Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Best Practice

Best Practice

Description: แนวทางการปฏิบัติที่เป็นเลิศ

Keywords: Best Practice

Search

Read the Text Version

แนวทางการพัฒนา สู่การปฏิบัต ิที่เป็นเลิศ best practice งานพัฒนาหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้ นฐานและกระบวนการเรียนรู้ กลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา สำนักงานเขตพื้ นที่การศึกษาประถมศึกษานครนายก

คำนำ ฺBEST PRACTICE สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครนายก ได้จัดทำแนวทางการพัฒนาสู่การปฏิบัติที่เป็นเลิศขึ้น เพื่อให้ สถานศึกษาในสังกัดใช้เป็นกรอบในการพัฒนาการปฏิบัติงาน ต่าง ๆ อาทิ การดำเนินกิจกรรมตามโครงการ กิจกรรมเสริม หลักสูตร กิจกรรมที่ส่งเสริมความเป็นเอกลักษณ์ของ สถานศึกษา กิจกรรมส่งเสริมทักษะและสมรรถนะตามหลักสูตร ตลอดจนรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในชั้นเรียน ที่เป็นการปฏิบัติที่ดีไปสู่การปฏิบัติที่ เป็นเลิศ (Best Practice) ขอขอบคุณผู้มีส่วนเกี่ยวข้องที่ช่วยให้เอกสาร ฉบับนี้ เสร็จสมบูรณ์ด้วยดี รวมถึงสถานศึกษาที่อนุเคราะห์ภาพ ประกอบที่สวยงามที่ช่วยแต่งเติมให้เอกสารมีความน่าสนใจมาก ยิ่งขึ้น คณะผู้จัดทำหวังเป็นอย่างยิ่งว่าเอกสารนี้จะเป็นประโยชน์ ต่อ การพัฒนาและจัดทำรายงานการปฏิบัติที่เป็นเลิศของ สถานศึกษา คณะผู้จัดทำ

1 ความหมายของการปฏิบัติที่เป็นเลิศ Table of PAGE 01 CONTENTS 2 ลักษณะของการปฏิบัติที่ดี/ที่เป็นเลิศ PAGE 02 3 แนวทางการดำเนินงาน PAGE 03 4 ส่วนประกอบของการเขียนรายงาน PAGE 04 5 เกณฑ์การประเมิน PAGE 06 6 บรรณานุกรม PAGE 10

BEST PRACTICE การปฏิบัติที่เป็นเลิศ จากคำกล่าวที่ว่า “ถ้าได้นำความรู้ไปใช้ ความรู้นั้น ความหมายของการปฏิบัติที่เป็นเลิศ ก็ยิ่งเพิ่มคุณค่า เพราะทำให้เกิดการต่อยอดความรู้ ให้แตกแขนงออกไปอย่างกว้างขวาง” หลายครั้งที่ แนวปฏิบัติที่ดี (Best Practice) หมายถึง วิธีปฏิบัติ การเรียนรู้เกิดจากการลองผิดลองถูก เพื่อเลือก หรือขั้นตอนการปฏิบัติที่ทำให้องค์กรหรือหน่วยงานประสบ ที่จริง ทิ้งที่เท็จ จนกระทั่งสรุปได้ว่า ควรทำอะไร ความสำเร็จหรือสู่ความเป็นเลิศตามเป้าหมาย เป็นที่ยอมรับ อย่างไร เมื่อไร จึงจะถูกต้อง รวดเร็วมีประสิทธิภาพ ในวงวิชาการหรือวิชาชีพนั้นๆ มีหลักฐาน ร่องรอยของ ซึ่งการทำให้เกิดการปฏิบัติที่ดี (Best Practice) ความสำเร็จปรากฏชัดเจน โดยมีการสรุปวิธีปฏิบัติหรือ ได้นั้นสามารถเกิดขึ้นได้หลายช่องทาง เช่น ถอดบทเรียนขั้นตอนการปฏิบัติ ความรู้ ประสบการณ์ ข้อค้นพบ กลยุทธ์หรือปัจจัยที่นำไปสู่ความสำเร็จ บันทึกเป็น 1.เกิดจากบุคคล ซึ่งมาจากการเรียนรู้ ประสบการณ์ เอกสารเผยแพร่ให้หน่วยงานภายในหรือภายนอกสามารถ เป้าหมายของหน่วยงานที่คาดหวังความสำเร็จ โดยบุคคล นำไปใช้ประโยชน์ได้ หรือ ผู้ปฏิบัติงานเรียนรู้จากการปฏิบัติ ริเริ่มสร้างสรรค์ แก้ ปัญหาในการทำงาน เสนอแนะวิธีการทำงาน จนเกิดเป็นแนวคิด 1 ข้อสังเกต หรือกระบวนการที่ผ่านการแนะนำ ร่วมคิด ร่วมทำ จากผู้บังคับบัญชา ผู้ร่วมงาน ผู้รับบริการหรือผู้ที่เกี่ยวข้อง อื่นๆ ก่อให้เกิดการสร้างสรรค์วิธีการใหม่ๆ หรือวิธีการที่ดีกว่า 2.เกิดจากปัญหาอุปสรรคในการปฏิบัติที่ไม่เป็นไปตาม เป้าหมาย ความกดดันของผู้รับบริการ ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ภาวะ การแข่งขัน การขับเคลื่อนนโยบายขององค์กร ภาวะข้อจำกัด ของทรัพยากรหรือสถานการณ์วิกฤตต่างๆ ทำให้เกิด การแสวงหาแนวทาง กระบวนการ วิธีการปฏิบัติที่ดีกว่า เพื่อให้ได้ผลสำเร็จที่สูงขึ้น 3.เกิดจากแรงขับเคลื่อนการพัฒนา ค้นหาวิธีการใหม่ สร้างความพีงพอใจของผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง และเพื่อเสริมสร้าง ประสิทธิภาพขององค์กร ไม่ว่าการปฏิบัติที่ดี (Best Practice) จะเกิดจาก สิ่งใด แต่ผลที่เกิดขึ้นนั้นก่อให้เกิดประโยชน์ต่อองค์กร ต่อผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง และต่อการพัฒนาอย่างแน่นอน

