Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เอกสารประกอบการสอน เรื่อง การถ่ายทอดทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต

เอกสารประกอบการสอน เรื่อง การถ่ายทอดทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต

Published by MM Milky, 2020-09-06 13:40:37

Description: ebook

Search

Read the Text Version

เอกสารประกอบการเรยี นรู้ วทิ ยาศาสตร์ ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 5 เร่ือง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมของสิง่ มชี วี ติ ตามมาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตวั ชว้ี ดั กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ ตามหลักสูตรแกนกลางศึกษาขั้นพื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) จดั ทาโดย นางสาวพรรณภัทร แสงสว่าง รหัสนักศึกษา 60131113008 นายวัชรวชิ ช์ วัฒนม่ันคง รหัสนักศกึ ษา 60131113048 นางสาวสจุ ริ าภรณ์ ธรรมพศิ ิษฐ์ รหัสนักศกึ ษา 60131113052 หมู่เรียนที 02 สาขาวชิ าวทิ ยาศาตร์ทัว่ ไป คณะครศุ าสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสนุ ันทา

คานา เอกสารประกอบการเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ประกอบด้วยเอกสารประกอบการเรียน 1 เล่ม ดังนี้ เนื้อหาสาระ เรื่อง การถ่ายทอด ลักษณะทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต กล่าวถึง การสืบพันธุ์ของส่ิงมีชีวิต โดยมีเนื้อหา เร่ือง การสืบพันธ์ุแบบอาศัยเพศและไม่อาศัยเพศ และพันธุกรรมของส่ิงมีชีวิต ที่จะมี เน้ือหาสาระย่อยลงไปในเร่ือง กฎของเมนเดล ยีนและโครโมโซม ลักษณะทาง พันธกุ รรมของสิง่ มีชีวิต โดยรวบรวมเน้อื หาสาระให้กระชบั เหมาะสมกับวัยของนักเรียน ช่วยให้อ่านและเข้าใจได้ง่ายรวมท้ังมีภาพประกอบและคาอธิบาย ทาให้นักเรียนได้รับ ความสนกุ สนาน คณะผจู้ ัดทาหวงั อย่างยงิ่ ว่า เอกสารประกอบการเรยี นเลม่ นี้ จะเป็นประโยชนต์ ่อ ครผู สู้ อน นักเรยี นทส่ี นใจในการศึกษาคน้ คว้าเพ่มิ เติมดว้ ยตนเอง คณะผจู้ ดั ทา

คาช้ีแจงในการใช้หนังสอื หนงั สือเลม่ นไี้ ด้ออกแบบมาทาใหน้ ักเรยี นมีความรู้ความเขา้ ใจ ความคิดอา่ น ทางดา้ นวิทยาศาสตรท์ ด่ี ีและชดั เจนมากขึ้นจากเนอ้ื หาหลัก ซ่งึ สามารถแยกอธิบายได้ ดงั นี้ ความรู้เพ่มิ เตมิ หรอื ความรตู้ ่อยอดจากเนื้อหาการเรยี นรู้ QR CODE ท่สี ามารถแสกนแล้วนาไปสคู่ ลปิ วิดโี ออธบิ าย เน้ือหาเพ่มิ เตมิ จากYOUTUBE โจทย์ที่ให้ผ้เู รียนแตล่ ะคนฝกึ การสังเกตและการวเิ คราะห์ ลองทาดู แบบฝกึ หัดทีแ่ ทรกระหว่างเน้ือหาเพอ่ื ทดสอบความรู้ ความเขา้ ใจเนือ้ หาที่เรียนและชว่ ยเน้นประเด็นสาคัญ

สารบัญ 2 3 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธกุ รรมของสิง่ มชี ีวิต 5 แผนผงั มโนทัศน์ การถ่ายทอดลักษณะทางพนั ธกุ รรมของสิ่งมีชีวิต 7 ลองทาดู 9 การสืบพนั ธ์ุของส่ิงมีชวี ิต 12 การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ การสืบพนั ธ์ุแบบไม่อาศัยเพศของพืช 15 การสบื พนั ธุ์แบบไม่อาศยั เพศของสัตว์ 16 การสบื พนั ธ์ุแบบอาศัยเพศ 19 การสบื พันธแ์ุ บบอาศัยเพศของพืช 21 การสบื พนั ธแุ์ บบอาศยั เพศของสตั ว์ 23 พนั ธกุ รรมของสง่ิ มีชวี ติ 27 กฎของเมนเดล 31 ยนี และโครโมโซม ยีน โครโมโซม ลักษณะทางพันธุกรรมของสง่ิ มชี วี ิต ลกั ษณะทางพันธุกรรมของพืช ลักษณะทางพันธุกรรมของสัตว์ แบบฝกึ หดั การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมของมนุษย์ ลองทาดู การแปรผันทางพนั ธุกรรม การแปรผนั แบบไม่ตอ่ เนื่อง การแปรผันทางพันธกุ รรมแบบต่อเนอ่ื ง แบบฝึกหัด แบบฝึกหัดท้ายบทเรียน บรรณานกุ รม



การถ่ายทอดลักษณะทางพันธกุ รรมของสงิ่ มชี วี ิต การสืบพันธุข์ องสง่ิ มชี ีวติ พนั ธกุ รรมของสิ่งมชี วี ิต การสบื พนั ธแ์ุ บบไมอ่ าศยั เพศ กฎของเมนเดล การสืบพนั ธ์ุแบบอาศยั เพศ ลักษณะทางพันธกุ รรม ของสิง่ มีชวี ติ ยีนและโครโมโซม ตวั ชว้ี ดั ว 1.3 ป. 5/1 อธบิ ายลักษณะทางพันธกุ รรมทีม่ กี ารถา่ ยทอดจากพอ่ แมส่ ู่ลูกของพชื สัตว์ และ มนุษย์ ว 1.3 ป. 5/2 แสดงความอยากรู้อยากเหน็ โดยการถามคาถามเกย่ี วกับลกั ษณะท่คี ล้ายคลงึ กันของ ตนเองกับพ่อแม่ จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ • มคี วามร้คู วามเข้าใจเก่ยี วกบั การสืบพันธ์ุเพอ่ื เพิม่ จานวนและการถ่ายทอดลกั ษณะทางพันธุกรรม จากพ่อแม่ • อธบิ ายการถ่ายทอดลกั ษณะทางพนั ธุกรรมของพืช สตั ว์ และมนุษยไ์ ด้ • บรรยายลักษณะของสงิ่ มชี ีวิตทเ่ี กดิ จากการถ่ายทอดลกั ษณะทางพนั ธุกรรมได้ 1 • เปรียบเทยี บลักษณะทคี่ ล้ายคลงึ ของตนเองกบั คนในครอบครัวได้ • อธบิ ายลักษณะของยนี เดน่ -ยนี ด้อยได

การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต ส่ิงมีชีวิตแต่ละชนิดมีลักษณะเฉพาะ และแตกต่างจากสิ่งมีชีวิตชนิดอ่ืน ๆ ถ้าลองสังเกตเพื่อน ๆ ในห้องเรียนจะพบว่า ลักษณะส่วนประกอบโดยรวมจะคล้ายกัน แต่เอกลักษณ์รายบุคคลจะ แตกต่างกันออกไป เช่น บางคนมีจมูกโด่ง บางคนมีหนังตาชั้นเดียว บางคนตาสีน้าตาล บางคน ผิวดา ลกั ษณะต่าง ๆ เหลา่ น้ไี ด้รบั การถ่ายทอดจากพ่อแมแ่ ละสามารถถ่ายทอดจากรุ่นหน่ึงไปยัง รุ่นต่อ ๆ ไปได้เรียกว่า “ลักษณะทางพันธุกรรม” ในปัจจุบันมีการประยุกต์ใช้ความรู้ทางพันธุ ศาสตร์ในด้านต่างๆ มากมาย เช่น การตรวจดีเอ็นเอเพ่ือหาความสัมพันธ์พ่อ-แม่ ลูก ดังน้ันจึง จาเป็นอยา่ งยิ่งท่เี ราจะต้องเรียนรู้เกีย่ วกับพนั ธุกรรมของส่ิงมีชวี ติ ใหม้ ากยงิ่ ขึน้ รปู ที่ 1 : ลูกได้รับการถ่ายทอดลกั ษณะทางพนั ธกุ รรมมาจาก พอ่ - แม่ ทาให้มีลกั ษณะ บางอย่างเหมือนพ่อแม่ 2

ลองทำดู คาช้แี จง ให้นักเรียนดภู าพตอ่ ไปนี้ แล้ววิเคราะห์ลักษณะท่ีเหมอื นกบั พ่อ หรือแม่โดยทาเครือ่ งหมาย  ลงในตารางให้ถกู ต้อง 3

ตารางบันทึกผลการสงั เกตลกั ษณะทางพันธุกรรม ลกั ษณะทางพันธุกรรม คลา้ ยพ่อหรือแม่ สายฟา้ พายุ ตา พอ่ หู แม่ จมกู พอ่ ปาก แม่ พอ่ ลกั ษณะใบหน้า แม่ พอ่ แม่ พอ่ แม่ สรุปผลจากการสังเกต ………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………… …4 ………………………………………………………………………………

การสืบพันธขุ์ องสิ่งมชี ีวิต (Reproduction) การสืบพันธุ์ (Reproduction) หมายถึง ขบวนการในการผลิต หรอื เกิดหนว่ ยส่งิ มชี ีวติ ใหมท่ ี่ เหมือนตนเอง ซงึ่ เปน็ คุณสมบตั ิที่สาคัญทสี่ ดุ ของส่ิงมชี ีวติ ที่จะดารงพันธหุ์ รอื สปีชีส์ (species) ให้คงอยูใ่ นโลกสบื ต่อไป 1.1 การสบื พันธ์ุแบบไม่อาศัยเพศ (Asexual reproduction) การสืบพันธ์ุโดยไมใ่ ช้เซลลส์ บื พนั ธ์ุ แตใ่ ชเ้ ซลลร์ า่ งกายหรอื ส่วนใดสว่ นหนงึ่ ของร่างกายเพื่อ การเพิม่ จานวน ดังน้ัน ลูกท่ีเกิดขน้ึ จงึ มลี ักษณะพนั ธกุ รรมเหมอื นผูใ้ หก้ าเนดิ ไมก่ ลายพนั ธุ์ และ ลูกปรบั ตวั ใหเ้ ข้ากับส่ิงแวดล้อมไดน้ ้อย 1) การสืบพันธ์แุ บบไมอ่ าศัยเพศของพชื เปน็ การสบื พนั ธุข์ องพชื โดยไม่ใช้เซลลส์ ืบพันธุ์เเต่ใชส้ ว่ นประกอบตา่ ง ๆ ของ ต้นเดมิ ได้แก่ การไหล การเเตกหนอ่ การเกดิ ต้นใหมจ่ ากใบ รากหรอื ลาตน้ อีกท้ังมนษุ ย์ ยังสามารถนาส่วน ต่าง ๆ ของพชื เชน่ ราก ลาต้น กงิ่ ใบ มาทาใหเ้ จริญเปน็ ตน้ ใหม่ไดอ้ กี ดว้ ย รปู ท่ี 2 : ตัวอย่างการสืบพันธแ์ุ บบไมอ่ าศัยเพศ 5 ของพชื

2) การสบื พนั ธ์แุ บบไมอ่ าศัยเพศ (Asexual reproduction) การสบื พันธแุ์ บบไมอ่ าศัยเพศ เปน็ การสืบพันธุ์ของสตั วท์ ี่เกดิ ขึน้ โดยไมต่ อ้ งมกี ารผสมกัน ระหวา่ ง อสุจขิ องสตั ว์เพศผแู้ ละไข่ของสตั วเ์ พศเมยี เปน็ การเพ่ิมจานวนลูกหลานที่ไมต่ อ้ งอาศัย เพศเขา้ มาเกีย่ วขอ้ ง และไม่มีการผสมกันของเซลล์สืบพนั ธุ์ เชน่ การงอกใหม่ของดาวทะเล การ แตกหนอ่ ของไฮดรา ไฮดรากาลงั เเตกหน่อให้ ไฮดราตวั ใหมท่ ม่ี าจากการเเตกหนอ่ มี ไฮดราตัวใหม่ ลกั ษณะเหมอื นไฮดราตัวเดมิ (A) ดาวทะเลตวั ใหม่มลี ักษณะ เหมอื นกบั ดาวทะเลตวั เดมิ ดาวทะเลตวั ใหมท่ งั้ 2 ตวั มลี กั ษณะ ทเี่ หมือนกนั ทกุ ประการ (B) 6 รปู ท่ี 3 : ตัวอย่างการสืบพนั ธ์ุแบบไม่อาศัยเพศของสัตว์ (A) การเเตกหนอ่ ของไฮดรา (B) การงอกใหม่ของดาวทะเล

1.2 การสบื พันธุแ์ บบอาศัยเพศ (Sexual reproduction) เป็นการสืบพันธ์ุโดยใช้เซลล์สืบพันธุ์ (sex cell) เป็นกระบวนการสืบพันธุ์โดยอาศัยเซลล์ สืบพันธ์ุ เพศผู้ (อสุจิ) เข้าไปผสมกับเซลล์สืบพันธุ์เพศเมีย (เซลล์ไข่) เรียกว่า การปฏิสนธิ (fertilization) เพอ่ื การเพม่ิ จานวน 1) การสืบพันธแ์ุ บบอาศัยเพศของพชื เม่ือพชื มีการเจริญเตบิ โตเต็มทแี่ ลว้ จะเรม่ิ ออกดอก ซึ่งภายในดอกจะสร้างเซลล์สืบพันธุ์โดย เกสรเพศผู้จะสร้างเรณูที่ภายในทาหน้าท่ีสร้างเซลล์สืบพันธ์ุเพศผู้ได้ ส่วนเกสรเพศเมียจะมีรังไข่ ภายในรังไข่จะมีออวุลซึ่งทาหน้าที่เก็บเซลล์สืบพันธ์ุเพศเมีย เมื่อเกิดการถ่ายเรณูไปตกบนยอด เกสรเพศเมียแล้ว เรณูจะเริ่มงอกหลอดไปตามก้านชูเกสรเพศเมียจนถึงออวุลจากน้ันอสุจิจะเข้า ผสมกับเซลลไ์ ขภ่ ายในออวุล รปู ท่ี 4 : แผนภาพการสืบพนั ธุ์แบบอาศยั เพศของพืชดอก หลังจากเกิดการปฏิสนธิของสเปิร์มกับเซลล์ไข่แล้ว เซลล์ไข่จะเจริญเป็นเอ็มบริโอ ออวุล พัฒนาไปเป็นเมลด็ รังไข่เจริญไปเป็นผล เม่อื มปี จั จยั ในการงอกท่ีเหมาะสมเอ็มบริโอ จะงอกออก จากเมล็ดเเล้วเจริญเติบโตเป็นพืชต้นใหม่ พืชต้นใหม่ที่เกิดจากการสืบพันธ์ุ แบบอาศัยเพศจะมี ลักษณะทีห่ ลากหลายและอาจจะเเตกต่างไปจากพืชต้นเดิม 7

2) การสืบพนั ธ์แุ บบอาศยั เพศของสตั ว์ สัตว์ต่าง ๆ เม่ือถึงวัยที่เจริญเติบโตเป็นตัวเต็มวัยจะมีการสืบพันธ์ุ โดยสัตว์เพศผู้ จะสร้าง อสุจิ ส่วนสัตว์เพศเมยี จะสรา้ งเซลล์ไขแ่ ล้วเกิดการปฏสิ นธพิ ัฒนาไปเป็นเอม็ บริโอ ซง่ึ จะเจริญไป เปน็ ตวั เตม็ วัยตอ่ ไป (A) (B) รูปที่ 5 : ตัวอยา่ งการสบื พนั ธ์ุแบบอาศัยเพศของสตั ว์ (A) การปฏิสนธิภายนอกของสัตว์ (B) การปฏสิ นธิภายในของสตั ว์ การสืบพนั ธ์จุ ะเกดิ วิธีใดกต็ ามจะต้องมกี ารแบง่ เซลล์ เพอ่ื การเพ่มิ จานวน เซลล์ โดยการแบ่งเซลลจ์ ะช่วยให้สดั ส่วนของพน้ื ทผ่ี ิวรอบเซลล์ต่อปรมิ าตร เพมิ่ ขน้ึ ช่วยให้โอกาสแลกเปลีย่ นสารกบั ส่งิ แวดล้อมไดม้ ากขนึ้ ตามไปดว้ ย 8

พนั ธุกรรมของส่ิงมชี ีวิต 2.1 กฎของเมนเดล เกรเกอร์ เมนเดล (Gregor Mendel) นกั บวชชาวออสเตรยี ได้รับการยกย่องว่าเปน็ บิดาแห่งวชิ าพนั ธศุ าสตร์เพราะเป็นผูค้ น้ พบว่าลักษณะท่ีปรากฏในรุ่นลูกเป็นผลมาจาก การถ่ายทอดลกั ษณะทางพันธุกรรมซ่ึงไดจ้ ากพอ่ และแม่โดยผา่ นเซลลส์ บื พันธุ์ เกรเกอร์ เมนเดล เปน็ ผทู้ ่ีทาการศกึ ษาเกี่ยวกับการถา่ ยทอดลกั ษณะทางพนั ธกุ รรม จากการทดลองปลกู ถ่วั ลนั เตา เมนเดลไดข้ อ้ สรุปดงั นี้ 1. ลักษณะต่าง ๆ ของส่ิงมีชีวิตจะถูกควบคุมด้วยยีนและจะถูกถ่ายทอดไปยังรุ่น ถัดไปผ่าน กระบวนการสืบพนั ธุ์ 2. การถ่ายทอดลักษณะแตล่ ะลกั ษณะจะเปน็ อสิ ระต่อกัน 3. ลักษณะที่ปรากฏให้เห็นบ่อยครั้งเรียกว่า ลักษณะเด่นลักษณะท่ีปรากฏให้เห็นน้อยคร้ัง เรียกว่า ลกั ษณะด้อย 4. สดั ส่วนลกั ษณะเด่นต่อลกั ษณะดอ้ ยจะเปน็ 3:1 เสมอ เหตผุ ลที่เมนเดลเลือกใช้ถ่วั ลนั เตาในการทดลอง 1. เป็นพชื ทผ่ี สมตวั เอง 2. เปน็ พชื ทีป่ ลูกง่ายและอายสุ ัน้ 3. เป็นพชื ที่มลี กั ษณะทางพนั ธกุ รรมชัดเจน 9

10 รปู ท่ี 6 : แสดงลักษณะทงั้ 7 ของถว่ั ทีเ่ มนเดลศกึ ษา

รปู ที่ 7 : การผสมพนั ธข์ุ องต้นถั่วดอกสมี ว่ ง กบั ตน้ ถว่ั ดอกสีขาว การทดลองของเมนเดลเปน็ ประโยชนส์ ูงสดุ ตอ่ การศกึ ษาทางวทิ ยาศาสตร์ ซ่ึงตอ่ มา วชิ าท่ี ศกึ ษาเกีย่ วกบั ลกั ษณะทางพนั ธุกรรมและการถ่ายทอดพันธุกรรมของสิง่ มชี ีวิต เรยี กวา่ วชิ าพนั ธุศาสตร์(Genetics) นกั พันธุศาสตรไ์ ดใ้ ชต้ วั อักษรหรอื สัญลกั ษณ์แทนยีนแต่ละยีน โดยแต่ละยีนจะมีรูปแบบ ที่ เป็นลักษณะเด่น ลักษณะด้อยหรือลักษณะท่ีแตกต่างกันเรียกว่า แอลลีล (allele) กาหนดให้ อักษรภาษาอังกฤษตัวพิมพ์ใหญ่แทนลักษณะเด่น และอักษรตัวพิมพ์เล็กแทนลักษณะด้อย เช่น แอลลลี Tแทนลกั ษณะสูงที่เป็นลักษณะเด่น และแอลลลี t แทนลกั ษณะเตี้ยที่เป็นลักษณะด้อย รปู ที่ 8 : แผนภาพการผสมพนั ธขุ์ องถัว่ ต้นสงู พนั ธ์แุ ท้ 11 (TT) กับถ่วั ตน้ เตย้ี พนั ธแุ์ ท้ (tt)

2.2 ยนี และโครโมโซม 1) ยีน (gene) คือ หน่วยพันธุกรรมท่ีอยู่บนโครโมโซมทาหน้าที่ควบคุมลักษณะทาง พันธุกรรมต่าง ๆ ของส่ิงมีชีวิต ยีนที่อยู่ในเซลล์สืบพันธ์ุจะนาข้อมูลเกี่ยวกับลักษณะ ทาง พนั ธุกรรมส่งต่อให้รุน่ ลูก โดยในแต่ละยีนอาจมีรูปแบบได้ต้ังแต่ 1 แบบขึ้นไป เราเรียกรูปแบบน้ี ว่า แอลลีล เช่น ยีนเอ มี 2 แอลลีล คือ A และ a ส่ิงมีชีวิตท่ีเกิดจากการสืบพันธุ์เเบบไม่อาศัย เพศจะได้รับยีนทั้งหมดจากส่ิงมีชีวิตเดิมส่วนส่ิงมีชีวิตที่เกิดจากการสืบพันธ์ุเเบบอาศัยเพศจะ ได้รบั ยีนจากพ่อครง่ึ หนงึ่ เเละเเม่ครึ่งหนงึ่ 12 รูปท่ี 9 : ยนี และโครโมโซม

2) โครโมโซม (chromosome) คือ โครงสรา้ งทีม่ ลี ักษณะเปน็ แทง่ อยู่ในนวิ เคลียสของแต่ ละเซลล์ ในมนุษยม์ โี ครโมโซมอยู่ 46 แทง่ แบ่งออกเปน็ 2 ชนดิ ดังนี้ • โครโมโซมรา่ งกาย เปน็ โครโมโซมท่ีมียีนควบคุมลกั ษณะตา่ ง ๆ ของร่างกาย ไมเ่ กย่ี วขอ้ งกับการ กาหนดเพศ เช่น สผี วิ สีผม สีตา มี 44 แทง่ • โครโมโซมเพศ เปน็ โครโมโซมทีค่ วบคมุ ลักษณะเพศของผหู้ ญงิ และผชู้ าย ซึ่งมีอยู่ 2 แท่งที่ แตกต่างกนั โดยในเพศชายเป็น XY และในเพศหญงิ เป็น XX (A) เพศชายมโี ครโมโซมเพศเป็น XY (B) เพศหญงิ มีโครโมโซมเพศเป็น XX 13 รูปที่ 10 : รูปแบบของโครโซมเพศทีม่ คี วามแตกตา่ งกนั ระหว่างชายเเละหญงิ (A) เพศชาย และ (B) เพศหญงิ

มนุษย์จะถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมจากบรรพบุรุษสู่ลูกหลาน เช่น หนังตา ช้ันเดียว หนังตาสองช้นั มีลกั ยม้ิ ไมม่ ลี กั ย้ิม นว้ิ โปง้ งอน นิ้วโป้งไม่งอน มีติ่งหู ไม่มีติ่งหู ผมหยิก ผมเหยียด ห่อล้ินได้ ห่อล้ินไม่ได้ ลักษณะจมูก สีตา สีผม สีผิว ความสูง หรือหมู่เลือด เป็นต้น ซึ่งลักษณะ บางอยา่ งของลกู อาจเหมือนหรือแตกต่างจากพอ่ แม่ ปู่ ยา่ ตา หรอื ยายก็ได้ ซงึ่ ลกั ษณะทางพันธุกรรมนั้นมีความหลากหลายเเละยงั มีสงิ่ เเวดลอ้ มเขา้ มาเก่ยี วข้องดว้ ย หนังตาบนชนั้ เดียว หนังตาบนสองชน้ั มลี กั ย้ิม ไมม่ ีลกั ยมิ้ รูปท่ี 12 : ตัวอย่างลกั ษณะทส่ี ามารถถา่ ยทอดทางพันธกุ รรม ของมนุษย์ ลักษณะทางพนั ธกุ รรมของตวั เรานอกจากจะเหมอื น หรอื คลา้ ยคลงึ กับพ่อเเม่เเลว้ เรายงั มบี างลักษณะท่เี หมอื น หรือคล้ายคลงึ กบั ลกั ษณะทางพนั ธุกรรมของคุณปู่ คุณยา่ คุณตา คณุ ยายก็ไดค้ ะ่ 14

2.3 ลักษณะทางพนั ธุกรรมของส่งิ มีชวี ติ ลักษณะทางพนั ธกุ รรม หมายถึง ลักษณะท่ไี ด้รบั ถา่ ยทอดมาจากพ่อแม่ ไปสู่ลกู หลานได้ ส่งต่อ จากรนุ่ หนึ่งไปยงั อีกร่นุ หน่ึงเกิดข้ึนกบั ทกุ กลุ่มสงิ่ มีชวี ิต เช่น พชื สตั ว์ และมนษุ ย์ ลกั ษณะต่าง ๆ จะถูกถ่ายทอดไปสูส่ ่งิ มีชีวิตรนุ่ ตอ่ ไป ลักษณะเด่นก็จะถา่ ยทอดออกมาในรุ่นลูกเสมอและ ลักษณะด้วยจะแฝงอยู่ เพอ่ื แสดงออกในรุน่ ต่อไป ลกั ษณะทางพนั ธกุ รรมของพชื และสตั วท์ ่ีปรากฏ ออกมาใหเ้ หน็ นนั้ จะมีความแตกต่างออกไป ลกั ษณะทาง พนั ธุกรรมของพชื เช่นความสงู ของลาตน้ สีดอก การออกผล มากนอ้ ย ลกั ษณะทางพนั ธกุ รรมของสตั วเ์ ชน่ สีขน ลกั ษณะ ขน โครงหนา้ (A) (B) 15 รูปที่ 14 : ตัวอยา่ งลักษณะทางพันธกุ รรมของโพด A ) ขา้ วโพดหวาน B) ขา้ วโพดหวานมว่ ง

ลักษณะทางพันธุกรรมของพืช รปู ที่ 15 : การไหลของสตรอเบอร์รเี ป็นตวั อย่าง พืชสามารถสืบพันธุ์ได้ทั้งเเบบอาศัยเพศ ของพชื ตน้ ใหมท่ ี่เกิดจากการสืบพนั ธ์ุ แบบไมอ่ าศัย เเละไม่อาศัยเพศพืชต้นใหม่ที่เกิดจากการ เพศมลี ักษณะทางพันธกุ รรมท่ีเหมอื นกันทุกประการ สืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศจะมีลักษณะทาง พันธุกรรมท่ีเหมือนกับพืชต้นเดิม เน่ืองจากพืช กบั พืชต้นเดมิ ท่ี เกิดข้ึนมาใหม่ได้รับยีนทั้งหมดมาจากพืชต้น เดิม พืชสืบพันธุ์ด้วยกระบวนการสืบพันธุ์แบบ ไม่อาศัยเพศท่ีเกิดข้ึนตามธรรมชาติ เช่น การ ไหลของสตรอเบอร์รี การเกิดต้นอ่อนที่ใบของ ต้นเศรษฐีพันล้าน รวมทั้งพืชท่ีเกิดจากการช่วย ขยายพันธุ์โดยมนุษย์ด้วยวิธีการต่าง ๆ ได้แก่ การปักชา การติดตา การตอนกิ่ง การทาบก่ิง การโน้มกิ่ง การเสียบยอด เเละการเพาะเล้ียง เนื้อเยื่อ ซ่ึงนิยมทากันในพืชเศรษฐกิจ เช่น ทุเรียน อ้อยหรือมันสาปะหลัง โดยการสืบพันธ์ุ แบบไม่อาศัยเพศนั้นจะได้พืชต้นใหม่ปริมาณ มากซ่ึงใช้เวลาในการขยายพันธุ์ไม่นาน ท้ังยังมี ลักษณะทางพันธุกรรมท่ีดีเหมือนกับพืชต้นเดิม และไม่กลายพันธ์ุไปจากลักษณะของต้นพันธ์ุ เดมิ ต้น หากเกษตรกรตอ้ งการขยายพนั ธ์พุ ชื โดยไม่กลายพนั ธ์ุไปจาก ตลาด พันธเุ์ ดมิ และมีลกั ษณะทางพนั ธกุ รรมทีด่ ีเป็นท่ตี อ้ งการของ ศัตรูพชื เชน่ ผลดก รสชาติดีทนตอ่ สภาพอากาศเเละทนต่อเเมลง เกษตรกรควร ขยายพนั ธุ์พืชด้ว กระบวนการสบื พนั ธ์ุแบบไม่ 16 อาศัยเพศ เชน่ สม้ โอ อ้อย

พืชต้นใหม่ท่ีเกิดจากการสืบพันธ์ุแบบอาศัยเพศจะมีลักษณะทางพันธุกรรมท่ีคล้ายคลึงหรือ เเตกต่างไปจากลักษณะทางพันธุกรรมของพืชต้นพ่อและต้นเเม่ เนื่องจากพืชต้นใหม่น้ัน เจรญิ เติบโตมาจากเมลด็ ซ่ึงเมล็ดเกดิ จากการผสมกันของอสุจิและเซลล์ไข่ทาให้พืชต้นใหม่ได้รับ ยีนคร่ึงหน่ึงจากอสุจิและอีกคร่ึงหน่ึงจากเซลล์ไข่ ทาให้พืชต้นใหม่ที่เกิดมาน้ันจะมีความ หลากหลายของลกั ษณะทางพนั ธกุ รรม นกั ปรบั ปรุงพนั ธพุ์ ืช (plant breeder) สามารถปรบั ปรุง ลกั ษณะทางพนั ธกุ รรมของพชื เศรษฐกิจโดยการนาพืชท่ีมี ลกั ษณะดีมากผสมเกสรกนั ทาใหไ้ ดพ้ ชื ตน้ ใหม่ท่ีลกั ษณะท่ีดี เป็นประโยชนต์ อ่ การคา้ เช่น ขา้ วทนนา้ ท่วม กลว้ ยไมท้ ่ีมีสีสนั สวยงาม (A) (B) 17 รูปท่ี 16 : ความหลากหลายของลกั ษณะทางพนั ธกุ รรมในกลว้ ยไม้ A กล้วยไมเ้ ออ้ื งฟ้ามยุ่ Bกล้วยไมแ้ วนดา้

ลักษณะทางพันธุกรรมของพืช มีความหลากหลายสูงมาก บางคร้ังอาจจะเเยกลักษณะเด่น และลกั ษณะด้อยไดไ้ ม่ชดั เจน เชน่ ในกรณีที่ต้นพ่อพันธ์ุดอกสีแดงผสมกับต้นแม่พันธุ์ดอกสีขาว ได้ ต้นลูกทีม่ ีดอกสชี มพู เรยี กลกั ษณะทางพนั ธุกรรมนั้นว่าลักษณะเด่นไม่สมบูรณ์ คือลักษณะที่ข่มกัน ไม่ลง จึงทาใหต้ ้นลกู ปรากฏท้งั ลกั ษณะของตน้ พอ่ และต้นแม่ “ ขม่ สมบรู ณ์ ” หรอื “ ขม่ ไม่สมบรู ณ์ ” การข่มสมบูรณ์ หมายถงึ เมื่อมแี อลลลี เดน่ เขา้ คู่อยู่กับแอลลลี ด้อย การแสดงออกจะมผี ลมาจาก แอลลีลเด่นเพยี งอย่างเดยี ว เชน่ ต้นไม้ที่มีคู่แอลลลี ของยนี เป็น Rr จะมดี อกสีเเดง R=ลกั ษณะสี เเดงเเละ r = ลกั ษณะสีขาว การข่มไม่สมบรู ณ์ หมายถงึ การเเสดงออกท่เี ป็นผลมาจากแอลลีลเดน่ และแอลลีลดอ้ ยเทา่ ๆ กนั 18 เช่น ต้นไม้ที่มีคแู่ อลลลี ของยีนเป็น Rr จะมสี ีชมพู เนื่องจากแอลลลี R ข่มแอลลลี r ไดไ้ ม่สมบูรณ

ลักษณะทางพนั ธุกรรมของสตั ว์ ลักษณะทางพันธกุ รรมของสตั ว์ทเี่ กิดจากการสบื พนั ธุ์เเบบไม่อาศัยเพศ เช่น การแตกหนอ่ การงอกใหม่ และการเเบ่งตวั ออกเป็น 2 ส่วน สัตวท์ เี่ กิดมาใหม่นัน้ จะไดร้ ับการถ่ายทอดยีน ท้ังหมดจากสัตวต์ วั เดิม จงึ ทาใหม้ ีลักษณะทางพันธุกรรมทกุ ประการเหมอื นกบั สตั ว์ตวั เดมิ สตั วท์ ี่เกิดจากการสืบพนั ธ์แุ บบอาศัยเพศ จะมีลกั ษณะของ พันธกุ รรมที่ คล้ายคลงึ หรือแตกต่างไปจากลกั ษณะของพอ่ แม่ เน่ืองจากสตั วต์ วั ใหมเ่ เต่ละตวั จะมียีนทคี่ วบคุมลกั ษณะ พันธกุ รรมต่าง ๆ มากมาย ซ่ึงถ่ายทอดมาจากทง้ั พ่อเเละเเม่ ผา่ นทางเซลลส์ ืบพนั ธุ์ เป็นผลใหล้ กู มลี กั ษณะบางอยา่ งที่ คล้ายหรอื เเตกต่างจากพ่อและเเม่ รูปที่ 18 : ความหลากหลายของลักษณะทางพนั ธุกรรมของแมวท่ีเกิดจากการสบื พนั ธ์แุ บบ 19 อาศยั เพศ

การสืบพนั ธ์ุแบบอาศยั เพศการสืบพนั ธ์ุแบบไม่อาศยั เพศ จงระบวุ า่ ส่ิงมีชีวิตท่ีเกิดขนึ้ มาใหมเ่ กิดมาจากการสืบพนั ธุเ์ เบบอาศยั แบบฝึกหดั เพศหรอื แบบไมอ่ าศยั เพศโดยทาเคร่อื งหมายลงในช่องใหถ้ กู ตอ้ ง 1 . ไฮดรา การสบื พันธแ์ุ บบอาศยั เพศ การสืบพนั ธุ์แบบไม่อาศัยเพศ 2 . ตน้ เศรษฐพี นั ล้าน การสืบพนั ธแ์ุ บบอาศัยเพศ การสืบพันธแุ์ บบไม่อาศยั เพศ 3 . มะพรา้ ว การสบื พันธ์ุแบบอาศยั เพศ การสืบพันธแ์ุ บบไม่อาศยั เพศ 4 . เปด็ การสบื พันธ์ุแบบอาศยั เพศ การสืบพนั ธแุ์ บบไม่อาศยั เพศ 20

การถา่ ยทอดลักษณะทางพันธุกรรมของมนษุ ย์ แฝดแท้จะมลี กั ษณะหลาย ๆ อยา่ งท่ี การถ่ายทอดลักษณะทางพนั ธุกรรมหรือลกั ษณะ เหมือนกนั เพราะเกดิ จากไขใ่ บ เดยี วกัน ทไี่ ดร้ บั การ ปฏิสนธิจากอสจุ ิ เฉพาะของมนุษย์นน้ั จะถา่ ยทอดไปทางยนี (gene) ท่ี 1 ตวั รวมกัน เป็น 1 ไซโกต แลว้ แยก อยูใ่ นเซลลส์ ืบพนั ธ์ุ ซ่งึ สามารถถ่ายทอดจากร่นุ หนึ่ง เปน็ 2 สว่ น ทาให้ได้ฝาแฝดทมี่ ี ไปสู่อีกร่นุ หนง่ึ ได้ โดยพอ่ แมจ่ ะเปน็ ผ้ถู า่ ยทอดลักษณะ ลกั ษณะทางพนั ธุกรรมเหมือน กนั ทุก ทางพันธุกรรมต่าง ๆ สู่ลูกผา่ นกระบวนการสืบพันธุ์ ประการเรยี กว่า แฝด ร่วมไข่ สว่ น ลกั ษณะทางพันธุกรรมในรุ่นลูกอาจมีลกั ษณะท่คี ลา้ ย แฝดตา่ งไข่จะมีลักษณะ แตกต่างกัน คลงึ หรือต่างจากพอ่ แม่เนอ่ื งจากรูปแบบของยนี และ เพราะเกิดจาก ไข่ 2 ใบ กับอสจุ ิ 2 ตัว การแสดงออกของยีนแตกตา่ งกัน ซง่ึ บางลักษณะของ ท่ีปฏิสนธิ แยกกัน ลูกที่แตกต่างไปจากพ่อแม่นนั้ อาจไดร้ บั การถา่ ยทอด มาจากปู่ ย่า ตา ยาย หรอื บรรพบุรุษก็เปน็ ได้เน่ืองจาก บางลกั ษณะอาจจะไม่แสดงออกให้เห็นในรุ่นลูกแต่ อาจจะไปแสดงใหเ้ ห็นในรนุ่ หลานหรอื รุน่ ตอ่ ไป นอกจากนกี้ ารเเสดงออกของลักษณะต่าง ๆ อาจมี อิทธพิ ลมาจากสิ่งเเวดลอ้ ม ปู่ ย่า ลุง ปา้ พ่อ แม่ ลกู ชาย ลูกสาว ลูกสาว ลูกสาว ลกู ชาย 21 รูปที่ 11 : แผนผงั เเสดงความสัมพันธ์ของคนในครอบครัว

ลองทำดู ให้นกั เรียนวาดใบหน้าของตนลงในกรอบรปู แลว้ อธบิ ายวา่ ตนเอง มลี ักษณะตา่ งๆภายนอกเหมือนกบั พ่อแมห่ รือบรรพบุรุษคนใด หนา้ ตาของนักเรยี นเปน็ อย่างไรแล้วเหมอื นกับใคร ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… 22…………………………………………………………………………………………………………………

การแปรผนั ทางพันธกุ รรม คือ ลกั ษณะทแี่ ตกตา่ งกันของสิ่งมีชีวติ ความแปรผนั ทางพนั ธุกรรม แบง่ ได้ 2 ประเภท คือ 1). การแปรผนั แบบไมต่ อ่ เนือ่ ง เป็นลกั ษณะทางพนั ธกุ รรมทม่ี คี วามแตกตา่ งอย่างชัดเจน และจาแนกชนิดของลกั ษณะทปี่ รากฏให้เป็นหมไู่ ด้งา่ ย เกดิ จากอิทธพิ ลของกรรมพันธุ์เพียงอย่าง เดยี ว ถกู ควบคุมดว้ ยยีนน้อยคไู่ ม่แปรผันโดยอทิ ธิพลของสิง่ แวดล้อมเป็นลักษณะทางคณุ ภาพ เช่น ความสามารถในการหอ่ ลนิ้ การถนัดมือซา้ ย มอื ขวา จานวนช้ันของหนังตา การมลี ักยม้ิ ลักษณะผวิ ปกติ ผวิ เผือก พันธกุ รรมของหมเู่ ลือด การมตี ่งิ หู ไม่มีต่ิงหู ขวัญเวียนขวา ขวญั เวยี น ซา้ ย กระดกู โคนน้วิ หัวแม่มอื กระดกไปมาได้ กระดกไปมาไม่ได ลักษณะทางพันธกุ รรม ปฏบิ ัติได้ ปฏิบัติไม่ได้ ความสามารถในการ หอ่ ล้นิ ได้ ห่อล้นิ ไม่ได้ ห่อลิน้ จานวนชัน้ ของหนงั ตาช้นั เดยี ว ตาสองชน้ั ตา การมลี กั ย้ิม มีลกั ยิ้ม ไม่มลี ักยิม้ การมีต่งิ หู มตี ิ่งหู ไม่มีติ่งหู 23

ลกั ษณะทางพันธุกรรม ปฏิบตั ไิ ด้ ปฏิบัติไมไ่ ด้ เชิงหน้าผาก เชงิ หน้าผาก เชิงหน้าผากเรยี บ กระดูกโคน น้ิวหวั แม่มืองอน นวิ้ หวั แมม่ ือไมง่ อน นว้ิ หวั แม่มอื 2). การแปรผันทางพนั ธกุ รรมแบบตอ่ เนอ่ื ง เป็นลกั ษณะทางพันธกุ รรมที่ไม่สามารถแยก ความแตกตา่ งไดอ้ ยา่ งชดั เจน มีความแตกตา่ งกันเพยี งเลก็ นอ้ ยความแตกต่างของลักษณะจะ ปรากฏเปน็ ลาดบั ต่อเนอ่ื งกัน ทาให้ยากต่อการจดั หมวดหมแู่ ละอัตราสว่ นจะแยกอยา่ งเด็ดขาดได้ ยาก ซงึ่ เกิดจากอทิ ธพิ ลของกรรมพนั ธุ์และส่งิ แวดล้อมรว่ มกัน มักถกู ควบคมุ โดยยนี หลายคู่แปรผนั ไดง้ า่ ยเมอื่ ได้รับอทิ ธพิ ลจากสงิ่ แวดลอ้ ม สามารถวดั ขนาดและปริมาณไดเ้ ช่น สผี ิวปกติของคน ความสูง นา้ หนัก โครงรา่ ง ระดับสติปัญญา ฯลฯ ในสตั ว์และพืช เช่น ขนาดของร่างกาย ผลผลติ ปรมิ าณการให้เน้ือ นม และไข่ ฯลฯ 24 รูปที่ 13 : การแปรผันทางพนั ธกุ รรมแบบต่อเนอ่ื งของสีผวิ

การแปรผันทางพันธุกรรม แบบฝึกหดั จงระบวุ ่าลกั ษณะต่อไปนีเ้ ป็นความแปรผนั ทางพนั ธกุ รรมแบบใด 1น้าหนกั ……………………………………………………………. 2. ส่วนสงู ……………………………………………………………. 3.การมหี รอื ไมม่ ีลักยิ้ม ………………………………………………… 4.สีผิว ……………………………………………………………. 5.ลักษณะของเชิงผมทีห่ นา้ ผาก ………………………………………… 6.การมีหรอื ไมม่ ีติง่ หู …………………………………………………… 7. สีของมา่ นตา …………………………………………………… 8.ตาสองชน้ั …………………………………………………… 25

แบบทดสอบ ท้ายบทเรียน

คาชี้แจง แบบทดสอบท้ายบทเรียน เรอื่ ง การถา่ ยทอดลกั ษณะทางพันธกุ รรม 1แบบทดสอบมที ง้ั หมด10ข้อ 2นักเรียนหน้าตวั เลอื กที่ถกู ต้องที่สุดเพียงขอ้ เดียว 1) ขอ้ ใดอธิบายความหมายของการถ่ายทอดลักษณะทางพนั ธุกรรมได้ถกู ต้องท่สี ุด 27 ก. ลกั ษณะที่แสดงออกให้เห็นเดน่ ชดั ในรนุ่ ลูก ข. ลกั ษณะทแี่ ฝงอยแู่ ละไมแ่ สดงให้เหน็ ในรุน่ ลูก ค. ลกั ษณะที่ถา่ ยทอดจากคนรอบข้างมาสูต่ ัวเรา ง. ลกั ษณะของส่ิงมีชีวติ ท่ีถ่ายทอดจากรุ่นหน่งึ ไปยงั อีกรุ่นหน่ึง 2) ข้อใดมีการสบื พันธุ์ต่างจากพวก ก. ดาวทะเล ข. ไฮดรา ค. จง้ิ จก ง. มกี ารสบื พันธุ์เหมือนกนั ทุกขอ้ 3) ข้อใดเป็นการสบื พนั ธุแ์ บบไม่อาศยั เพศโดยฝีมอื มนุษย์ ก. การไหลของสตอเบอร่ี ข. การแตกหนอ่ ของตน้ ไผ่ ค. การเกิดตน้ ของหัวหอม ง. การปักชาดอกมะลิ 4) สิ่งใดท่ที าให้สง่ิ มีชวี ติ ชนิดเดยี วกันมคี วามแตกต่างกนั ก. สภาพรา่ งกาย ข. การเจรญิ พฒั นาในครรภ์ ค. การปฏสิ นธขิ องอสุจกิ บั ไข่ ง. ความแปรผันทางพนั ธุกรรม

5) สาเหตใุ ดตวั เราจึงมีลักษณะคล้ายพ่อและแม่ ก.ลกั ษณะทางพันธกุ รรมท่ถี า่ ยทอดมาจากพ่อและแม่ ข. การเลี้ยงดูของพอ่ และแม่หลังคลอด ทาให้ลกู มลี กั ษณะคล้ายพ่อและแม่ ค. ความเอาใจใสข่ องพ่อและแมอ่ ยา่ งใกลช้ ดิ ทาให้ลูกมีลกั ษณะคล้ายพ่อและแม่ ง. การดูแลของพ่อขณะแม่ตั้งครรภ์ และความผูกพันของแมก่ บั ลกู เมือ่ อย่ใู นครรภ์ 6) พ่อและแม่ถา่ ยทอดลักษณะทางพันธกุ รรมไปส่ลู ูกไดโ้ ดยผ่านกระบวนการใด ก. การเลย้ี งดู ข. การสืบพนั ธุ์ ค. การแบ่งเซลล์ ง. การเจริญเติบโต 7) นกั วทิ ยาศาสตร์คนใดท่ไี ด้รับการยกย่องวา่ เปน็ บิดาแหง่ พนั ธุศาสตร์ ก. โจฮันน์ เมนเดล ข. กาลิเลโอ กาลิเลอี ค. เซอรไ์ อแซค นวิ ตัน ง. ลนั เตา เมนเดล 8) ลักษณะใดทีร่ ่นุ พ่อ-แมส่ ามารถถา่ ยทอดไปสู่รนุ่ ลูกได้ ก. อารมณ์ดีตลอดเวลา ข. ชอบท่องเทย่ี ว ค. มลี ักยิม้ ง. มแี ผลเป็น 28

9) ข้อใดเปน็ ลักษณะทางพนั ธกุ รรมท่ไี ม่สามารถสังเกตเห็นได้จากภายนอก ก. จิตใจดี ข. ลายมอื ค. เส้นผม ง. หมูเ่ ลือด 10) ความแปรผนั ทางพันธุกรรมหมายถงึ อะไร ก. พฒั นาการของทารกขณะอยใู่ นครรภ์ ข. การเปลีย่ นแปลงของโรคทางพันธุกรรม ค. การไดร้ บั สารเคมขี ณะต้ังครรภข์ องมารดา ง. การเปล่ยี นแปลงของยีนทาให้ส่งิ มชี วี ติ มีลกั ษณะเปล่ียนไป 29

เฉลย แบบฝกึ หัดเรือ่ งการสืบพันธุ์แบบอาศยั เพศการสืบพันธ์ุแบบไมอ่ าศัยเพศ 1) ไฮดรา สบื พนั ธแุ์ บบไมอ่ าศยั เพศ การแตกหน่อ 2) ต้นเศรษฐีพันล้าน สบื พนั ธุ์แบบไมอ่ าศยั เพศ การเกิดต้นอ่อน 3) มะพร้าว สืบพนั ธแุ์ บบอาศัยเพศ 4) เป็ด สืบพนั ธุแ์ บบอาศยั เพศ แบบฝกึ หดั การแปรผันทางพันธุกรรม 1) นา้ หนกั แปรผันตอ่ เนอื่ ง 2) ส่วนสูง แปรผนั ตอ่ เนอื่ ง 3) การมีไมม่ ีลกั ย้ิม แปรผนั ไม่ตอ่ เนอ่ื ง 4) สีผิว แปรผันต่อเนื่อง 5) ลักษณะเชงิ ผมทห่ี น้าผาก แปรผนั ไม่ต่อเนื่อง 6) การมีไมม่ ตี งิ่ หู แปรผนั ไม่ตอ่ เนอ่ื ง 7) สตปิ ญั ญา แปรผันตอ่ เนือ่ ง 8X ตาสองช้นั แปรผนั ไม่ต่อเนอ่ื ง แบบทดสอบท้ายบทเรยี น 1)ง6)ข 2)ค7)ก 3)ง8)ค 4)ง9)ง 5)ก10)ง 30

บรรณานุกรม ปรัชญพงศ์ ยาศร. 2562. หนงั สอื เรยี น รายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์ ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 5 เลม่ 1. กรุงเทพฯ: บรษิ ัทเลิรน์ เอด็ ดเู คช่นั จากัด ซามเี ราะห์ หะยมี ะสาอ. (2563). การถา่ ยทอดลักษณะทางพนั ธุกรรม, สืบคน้ เมอ่ื 4 กนั ยายน 2563. จาก. file:///C:/Users/My%20PC/Downloads/p48370492141.pdf ธดิ ารัตน์ เมฆหมอก. (2563). ลกั ษณะทางพนั ธกุ รรมของมนษุ ย์, สืบค้น เมื่อ 4 กันยายน 2563. จาก. https://drive.google.com/file/d/1oqLP1jCHl- UPvR8gLNxAkZ9zr7kPUgUZ/view ธดิ ารัตน์ เมฆหมอก. (2563). ลกั ษณะทางพันธุกรรมของสตั ว,์ สืบค้นเมอ่ื 4 กนั ยายน 2563. จาก. https://drive.google.com/file/d/1fg0aJebj- VXbMzUk6bcIB0isrrzgn-US/view ธดิ ารัตน์ เมฆหมอก. (2563). ลักษณะทางพันธกุ รรมของพชื , สบื ค้นเมอ่ื 4 กันยายน 2563. จาก. https://drive.google.com/file/d/1cLnpnMrccnt4QRA7uKaDBKcGcViX4 cfL/view ครลู ทั ธพล ดา่ นสกลุ . (2563). ลกั ษณะทางพันธกุ รรม, สืบคน้ เมื่อ 4 กันยายน 2563. จาก. https://www.slideshare.net/TaLattapol/ss- 80362245?fbclid=IwAR2RzETFC15aggBqL9ahoYjQL4cYyzTmWxtxfI U3CXJrlZI-9jtr7NmreDA ครูนเรศ. (2563). การถ่ายทอดลกั ษณะทางพันธุกรรม วชิ าวิทยาศาสตร์ ช้ัน ป.5, สบื คน้ เมอ่ื 4 กันยายน 2563. จาก. http://www.xn-- 12ca5eb0atfbad4eh5ai1ef5bg6a8png.com/index.php?name=news&fil e=readnews&id=529&fbclid=IwAR2RzETFC15aggBqL9ahoYjQL4cYyzT mWxtxfIU3CXJrlZI-9jtr7NmreDA