Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การจัดการความรู้ เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มแก่ผลิตภัณฑ์ชุมชน

การจัดการความรู้ เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มแก่ผลิตภัณฑ์ชุมชน

Published by Daris Singhad, 2018-11-11 05:40:17

Description: ดาวน์โหลด https://drive.google.com/open?id=1q2FZRLV9ayGgzUc86oQEkJrAp12itJjr

Search

Read the Text Version

เพอ่ื สร้างมูลคา่ เพิ่มแก่ผลิตภณั ฑช์ มุ ชน เบญจวรรณ ใสหวานดาวน์โหลดเอกสาร

คานา การจัดการความรู้การสร้างมูลค่าเพิ่มแก่ผลิตภัณฑ์ชุมชน สาหรับวิสาหกิจชุมชนเล่มน้ี ได้จัดทาข้ึนเพ่ือเป็นแนวทางในการขับเคลื่อนการดาเนินงานของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนในการสร้างมูลค่าเพ่ิมแก่ผลติ ภณั ฑช์ ุมชน ผู้จัดทาได้ศึกษาเพ่ือนาไปปรับใช้ในการพัฒนากลมุ่วิสาหกิจชุมชนให้มปี ระสิทธภิ าพ สาหรับเน้ือหาภายในการจัดการความรู้ การสร้างมูลค่าเพ่ิมแก่ผลิตภัณฑ์ชุมชนสาหรับวิสาหกิจชุมชน ประกอบด้วย 6 ประเด็น คือ การจัดการวัตถุดิบ การแปรรูปผลิตภัณฑ์ การการบรรจุหีบห่อ คุณสมบัติพิเศษของสินค้า การจัดเก็บผลิตภัณฑ์ และการจดั จาหนา่ ยสนิ ค้าที่แลว้ เสรจ็ ไปยังผู้บริโภค ผู้จัดทา หวังเป็นอย่างย่ิงว่า การสร้างมูลค่าเพ่ิมแก่ผลิตภัณฑ์ชุมชน สาหรับวิสาหกิจชุมชนเล่มน้ี คงเป็นประโยชน์ให้กับกลมุ่ วิสาหกิจชุมชน สามารถนาไปใช้ใหเ้ กิดประโยชน์ตอ่การดาเนนิ งานของกลมุ่ ไดต้ อ่ ไป ผู้จดั ทา ดาวนโ์ หลดเอกสาร

สารบญั หนา้การสร้างมลู คา่ เพมิ่ ..............................................................................................................1 การจดั การวัตถดุ บิ ...........................................................................................................2 การแปรรปู ผลติ ภณั ฑ์......................................................................................................4 การบรรจุหบี ห่อ ..............................................................................................................6 คณุ สมบตั ิพิเศษของสินค้า.............................................................................................11 การจัดเกบ็ ผลติ ภณั ฑ.์ ....................................................................................................13 การจัดจาหนา่ ยสินคา้ ไปยงั ผู้บรโิ ภค..............................................................................16ดาวน์โหลดเอกสาร

การจดั การความรู้ เพื่อสร้างมูลคา่ เพมิ่ แกผ่ ลิตภณั ฑ์ชมุ ชน | หนา้ ท่ี 1การสรา้ งมูลค่าเพ่ิม ดาวนโ์ หลดเอกสาร

การจดั การความรู้ เพ่ือสร้างมูลคา่ เพิม่ แก่ผลติ ภณั ฑช์ ุมชน | หนา้ ท่ี 2 การจัดการวัตถุดบิ การจัดการวัตถุดิบมีความจาเป็นมาก จึงมีวิธีการบริหารวัตถุดิบแตกต่างกันไปในแต่ละช่วงเวลา ฤดูกาลหรือความต้องการซื้อของผู้บริโภค ชิ้นส่วนวัสดุต่าง ๆ ก็สั่งซ้ือมาจากผู้ขายหลายแหล่ง รอบเวลาในการขนสง่ สนิ ค้าก็แตกต่างกนั จึงเปน็ ท่มี าของปญั หาต่าง ๆ ในการจัดการกับวัสดุเพื่อการผลิต โรงงานส่วนใหญ่จึงมีระบบการวางแผนความต้องการวัสดุ(Material Requirement Planning ; MRP) เป็นเคร่ืองมือช่วยบริหารจัดการปัญหาต่าง ๆโดยต้องจัดการวัตถุดิบให้สมดุลกับปริมาณวัสดุในคลังไม่ให้ต้นทุนสูงจนเกินไป เพ่ือตอบสนองความต้องการสินค้าของลูกค้าได้อย่างมีประสิทธิภาพหรือถ้าเป็นวัตถุดิบในธรรมชาติ เชน่ พืชสมนุ ไพร หรือพชื ทอ้ งถ่นิ ก็จะมีการเพาะปลกู เอง แต่ถ้าชว่ งทต่ี อ้ งมกี ารส่งส้ินคา้ จานวนมาก กจ็ ะหาซ้ือในชุมชน เพื่อลดต้นทุนในการขนสง่ คุณภาพวัตถุดิบมีความสมั พันธก์ ับคณุ ภาพสินค้า ถ้ามีความน่าเช่ือถือก็ควรซ้ือดกี ว่าผลิตเอง ตรงกันข้าม หากวัตถุดบิ มีคณุ ภาพต่าไมน่ า่ ไว้ใจการซ้อื ผลติ ภณั ฑ์กน็ อ้ ยลงเป้าหมายในการจดั การวสั ดุ 1. ถ้ามีการบรหิ ารจัดการวัสดอุ ย่างมีประสิทธิภาพจะทาให้ต้นทุนวัสดุสินค้ามีราคาต่าเชน่ จัดซอ้ื จานวนมากต่อรองราคาได้ 2. สินค้าท่ีมีคุณภาพต่าเกิดจากวัตถุดิบไม่มีคุณภาพ การจัดการวัสดุจะต้องมีระบบประกันคุณภาพวสั ดุเพอ่ื ใหม้ ั่นใจวา่ ผลิตภัณฑจ์ ะมคี ณุ ภาพตามทก่ี าหนดทุก Lot ดาวนโ์ หลดเอกสาร

การจดั การความรู้ เพื่อสรา้ งมูลค่าเพมิ่ แกผ่ ลิตภณั ฑช์ ุมชน | หน้าที่ 3 3. การจัดการกับวัสดุได้ดีจะส่งผลให้ลูกค้าพึงพอใจ ท่ีโรงงานสามารถตอบสนองความต้องการของลูกค้าได้อย่างต่อเนื่อง เช่น สั่งซื้อได้สินค้าทันที มีความพร้อมในการใหบ้ ริการ ส่งไดด้ ้วยความรวดเร็ว ถูกตอ้ ง สมบูรณ์ ครบถ้วนนา่ เช่อื ถอื เป็นทไ่ี วว้ างใจ 4. การจัดการกับวัสดุได้ดีจะทาให้ลดจานวนเงินท่ีต้องไปจมไว้กับวัสดุคงคลังสามารถระบายวตั ถุดบิ ไปกระบวนการผลิตไดอ้ ยา่ งราบร่ืน เงินทุนจึงหมุนเวยี นตลอด 5. นอกจากจะจัดการกับวัสดุในการผลิตแล้ว ยังสามารถช่วยแผนกจัดซื้อในการบรหิ ารวัสดสุ านกั งานไดอ้ กี ด้วย เปน็ การสนบั สนนุ หนว่ ยงานอื่น ๆ ได้อย่างดี ดาวนโ์ หลดเอกสาร

การจดั การความรู้ เพื่อสรา้ งมูลค่าเพิ่มแก่ผลิตภัณฑ์ชมุ ชน | หน้าท่ี 4 การแปรรูปผลติ ภณั ฑ์ การนาผลผลิตทางการเกษตรมาแปรรูปจะช่วยป้องกันการล้นตลาดของผลิตผลสดซึ่งช่วยยกระดับราคาผลิตผล ไม่ให้ตกต่า การเพิ่มมูลค่าของผลิตผลทางการเกษตรมาแปรรูปเป็นอาหารระดับอุตสาหกรรม ที่สามารถรับวัตถุดิบเพ่ือผลิตเป็นอาหารจานวนมากได้การผลิตอาหารใหไ้ ดม้ าตรฐานเพอ่ื ความปลอดภัยต่อผบู้ รโิ ภค การส่งเสริมใหผ้ ลิตภณั ฑ์แปรรูปอาหารให้เป็นที่ยอมรับ และสามารถขยายตลาดการค้าออกไปสู่ต่างประเทศ จะช่วยเพ่มิ พนู รายไดใ้ หแ้ ก่ประเทศได้เป็นอยา่ งดี เทคนิคในการแปรรูปผลผลิตทางการเกษตรมีหลายข้ันตอน แต่ท่ีสาคัญจะเป็นแรงจูงใจสามารถทาผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ให้เกิดประโยชน์คุ้มค่า คุ้มราคา และผลิตภัณฑ์น้ันจะต้องมีความอร่อยไม่ใช่ทาครั้งแรก อร่อยทุกคน ติดใจในรสชาติ สามารถทารายได้ให้มากมาย พอเร่ิมมีคนรู้จัก คุ้นตา ชินต่อรสชาติ ก็จะเริ่มทาผลิตภัณฑ์เพื่อให้มีผลกาไรมาก ๆความสาคัญของรสชาติอาจด้อยไป ส่ิงเหล่านี้จะทาให้ทุกคนเสือ่ มความศรัทธาได้ จึงจาเป็นอย่างยงิ่ ท่ีจะต้องคานงึ ถงึ 1. ความซ่ือสัตย์ตอ่ ตนเองและลูกคา้ 2. ต้องมีการวางแผนผลิตสินค้านั้นล่วงหน้า และเหมาะสมกับฤดูกาล เพ่ือสินค้าน้ันจะมีตน้ ทนุ ต่า ขายได้ ราคาสูง 3. ต้องมีความสนใจ และต้ังใจต่อการทาผลิตภัณฑ์น้ัน เพื่อให้มีความสม่าเสมอของรสชาตแิ ละคณุ ภาพท่ีดี 4. ตอ้ งคานงึ ถงึ ความสะอาดความปลอดภยั เสมอ 5. ตอ้ งมีความรใู้ นสารปรงุ แตง่ อาหารท่ีใช้อยา่ งแมน่ ยา การแปรรูปผลิตผลการเกษตรถ้าต้องการให้ ผลติ ภัณฑ์นั้นมคี ณุ ภาพดี จะตอ้ งให้ความสนใจตอ่ ส่ิงเหลา่ น้ี ดาวนโ์ หลดเอกสาร

การจดั การความรู้ เพ่ือสรา้ งมูลค่าเพ่ิมแก่ผลิตภณั ฑช์ ุมชน | หน้าท่ี 5 5.1 การคัดเลอื กวตั ถุดบิ เพอ่ื การแปรรปู จะตอ้ งมีลักษณะและคณุ ภาพตรงตามชนดิ ของอาหาร และตอ้ งคานึง ถงึ เวลา แรงงาน และคา่ ใช้จ่ายในการเตรยี มวัตถดุ ิบด้วย 5.2 การแปรรูปเพ่อื ถนอมอาหารแบบใชค้ วามร้อนสูง จะช่วยทาลายจุลินทรีย์ท่ีก่อให้เกิดโรค ซ่ึงทาให้อาหารเน่าเสีย ทาลายเอ็นไซม์ สารพิษ พยาธิที่ไม่ทนต่อความรอ้ นการแปรรปู โดยใชค้ วามร้อน ดาวนโ์ หลดเอกสาร

การจดั การความรู้ เพื่อสรา้ งมูลค่าเพมิ่ แกผ่ ลิตภณั ฑช์ ุมชน | หนา้ ท่ี 6 การบรรจุหบี ห่อ หน้าท่ีสาคัญท่ีสุดของบรรจุภัณฑ์ก็คือการปกป้องสินค้าให้อยู่ในสภาพสมบูรณ์ต้ังแต่พ้นจากอ้อมอกของผู้ผลิตจนมาถึงมือผู้บริโภค หากบรรจุภัณฑ์ไม่สามารถปกป้องสินค้าภายในให้อยู่ในสภาพดีได้ น่ันก็ไม่ใช่บรรจุภัณฑ์ท่ีดี และถือเป็นการออกแบบท่ีล้มเหลวเพราะบรรจุภณั ฑ์ไมส่ ามารถทาหน้าที่โดยกาเนิดของมันได้ เรียกได้ว่าเป็นบรรจุภัณฑพ์ ิการ แต่เม่อื เราลองมองดูรอบ ๆ ตวั เรา ก ลั บ พ บ ว่ า มี บ ร ร จุ ภั ณ ฑ์ ลั ก ษ ณ ะ น้ี อ ยู่ เ ต็ ม ไ ป หมด โดยเฉพาะอย่างยิ่งเราจะเห็นได้ชัดเจน จากผลิตภัณฑ์ท่ีแตกหักเสียหายได้ง่าย เช่น อาหารประเภทขนมกรุบกรอบ ซ่ึงส่วนใหญ่ ขนมด้านในมักจะแตกหักก่อนท่ีเราจะได้กัดมัน ให้แตกด้วยปากเพื่อล้ิมรสอันโอชะของมัน หรือ กระท่ังบรรจุภัณฑ์ของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ราคาถูกบางชนิด เมื่อแกะออกมามักจะพบว่าสินค้าข้างในได้รับความเสียหายหรือเป็นรอยบุบ เปน็ ต้น การออกแบบบรรจุภณั ฑท์ ่ีดจี ะต้องคานงึ ถึงจดุ นเ้ี ปน็ สว่ นสาคัญท่ีสุด ปัญหาเหล่านี้เกิดจาก “ผู้ผลิต” สินค้าชนิดน้ัน ๆ ต้องการลดต้นทุนในการผลิตให้ต่าท่ีสุด เพื่อจะได้มีกาไรจากการขายให้มากที่สุด จึงบีบให้นักออกแบบบรรจุภัณฑ์แทบจนตรอกด้วยงบประมาณในการออกแบบ และพัฒนาบรรจุภัณฑ์อันแสนจากัด และยังมีการ ดาวน์โหลดเอกสาร

การจัดการความรู้ เพ่ือสร้างมูลคา่ เพิม่ แกผ่ ลิตภัณฑ์ชุมชน | หนา้ ที่ 7 กาหนดต้นทุนตอ่ ชิน้ ของบรรจุภัณฑ์ไวต้ ่าเต้ียเรยี่ ดิน ทาให้ นกั ออกแบบแทบไมม่ ที างออกในการออกแบบบรรจุภัณฑ์ ท่ีมีคุณภาพเลย บางครั้งย่าแย่ขนาดต้องหยิบเอาบรรจุ ภัณฑ์ของสินค้าหน่ึงมาใส่สินค้าอีกชนิดหน่ึง ผลลัพธ์จึง ออกมาเป็นบรรจุภัณฑ์คุณภาพต่าอย่างท่ีเราเห็นกัน เช่น คุกกี้บางย่ีห้อท่ีใช้ซองพลาสติกธรรมดามาหุ้มไว้ เม่ือแกะ ออกมาทไี รกพ็ บแตช่ นิ้ ที่แตกกอ่ นจะได้รับประทานทกุ ที นอกจากผู้ผลิตบางรายจะมองข้ามความสาคัญของบรรจุภัณฑ์ไปแล้ว ยังกลับไปทุ่มงบประมาณมหาศาลไปกับการทาการตลาดให้แก่ผลิตภัณฑ์ของตัวเอง เช่น จ้างนางแบบ ค่าตัวแพงลิบมาเป็นพรีเซ็นเตอร์ สามารถซื้อส่ือ ซื้อพ้ืนที่ในการ ประกาศโฆษณาให้โลกรับรู้ว่าสินค้านี้มีตัวตนอยู่ มีดีอย่างโน้น อย่างน้ีได้โดยไม่ต้องรอให้ผู้บริโภคพิสูจน์ถึงคุณภาพสินค้า และ บอกต่อ ถ้ามีทุนหนาแบบนั้นก็ไม่เป็นไร แต่หากเป็น ผู้ประกอบการรายย่อยท่ีไม่มีเงินถุงเงินถังให้ใช้แบบน้ันล่ะจะทา อย่างไรจึงจะสามารถมีจุดยืนในตลาดร่วมกับกับบริษัทยักษ์ใหญ่ เหล่านัน้ ได้ การสร้างความแตกต่างคือคาตอบ เพราะเมื่อใดก็ตามท่ีสินค้าสองย่ีห้อมีราคาใกลเ้ คยี งกัน มคี ุณภาพไม่ตา่ งกัน หรือบางทเี ป็นสนิ ค้าจากโรงงานเดียวกนั แต่แปะป้ายคนละย่ีห้อ ผู้บริโภคจะตัดสนิ ใจซ้ือสินค้าโดยเลือกที่ดีไซน์ของบรรจุภัณฑเ์ ป็นหลัก บรรจุภัณฑ์ท่ีมีดีไซน์แปลกใหม่กว่า มีประโยชน์ใช้สอยมากกว่า เปิดปิดสะดวกกว่า สวยงามกว่า แลดูมีคุณภาพมากกว่าก็จะส่ือเป็นนัยๆ ถึงคุณภาพของสินค้าภาพในว่าดีกว่าของคู่แข่งบริษัทผู้ผลิตเช่ือถือได้ ซ่ึงอาจจะเป็นหรือไม่เป็นความจริงก็ได้ แต่การที่ผู้บริโภคมีทัศนคติเ ก่ี ย ว กั บ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ข อ ง เ ร า ไ ป ใ น ท า ง ที่ ดี ก ว่ า ข อ ง คู่ แ ข่ ง ก็ ย่ อ ม เ ป็ น ก า ร เ พ่ิ ม มู ล ค่ า แ ล ะ ดาวนโ์ หลดเอกสาร

การจัดการความรู้ เพ่ือสรา้ งมูลค่าเพิ่มแกผ่ ลติ ภณั ฑช์ ุมชน | หนา้ ท่ี 8 ภาพลักษณ์ของผลิตภัณฑ์ให้มากยิ่งขึ้น และย่ิงถ้าสินค้า ภายในมีคุณภาพด้วยแล้วก็จะเกิดการบอกต่อ ๆ กันไปจาก ปากของผู้บริโภค ทาให้เราไม่ต้องทุ่มงบประมาณมหาศาลไป กับการทาการตลาด แต่เอางบประมาณเหล่านั้นมาพัฒนา บรรจุภณั ฑแ์ ละผลิตภัณฑ์ใหม้ ีคณุ ภาพยิง่ ๆ ข้ึนไปจะดีกว่า หากพูดถึง “บรรจุภัณฑ์” หลายคนก็คงจะนึกถึง “กล่อง” “ขวด” หรือ “ถุง” บรรจุภัณฑ์ท่ีเราเห็นตามท้องตลาดส่วนใหญ่ก็มีลักษณะเป็นกล่อง ขวด หรือถุง ทาหน้าท่ีปกป้องสินค้าที่อยู่ภายใน แต่จริง ๆ แล้วบรรจุภัณฑ์ไม่จาเป็นต้องเป็นกล่อง ขวด หรือถุงก็ได้ จริง ๆแล้วบรรจุภณั ฑ์จะมีรูปร่างเป็นอะไรก็ได้ ทาจากวสั ดุอะไรก็ได้ขอให้สามารถทาหน้าที่ปกป้องผลิตภัณฑ์ภายในได้ ส่วนเร่ืองความสวยงามนน้ั เป็นเรื่องรองลงมา คนสว่ นใหญไ่ ม่ได้คานึงถึงเรื่องน้ี มองแต่ความสวยงามเป็นหลัก และคิดว่าการออกแบบบรรจุภัณฑ์คือการออกแบบ “ลายบนกล่อง” ทาให้มีบริษัทหน้าใหม่หรือนักออกแบบมือสมัครเล่นเกิดขึ้นจานวนมากเพราะมองว่างานนี้เป็นเร่ืองง่าย ทาได้เร็ว รายได้ดี ใคร ๆ ก็ทาได้ ดังจะเห็นได้จากประกาศในเว็บไซต์หลายแห่งที่เขียนไว้อย่างหรูหราว่า “รับออกแบบบรรจุภัณฑ์” แต่กลับกลายเป็นการออกแบบลายบนกล่องไปเสียดือ้ ๆ บางทีถ่ งึ ขนาดรับทาเป็นแพ็คเกจ ออกแบบ 5 กลอ่ งรบั ฟรี 1 กลอ่ ง ผ้วู ่าจา้ งสว่ นใหญ่ขาดความรู้และความตระหนักก็หลงไปกับอุบายน้ีและเห็นแก่ราคาค่าออกแบบที่แสนถูก บางครั้งหลกั พันบาทตน้ ๆ จึงได้รับผลงานท่เี ป็นลายบนกลอ่ งลายใหม่ แตบ่ รรจุภณั ฑเ์ ป็นกลอ่ งแบบเดิมซึ่งแทบจะไม่ไดส้ ร้างความแตกตา่ งหรอื จุดเด่นให้กับผลิตภณั ฑ์เลย ถอื เปน็ การลงทุนทไ่ี ม่คุ้มค่าเสยี ท้ังเวลาและเงนิ ดาวนโ์ หลดเอกสาร

การจัดการความรู้ เพ่ือสรา้ งมูลคา่ เพม่ิ แกผ่ ลติ ภัณฑ์ชมุ ชน | หน้าที่ 9 นอกจากน้ี ทัศนคติของคนส่วนใหญ่ที่กาลังคิดจะหาผู้ออกแบบบรรจุภัณฑ์ให้กับสินค้าของตัวเองนั้นมักจะมองว่าการออกแบบบรรจุภัณฑ์เป็นเพียงเร่ืองง่ายๆ แค่ทากล่อง ขวด หรือถุงข้ึนมาแล้วทาลวดลายมาแปะ ดูแล้วไม่เห็นจะยากตรงไหน ทาไมพวกนักออกแบบถึงคิดราคาแพงกันนัก บางที่คิดหลักหมื่น บางท่ีก็เลยเถิดไปจนถึงหลักแสน แบบน้ีมันโก่งราคากันชัดๆ ไปหาเอาตามเว็บไซต์ดีกว่า มีรับทาเยอะแยะ ราคาไม่ก่ีร้อยก็มี ใช่ แล้วก็มักจะไปเจอเว็บไซต์อย่างทีไ่ ดก้ ล่าวไปเมื่อครนู่ ี้และลงเอยดว้ ยการไดก้ ล่อง ขวด หรือถุงแบบเดิมที่มลี วดลายใหม่ออกมา กระบวนการออกแบบบรรจุภัณฑ์ต้องศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับการผลิต วัสดุที่ใช้วิเคราะห์พฤติกรรมของผู้บริโภคท่ีเป็นกลุ่มเป้าหมาย มีการใช้หลักสรีระศาสตร์เข้ามาประกอบการออกแบบ รวมไปถึงหลักจิตวิทยาในการออกแบบ การใช้สี และการจัดองค์ประกอบศิลป์ นอกจากน้ียังต้องมีการทาแบบร่างบรรจุภัณฑ์ (idea sketch) และพฒั นาแบบร่างใหอ้ อกมาเป็นบรรจุภัณฑ์ต้นแบบท่สี ามารถใช้งานได้จรงิ เพอ่ื หาข้อบกพร่องและข้อดีข้อเสียจากการใช้งานจริงก่อนจะนาเข้าสู่กระบวนการผลิตและนาออกสู่ตลาดทั้งหมดนี้ก็เพื่อให้ออกมาเป็นบรรจุภัณฑ์ท่ีดีชิ้นหนึ่ง ด้วยเหตุน้ีค่าแรงในการออกแบบบรรจุภัณฑ์จึงมีราคาหลกั หม่ืนไปจนถึงหลกั แสนเพราะตอ้ งอาศัยความเชย่ี วชาญในหลายๆ ดา้ นท่ีกลา่ วมา ในต่างประเทศท่ีมีนักออกแบบบรรจุภัณฑ์เก่งๆ โดยเฉพาะญ่ีปุ่นนน้ั จะมีบรรจภุ ัณฑ์ทีโ่ ดดเดน่ และแปลกใหม่ ออกสู่ตลาดตลอดเวลา ทาให้ชีวิตของคนญี่ปุ่นมีความ สะดวกสบายและมีตัวเลือกให้แก่ผู้บริโภคเป็นจานวนมาก ทั้งน้ีก็เพื่อตอบสนองความต้องการของตลาดและเพ่ิมมูลค่า ดาวน์โหลดเอกสาร

การจัดการความรู้ เพ่ือสร้างมูลค่าเพ่มิ แก่ผลิตภณั ฑช์ มุ ชน | หน้าท่ี 10ให้แก่สินค้านั้น ๆ น่ันเอง ธุรกิจด้านการออกแบบบรรจุภัณฑ์ในญี่ปุ่นจึงเป็นธุรกิจท่ีมีมูลค่ามหาศาลและทารายไดม้ ากพอๆ กบั ธรุ กจิ การผลติ เลยทเี ดยี ว ดงั น้ันเหล่านกั ออกแบบบรรจภุ ัณฑ์และผู้ประกอบการควรหนั มาใหค้ วามใส่ใจกับการออกแบบบรรจุภัณฑ์ให้มีคุณภาพมากขึ้น ทาให้ชีวิตของผู้บริโภคสะดวกสบายขน้ึ สวยงามข้ึน แปลกใหมข่ ้นึ จะเปน็ การสร้างมลู คา่ ใหแ้ ก่ตัวผลิตภัณฑ์และตวั บรษิ ทั และยงั เป็นการผลักดนั แวดวง การออกแบบบรรจุภัณฑข์ องไทยใหก้ า้ วไปขา้ งหน้าทดั เทยี มกับอารยประเทศ ดาวน์โหลดเอกสาร

การจัดการความรู้ เพ่ือสร้างมูลคา่ เพิ่มแกผ่ ลติ ภณั ฑช์ มุ ชน | หนา้ ที่ 11 คุณสมบัติพิเศษของสนิ คา้ คณุ สมบตั พิ เิ ศษของสนิ ค้าเป็นลกั ษณะเด่นที่มคี วามแตกต่างจากผลิตภณั ฑอ์ นื่ ทมี่ ีอยู่ในตลาด ประกอบดว้ ย 1. นาหนักเบา ขนส่งง่าย ไม่แตกหัก เป็นอะไรก็ได้ที่สามารถขนส่งได้ง่าย เพราะแน่นอนการขายสินค้าบนโลกออนไลน์โดยส่วนใหญ่ก็ต้องจัดส่งทางไปรษณีย์หากสินค้ามีน้าหนักมากก็ต้องเสียค่าจัดส่งที่แพงขึ้น ยิ่งถ้าเป็นสินค้าที่แตกหักง่ายก็ต้องมายุ่งยากเรื่องการดูแลระหว่างจัดส่งอีก ไม่ใช่เมื่อสินค้าไปถึงมือลูกค้าแล้วเกิดความเสียหายทันที หรือเสยี หายกต็ อ้ งมาน่ังรับผิดชอบกนั อีก 2. เก็บได้นานไม่เน่าเสียง่าย หากสินค้ามีอายุการเก็บรักษาได้ไม่นาน จะทาให้เกิดปัญหา เนื่องจากหากไม่สามารถระบายของออกได้ทันเวลา จะส่งผลให้เกิดการขาดทุนเพราะของเน่าเสีย ฉะนั้นหัวใจสาคัญของสินค้า คืออายุของสินค้าควรเก็บได้อย่างน้อย 6เดอื นขน้ึ ไป 3. มีกาไรต่อชินเป็นเท่าตัว สินค้าท่ีดีไมจ่ าเป็นต้องขายได้เยอะ แต่ขายได้ 1-2 ช้ินก็สามารถอยู่ได้ ในแต่ล่ะวันก็เพียงพอแล้ว หากสินค้าทข่ี ายเป็นสนิ คา้ ท่ีต้องขายเยอะ แต่ได้กาไรน้อย เมอ่ื ขายไมไ่ ด้ก็ไม่เพยี งพอสาหรบั การเลีย้ งชีพ 4. ต้นทุนที่แข่งขันได้ ลดแล้วก็ยังเหลือกาไร หากสินค้ามีต้นทุนสูง จาเป็นต้องขายในราคาทส่ี งู กว่าทอ้ งตลาด เนื่องจากหากคแู่ ขง่ ลดราคาสนิ คา้ จะไม่สง่ ผลกระทบเพราะสามารถลดราคาสินค้าได้โดยท่ีไม่ขาดทุน แต่หากขายราคาตามท้องตลาด เม่ือต้องการลดราคาสินคา้ จะไมส่ ามารถทาได้ 5. เปน็ สนิ คา้ ที่บรโิ ภคแล้วหมดไป หรือบรโิ ภคถี่ ๆ สนิ ค้าตัวไหนมคี ณุ สมบตั ขิ อ้ นี้จะNever die คือ จะไม่มีวันตายเพราะจะมีลูกค้าประจา ย่ิงทานาน อยู่นานจะมีฐานลูกค้าที่ใหญม่ ากพอ จนไม่ตอ้ งทาการตลาด เพราะมลี ูกคา้ ทีซ่ ือ้ ซา้ หรอื บรโิ ภคตลอดเวลา ดาวน์โหลดเอกสาร

การจดั การความรู้ เพื่อสรา้ งมูลค่าเพิ่มแก่ผลติ ภณั ฑช์ ุมชน | หนา้ ที่ 12 6. มีเอกลักษณ์เฉพาะหาซือยากหรือไม่มีที่ไหนขายนอกจากเรา ย่ิงเป็นของท่ีมีน้อยช้ิน หรือมีสูตรเฉพาะย่ิงดี เพราะลูกค้าจะซ้ือเนื่องจากมีความแตกต่างและที่สาคัญคือต้องเป็นของท่ีดี เพราะถ้าไมม่ ีข้อน้ี ก็จะไม่เกิดการบริโภคซ้าหรือบริโภคถี่ ๆ เหมือนข้อท่ี 5และท่สี าคญั ยิ่งถา้ ไมม่ ีใครคดิ ไม่มใี ครทา สินค้าชนิ้ น้นั ๆ มันจะเพ่ิมมูลคา่ ให้กบั ตวั มนั เอง ดาวนโ์ หลดเอกสาร

การจัดการความรู้ เพ่ือสรา้ งมูลคา่ เพิ่มแกผ่ ลิตภัณฑช์ มุ ชน | หน้าที่ 13 การจัดเก็บผลิตภัณฑ์ ความเข้าใจในรูปแบบการจัดเก็บ จะสามารถออกแบบระบบการจัดการความปลอดภัยในอาหารได้อย่างเหมาะสม รูปแบบของการจัดเก็บวัตถุดิบมีความหลากตามประเภทของวัตถุดบิ แตล่ ะชนิด ซ่งึ มีประเด็นความเส่ยี งในแงค่ วามปลอดภยั ทแี่ ตกต่างกนั 1. Dry Store การจัดเก็บประเภทของแห้ง และจัดเก็บท่ีอุณหภูมิปกติ วัตถุดิบประเภทแป้ง และ ingredient ท่ีเป็นผง โดยท่ัวไปจะมีรูปแบบบรรจุถุง และวางบนพาเลทอุณหภูมิของการเก็บประเภทน้ีควรจะอยู่ท่ี 15 ถึง 25 องศาเซลเซียส ประเทศไทยมีภูมิอากาศแบบร้อนชื้นที่มีอุณหภูมิสูงกว่า 25 องศาเซลเซียส ซ่ึงอาจก่อให้เกิดปัญหาการควบแน่นของไอนา้ ไดไ้ มว่ า่ ที่ผิว ดา้ นนอกหรือด้านใน (ระเหยออก หรอื ควบแนน่ ท่ีผวิ ดา้ นในของถุงบรรจุ) ปัญหาการควบแน่นน้ีอาจเกิดขึ้นจากการที่อุณหภูมิมีความแตกต่างกันในชว่ งวัน ซ่ึงในบางสภาวะความช้ืนสามารถควบแน่นผิวด้านในของถุง จะก่อให้เกิดสภาพท่ีเหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของเชื้อจุลินทรีย์โดยเฉพาะรา เน่ืองจากมีการเพ่ิมข้ึนของwater activity (aw) ในพื้นท่ีที่เก็บวัตถุดิบแห้งน้ี บางคร้ังจะมีวัสดุอื่น ๆ เช่น กระป๋อง บรรจุภัณฑ์ และสารเคมี สาหรับสารเคมีไม่ว่ามีรูปแบบบรรจุเป็นถุง แกลลอน หรือถังขนาดใหญ่ท่ีต้องใช้โฟคลิฟขน จะต้องไม่มีการเก็บสารเคมีทุกรูปแบบปะปนกับอาหาร และบรรจุภัณฑ์ในทุกกรณี 2. Chilled Store แช่เย็น โดยท่วั ไปแนวทางในการกาหนดอณุ หภมู ิแยกกลมุ่ ครา่ วๆดงั นี้ 2.1 บางชนิดต้องเก็บไว้ที่อุณหภูมิ -1 องศาเซลเซียสถึง +2-องศาเซลเซียสกลุ่มนี้เป็นผลิตภัณฑ์ท่ีง่ายต่อการเน่าเสียอย่างรวดเร็ว และมีอายุการเก็บส้ัน เช่น เน้ือสด ดาวน์โหลดเอกสาร

การจดั การความรู้ เพื่อสรา้ งมูลค่าเพิ่มแกผ่ ลิตภณั ฑช์ ุมชน | หนา้ ท่ี 14สตั วป์ ีก และเคร่อื งในสตั ว์ ผลิตภัณฑ์เนอ้ื สด เชน่ ไสก้ รอก และเบอร์เกอร์ ปลาสด หอย และปลารมควนั 2.2 ผลิตภัณฑ์ที่ไม่มีสารกันบูดหรือป้องกันการเส่ือมสลาย การแช่เย็นข้ึนอยู่กับรูปแบบของการเก็บรักษาป้องกันผลิตภัณฑ์ และควรถูกจัดเก็บที่ 0-องศาเซลเซียส ถึง+5-องศาเซลเซียส ตัวอย่างเช่นอาหารที่ทาให้สุกและพาสเจอร์ไรส์แล้ว ได้แก่จาพวกเน้ือผลติ ภณั ฑเ์ นอื้ นมดบิ และนมพาสเจอรไ์ รส์ full fat, solf cheese เปน็ ตน้ 2.3 เป็นผลิตภัณฑ์ที่ต้องการเพิ่มอายุการเก็บ โดยทาการเก็บรักษาไว้ท่ี 0องศาเซลเซียส ถึง +8 องศาเซลเซียส ตัวอย่างเช่น เน้ือท่ีผ่านการหมัก และ ผลิตภัณฑ์เน้อืhard cheeses, processed cheeses ,butter , margarine, fat spreads and fats ผั กและผลไม้ สาหรบั ผกั และผลไม้บางประเภททมี่ ีเนอ้ื อ่อนและผัก เช่น กล้วย สับปะรด ลกู พีชแตงโม runner bean และ พริกไทย อาจจะต้องรักษาไว้ในช่วงอุณหภูมิสูง เพ่ือไม่ให้เกิดการเสยี สภาพจากการแชเ่ ย็น 3. Freezer Store การจัดเก็บแบบแช่แข็ง ในช่วงอุณหภูมิที่กว้างตั้งแต่ -18 องศาเซลเซียส ถึง -40องศาเซลเซียส มักใช้กับวัตถุดิบที่ต้องการจัดเก็บเป็นเวลานาน เช่น butter , fats andoils,เนอ้ื สตั ว,์ ปลา 4. อื่นๆ วัตถุดิบจะถูกขนส่งในรูปแบบที่แตกต่าง กลุ่มที่เป็นพวกของเหลวหรือเป็นผง เช่น นม fats and oils, โกโก้ กลูโคสและมอลต์ และพวกท่ีเป็นของแข็งเช่น นมผงน้าตาลเม็ด ช็อคโกแลตท่ีเป็นอาหารขบเค้ียว และแบบที่เป็นผงละเอียด วัตถุดิบประเภทนี้มักถูกจัดเก็บในไซโลและในถังข้ึนอยู่กับวัตถุดิบแต่ละชนิด ในบางกรณีไซโลอาจจะต้องบุฉนวนเพื่อป้องกันการเส่ือมเสียจากความร้อน เช่น นมต้องเก็บท่ีอุณหภูมิต่ากว่า 5-องศาเซลเซียส อาจต้องทาการหุ้มฉนวนเพื่อให้มีการหมุนเวียนความร้อนของของเหลวและคงรกั ษา ของอุณหภมู ิทเี่ หมาะสม ดาวน์โหลดเอกสาร

การจัดการความรู้ เพ่ือสรา้ งมูลค่าเพิ่มแกผ่ ลิตภณั ฑ์ชมุ ชน | หน้าที่ 15ประเด็นสาคัญของวธิ ีการจดั ซอื ปริมาณการจัดซ้ือที่มีความเหมาะสมท่ีสุด ต้องเป็นปริมาณการสั่งซ้ือท่ีก่อให้เกิดความประหยัดอันเน่ืองมาจากขนาดการส่ังซ้ือ ซึ่งจะไม่ทาให้เกิดปริมาณสินค้าคงคลังในจานวนท่ีมากเกินไป ถ้ากิจการซื้อสินค้าในปริมาณมาก ต้นทุนในการเก็บรักษาสินค้าจะสูงมากขึ้น เนื่องจากส่วนหนึ่งต้องใช้เงินทุนเพ่อื การลงทุนในสินคา้ คงเหลือ เงินทุนหมุนเวียนท่ีจะมีไว้เพ่ือใช้ในการจ่ายค่าใช้จ่ายอื่น ๆ ที่จะทาให้สามารถทาการเก็บรักษาวัสดุให้อยู่ในสภาพพรอ้ มใช้งานได้ทันที ปริมาณสินค้าท่ีมากเกินไปทาให้ต้องมีพ้ืนท่ีในการเก็บรักษาในจานวนที่มากข้ึนในทางตรงกันข้าม ถ้าทาการจัดซ้ือวัสดุในปริมาณที่น้อยเกินไป วัสดุคงคลังมีจานวนน้อยต้องทาการสงั่ ซื้อบ่อยครง้ั ทาให้ต้นทุนการสั่งซือ้ มากขนึ้ ตามจานวนครัง้ การสง่ั ซ้ือ ดาวนโ์ หลดเอกสาร

การจดั การความรู้ เพื่อสร้างมูลคา่ เพิม่ แกผ่ ลติ ภัณฑ์ชมุ ชน | หน้าที่ 16 การจัดจาหนา่ ยสนิ ค้าไปยงั ผบู้ ริโภค ชอ่ งทางการจดั จาหนา่ ย หมายถึง ผู้ผลิตจะผลติ สินค้าคุณภาพดเี พยี งใดก็ตาม สินค้านัน้ คงใชป้ ระโยชน์ไดใ้ นกลุ่มผูบ้ รโิ ภคจานวนน้อยเทา่ น้นั ถา้ ผู้ผลิตไมท่ ราบวา่ สนิ ค้าทผ่ี ลติ ข้ึนมาแล้วจะไปขายทไ่ี หน การจัดจาหนา่ ยหรอื การอธิบายถึง Place เป็นการศึกษาถึงกิจกรรมและสถาบันการตลาดที่สร้างอรรถประโยชน์ทางด้านเวลา สถานท่ีและความเป็นเจ้าของเพอ่ื สามารถตอบสนองความต้องการของผูบ้ ริโภคในตลาดเปา้ หมายได้โครงสรา้ งการจดั จาหนา่ ยสินคา้ แบ่งออก 2 ประเภทคือ 1. ช่องทางการจดั จาหน่ายสนิ คา้ อปุ โภคบรโิ ภค แบ่งเปน็ ช่องทางการจาหน่าย ดงั น้ี - ช่องทางตรงผู้ผลติ ขายสนิ ค้าให้ผ้บู ริโภคคนสดุ ท้าย ไดแ้ ก่ สินค้าเครอ่ื งสาอางมิสทีน อาหารสดลักษณะสินค้าไม่จาเป็นและไม่แสวงหาซ้ือ คือ การประกันชีวิต อาหารเคร่อื งด่ืม - ช่องทาง 1 ระดับ ผู้ผลิตผ่านพ่อค้าปลีกผู้บริโภค เช่น ร้านค้าปลีกขนาดใหญ่ขายสนิ คา้ อาหารสาเรจ็ รปู หรอื รองเท้า เสอื้ ผา้ ล้าสมยั - ช่องทาง 2 ระดับ ผู้ผลิตผ่านพ่อค้าส่งและผู้ค้าปลีก ผู้บริโภคคนสุดท้าย เหมาะสาหรับสนิ ค้าจาพวกสบู่ ยาสีฟัน ผงซกั ฟอก - ช่องทาง 2 ระดับ ผู้ผลิตผ่านตัวแทนจาหน่าย ผู้ค้าส่ง ผู้ค้าปลีก ผู้บริโภคคนสุดท้ายเหมาะสาหรับสินค้าท่ีล้าสมัยเร็ว เช่น กระเป๋า สินค้าเน่าเสียง่าย เช่น ผลไม้ นมสดสินคา้ เปรยี บเทยี บซื้อ เช่น รถยนต์ เคร่ืองปรบั อากาศ - ช่องทาง 3 ระดับ ผู้ผลิตผ่านตัวแทนจาหน่าย ผู้ค้าส่ง ผู้ค้าปลีก ผู้บริโภคคนสดุ ท้าย เหมาะสาหรบั สนิ คา้ ที่ไมเ่ น่าเสียง่าย ไมล่ า้ สมยั ดาวน์โหลดเอกสาร

การจัดการความรู้ เพ่ือสรา้ งมูลค่าเพิม่ แก่ผลิตภัณฑ์ชมุ ชน | หน้าที่ 17 2. ช่องทางการจัดจาหนา่ ยสินค้าอุตสาหกรรม แบง่ เปน็ ชอ่ งทางการจาหน่ายดงั น้ี - ช่องทางตรง ผู้ผลิตขายสินค้าให้กับผู้ใช้ทางอุตสาหกรรม เช่น เครื่องจักรกลเครอ่ื งมอื ต่าง ๆ - ช่องทาง 1 ระดับ ผู้ผลิตผ่านผู้กระจายสินค้าอุตสาหกรรม ผู้ใช้สินค้าทางอตุ สาหกรรม เช่น รา้ นขายวสั ดุก่อสรา้ ง - ช่องทาง 1 ระดับ ผู้ผลิตผ่านตัวแทน ผู้ใช้สินค้าทางอุตสาหกรรม เช่นเครื่องสูบน้า - ช่องทาง 2 ระดับ ผู้ผลิตผ่านตัวแทน ผู้กระจายสินค้าอุตสาหกรรม ผู้ใช้สินค้าทางอุตสาหกรรม เหมาะสาหรับอุปกรณ์ หรือเครื่องมือช่างขนาดเล็ก ๆ ค้อน เลื่อย สว่านตะปู น็อต จุดมุ่งหมายให้สินคา้ เฉพาะอยา่ ง คอื สนิ คา้ เกษตรแบง่ ตามลักษณะคอื 1. สนิ คา้ บรโิ ภค คอื สนิ คา้ ทผี่ ซู้ ื้อมจี ดุ ประสงค์เพอื่ นาไปใชใ้ นการบรโิ ภค 2. สินค้าอุตสาหกรรม คือ สินค้าที่ผู้ซ้ือมีจุดประสงค์ในการนาสินค้าไปเข้ากระบวนการผลิตเพอื่ ให้เกดิ เป็นสินคา้ ใหม่ลักษณะตลาดสนิ ค้าเกษตรและคนกลาง คือ 1. ตลาดท้องถิ่น Local Market เป็นตลาดที่อยู่ใกล้กับแหล่งผลิตหรืออยู่ภายในหมู่บ้านแหง่ หน่งึ 2. ตลาดกลางระดับจังหวัด คือตลาดท่ีอยู่ในเมือง หรือจังหวัดเป็นตลาดท่ีรวบรวมสินค้าจากตลาดท้องถ่นิ หลาย ๆ ตลาดเข้ามายังตลาดกลาง 3. ตลาดกลางปลายทาง คือตลาดกลางช่วงสุดท้ายและมีขนาดใหญ่ท่ีสุด เพราะเป็นตลาดทมี่ ผี ้บู รโิ ภคมาก มกี ารส่งออกไปขายยงั ตลาดตา่ งประเทศ สินค้าการเกษตรทเ่ี กบ็ ไว้ได้นานและไม่เสื่อมเสียหายง่าย เช่น ข้าวเปลือก ฝ่ายปอ หน้าที่สาคัญของการตลาดสินค้าเกษตรกรรม ดาวน์โหลดเอกสาร

การจดั การความรู้ เพ่ือสรา้ งมูลคา่ เพิ่มแก่ผลิตภัณฑช์ มุ ชน | หน้าท่ี 18ปัจจัยทมี่ อี ทิ ธพิ ลตอ่ การกาหนดชอ่ งทางการจดั จาหนา่ ย 1. ระบบข้อมูลข่าวสารเพ่ือการวางแผน จะต้องมีข้อมูลข่าวสารที่ถูกต้อง แม่นยาทันเหตุการณ์ 2. ระบบสอื่ สารในระหว่างตลาดกับแหล่งผลิต 3. คณุ ลักษณะของสินคา้ 4. คณุ ลักษณะของลูกคา้ กลุ่มเป้าหมาย ขนาดของตลาด ทาเลทีต่ ้งั 5. คุณลักษณะของคนกลาง 6. คณุ ลกั ษณะของกจิ การ 7. คณุ ลักษณะของการแขง่ ขัน 8. การครอบคลมุ ตลาด 9. ความเขม้ ของช่องทางการจัดจาหน่าย 10. ขอบเขตความรับผดิ ชอบการตัดสินใจเลือกช่องทางการจัดจาหน่าย เรื่องช่องทางการจัดจาหน่ายนั้น ควรต้องมีหลักในการพิจารณาในการเลือกช่องทางการจัดจาหน่ายน้ัน มีหลักกว้างๆ ที่ควรพิจารณาคือ การมองทุกช่องทางในระยะเริ่มต้นเป็นการมองเพื่อตัดช่องทางที่เข้าไม่ถึงในระยะน้ีท้ิงไปก่อน โดยหลักในการพิจารณาจริง ๆเร่ิมท่ีตัวสินค้าก่อน เพ่ือหาทิศทางของสินค้านั้น ๆ ไม่ว่าจะเป็นความนิยม เป็นสินค้าแปลกหายาก หรือลักษณะใดก็ตามที่สามารถทาให้ท่านสามารถตัดสินใจเลือกช่องทางได้ เม่ือผปู้ ระกอบการไดช้ ่องทางทเี่ ลอื กไวม้ ากพอ แตจ่ ะตรงกลุม่ เปา้ หมายมากปัญหาของชอ่ งทางการจัดจาหนา่ ย กิจการโดยส่วนใหญ่มักจะมีการเลือกใชค้ นกลางในการกระจายสนิ ค้าไปสผู่ บู้ รโิ ภคคนสุดท้าย ดังนั้นกิจการจึงจาเป็นต้องคิดค้นหาวิธีการท่ีจะทาให้สมาชิกภายในช่องทางท่ี ดาวนโ์ หลดเอกสาร

การจัดการความรู้ เพื่อสร้างมูลค่าเพิม่ แกผ่ ลิตภัณฑ์ชุมชน | หน้าท่ี 19เลือกใช้อยู่มีการดาเนินงานท่ีมีความสอดคล้อง เกิดความสมดุลย์ ไม่มีความขัดแย้งเกิดข้ึนหรือพยายามให้เกดิ ขึน้ น้อยทสี่ ดุ นอกจากนกี้ ิจการจะตอ้ งกาหนดแนวทางในการสร้างความร่วมมือให้เกิดข้ึนระหว่างสมาชิกภายในช่องทางท่ีเลือกใช้อยู่ เพราะถ้าสมาชิกในช่องทางมีการร่วมมือกันปฏิบัติงานแล้ว ก็จะทาให้การปฏิบัติงานน้ันบรรลุผลตามเป้าหมายที่ได้กาหนดไว้ ดาวน์โหลดเอกสาร

ดาวนโ์ หลดเอกสาร