ลักษณะของการปฏิบัติที่ดี Best Practice การวินิจฉัยแนวปฏิบัติที่เป็นเลิศ เป็นพลังที่ Directions เกิดจากการร่วมแรง ร่วมใจ ร่วมมือกันยกระดับ ความคิด การปฏิบัติที่แตกต่าง หลากหลาย 1 เป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับภารกิจโดยตรงของ มีการยอมรับความต่าง ความแปลกใหม่ การปฏิบัติ หน่วยงาน ที่ดี ที่เป็นเลิศมีประเด็นในการพิจารณาพอสังเขป ดังนี้ 2 สนองต่อนโยบายการแก้ปัญหา การพัฒนา ประสิทธิภาพของหน่วยงาน Creative 3 ลดขั้นตอน ลดรอบระยะเวลาในการทำงาน ลองทำ แก้ปัญหา พัฒนา กลายเป็นการปฏิบัติที่ดี 4 ลดทรัพยากร ลดค่าใช้จ่าย จากนั้นต่อยอด สร้างสรรค์ สร้างเครือข่ายการพัฒนา 5 มีการนำเทคโนโลยีมาใช้ในการทำงาน นำสู่ การปฏิบัติที่เป็นเลิศ 6 ริเริ่ม สร้างสรรค์วิธีการขึ้นใหม่ หรือประยุกต์ขึ้นใหม่ 7 สามารถเปรียบเทียบวิธีการเก่ากับใหม่ เห็นประโยชน์ที่ แตกต่างของวิธีการใหม่กับเก่าชัดเจน 8 อำนวยความสะดวกในการใช้ 9 วางระบบในการให้บริการหรือดำเนินการโดยมีช่องทาง ที่หลากหลาย 10 ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องมีความพึงพอใจ 11 มีผลสำเร็จ หรือผลลัพธ์ที่ดีขึ้น มากชึ้น 12 สามารถนำไปใช้เป็นมาตรฐานการทำงานต่อไปได้ 13 มีการพัฒนา ปรับปรุง อย่างต่อเนื่อง 2

แนวทางการดำเนินงาน ตามวงจร PDCA การปรับปรุง การวางแผน แก้ไข การตรวจสอบ การปฏิบัติ PDCA คือวงจรบริหารสี่ขั้นตอนที่ประกอบไปด้วย Plan (การวางแผน) Do (ปฏิบัติ) Check (ตรวจสอบ) และ Action (การดำเนินการ) วงจรการบริหารงานคุณภาพใช้ในการควบคุมและพัฒนากระบวนการหรือ ผลิตภัณฑ์อย่างต่อเนื่อง PDCA ทั้งสี่ขั้นตอนเป็นกระบวนการที่สามารถทำซ้ำได้ เพื่อให้องค์กรสามารถบริหาร ความเปลี่ยนแปลงได้อย่างประสบความสำเร็จ โดยที่ขั้นตอนของ PDCA มีดังนี้ (P) Plan – การวางแผน : หมายถึงการตั้งเป้าหมายจากปัญหาหรือโอกาสต่างๆ และสร้างแผนการทำงาน หรือกระบวนการเพื่อทำให้เป้าหมายนี้ประสบความสำเร็จ (D) Do – ปฏิบัติ/การทดสอบ : หมายถึงขั้นตอนการทดสอบ เป็นการลงมือทำและเก็บข้อมูลเพื่อหา จุดอ่อนหรือจุดที่สามารถพัฒนามากขึ้นได้ รวมถึงการแก้ปัญหาเฉพาะหน้าต่างๆ ด้วย (C) Check – การตรวจสอบ : หมายถึงขั้นตอนการตรวจสอบ เป็นขั้นตอนหาช่องทางและวิธีพัฒนา กระบวนการต่างๆให้เร็วขึ้นหรือมีประสิทธิภาพมากขึ้น รวมถึงการจัดลำดับความสำคัญของโอกาสและ อุปกรรคต่างๆ ในกระบวนการ (A) Action – การดำเนินการ/ปรับปรุงแก้ไข : หมายถึงการดำเนินการเพื่อปรับปรุงแก้ไข เพื่อให้ กระบวนการขั้นตอนต่างๆ เร็วขึ้น ดีขึ้น หรือมีค่าใช้จ่ายน้อยกว่าเดิม 3

ส่วนประกอบของรายงาน Best Practice : ส่ วนประกอบ การปฏิบัติที่เป็นเลิศ 1 ชื่อผลงาน ระบุชื่อผลงานที่กระชับ สื่อความให้เข้าใจได้ดี ของดี ต้องบอกต่อ อ่านแล้วรู้ว่าทำอะไร หรืออาจเป็นชื่อที่ดึงดูด ความสนใจ ผลงานการปฏิบัติที่เป็นเลิศ นับเป็นแบบอย่างที่ที่เกิดขึ้นจาก 2 ชื่อเจ้าของผลงาน การทำงานอย่างจริงจัง ดังนั้นจะ ระบุชื่อเจ้าของผลงาน โรงเรียน ศูนย์พัฒนา เป็นประโยชน์อย่างมาก หากเราได้ การศึกษา อำเภอจังหวัด (ในกรณีของจุดเน้น ให้ระบุ เผยแพร่แนวคิด วิธีการที่ดีให้กับ โรงเรียนเป็นเจ้าของผลงาน) ผู้อื่นได้นำไปปฏิบัติเพื่อให้เกิด ประโยชน์ต่อไป 3 ความสอดคล้องกับจุดเน้น สพป.นครนายก ระบุจุดเน้นใดจุดเน้นหนึ่งของ สพป.นครนายก (6 จุดเน้น) ที่สอดคล้องมากที่สุด 4 ที่มาและความสำคัญ ระบุสภาพปัญหา ความต้องการ หรือเหตุผล จำเป็นที่เกิดขึ้นกับผู้เรียน ครู สถานศึกษา หรือชุมชน ซึ่งสอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียน โรงเรียน หรือชุมชน มีการจัดลำดับปัญหาหรือการพัฒนา โดย ใช้แนวคิด หลักการ หรือเป็นการออกแบบนวัตกรรม ใหม่ๆ ที่มีความเป็นไปได้ สามารถปฏิบัติได้จริง ตอบ สนองความต้องการและการแก้ปัญหานั้น ๆ 5 วัตถุประสงค์และเป้าหมายความสำเร็จ ระบุวัตถุประสงค์และเป้าหมาย หรือความต้องการ ที่เป็นรูปธรรม มีความชัดเจน ทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ สอดคล้องกับสภาพปัญหา ความต้องการ แนวทางการพัฒนา ของสถานศึกษา ชุมชน 6 กลุ่มเป้าหมาย ระบุกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับผลหรือได้ประโยชน์หรือได้ รับการพัฒนาจากการดำเนินกิจกรรม 4

ส่วนประกอบของรายงาน Best Practice : ส่ วนประกอบ (ต่อ) การปฏิบัติที่เป็นเลิศ 7 กระบวนการดำเนินงาน ระบุแนวทาง วิธีการ หรือขั้นตอนใน ของดี ต้องบอกต่อ การดำเนินงาน อาจมีรูปแบบในการพัฒนา (Model) ที่ ชัดเจนสอดล้องกับวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่ การร่วมแรง ร่วมใจ ฝ่าฟัน กำหนด โดยแนวทาง วิธีการ หรือ รูปแบบนั้น ๆ อุปสรรคที่เกิดขึ้นในขณะดำเนิน สามารถปฏิบัติได้จริง ผ่านการทดสอบ ทดลองใช้มา งาน อย่างไม่ย่อท้อและสร้างสรรค์ แล้วและเกิดผลสำเร็จสามารถแก้ปัญหาได้อย่างมี ย่อมส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงทั้ง ประสิทธิภาพ หรืออาจเขียนเป็นแผนภูมิแสดง ผู้ลงมือปฏิบัติและผลงานที่นำไปสู่ การดำเนินงานก็ได้ ความภาคภูมิใจ 8 ผลการดำเนินงาน ระบุผลที่เกิดขึ้นว่ามีคุณค่าหรือมีประโยชน์ ต่อการพัฒนาผู้เรียน สถานศึกษาและชุมชนอย่างไร ผลสำเร็จนั้น ๆ สอดคล้องกับวัตถุประสงค์และ เป้าหมายหรือตัวชี้วัดที่กำหนดไว้อย่างครบถ้วน มีหลักฐาน ร่องรอยเป็นที่ประจักษ์ และสามารถ แก้ปัญหาได้ 9 กลุ่มเป้าหมาย ระบุกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับผลหรือได้ประโยชน์หรือ ได้รับการพัฒนาจากการดำเนินกิจกรรม และระบุจำนวน 10 บทเรียนที่ได้รับ ระบุสิ่งที่เป็นข้อสรุป ข้อควรคำนึงถึงใน การดำเนินงานที่ผ่านมา มีการให้ข้อเสนอแนะแนวทางที่ อาจจะนำมาใช้ในการดำเนินงานในอนาคต เพื่อให้ผลการ ดำเนินงานประสบความสำเร็จ มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ไม่ว่า จะเป็นการเตรียมความพร้อม การดำเนินงาน การแก้ปัญหาที่ เกิดขึ้น การประยุกต์ใช้หรือบูรณาการแนวคิด วิธีปฏิบัติ ต่าง ๆ หรืออาจเป็นการต่อยอดการพัฒนาต่อไป รวมถึง แนวคิด วิธีการในการสร้างทีมงาน สร้างขวัญ กำลังใจ สร้างความมุ่งมั่นในการผ่าฟันอุปสรรค หรือ อื่นๆ ที่ สถานศึกษาค้นพบในชณะดำเนินงานที่เป็นประโยชน์ต่อ การพัฒนาต่อไป 11 การเผยแพร่ผลงาน/การปฏิบัติ ระบุร่องรอย หลักฐานการเผยแพร่ชัดเจน เป็นที่ ยอมรับ 12 การอ้างอิง ในกรณีมีการนำหลักการ แนวคิด ทฤษฎีของผู้รู้ นัก วิชาการ มาใช้ในกระบวนการดำเนินงานให้อ้างอิงเอกสาร ตำรา บทความ เว็บไซต์ หรืออื่นๆ ที่ได้นำข้อมูลมาประกอบใน รายงาน 13 ภาคผนวก เช่นการระบุ โครงการ , ภาพถ่ายกิจกรรม , แบบ ประเมินความพึงพอใจ , รางวัล , หลักฐานการเผยแพร่ ฯลฯ โดยสามารถทำเป็น QR Code แยกตามประเด็นได้หากมี ข้อมูลจำนวนมาก 5

happy school 6

happy school 7

happy school 8

happy school 9

บรรณานุกรม สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครนายก. 2564. คู่มือการประเมิน จุดเน้น ปี การศึกษา 2564. : สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา นครนายก. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครนายก. 2564. เครื่องมือการประเมิน จุดเน้น ปี การศึกษา 2564. : สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา นครนายก. http://www.kknpeo.moe.go.th http://www.thaischool1.in.th https://edu.kpru.ac.th happy school 10

คณะผู้จัดทำ ที่ปรึกษา ผู้อำนวยการเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครนายก รองผู้อำนวยการเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา 1.นายเสรี ขามประไพ นครนายก 2.นายอภิชัย ซาซุม ผู้อำนวยการกลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัด การศึกษา 3.นายบัญชา รัตนมาลี คณะทำงาน 1.นายบัญชา รัตนมาลี ผู้อำนวยการกลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัด การศึกษา 2.นางบุญปรานี ขันธวิเชียร ศึกษานิเทศก์ 3.นางชวนชื่น ทัศนา ศึกษานิ เทศก์ 4.นางสาวกนกรัตน์ ศิริมาลกุล ศึกษานิเทศก์ 5.ว่าที่ร้อยตรีพรชัย ช่วยเอียด ศึกษานิเทศก์ ผู้รับผิดชอบ ศึกษานิ เทศก์ นางบุญปรานี ขันธวิเชียร happy school 10

happy school กลุ่มงานพัฒนาหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานและกระบวนการเรียนรู้ กลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครนายก


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook