Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทที่ 1วิเคราะห์

บทที่ 1วิเคราะห์

Published by theerakorn kaewkham, 2019-05-27 00:05:37

Description: บทที่ 1วิเคราะห์

Search

Read the Text Version

บทที่ 1 ความรพู้ ้นื ฐานเก่ียวกบั ระบบ(System) สาระสาคญั การวิเคราะหแ์ ละออกแบบระบบ (System Analysis and Design) คอื การดาเนนิ การเพือ่ ให้ ไดม้ าซึง่ ระบบท่พี งึ ประสงค์ที่พึงต้องการ หรือ การดาเนินการระบบเพอื่ ให้มปี ระสิทธภิ าพสงู ที่สุด และ ประหยดั ซงึ่ น่ันกค็ ือ สง่ิ ทีต่ อ้ งการเนน้ คอื การวเิ คราะห์ และออกแบบระบบ การวเิ คราะหแ์ ละออกแบบระบบ เปน็ กระบวนการทีต่ อ้ งทาเม่อื ต้องการจดั สรา้ ง และใชร้ ะบบ ระบบยังประกอบด้วยกลุ่มขององค์ประกอบต่าง ๆ ท่ที างานรว่ มกันเพ่อื จดุ ประสงคอ์ นั เดยี วกนั องคป์ ระกอบหลายอย่าง เหล่าน้นั ประกอบกนั เพือ่ ใหร้ ะบบทางานได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ การ วิเคราะหแ์ ละออกแบบระบบจงึ จาเปน็ ที่ตอ้ งทราบความหมายของระบบ จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ จดุ ประสงค์ทว่ั ไป 1. ทราบความหมายของระบบได้ 2. เขา้ ใจความหมายของการวเิ คราะหร์ ะบบ 3. ทราบลกั ษณของระบบการทางาน 4. ทราบสว่ นประกอบภายในของระบบ 5. เขา้ ใจองค์ประกอบขององคป์ ระกอบของระบบ จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม 1. บอกความหมายของระบบได้ 2. บอกความหมายของการวเิ คราะหร์ ะบบได้ 3. อธิบายลักษณะของระบบการทางานได้ 4. แยกองคป์ ระกอบของระบบแตล่ ะชนิดได้ 5. บอกส่วนประกอบของระบบแต่ละระบบได้ สาระการเรยี นรู้ 1. ความหมายของระบบ 2. ความหมายของวิธีระบบ 3. สว่ นประกอบของระบบ 4. องค์ประกอบของระบบ 5. ตัวอย่างของระบบ

2 1. ความหมายของระบบ 1.1 ความหมายของระบบ ระบบ(System) มีความหมายตามพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑติ ยสถาน พ.ศ.2525 ให้ ความหมายเอาไว้วา่ ระบบ คอื ระเบียบเกี่ยวกบั การรวมสิ่งต่างๆ ซึ่งมลี ักษณะซับซ้อนใหเ้ ข้าลาดับ ประสานเป็นอันเดียวกันตามหลักเหตุผลทางวชิ าการ หรือหมายถงึ ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติซ่งึ มี ความสมั พนั ธ์ ประสานเขา้ กนั โดยกาหนดรวมเป็นอนั หนง่ึ อนั เดยี วกนั ระบบ(System) คือ กระบวนการตา่ งๆ ทอี่ ยใู่ นเครือขา่ ยเดยี วกนั และมีความสัมพันธ์กัน ระหวา่ งกระบวนการเหลา่ นัน้ และเช่ือมตอ่ กันเพื่อทางานใดงานหน่ึงใหบ้ รรลุถึงเปา้ หมายท่ีวางไว้ ระบบ(System) คอื กลมุ่ ขององคป์ ระกอบตา่ งๆ ที่ทางานร่วมกนั เพอ่ื จุดประสงคอ์ ัน เดยี วกันและเพ่อื ให้เขา้ ใจในความหมายของคาว่าระบบที่จะต้องทาการวเิ คราะห์ จึงตอ้ งเข้าใจลักษณะ ของระบบก่อนระบบ (system) หมายถึง โครงสรา้ งหรือองคป์ ระกอบรวมทัง้ หมดอย่างมีระบบ แสดง ใหเ้ หน็ ความสัมพนั ธภ์ ายในของส่วนประกอบต่างๆ แต่ละส่วนและตอ่ ส่วนรวมทั้งหมดของระบบอย่าง ชดั เจน Gagne and Briggs( กล่าววา่ ระบบหมายถึงวิธกี ารใดๆท่ไี ดร้ ับการจัดไวอ้ ย่างเป็น ระเบียบเพอื่ เป็นหลักให้สมารถทาส่งิ หน่ึงสงิ่ ใดให้บรรลุเป้าหมาย ซงึ่ อาจจะเปน็ เปา้ หมายในวงกวา้ ง หรอื ในวงแคบ ๆ กไ็ ด้ ระบบ (system) หมายถึง ผลรวมของหนว่ ยย่อยซงึ่ ทางานเปน็ อสิ ระจากกนั แตม่ ี ปฏิสมั พนั ธก์ นั เพ่อื ใหบ้ รรลตุ ามวัตถุประสงค์ที่กาหนดไว้ (ชยั ยงค์ พรหมวงศ์ 2523 : 98) ระบบ (system) คือส่วนรวมทั้งหมดซ่ึงประกอบด้วยส่วนย่อยหรือสิ่งต่างๆ ท่ีมีความ สัมพันธ์กันอาจจะเกิดโดยธรรมชาติ เช่น ร่างกายมนุษย์ ซึ่งประกอบด้วยระบบการหายใจ การย่อยอาหาร ฯลฯ โดยแต่ละระบบต่างทางานของตนแล้วมีปฏิสัมพันธ์กัน เพ่ือให้มนุษย์ ดารงชีวิตอยู่ได้ หรือ ระบบการดาเนนิ การใหบ้ รรลจุ ดุ หมายทวี่ างไว้ (กดิ านนั ท์ มลิทอง 2543 :74) ระบบ คือ ภาพส่วนรวมของโครงสร้าง หรือขบวนการอย่างหน่งึ ที่มีการจดั ระเบยี บ ความสมั พันธ์ระหว่างองคป์ ระกอบตา่ งๆ ทร่ี วมกนั อยใู่ นโครงการหรอื ขบวนการนน้ั สรุป ระบบ คือ การรวบรวมสิ่งต่างๆ หรือส่วนประกอบต่างๆ ท่ีมีความสัมพันธ์กัน ซง่ึ มลี ักษณะซบั ซอ้ นประสานกันโดยส่วนประกอบจะมีปฏสิ มั พันธก์ ันทางานร่วมกันอยา่ งเป็นอนั หน่งึ อันเดยี วกัน เพ่อื ใหก้ ารดาเนนิ งานน้นั บรรลเุ ปา้ หมายทีก่ าหนดไว้ 1.2 ส่วนประกอบของระบบ ส่วนประกอบของระบบ ระบบทกุ ระบบประกอบดว้ ย 3 ส่วนคือ ส่ิงท่ปี อ้ นเขา้ ไป กระบวนการ ผลผลติ Input 1) สง่ิ ทPrปี่ oอ้ cนess Output รปู 1.1 แสดงโครงสร้างของระบบ รูป 1.1 ส่วนประกอบของระบบ

3 1) ส่ิงทป่ี อ้ นเข้าไป ( Input ) หมายถงึ สง่ิ ตา่ งๆ ที่จาเป็นตอ้ งใช้ในกระบวนการหรอื โครงการต่างๆ เช่น ในระบบการเรยี นการสอนในชั้นเรียน อาจไดแ้ ก่ ครู นักเรยี น ชน้ั เรียน หลกั สูตร ตารางสอน วิธกี ารสอน เปน็ ต้น ถ้าในเร่อื งระบบหายใจ ไดแ้ ก่ จมกู ปอด กระบังลม อากาศ เปน็ ตน้ 2) กระบวนการหรือการดาเนินงาน ( Process) หมายถงึ การนาเอาสิง่ ท่ปี อ้ นเข้าไป มา จัดกระทาให้เกิดผลบรรลตุ ามวัตถุประสงคท์ ีต่ ้องการ เชน่ การสอนของครู หรือการใหน้ กั เรียนทา กิจกรรม เปน็ ต้น 3) ผลผลิต หรอื การประเมนิ ผล (Output) หมายถึง ผลที่ได้จากการกระทาในข้นั ทส่ี อง ไดแ้ ก่ ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนของนกั เรียน หรอื ผลงานของนกั เรยี น เปน็ ตน้ 1.3 วิธรี ะบบ (System Approach) ระบบ เป็นกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ทีใช้ในการวางแผนและดาเนนิ การต่าง ๆ เพือ่ ใหบ้ รรลุผลตามจดุ มงุ่ หมายที่กาหนดไว้ วิธกี ารระบบมอี งค์ประกอบที่สาคญั 4 ประการ คอื 1) ขอ้ มูลวัตถุดิบ (Input ) 2) กระบวนการ (Process) 3) ผลผลิต (Output) 4) การตรวจผลย้อนกลับ (Feedback) โครงสรา้ งขององค์ประกอบของระบบ มีความสัมพนั ธต์ ่อเนอ่ื งกนั ดงั ภาพ รูป 1.2 แสดงโครงสรา้ งของระบบ วธิ ีระบบ คอื กระบวนการท่ีทาใหบ้ รรลุผลสาเรจ็ อยา่ งมีประสิทธภิ าพ และประสิทธิผลต่อ ผลลพั ธ์ท่ีกาหนดซึ่งอยู่บนพื้นฐานหลกั การความต้องการเปน็ รปู แบบหนง่ึ ของการแก้ปญั หาเชงิ ตรรกวทิ ยา หรือ วิธีการทางวทิ ยาศาสตร์ เปน็ กระบวนการที่ระบคุ วามตอ้ งการ การเลือกปัญหา การหาคาตอบ ซึ่งได้รบั การปรับใช้แล้วผลลัพธท์ ีไ่ ดจ้ ะต้องมกี ารประเมินผล และการปรบั ปรงุ แกไ้ ขจนสามารถบาบดั ความตอ้ งการ หรอื ความจาเปน็ ได้สิ้นเชิง Kaumfan(1987) ลักษณะสาคญั ของวธิ ีระบบ 1) เป็นการทางานร่วมกันเปน็ คณะของบคุ คลท่เี ก่ียวข้องในระบบนน้ั ๆ 2) เปน็ การแก้ปญั หาโดยการใช้วธิ กี ารทางวิทยาศาสตร์

4 3) เป็นการใช้ทรัพยากรทมี่ อี ย่อู ย่างเหมาะสม 4) เปน็ การแกป้ ญั หาใหญ่ โดยแบง่ ออกเป็นปญั หาย่อยๆ เพื่อสะดวกในการแกป้ ัญหา อันจะเปน็ ผลใหแ้ กป้ ญั หาใหญ่ไดส้ าเรจ็ 5) มุง่ ใชก้ ารทดลองใหเ้ หน็ จริง 6) เลอื กแกป้ ญั หาทพ่ี อจะแกไ้ ขได้และเป็นปัญหาเรง่ ดว่ นกอ่ น 1.3 องค์ประกอบของระบบ จดุ เดน่ ของระบบเป็นเรื่องของความสัมพนั ธเ์ พ่ือเปา้ หมายรว่ มกนั การดาเนนิ งานในลักษณะของ ระบบจึงไม่ใชต่ ่างคนต่างทา แต่จะเปน็ การทางานร่วมกันอย่างตอ่ เน่ืองเพือ่ ใหบ้ รรลผุ ลตามท่ตี ัง้ ไว้ การทางานของระบบจะประกอบไปดว้ ยองค์ประกอบสาคัญ ดงั น้ี 1. ตัวปอ้ น (input) ได้แก่ ทรพั ยากร หรอื ข้อมูลนาเขา้ 2. กระบวนการเนนิ งาน (process) ไดแ้ ก่ การปฏิสัมพันธ์ขององคป์ ระกอบ เพื่อทาใหเ้ กิด การเปลย่ี นแปลงของผลผลิต 3. ผลผลติ (output) ได้แก่ จดุ หมายปลายทางของการดาเนินการ 4. ข้อมลู ป้อนกลับ (feedback) ได้แกข่ อ้ มูล ขอ้ เสนอแนะเพ่ือใช้ปรับปรงุ แก้ไขให้การ ทางานเปน็ ไปอย่างมีประสทิ ธิภาพมากยิง่ ขนึ้ องค์ประกอบทง้ั 4 จะเก่ียวเนอ่ื งสัมพันธก์ นั โดยตลอด การเปลยี่ นแปลงขององค์ประกอบหน่ึง จะ มีผลตอ่ องค์ประกอบอ่ืนข้อบกพรอ่ งขององคป์ ระกอบหน่งึ ก็จะสง่ ผลให้องค์ประกอบอน่ื บกพร่องดว้ ย ตัวอย่าง เรียนการสอน สามารถแยกองค์ประกอบได้ดงั นี้ 1) ขอ้ มูลสกู่ ารสอน (Input) ไดแ้ ก่ การวางแผนการสอนทัง้ ด้านจดุ ประสงค์การสอน เนอ้ื หาการ จัดกจิ กรรมการสอน การใช้สื่อการสอน และการวดั ผลประเมินผลแลว้ เขียนเปน็ แผนการสอน การวางแผนการสอน การศึกษาจดุ ประสงค์ รวมรวมเน้ือหา จดั ทากิจกรรมการสอน กาหนดเกณฑป์ ระเมนิ ผล การเขยี นแผนการสอน รูป 1.3 แสดงข้ันตอนการเตรียมการสอน

5 2) กระบวนการสอน (Process) เปน็ ขน้ั ดาเนินการสอนตามแผนการสอนท่ีเขียนขึ้น ต้งั แต่การ นาเขา้ สูบ่ ทเรียน ขั้นการสอน และขนั้ สรปุ ในขน้ั น้หี วั ใจสาคัญอยู่ทก่ี ารจัดกิจกรรมการเรียนการสอน โดยใชท้ กั ษะและเทคนคิ การสอนของผ้สู อนทีจ่ ะทาให้ผู้เรียนเกดิ การเรียนร้ไู ด้ดีทส่ี ดุ เมอ่ื ดาเนนิ การสอน แลว้ ต้องมกี ารวดั ผลการเรียนร้ขู องผู้เรยี นดว้ ย การนาเข้าสู่บทเรียน ขนั้ การสอน ขัน้ สรปุ รูป 1.4 แสดงข้ันตอนการดาเนินการสอน (process) 3) ผลการสอน (Output) เปน็ ข้นั การประเมนิ พฤตกิ รรมผเู้ รยี นว่าเกิดผลสมั ฤทธมิ์ ากน้อยเพยี งใด หลังจากทไ่ี ดผ้ ่านกระบวนการเรียนการสอนแลว้ โดยนาผลการวัดมาประเมนิ ถา้ ผเู้ รยี นบรรลุผลตรงตาม วัตถปุ ระสงค์ก็แสดงว่าการจัดการเรียนการสอนประสบผลสาเร็จ 4) ขอ้ มลู ยอ้ นกลับ (Feedback) เป็นขัน้ การวิเคราะหผ์ ล หรอื ยอ้ นกลบั มาพิจารณาว่าในการ จัดการเรยี นการสอนนนั้ มีขอ้ บกพรอ่ งอะไรบา้ ง มีปญั หาประการใด โดยพิจารณาจากผลลพั ธ์ หรือ ผลสัมฤทธิข์ อง ผู้เรยี น ถ้าผู้เรยี นไม่บรรลุผลตามจุดประสงค์ ก็จาเป็นต้องพิจารณาหาสาเหตวุ ่ามีข้อบกพร่อง ในจดุ ใด แลว้ ปรบั ปรุงแก้ไขให้ได้ระบบการเรยี นการสอนท่มี ีประสิทธภิ าพเพอื่ นาไปใชต้ ่อไป 1.4 ลกั ษณะของระบบทีด่ ี ที่ดตี ้องสามารถปฏบิ ัตงิ านไดอ้ ย่างมีประสทิ ธภิ าพ ( efficiency) และมคี วามยั่งยนื (sustainable) ต้องมลี กั ษณะ 4 ประการคือ 1) มีปฏิสมั พนั ธ์กับสิ่งแวดล้อม ( interact with environment ) 2) มจี ดุ หมายหรอื เป้าประสงค์ ( purpose) 3) มีการรกั ษาสภาพตนเอง (self-regulation) 4) มกี ารแกไ้ ขตนเอง ( self-correction ) 1.4.1 ปฏสิ ัมพันธ์กับสิง่ แวดลอ้ ม ( interact with environment ) ระบบทกุ ๆ ระบบจะมี ปฏสิ ัมพันธ์ไมท่ างใดกท็ างหนึ่งกบั โลกรอบๆตัว ของระบบ เรยี กว่า \"สงิ่ แวดล้อม\" การท่ีระบบมี ปฏสิ มั พนั ธ์กบั ส่งิ แวดล้อมนที้ าใหร้ ะบบดงั กลา่ วกลายเป็น ระบบเปิด ( Open system ) กลา่ วคอื ระบบจะรับปัจจัยนาเขา้ (inputs ) จากส่งิ แวดล้อม ซ่งึ อาจจะเป็นพลังงาน อาหาร ขอ้ มูล ฯลฯ ระบบจะ จดั กระทาเปล่ยี นแปลงปัจจัยนาเข้าน้ใี หเ้ ป็นผลผลิต ( output ) แล้วสง่ กลบั ไปให้สิ่งแวดลอ้ มอกี ที่หนง่ึ 1.4.2 มีจดุ หมายหรือเป้าประสงค์ (purpose)ระบบจะต้องมีจดุ มุ่งหมายท่ชี ัดเจนแน่นอนสาหรับตวั ของมันเอง ระบบท่เี กดิ ขึ้นตามธรรมชาติ เช่น ระบบการดาเนนิ ชวี ติ ของมนุษยน์ นั้ กม็ จี ุดมงุ่ หมายสาหรบั

6 ตัวของระบบเองอยา่ งชัดเจนว่า \"เพื่อรักษาสภาพการมชี วี ติ ไวใ้ ห้ไดใ้ หด้ ที ี่สุด\" จดุ มงุ่ หมายนด้ี ูออกจะไม่ เดน่ ชัดสาหรับเรานักเพราะเราไมใ่ ชผ่ ู้คดิ สรา้ งระบบดงั กลา่ วขึน้ มาเอง 1.4.3 มกี ารรกั ษาสภาพตนเอง (self-regulation) ลักษณะทส่ี ามของระบบ คอื การทรี่ ะบบสามารถรักษาสภาพของตัวเองใหอ้ ยใู่ นลักษณะที่ คงทอ่ี ยเู่ สมอการรกั ษาสภาพตนเองทาได้โดยการแลกเปล่ยี นอนิ พุทและเอาท์พุดกันระหว่างองค์ประกอบ ตา่ ง ๆ ของระบบหรอื ระบบย่อย ตวั อย่าง ทเ่ี หน็ ได้ชัดเจนคือ ระบบยอ่ ยอาหารของรา่ งกายมนุษย์ ซึ่งประกอบด้วย องคป์ ระกอบยอ่ ย ๆ หรอื ระบบยอ่ ยตา่ งๆ เชน่ ปาก นา้ ย่อย นา้ ดี หลอก อาหาร กระเพาะอาหาร ฯลฯ 1.4.4 มกี ารแก้ไขตนเอง ( self-correction ) ลกั ษณะที่ดีของระบบ คอื มีการแก้ไขและปรบั ตัวเองในการทรี่ ะบบมีปฏิสัมพันธ์กบั สภาพแวดลอ้ มบางครัง้ ปฏิสัมพนั ธน์ ัน้ ก็จะทาให้ระบบการรกั ษาสภาพตวั เอง ต้องย่าแยไ่ ป ระบบก็ตอ้ งมี การแกไ้ ขและปรบั ตวั เองเสียใหม่ ตัวอยา่ งเชน่ การปฏิสัมพันธ์ระหว่างรา่ งกายกับอากาศหนาว (สภาพแวดล้อม) อาจจะทาให้เกิดอาการหวดั ข้นึ ได้ ในสถานการณ์น้ี ถา้ ระบบรา่ งกายไม่สามารถ ทจี่ ะรกั ษาสภาพตัวเองได้อย่างดี ร่างานกจ็ ะตอ้ งสามารถทจี่ ะปรับตวั เองเพือ่ ที่จะต่อสู้กับอาการหวดั นัน้ โดยการผลติ ภมู ิค้มุ กันออกมาตา้ นหวดั 1.5 ระบบเปิดและระบบปดิ 1.5.1 ระบบเปดิ (Open System) คอื ระบบทีร่ ับปจั จยั นาเข้าจากสง่ิ แวดลอ้ ม และขณะเดยี วกัน ก็สง่ ผลผลติ กลับไปให้ส่งิ แวดล้อมอกี ครง้ั หน่งึ ตัวอยา่ งระบบเปดิ ทัว่ ๆ ไป เช่น ระบบสงั คม ระบบ การศึกษา ระบบหายใจ ฯลฯ 1.5.2 ระบบปิด (Close System) คือ ระบบทม่ี ิไดร้ บั ปัจจัยนาเขา้ จากสิง่ แวดล้อม หรือรบั ปัจจยั นาเข้าจากสงิ่ แวดลอ้ มนอ้ ยมากแต่ขณะเดยี วกนั ระบบปดิ จะผลดิ เอาท์พุทใหก้ บั สิง่ แวดล้อมด้วย เช่น ระบบของถ่านไฟฉาย หรือระบบแบตเตอรตี่ ่าง ๆ ตัวถา่ นไฟฉายหรือแบตเตอรน่ี ั้นถกู สร้างข้ึนมาให้มี ไฟฟา้ สะสมอยู่ในตวั ภายในกม็ รี ะบบยอ่ ยอกี หลายระบบ ท่ีทางานสัมพนั ธก์ นั อยา่ งดี สามารถให้พลังงาน ไฟฟา้ ออกมาได้โดยทไี่ มไ่ ด้รบั ปจั จัยภายนอกเข้ามาเลย ระบบปิดจะมีอายสุ ้นั กว่าระบบเปดิ เน่อื งจาก ระบบปดิ น้นั ทาหน้าที่เพียงแตเ่ ปน็ \"ผใู้ ห\"้ เท่านั้น

7 แบบฝึกหดั ท้ายบทที่ 1 คาชแ้ี จง ใหน้ กั ศึกษาตอบคาถามตอ่ ไปน้ี 1. ความหมายของ ระบบคือ 2. ระบบประกอบไปด้วยองค์ประกอบสาคัญอะไรบ้าง 3. วิธีระบบ (System Approach) คอื อะไร มีลกั ษณะอย่างไร 4. องคป์ ระกอบของระบบมอี ะไรบา้ ง 5. ระบบทด่ี ีควรประกอบด้วยอะไรบา้ ง 6. ใหอ้ ธบิ ายลักษณะของระบบท่ีมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดลอ้ ม ( interact with environment ) 7. ให้อธิบายลักษณะของระบบที่มกี ารรกั ษาสภาพตนเอง (self-regulation) 8. ใหอ้ ธบิ ายลกั ษณะระบบเปดิ พรอ้ มยกตวั อยา่ งระบบ 9. ใหอ้ ธบิ ายลักษณะระบบปิด พรอ้ มยกตวั อย่างระบบ 10. ใหย้ กตวั อยา่ งระบบงานทมี่ ใี นชวี ติ ประจาวันของนกั ศึกษา มาอยา่ งนอ้ ย 3 ระบบ ----------------------------------------------------------


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook