจุภัณฑ์ท่ี ทาจากวัสดุอ่อนตัว มีลักษณะเป็นแผ่นบาง ได้รับความนิยมสูงมาก เนื่องจากมีราคาถูก หากใชใ้ นปริมาณ มาก และระยะเวลานาน นา้ หนักนอ้ ย มรี ปู แบบ และโครงสรา้ งมากมาย 6.6.4 แบ่งตามวัสดุบรรจุภัณฑ์ท่ีใช้ การจัดแบ่งและเรียกชื่อบรรจุภัณฑ์ในทรรศนะของ ผู้ออกแบบ ผู้ผลิต หรือนักการตลาดจะแตกต่างกันออกไป บรรจุภัณฑ์แต่ละประเภทก็ตั้งอยู่ภายใต้ วัตถุประสงค์หลักใหญ่ท่ีคล้ายกันคือ เพื่อป้องกันผลิตภัณฑ์ เพื่อจาหน่ายผลิตภัณฑ์ และเพื่อโฆษณา ประชาสัมพนั ธ์ผลิตภัณฑ์

28 6.7 ลักษณะของบรรจภุ ัณฑ์ 6.7.1 บรรจภุ ณั ฑข์ ้ันทีห่ นึ่ง (Primary Packaging) คือ บรรจภุ ณั ฑท์ ม่ี าหอ่ หุ้มตวั สนิ ค้า เพอื่ ป้องกันรักษาไม่ให้ตัวสินค้าได้รับความเสียหายหรือเพ่ือความสะดวกในการนาไปใช้งาน ตัวอย่างเช่น หลอดยาสีฟนั ขวดแชมพู 6.7.2 บรรจุภัณฑ์ข้ันที่สอง (Secondary Packaging) คือ บรรจุภัณฑ์ที่มาห่อหุ้มบรรจุ ภัณฑ์ขั้นที่หนึ่ง เพ่ือป้องกันไม่ให้ตัวสินค้าได้รับความเสียหาย อีกท้ังยังช่วยสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับตัวสินค้า ช่วยในการขายสินค้าโดยการดึงดูดความสนใจของผู้บริโภค ตัวอย่างเช่น กล่องยาสีฟัน และกล่องใส่ขวด เบยี ร์ 6.7.3 บรรจุภัณฑ์เพ่ือการขนส่ง (Shipping Packaging) คือ บรรจุภัณฑ์ที่ทาหน้าท่ีในการ เกบ็ รกั ษาและขนส่งสินค้า ตัวอย่างเช่น ลงั ตคู้ อนเทนเนอร์ เป็นต้น 6.8 องค์ประกอบของการออกแบบบรรจุภัณฑ์ องค์ประกอบท่ีออกแบบไว้บนบรรจุภัณฑ์ เป็น ปัจจัยสาคัญในการเลือกซื้อสินค้านั้น รายละเอียด หรือส่วนประกอบบนบรรจุภัณฑ์จะแสดงออกถึง จิตสานึกของผู้ผลิตสินค้าและสถานะของบรรจุภัณฑ์ สามารถขยับเป็นส่ือโฆษณาระยะยาว ส่วน องค์ประกอบทส่ี าคัญบนบรรจภุ ณั ฑอ์ ย่างนอ้ ยทีส่ ดุ ควรมี ดังนี้ 6.8.1 ชอ่ื สนิ คา้ 6.8.2 ตราสนิ คา้ 6.8.3 สัญลักษณท์ างการคา้ 6.8.4 รายละเอียดของสินคา้ 6.8.5 รายละเอียดสง่ เสรมิ การขาย 6.8.6 รูปภาพ 6..8.7 สว่ นประกอบของสนิ ค้า 6.8.8 ปริมาตรหรือปริมาณ 6.8.9 ชื่อผู้ผลติ และผจู้ าหน่าย (ถา้ ม)ี

29 6.8.10 รายละเอียดตามข้อบังคับของกฎหมาย เช่น วันผลิต และวันหมดอายุ เป็นต้น หลังจากที่มีการเก็บข้อมูลรายละเอยี ดตา่ ง ๆ ดังกล่าวมาแล้วจึงเริ่มกระบวนการออกแบบดว้ ยการเปลี่ยน ขอ้ มลู ทไ่ี ด้รบั มาเปน็ กราฟฟิกบนบรรจุภณั ฑ์ 6.9 ปจั จัยทีส่ ่งผลต่อราคาของบรรจุภณั ฑ์ ในกระบวนการสรา้ งสรรค์บรรจภุ ณั ฑ์ มอี งคป์ ระกอบ ที่เข้ามาเกย่ี วข้องทีส่ ง่ ผลต่อราคาของการพัฒนาบรรจุภณั ฑท์ ั้งตอ่ ราคารวมและราคาตอ่ หนว่ ย ดงั นี้ 6.9.1 ราคาตน้ ทนุ ของวัสดุบรรจุภณั ฑ์ 6.9.2 ราคาของกรรมวธิ ีการผลิตบรรจุภัณฑ์ 6.9.3 ราคาของการเกบ็ รกั ษาและการขนสง่ 6.9.4 ราคาของเคร่อื งมือเครื่องจักรท่ีใช้ในการผลติ และบรรจภุ ัณฑ์ 6.9.5 ราคาของการใชแ้ รงงานทีเ่ กีย่ วขอ้ ง 6.10 การใช้สีเพ่ือการออกแบบบรรจุภัณฑ์ การใช้สีเพ่ือการออกแบบบรรจุภัณฑ์ช่วยให้การ ดึงดูดความสนใจของผู้บริโภค เกิดความสะดุดตาบ่งบอกถึงความหมาย และประโยชน์ใช้สอยของ ผลิตภัณฑ์นั้น ๆ การกาหนดความหมายจากสีจากความรู้สึก และกาหนดจากมาตรฐานสากลใช้ช่วยบอก ถึงลักษณะการใชง้ านตามประโยชน์ใช้สอยของผลิตภัณฑ์ นอกเหนือจากการใช้สีเพ่ือตกแต่งผลิตภัณฑ์ซึ่ง เป็นการกาหนดโดยผ้อู อกแบบและความนิยมของสภาวะตลาดในปจั จุบัน 6.11 การใชส้ ีสาหรับการตกแต่งหีบห่อบรรจุภณั ฑ์ องค์ประกอบท่ีสาคัญในการเลือกใช้สีท่ีควร คานึงถึงสาหรบั การตกแต่งหีบห่อบรรจุ คือ 6.11.1 สีต่าง ๆ ท่ีใช้บนเน้ือที่ของหีบห่อบรรจุควรติดต่อกันอย่างได้เร่ืองราวทั้งหมดไม่ ขัดกัน 6.11.2 ขอบเขตของสีที่ใช้บนหีบห่อบรรจุ แต่ละสีควรจะประกอบกันแล้วเข้าใจกันได้ หรือ เป็นสีค่กู นั ได้ 6.11.3 สที ่ีใชค้ วรเปน็ สีทย่ี อมรับของผบู้ รโิ ภคในตลาด ถูกตอ้ งตามรสนิยมของผู้บรโิ ภค 6.11.4 ขอบเขตของส่ิงที่จะทาให้หีบห่อบรรจุ ขัดแย้งหรือไม่เด่น เมื่อเปรียบเทียบกับหีบ ห่อ บรรจุภณั ฑข์ องผลิตภัณฑค์ ่แู ข่งขนั

30 6.11.5 การใช้สีต้องดึงดูดความสนใจของผู้บริโภคที่สุด ในกรณีท่ีจาหน่ายในสถานท่ีตา่ ง ๆ กนั เชน่ ร้านบริการเอง Supermarket ต้แู ช่ หรืออนื่ ๆ 6.11.6 การใช้สที ่ีใหค้ วามดงึ ดดู สูงสุด ภายใตแ้ สงสว่างมาก ๆ ซึ่งเป็นสภาวะปกตใิ นรา้ นคา้ 6.11.7 การใช้สีที่เหมาะกับค่านิยมของผู้บริโภค โดยเฉพาะท่ีเก่ียวกับประเภทของ ผลิตภัณฑ์ 6.11.8 ขอบเขตของสที ่สี ามารถทาให้ผบู้ รโิ ภคเกิดความประทับใจในตราสินคา้ และขอบเขต การใช้สีนซ้ี า้ ๆ กันในการจัดจาหน่ายและการโฆษณา 6.11.9 ขอบเขตของสีที่ใช้บนหีบห่อบรรจุที่เข้ากันได้กับสีของสินค้าและการเปล่ียนแปลง ต่างๆ เพือ่ ใหเ้ กดิ ความประทับใจขน้ึ มาก 6.11.10 ขอบเขตของสีท่มี ผี ลต่อราคาของหีบห่อบรรจุ 6.11.11 การยอมรับของหบี หอ่ บรรจุตอ่ ผู้บรโิ ภคและผขู้ ายปลีก 6.11.12 ขอบเขตของหีบห่อบรรจุท่ีอาจจะก้าวร้าวและข่มบรรจุภัณฑ์ เพื่อการจาหน่ายที่ เดน่ ๆ อาจจะดแู ลว้ นา่ เบอ่ื ทาใหส้ ง่ เสริมบรรจุภณั ฑ์ของผลติ ภัณฑค์ ู่แข่ง 6.12 ข้อพิจารณาในการออกแบบบรรจุภัณฑ์ บรรจุภณั ฑ์ที่ดนี ้ันจะต้องสามารถผลิต และนาไป บรรจุไดด้ ้วยวิธีการที่สะดวก ประหยัด และรวดเรว็ การเลอื กบรรจภุ ัณฑม์ ีขอ้ พจิ ารณา ดังตอ่ ไปนี้ 6.12.1 ลักษณะของสินค้า คุณสมบัติทางกายภาพประกอบด้วย ขนาด รูปทรง ปริมาตร ส่วนประกอบหรือส่วนผสม ของแขง็ ของเหลว ผู้ออกแบบตอ้ งทราบความเหนียวข้น ในกรณีเป็นของเหลว และต้องร้นู ้าหนักหรอื ปริมาณหรอื ความหนาแนน่ สาหรับสนิ ค้าทีเ่ ปน็ ของแหง้ ประเภทของสนิ ค้าคณุ สมบัติ ทางเคมี คือ สาเหตุที่ทาให้สินค้าเน่าเสียหรือเส่ือมคุณภาพจนไม่เป็นที่ยอมรับได้ และปฏิกิริยาอ่ืน ๆ ที่ อาจจะเกิดขึน้ คณุ สมบัติพิเศษอ่ืน ๆ เช่น กลนิ่ การแยกตวั เปน็ ต้น สนิ ค้าทีจ่ าหน่ายมีลกั ษณะเป็นอย่างไร มคี ุณสมบัตทิ างฟิสกิ ส์ หรือทางเคมอี ย่างไร เพอื่ จะได้เลอื กวสั ดุในการทาบรรจภุ ัณฑ์ทป่ี อ้ งกนั รกั ษาได้ดี 6.12.2 ตลาดเป้าหมาย ต้องศึกษาความต้องการของลูกค้าเป้าหมายเพ่ือจะได้เลือกบรรจุ ภัณฑ์ท่ตี รงกับความต้องการของตลาดหรือกลุ่มลกู คา้ การพฒั นาบรรจุภณั ฑ์ ใหส้ นองกับความต้องการของ กลุ่มเป้าหมาย ต้องวิเคราะห์จุดยืนของสินค้าและบรรจุภัณฑ์เทียบกับคู่แข่งขันที่มีกลุ่มเป้าหมายเดียวกัน

31 เช่น ข้อมูลปริมาณสินค้าท่ีจะบรรจุขนาด จานวนบรรจุภัณฑ์ ต่อหน่วยขนส่ง และอาณาเขตของตลาด เป็นตน้ 6.12.3 วิธีจัดจาหน่าย การจาหน่ายโดยตรงจากผู้ผลติ ไปสผู่ ู้บรโิ ภคย่อมต้องการบรรจภุ ณั ฑ์ ลักษณะหนึ่ง แต่หากจาหน่ายผ่านคนกลาง เป็นคนกลางประเภทใด มีวิธีการซ้ือของเข้าร้านอย่างไร วางขายสนิ ค้าอย่างไร เพราะพฤตกิ รรมของร้านค้ายอ่ มมีอิทธพิ ลตอ่ โอกาสขายของผลติ ภัณฑ์นั้น ๆ รวมทั้ง พิจารณาถงึ ผลติ ภัณฑข์ องค่แู ข่งขนั ทจี่ าหน่ายในแหลง่ เดียวกนั ด้วย 6.12.4 การขนสง่ มหี ลายวธิ ี และใช้พาหนะตา่ งกนั รวมทง้ั ระยะในการขนส่ง ความทนทาน และความแข็งแรงของบรรจภุ ณั ฑ์ การคานึงถึงวิธีทีจ่ ะใช้ในการขนส่งก็เพื่อพิจารณาเปรยี บเทียบใหเ้ กิดผล เสียน้อยที่สุด รวมถึงประหยัดและปัจจัยเรื่องดินฟ้าอากาศ ในปัจจุบันนิยมการขนส่งด้วยระบบตู้บรรทุก สาเรจ็ รูป 6.12.5 การเก็บรักษา การเลือกบรรจุภัณฑ์จะต้องพิจารณาถึงวิธีการเก็บรักษา สภาพของ สถานที่เกบ็ รกั ษา รวมทัง้ วธิ ีการ เคลอ่ื นย้ายในสถานทเ่ี ก็บรกั ษาดว้ ย 6.12.6 ลกั ษณะการนาไปใชง้ าน ตอ้ งนาไปใชง้ านไดส้ ะดวกเพ่ือประหยดั เวลา แรงงาน และ คา่ ใชจ้ ่าย 6.12.7 ต้นทุนของบรรจุภัณฑ์ เป็นปัจจัยที่จะต้องคานึงถึงเป็นอย่างมาก และต้องคานึงถึง ผลกระทบที่มีต่อยอดขาย หรือความสูญเสียค่าใช้จ่ายอ่ืน ๆ บรรจุภัณฑ์ดีอาจต้องจ่ายสูงแต่ดึงดูดความ สนใจของผู้ซื้อย่อมเป็นสิ่งชดเชยที่ควรเลือกปฏิบัติ รวมถึงผลการชดเชยในกระบวนการผลิต การบรรจุท่ี สะดวก รวดเร็ว เสียหายนอ้ ย ประหยดั และลดต้นทุนการผลิตได้ 6.12.8 ปัญหาด้านกฎหมาย บทบัญญัติด้านกฎหมายเก่ียวกับบรรจุภัณฑ์ท่ีปรากฏชันเจน คือ กฎระเบียบและข้อบังคับเก่ียวกับฉลากการออกแบบกราฟิกของผลิตภัณฑ์ต้องเป็นไปตามข้อบังคับ นอกจากน้ียังต้องศึกษาการใช้สัญลักษณ์เกี่ยวกับส่ิงแวดล้อม เป็นต้น และกฎระเบียบและข้อบังคับ เกี่ยวกบั สง่ิ แวดลอ้ ม เป็นต้น

32 7. ทฤษฎกี ลไกราคา ราคาสินค้า คือ มูลค่าของสินค้าและบริการที่ผู้ประกอบการทาการผลิตได้และนามาจาหน่าย ให้แก่ผู้บริโภค เช่น นาย ก. ผลิตปากกาออกขายให้แก่นักเรียนในราคาด้ามละ 5 บาท เป็นต้น ใน ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม หรือระบบเศรษฐกิจแบบผสม ซ่ึงการผลิตการบริโภคส่วนใหญ่เป็นเร่ือง ของภาคเอกชน โดยผา่ นกลไกของราคา น้นั ราคาสนิ คา้ และบริการจะทาหนา้ ท่ี 3 ประการ คอื 7.1 กาหนดมูลค่าของสินค้า ในการซ้ือขายแลกเปลี่ยนท่ีใชเ้ งินเป็นสื่อกลาง ราคาจะทาหน้าท่ี กาหนดมูลค่า เพ่ือให้ผู้ซ้ือตัดสินใจท่ีจะซ้ือสินค้าในมูลค่าท่ีคุ้มหรือไม่คุ้มกับเงินท่ีเขาจะต้องเสียไป ราคา สนิ คา้ บางแหง่ ก็กาหนดไวแ้ น่นอนตายตวั แตบ่ างแหง่ กต็ ง้ั ไวเ้ ผ่อื ตอ่ เพอ่ื ใหผ้ ู้ซื้อตอ่ รองราคาได้ 7.2 กาหนดปริมาณสินค้า ในการซื้อขายแลกเปล่ียนกันน้ันถ้าสินค้ามีราคาถูก ผู้ซ้ือจะซ้ือ ปริมาณมากข้ึนส่วนผู้ขายจะเสนอขายในปริมาณน้อยลง แต่ถ้าสินค้ามีราคาแพงผู้ซ้ือจะซื้อปริมาณ น้อยลงสว่ นผขู้ ายจะขายในปริมาณมากข้นึ ราคาจึงเปน็ ตัวกาหนดปรมิ าณสินค้าทีจ่ ะซอ้ื ขายกนั 7.3 กาหนดปริมาณการผลิตของผู้ประกอบการ ในระบบเศรษฐกิจแบบผสม ซ่ึงการผลิตส่วน ใหญ่เป็นเรื่องของเอกชนนั้น จะมีปัญหาว่าผู้ผลิตควรจะผลิตในปริมาณสักเท่าใดจึงจะพอดีกับความ ต้องการของผู้บริโภค เพื่อให้เขาได้กาไรสูงสุดตามท่ีต้องการ โดยสังเกตความต้องการซื้อ (อุปสงค์) และ ความต้องการขาย (อุปทาน) ของสินค้าท่ีเราทาการผลิตในระดบั ราคาต่างๆ กันเพื่อหา ดุลยภาพ ซ่ึงเป็น ระดับที่ผู้ซื้อและผู้ขายจะทาการซ้ือขายกันในปริมาณและราคาท่ีตรงกัน ปริมาณท่ีมีการซ้ือขาย ณ จุด ดุลยภาพ เรียกว่า ปริมาณดุลยภาพ และผู้ซ้ือมีความต้องการซื้อ ส่วนราคาท่ีดุลยภาพ เรียกว่า ราคา ดุลยภาพ อนั เปน็ ราคาที่ผผู้ ลิตควรพจิ ารณาในการตงั้ ราคาขาย 7.4 กลไกราคา (price mechanism) หมายถึง ตัวกาหนดการจัดสรรทรัพยากรในระบบ เศรษฐกจิ ทีมปี ัจจัยสาคญั ในการกาหนดราคา คือ อุปสงค์ (demand) และอุปทาน (supply) 7.4.1 อุปสงค์ (Demand) คือ ปริมาณความต้องการซิ้อสินค้าและบริการของผู้ซื้อใน ระยะเวลาใดเวลาหนึ่ง ณ ระดับราคาต่างๆ กัน ความต้องการซื้อจะแตกต่างจากความต้องการท่ัวไป (want) แต่จะต้องรวมอานาจซื้อ (purchasing power) คือ เต็มใจและมีเงินเพียงพอท่ีจะจ่ายซื้อสินค้า นั้นด้วย อย่างไรก็ตามปริมาณความต้องการซื้อน้ีจะเปลี่ยนแปลงเมื่อมีปัจจัยกาหนดอุปสงค์ตัวอื่นๆ

33 เปล่ียนแปลงด้วย เช่น รายได้ของผู้ซ้ือ รสนิยม ราคาสินค้าชนิดท่ีใช้ทดแทนกันได้ เช่น เนื้อหมูกับเน้อื ไก่ เป็นตน้ 7.4.2 อุปทาน (supply) คือ ปริมาณความต้องการเสนอขายสินค้าและบริการของผู้ขาย ในระยะเวลาใดเวลาหนึ่ง ณ ระดับราคาต่างๆ กันโดยผขู้ ายเต็มใจจะขาย กลา่ วคอื ถ้าราคาตา่ ปริมาณท่ี เสนอขายก็จะลดต่าลงด้วย และในทางตรงกันข้าม หากระดับราคาสูงข้ึนก็จะมีปริมาณเสนอขาย เพ่ิมข้ึน ซ่ึงเปน็ ไปตาม กฎของอุปทาน (Law of Supply) ปจั จัยท่ีทาให้อุปทานเปล่ียนแปลง เช่น การ เปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีในการผลิต ราคาของปัจจัยท่ีใช้ในการผลิตสินค้าและบริการ การเปล่ียนแปลง ฤดูกาล การคาดคะเนราคาสินคา้ และบริการของผู้ขาย 8. แนวความคิดของหลกั การบัญชีตน้ ทุน ต้นทุนเป็นมูลค่าของทรัพยากรท่ีใช้ในการผลิตหรือการให้บริการ เป็นส่วนที่เรียกว่ามูลค่าของ ปจั จัยเข้า (Input Value) ของระบบ ตน้ ทุนจึงเป็นเงินสดหรือคา่ ใช้จ่ายในรูปแบบอ่นื ท่ีจา่ ยไปเพ่ือให้ได้มา ซึ่งบริการหรือผลผลิต ในทางธุรกิจ ต้นทุน คือ ค่า้ใจ่ายส่วนที่จ่ายไฟเพ่ือให้ได้มาซ่ึงซ่ึงผลตอบแทนหรือ รายได้ ตน้ ทนุ จงึ เป้นสว่ นสาคัญในการตดั สินใจทางธรุ กจิ ตา่ งๆ 8.1 ตน้ ทนุ คา่ ใชจ้ า่ ย และความสญู เสยี ตน้ ทุน คา่ ใชจ้ า่ ย และความสญู เสยี โดยแท้จริงเปน็ ส่งิ เดยี วกนั แต่จะมคี วามหมายทแ่ี ตกต่าง กันในด้านความหมายในารใช้งาน ต้นทุนและความสูญเสียต่างก็เป็นค่าใช้จ่ายท้ังส้ิน ค่าใช้จ่ายไม่วา่ จะอยู่ ในรปู แบบของเงินสดหรือส่งิ แลกเปลย่ี นใดๆ ยอ่ มถือไดว้ ่าเปน็ สิง่ ทจ่ี า่ ยไปเพ่ือให้ไดผ้ ลผลติ 8.2 ค่าใช้จ่าย (Expense) ตน้ ทนุ ในการให้ไดร้ ายไดส้ าหรบั ชว่ งระยะเวลาใดๆ เช่น เงินเดอื นในสานักงาน ค่าใชจ้ ่าย เป็นจานวนเงนิ หรือสง่ิ แลกเปลี่ยนทจ่ี า่ ยไปเพอ่ื ใชใ้ นการบริการซ่ึงตัดลดทอนจากส่วนใฃรายได้ในงวดบัญชี ใดๆ จงึ มกั จะใชใ้ นดา้ นรายได้ทางการเงนิ มากกวา่ ใช้ในระบบบญั ชที รพั ย์สนิ 8.3 ตน้ ทนุ (Cost) คา่ ใชจ้ า่ ยที่จ่ายไปสาหรบั ปจั จัยทางการผลติ เพือ่ ให้เกดิ ผลผลติ ต้นทนุ จงึ เปน็ ส่วนท่ีใช้ สาหรับนิยาม อตั ราผลิตภาพหรอื ผลติ ภาพ (Productivity) ซ่งึ เท่ากบั ผลผลิต (Output) หารดว้ ยปัจจยั นาเขา้ (Input) ต้นทนุ จึงเปน็ มูลคา่ ทว่ี ดั ได้ในเชิงเศรษฐศาสตรข์ องทรัพยากรทใี่ ช้ และตน้ ทนุ มีลกั ษณะที่

34 ใชจ้ า่ ยไปเพ่ือใหไ้ ด้ผลิตภณั ฑห์ รอื การบรกิ ารที่ถือเปน็ สินทรพั ย์ได้ เช่น คงคลังของวสั ดุ งานระหว่างทา และสินคา้ สาเร็จรปู 8.4 ความสญู เสีย ค่าใชจ้ ่ายที่จ่ายไปแล้วเกดิ ผลไดน้ ้อยกวา่ หรอื คา่ เสยี หายทีต่ ้องจ่ายโดยไม่มีผลตอบแทน และ เป็นค่าใช้จ่ายที่ถูกตัดออกจากส่วนของผู้ถือหุ้นมากกว่าที่จะหักจากส่วนของการลงทุน ความสูญเสียท่ี เกดิ ขน้ึ ไดจ้ ากการตดั สินใจทผ่ี ดิ พลาดหรอื เกดิ จากสิง่ ผดิ ปกตติ ามธรรมชาติ เชน่ ไฟไหม้ ตกึ ถล่ม 9. งานวิจัยท่ีเกี่ยวข้อง เกศรินทร์ เพช็ รรัตน์ (2555) ได้ทาการศกึ ษาเรอ่ื ง โครงการวิจยั การประยุกต์ใชข้ า้ วกล้องงอกใน ผลิตภัณฑ์ขนมหวานได้ดาเนินการพัฒนาสูตรและกรรมวิธีการผลิตขนมหวานจานวน 3 ชนดิ ผลการพัฒนา สูตรและกรรมวิธีการผลิตขนมหวานแต่ละชนิดพบว่าการพัฒนาบัวลอยข้าวกล้องงอกแช่แข็งโดยศึก ษา อัตราส่วนของข้าวกล้องงอกต่อน้าในการพรีเจล กับปริมาณแป้งข้าวเหนียวในกระบวนการผลิตบัวลอย ข้าวกล้องงอกโดยวางแผนการทดลองแบบ factorial in Rcbd โดยศึกษาอัตราส่วนของข้าวกล้องงอกต่อ น้าในการพรีเจล 2 ระดับท่ี 2 : 3 และ 2 : 4 กับปริมาณแป้งข้าวเหนียว 3 ระดับที่ 25 30 35 กรัม ผล การศึกษาพบว่า ผู้ทดสอบให้คะแนนความชอบบัวลอยข้าวกล้องงอกระดับปานกลางท่ีอัตราส่วนของข้าว กลอ้ งงอกต่อน้าในการพรีเจล กบั ปริมาณแปง้ ขา้ วเหนียวในกระบวนการผลิตบัวลอยข้าวกล้องงอกที่ 2 : 3 กับปริมาณแป้งข้าวเหนียว 3 ระดับที่ 30 กรัม เม่ือจะรับประทานนาบัวลอยข้าวกล้องงอกแช่แข็ง -18 c° ทาการละลายหลงั การแชแ่ ข็งทร่ี ะดับความรอ้ นของเตาไมโครเวฟ 70 เปน็ เวลา 2 นาที เจนิภา คงอิ่ม (2561) ได้ทาการศึกษาเร่ือง การบริโภคขนมไทยของเยาวชนในเขตจังหวัด นนทบรุ ี ผลการศึกษาพบว่า การบริโภคขนมไทยของเยาวชนในเขตจังหวดั นนทบุรีพบว่าเหตผุ ลท่ีซื้อขนม ไทยเพ่ือบริโภคเองด้วยขนมไทยในแต่ละครั้งน้อยกว่า 40 บาทในการตัดสินใจซ้ือขนมไทยตามความชอบ ส่วนตัวประมาณ 3-4 คร้ังใน 1 เดือนข้อมูลในการตัดสินใจซื้อขนมไทยมาจากผู้ขายขนมไทยซ้ือขนมไทย จากร้านท่ีมีลักษณะร้านที่มีช่ือเสียงและสถานที่ท่ีท่านเลือกซ้ือขนมไทยสถานที่ท่องเท่ียวและชอบคือขนม ไทยในช่วงเย็น และ เยาวชนในเขตจังหวัดนนทบุรีที่มีเพศต่างกันมีความคิดเห็นต่อปัจจัยส่วนประสมทาง การตลาดท่ีมีผลตอ่ การเลือกซ้ือขนมไทยแตกต่างกันในด้านเยาวชนในเขตจังหวัดนนทบุรีท่ีมีอายุตา่ งกันมี ความคิดเห็นต่อปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดท่ีมีผลต่อการเลือกซื้อขนมไทยแตกต่างกันในด้าน

35 ผลติ ภัณฑแ์ ละดา้ นราคา เยาวชนในเขตจงั หวัดนนทบรุ ที ่มี ีอายุต่างกันมีความคดิ เห็นตอ่ ปจั จัย ส่วนประสม ทางการตลาดที่มีผลต่อการเลือกซ้ือขนมไทยแตกต่างกันในด้านราคาเยาวชนในเขตจังหวัดนนทบุรีท่ีมี รายได้เฉลี่ยต่อเดือนและอาชีพของผู้ปกครองต่างกันมีความคิดเห็นตอ่ ปจั จัยส่วนประสมทางการตลาดที่มี ผลต่อการเลือกซื้อขนมไทยแตกต่างกันในด้านผลิตภัณฑ์ด้านราคาด้านการส่งเสริมการตลาดและรวมทุก ด้านอยา่ งมีนยั สาคญั ทางสถิติท่ีระดบั .05 น่ารัก ตันเสนีย์ (2550) ได้ทาการศึกษาเรื่อง ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่มีผลต่อการเลือก ซ้ือผลิตภัณฑ์เบเกอรี่ ในอาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ ผลการศึกษา พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ เป็นเพศหญิงมีอายุระหว่าง 15-25 ปี สถานภาพโสด การศึกษาสูงสุดระดับปริญญาตรี ส่วนใหญ่ประกอบ อาชีพพนักงานบริษัทเอกชน มีรายได้ต่อเดือน 5,000 - 10,000 บาท โดยส่วนมากจะพักอาศัยกับ ครอบครัว มีสมาชิกท่ีพักอาศัยด้วยจานวน 1 - 3 คน และมักจะเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ประเภทขนมปังโดยมี ค่าใชจ้ ่ายในการซ้อื ต่อครั้งเทา่ กับ 41 - 60 บาท มีความถ่ีในการซอื้ 1 - 2 ครั้งต่อสัปดาห์ และมักจะซือ้ ท่ี ร้านเบเกอรร่ี า้ นประจา สว่ นใหญ่ซ้ือเพ่ือรับประทานเอง สว่ นผ้ซู อื้ เพ่ือเปน็ ของฝากครอบครัว โดยเหตผุ ลที่ เลือกซื้อผลิตภัณฑ์เบเกอร่ี รสชาติอร่อยผลการศึกษาเกี่ยวกับปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดท่ีมีผลต่อ การเลือกซ้ือผลิตภัณฑ์เบเกอร่ีของผู้บริโภคในเขตอาเภอเมือง จังหวดั เชียงใหม่ พบว่าด้านผลิตภัณฑ์ ส่วน ใหญ่ให้ความสาคัญระดับมากที่สุดต่อปัจจัยย่อยได้รสชาติอร่อยความหลากหลายของสินค้าและความ สะอาดถูกสุขลักษณะ ด้านราคา ให้ความสาคัญระดับมากต่อปัจจัยย่อยด้านราคาเหมาะสมกับคุณภาพ ผลิตภัณฑม์ รี าคาถกู และผลติ ภัณฑ์ราคาไมเ่ ปลี่ยนแปลงบอ่ ย ด้านการจดั จาหน่ายให้ความสาคญั ระดับมาก ต่อปัจจัยย่อยด้านการส่ังซื้อผลิตภัณฑ์ได้สะดวกความสะอาดของสถานที่จาหน่าย การตกแต่งและ บรรยากาศของสถานที่จาหน่าย ดา้ นการส่งเสรมิ การตลาดให้ความสาคญั ระดบั มากต่อปจั จัยยอ่ ยดา้ นการ ให้บริการและอัธยาศัยไมตรีท่ีดีของพนักงานขาย ความสุภาพและมารยาทที่ดีของพนักงานขาย ความ รวดเร็วและถกู ต้องในการคิดเงินของพนกั งานขาย

36 บทท่ี 3 วธิ ีดาเนินการศึกษา โครงการพฒั นาผลติ ภัณฑข์ นมบัวลอยสอดไส้ เปน็ การพฒั นาผลิตภัณฑ์ขนมบัวลอยดว้ ยการทาไส้ เพ่ิมให้มีความหลากหลายมากข้ึนและเป็นการเพ่ิมทางเลือกให้กับผู้บริโภค โดยผู้ศึกษาได้ดาเนินงาน ตามลาดบั ขน้ั ตอน ดงั ต่อไปน้ี 1. ประชากรและกลุ่มตวั อยา่ ง 2. เครอ่ื งมอื ทใี่ ช้ในการศกึ ษา 3. ข้นั ตอนในการสรา้ งเคร่อื งมือ 4. การเกบ็ รวบรวมข้อมูล 5. วิธีการวเิ คราะห์ขอ้ มูลและสถิติท่ใี ชใ้ นการศกึ ษา 1. ประชากรและกลุ่มตวั อย่าง ประชากรและกลมุ่ ตัวอย่างท่ใี ชใ้ นการศกึ ษาครง้ั น้ี ไดแ้ ก่ บุคคลทั่วไป ทอี่ าศยั ในหม่บู า้ นจวนท้อ ตาบลบ้านสวน อาเภอเมอื ง จังหวัดชลบรุ ี 20000 จานวน 20 คน 2. เครอื่ งมือทใ่ี ชใ้ นการศึกษา เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ เป็นแบบสอบถามซึ่งประกอบด้วยแบบมาตรฐานส่วนประมาณ ค่า (Rating Scale) แบบสอบถามปลายเปิด (Open Ended Questionnaire) และแบบสอบถามปลาย ปดิ (Close Ended Questionnaire) จานวน 3 ตอน มรี ายละเอยี ด ดังนี้ ตอนท่ี 1 ขอ้ มลู ท่ัวไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ตอนท่ี 2 แบบสอบถามความพงึ พอใจของผู้บรโิ ภค ตอนที่ 3 ขอ้ เสนอแนะ

37 3. ข้นั ตอนในการสร้างเครอื่ งมือ การสรา้ งเคร่อื งมอื จากแบบสอบถาม ซง่ึ มีรายละเอยี ดบ่งเป็น 3 ตอน ดังน้ี ตอนที่ 1 ขอ้ มลู ทัว่ ไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ขอ้ 1 เพศ ขอ้ 2 อายุ ข้อ 3 อาชพี ข้อ 4 รายได้ ตอนท่ี 2 แบบสอบถามความพงึ พอใจของผู้บรโิ ภคต่อผลติ ภัณฑ์ขนมบวั ลอยสอดไส้ ลักษณะเป็น แบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดบั ระดบั ท่ี 5 หมายถงึ มคี วามพงึ พอใจมากท่ีสุด ระดบั ที่ 4 หมายถึง มคี วามพงึ พอใจมาก ระดับท่ี 3 หมายถึง มคี วามพงึ พอใจปานกลาง ระดบั ที่ 2 หมายถงึ มคี วามพงึ พอใจนอ้ ง ระดบั ที่ 1 หมายถงึ มคี วามพอใจนอ้ ยทส่ี ดุ โดยกาหนดเกณฑ์การแปลความหมายขอ้ มลู ท่ีเปน็ ค่าเฉล่ียตา่ ง ๆ คือ คา่ เฉลีย่ ระหวา่ ง ความหมาย 4.51 – 5.00 ความพงึ พอใจในระดับมากทส่ี ุด 3.51 – 4.50 ความพงึ พอใจในระดบั มาก 2.51 – 3.50 ความพงึ พอใจในระดบั ปานกลาง 1.51 – 2.50 ความพึงพอใจในระดับนอ้ ย 1.00 – 1.50 ความพึงพอใจในระดบั นอ้ ยที่สุด ตอนที่ 3 เปน็ แนวคาถามปลายเปดิ สาหรับผตู้ อบแบบสอบถามแสดงความคดิ เห็นเพ่ิมเติมและให้ ข้อเสนอแนะต่าง ๆ

38 4. การเกบ็ รวบรวมข้อมลู คณะผจู้ ดั ทาได้ดาเนนิ การเก็บรวบรวมข้อมูลตามลาดับข้นั ตอน ดงั น้ี 4.1 ดาเนินการแจกแบบสอบถาม พฒั นาผลิตภัณฑ์ขนมบัวลอยสอดไส้ โดยแจกแบบสอบถามให้ กลมุ่ เป้าหมายดว้ ยตนเอง และขอรับแบบสอบถามคนื ดว้ ยตนเอง 4.2 เก็บรวบรวมแบบสอบถาม พัฒนาผลติ ภัณฑข์ นมบัวลอยสอดไส้ เพ่อื นาขอ้ มูลทไ่ี ด้มา วเิ คราะห์ต่อไป 5. วธิ ีการวเิ คราะหข์ อ้ มูลและสถติ ทิ ใ่ี ชใ้ นการศกึ ษา คะแนนทไ่ี ดจ้ ากแบบสอบถาม หาคา่ รอ้ ยละ รวมทัง้ หาค่าเฉลยี่ และส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน โดย ใชส้ ตู ร ดงั นี้ 5.1 ค่ารอ้ ยละ P = F × 100 n เม่อื P แทน รอ้ ยละ F แทน ความถ่ที ่ตี ้องการแปลงคา่ ให้เป็นร้อยละ n แทน จานวนความถท่ี ้ังหมด 5.2 คา่ เฉลยี่ X̅ = ∑X เมอื่ X̅ N ∑x N แทน คา่ เฉล่ยี แทน ผลรวมของคะแนนท้งั หมดในกลมุ่ แทน จานวนคะแนนในกลุม่

39 5.3 ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน = √N∑X2−(∑X)2 S.D. N(N−1) เม่อื แทน สว่ นเบ่ยี งเบนมาตรฐาน S.D. แทน ผลรวมของคะแนนแตล่ ะตัว ∑x แทน จานวนคะแนนในกลมุ่ N แทน คะแนนแต่ละตวั ในกล่มุ ขอ้ มูล X


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook