Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ดวงจันทร์

ดวงจันทร์

Published by Areena Sato-uma, 2021-11-08 20:10:07

Description: ดวงจันทร์

Search

Read the Text Version

ดวงจนั ทร์ (Moon) “ดวงจนั ทร์” อยใู่ นระบบสุริยจกั รวาล จดั เป็ นดาวเคราะห์ท่ีไม่มีแสงสว่างในตนเอง แต่ท่ีมีแสง ส่องสวา่ งอยา่ งที่เราเห็นกนั น้นั เป็นเพราะไดร้ ับแสงสะทอ้ นมาจากดวงอาทิตย์ จึงทาใหเ้ รามองเห็น ดวงจนั ทร์รูปลกั ษณ์ต่างๆเป็ นรูปพระจนั ทร์คร่ึงเส้ียวบา้ ง รูปแบบพระจนั ทร์เส้ียวบา้ ง พระจนั ทร์ เตม็ ดวงบา้ ง ท้งั น้ีข้ึนอยกู่ บั การหมุนของโลกกบั ดวงจนั ทร์ ซ่ึงท้งั โลกและดวงจนั ทร์ตา่ งกห็ มุนรอบ ซ่ึงกนั และกนั ในขณะเดียวกนั ท้งั โลกและดวงจนั ทร์หมุนรอบดวงอาทิตย์ ดงั น้นั หากดวงจนั ทร์หนั ดา้ นท่ีรับแสงจากดวงอาทิตยเ์ ขา้ หาโลก เรากจ็ ะเห็นดวงจนั ทร์มาก ในทางกลบั กนั ถา้ ดวงจนั ทร์ดา้ น ที่ไดร้ ับแสงดวงอาทิตยน์ อ้ ย เรากจ็ ะพลอยไดเ้ ห็นดวงจนั ทร์ตามไปดว้ ย

ดวงจนั ทร์เป็ นบริวารดวงเดียวของโลก มีขนาดเล็กกว่าโลก คือ มีเส้นผ่านศูนยก์ ลาง 3,476 กิโลเมตร โลกของเราใหญ่กวา่ ดวงจนั ทร์ประมาณ 4 เท่า ดวงจนั ทร์มีความหนาแน่น เฉล่ีย 3.34 กรัมตอ่ ลูกบาศกเ์ ซนติเมตร ดวงจนั ทร์เป็นวตั ถุทอ้ งฟ้าท่ีอยใู่ กลโ้ ลกมากท่ีสุด ซ่ึงจากการข้ึนไปสารวจดวงจนั ทร์ พบวา่ บนดวง จนั ทร์ไม่มีน้า ไม่มีบรรยากาศและไม่มีสิ่งมีชีวติ อาศยั อยู่ เชื่อว่าดวงจนั ทร์มีอายุประมาณ 4,600 ลา้ นปี ใกลเ้ คยี งกบั โลก สาหรับกาเนิดของดวงจนั ทร์ยงั มีอยู่หลากหลายขอ้ สมมติฐาน บ้างก็ว่าโลกและดวงจนั ทร์เกิด พร้อมๆ กนั จากกลุ่มกอ้ นก๊าซมหึมาของเนบิวลาตน้ กาเนิดระบบสุริยะ บา้ งก็ว่าดวงจนั ทร์แตกตวั ออกจากโลก ขณะที่โลกเริ่มก่อรูปร่างข้ึนทาให้มีการหมุนรอบตวั เองอย่างรวดเร็ว มวลสาร บางส่วนจึงหลุดออกมาเป็นดวงจนั ทร์ ดวงจนั ทร์เคล่ือนรอบโลก รอบละ 1 เดือน โดยการที่โลกหมุนรอบตวั เองไปทางทิศตะวนั ออก ทา ให้คนบนโลกเห็นดวงจนั ทร์ข้ึนทางทิศตะวนั ออกและตกทางทิศตะวนั ตก เคลื่อนท่ีผา่ นกลุ่มดาว จกั รราศี ในคืนเดียวกนั ท่ีเวลาต่างกนั เราจะเห็นดวงจนั ทร์เคล่ือนที่ปรากฏจากทิศตะวนั ออกไปทาง ทิศตะวนั ตก

ดวงจนั ทร์เปลี่ยนตาแหน่งและเปลี่ยนรูปร่างเร็วมาก กล่าวคือ ในช่วงขา้ งข้ึน รูปร่างจะปรากฏโต ข้ึนจากเป็นเส้ียวเลก็ ที่สุดเมื่อวนั ข้นึ 1 คา่ ถึงโตที่สุดเป็ นรูปวงกลมหรือจนั ทร์เพญ็ เม่ือวนั ข้ึน 15 ค่า ท่ีเป็นเช่นน้ีเพราะในแต่ละวนั ดวงจนั ทร์ดา้ นสว่างที่หันมาทางโลกมีขนาดไม่เท่ากนั สัดส่วน ของดา้ นสว่างท่ีสะท้อนแสงมาทางโลกมีขนาดโตข้ึนสาหรับวนั ขา้ งข้ึน และมีสัดส่วนน้อยลง สาหรับวนั ขา้ งแรม การเปล่ียนตาแหน่งเทียบกบั ดาวฤกษ์แตกต่างไปจากการเปล่ียนตาแหน่งเทียบกับขอบฟ้า ซ่ึง เกิดข้ึนเพราะการหมุนรอบตวั เองของโลก ทาให้เกิดปรากฏการณ์ข้ึน-ตกของวตั ถุทอ้ งฟ้าทุกอยา่ ง ไม่วา่ จะเป็นดวงอาทิตย์ ดวงจนั ทร์ ดาวเคราะห์ ดาวฤกษ์ ข้นึ -ตก เพราะโลกหมุนรอบตวั เองท้งั ส้ิน การเห็นรูปลกั ษณะดวงจนั ทร์จากประเทศท่ีอยใู่ กลเ้ ส้นศูนยส์ ูตร เช่น ประเทศไทย ในวนั ขา้ งแรม มาก ๆ ขณะดวงจนั ทร์เป็นเส้ียว จะเห็นลกั ษณะรูปร่างของปลายเขาควายช้ีข้ึนจากขอบฟ้า หรือใน วนั ขา้ งข้ึนนอ้ ย ๆ ขณะดวงจนั ทร์อยใู่ กลข้ อบฟ้าดา้ นตะวนั ตกจะเห็นรูปร่างของดวงจนั ทร์เป็ นรูป เขาควายหงายเช่นเดียวกนั แตถ่ า้ เราไปดูดวงจนั ทร์หรือถามเพอ่ื นท่ีอยใู่ นประเทศใกลข้ ้วั โลกวา่ เห็น ดวงจนั ทร์ขา้ งแรมแก่ ๆ หรือขา้ งข้ึนน้อย ๆ มีรูปร่างลกั ษณะเช่นใด เราจะพบวา่ ดวงจนั ทร์เส้ียว ปรากฏเป็นแบบเขาควายตะแคงคือปลายเขาหน่ึงช้ีลงไป ท่ีขอบฟ้าส่วนอีกเขาหน่ึงมีปลายเขาช้ีข้ึน ฟ้า สาเหตทุ ี่เป็นเช่นน้ีเพราะขอบฟ้าของคนที่อยใู่ นประเทศไทยแตกตา่ งไปจากขอบฟ้าของคนท่ีอยู่ ใกลข้ ้วั โลก

ณ บริเวณใกลเ้ ส้นศนู ยส์ ูตรของโลก ดา้ นนูนของดวงจนั ทร์ช้ีลงไปท่ีขอบฟ้า ทาให้ปลายแหลมท้งั 2 ขา้ งของดวงจนั ทร์ช้ีข้ึนจากขอบฟ้า หรือที่เรียกวา่ \"เขาควายหงาย\" นนั่ เอง แต่เมื่อดูจากประเทศ ใกลข้ ้วั โลกเหนือ ซ่ึงมีขอบฟ้าอยู่ในแนวเกือบต้งั ฉากกบั ขอบฟ้าของผูท้ ี่อยู่ใกลเ้ ส้นศูนยส์ ูตร จะ พบวา่ \"เขาควายตะแคง\" ปลายแหลมของดวงจนั ทร์ขา้ งหน่ึงช้ีลงไปทางขอบฟ้า ส่วนปลายแหลม อีกขา้ งหน่ึงช้ีข้ึนสูงจากขอบฟ้า นี่คือรูปร่างลกั ษณะที่เห็นแตกต่างกนั เม่ือดูดวงจนั ทร์จากประเทศ ท่ีมีละติจูดต่างกนั เมื่อดูดวงจนั ทร์จากประเทศท่ีมีละติจูดต่างกนั มาก ๆ รูปจนั ทร์เส้ียวท่ีอยู่ใน ภาพวาดของฝรั่งจึงมกั จะเป็นรูปจนั ทร์เส้ียวตะแคงเสมอ นอกจากจะเห็นรูปร่างท่าทางแตกต่างกนั เทียบกบั ขอบฟ้าแลว้ เมื่อเทียบกบั ดาวเคราะห์หรือดาว ฤกษท์ ี่อยไู่ กล ยงั เห็นดวงจนั ทร์อยคู่ นละที่ดว้ ย ท้งั น้ีเพราะดวงจนั ทร์อยใู่ กลโ้ ลกมากเมื่อเทียบกบั ดวงอื่นๆ ดวงจนั ทร์อยหู่ ่างจากโลกเพยี งประมาณ 30 เท่า ของเส้นผา่ นศูนยก์ ลางโลกเท่าน้นั ดวง จนั ทร์ยงั เป็นบริวารท่ีดีของโลก ช่วยทาใหโ้ ลกหมุนอยา่ งราบเรียบ เป็นจกั รกลสาคญั ที่ทาให้เกิดน้า ข้ึน-น้าลงบนโลก เป็นผสู้ ร้างปรากฏการณ์ที่น่าต่ืนเตน้ ประทบั ใจให้แก่คนบนโลกอยา่ งมิรู้ลืม อนั ไดแ้ ก่ สุริยุปราคาเตม็ ดวง การเห็นดวงจนั ทร์เพญ็ ว่าบางส่วนมีสีคล้าทาให้เกิดจินตนาการไปว่ามี กระตา่ ยอยบู่ นดวงจนั ทร์ กเ็ ป็ นความฝันท่ีสร้างจินตนาการที่ดีให้แก่เดก็ ๆ และการเกิดดวงจนั ทร์ ขา้ งข้นึ -ขา้ งแรม นอกจากจะนามาใชเ้ ป็นเครื่องวดั เวลาแลว้ ยงั ทาใหเ้ กิดนิทานเล่าขานต่าง ๆ ในทุก ส่วนของโลก

จะเห็นวา่ ดวงจนั ทร์มีการเปลี่ยนแปลงที่เราสามารถเห็นไดช้ ดั มากที่สุดทางดา้ นกายภาพ เราจะเห็น วา่ ทุกเดือนรูปร่างของดวงจนั ทร์จะเปลี่ยนไปตามระยะต่าง ๆ หรือ phases ซ่ึงเกิดจากการท่ีเรา มองเห็นดา้ นสวา่ งของดวงจนั ทร์ ซ่ึงเป็นแสงสะทอ้ นจากดวงอาทิตยใ์ นมุมท่ีแตกต่างกนั ไป ข้ึนอยู่ กบั วา่ ดวงจนั ทร์อยตู่ รงตาแหน่งใดในความสัมพนั ธก์ บั ดวงอาทิตยแ์ ละโลกในเวลา 29.5 วนั หรือ ประมาณหน่ึงเดือน การโคจรของดวงจนั ทร์รอบโลกจะแบ่งเป็น 8 ระยะดงั น้ีคือ 1. New Moon หมายถึง ระยะท่ีดวงจนั ทร์อยตู่ รงกลางระหวา่ งโลกกบั ดวงอาทิตยใ์ นทิศทาง เดียวกนั โดยดา้ นที่รับแสงอาทิตยห์ นั ไปจากโลก ดวงจนั ทร์จะดูมืดสนิทท้งั ดวง ดงั น้นั เราจึงมองไม่ เห็นดวงจนั ทร์ยกเวน้ เวลาที่เกิดสุริยปุ ราคา ในระยะพระจนั ทร์ใหม่น้ี ดวงจนั ทร์และดวงอาทิตยจ์ ะ ข้ึนและตกประมาณเวลาเดียวกนั 2. Waxing Crescent Moon ขณะที่ดวงจนั ทร์โคจรรอบโลกเราจะเห็นด้านท่ีรับ แสงอาทิตยม์ ากข้ึนตามลาดบั เป็ นพระจนั ทร์ขา้ งข้ึนหรือ Waxing Moon ซ่ึงตอนแรกจะ

เป็ นเส้ียวเล็ก ๆ และค่อย ๆ เพ่ิมขนาดข้ึนตามลาดับ ระยะน้ีเรี ยกว่า พระจันทร์เส้ียว หรื อ Crescent Moon 3. Quarter Moon ประมาณ 1 สปั ดาห์หลงั จาก New Moon ดวงจนั ทร์ จะหมุนรอบ โลกไปประมาณ 1 ใน 4 ของวงโคจร เราจะเห็นคร่ึงหน่ึงของดา้ นที่ไดร้ ับแสงอาทิตยห์ รือ 1 ส่วน 4 ของดวงจนั ทร์ เรียกวา่ ระยะเส้ียวแรก

4. Waxing Gibbous Moon ระหวา่ งสัปดาห์ต่อมาเราจะเห็นดวงจนั ทร์ดา้ นท่ีไดร้ ับ แสงอาทิตยม์ ากข้ึนทุกที ดวงจนั ทร์จะมีลกั ษณะท่ีเรียกวา่ gibbous คือ นูนท้งั 2 ดา้ น คลา้ ย หนอกของววั 5. Full Moon 2 สัปดาห์หลงั จาก ระยะพระจนั ทร์ใหม่ ดวงจนั ทร์จะเดินทางรอบโลกไดค้ ร่ึง ทางและดา้ นที่ไดร้ ับแสงอาทิตยจ์ ะทบั กนั สนิทกบั ดา้ นทีห่ นั มายงั โลก ทาใหเ้ ราเห็นเป็นดวงกลมคือ พระจนั ทร์เตม็ ดวง ในระยะน้ีพระจนั ทร์จะข้ึนตอนท่ีพระอาทิตยต์ ก และจะตกตอนที่พระอาทิตย์ ข้นึ ถา้ ดวงจนั ทร์อยใู่ นระนาบเดียวกนั พอดีระหวา่ งโลกกบั ดวงอาทิตยจ์ ะเกิดเป็นจนั ทรุปราคา

6. Waning Gibbous Moon จากระยะน้ีไปจนกวา่ จะเตม็ ดวงอีกคร้ังหน่ึง ดวงจนั ทร์ ดา้ นท่ีไดร้ ับแสงจากดวงอาทติ ยจ์ ะมีขนาดเลก็ ลงเรื่อย ๆ ช่วง 1 สปั ดาห์หลงั จากพระจนั ทร์เตม็ ดวง น้ีจะเป็นระยะพระจนั ทร์ขา้ งแรม 7. Last Quarter Moon ๓ สัปดาห์ หลงั จากระยะพระจนั ทร์ใหม่ เราจะเห็นคร่ึงหน่ึงของ ดวงจนั ทร์ดา้ นที่ไดร้ ับแสงจากดวงอาทิตยอ์ ีกคร้ังหน่ึง เรียกวา่ ระยะเส้ียวสุดทา้ ย

8. Waning Crescent Moon ระหว่างสัปดาห์ท่ี 4 ขนาดของดวงจนั ทร์จะลดลงจน มองเห็นเป็ นรูปเคียวบาง ๆ ขนาดของดวงจนั ทร์ยงั ข้ึนอยู่กบั ระยะห่างระหว่างดวงจนั ทร์กบั โลก ดว้ ย ในทางดาราศาสตร์และวงการวทิ ยาศาสตร์ คาที่ใชเ้ รียกปรากฏการณ์ท่ีดวงจนั ทร์เขา้ ใกลโ้ ลก มากท่ีสุด คือ lunar perigee (perigee หมายถึงจุดในวงโคจรของวตั ถุในอวกาศที่อยใู่ กล้ โลก) ซ่ึงดวงจนั ทร์จะดูสวา่ งมากและมีขนาดใหญ่กวา่ ปกติ สาหรับคนทวั่ ไปจะรู้จกั ปรากฏการณ์น้ี ในช่ือ Supermoon ซ่ึงเป็ นคาท่ีนกั โหราศาสตร์ช่ือ ริชาร์ด โนลล์ (Richard Nolle) เป็นผบู้ ญั ญตั ิ โดยใหค้ าจากดั ความวา่ เป็น “พระจนั ทร์ใหม่หรือพระจนั ทร์เตม็ ดวงท่ีเกิดข้นึ โดยดวง จนั ทร์อยใู่ กลโ้ ลกมากทสี่ ุด (ประมาณ 90 เปอร์เซ็นต)์ ในวงโคจร (perigee) สรุปคอื โลก ดวง จนั ทร์ และดวงอาทิตยอ์ ยใู่ นระนาบเดียวกนั โดยท่ีดวงจนั ทร์อยใู่ กลโ้ ลกมากท่ีสุด” ในปี หน่ึง ๆ จะ เกิด Supermoon ประมาณ 4 ถึง 6 คร้ัง โดยอยู่ห่างจากโลกเพียง 300,000 กว่า กิโลเมตรเท่าน้นั ปรากฏการณ์ข้างขึ้นข้างแรม (The phase of the moon) ปรากฏการณ์ขา้ งข้ึนข้างแรมของดวงจนั ทร์ คือ ลกั ษณะเวา้ แหว่งของดวงจนั ทร์ท่ีเกิดข้ึนและ เปลี่ยนแปลงไปตลอดท้งั เดือน ซ่ึงนกั ปราชญช์ าวกรีกช่ือ ฮิบปราคสั เป็ นคนแรกท่ีสามารถอธิบาย ถึงเหตุผลของการเกิดปรากฏการณ์เช่นน้ีไดล้ กั ษณะของการเปลี่ยนแปลงรูปร่างของดวงจนั ทร์น้นั เกิดข้ึนจากแสงของดวงอาทิตยท์ ่ีกระทบผวิ ของดวงจนั ทร์แลว้ สะทอ้ นกลบั มายงั ผสู้ ังเกตท่ีอย่บู น โลก ซ่ึงลกั ษณะการเวา้ แหวง่ ของดวงจนั ทร์น้นั เป็นมุมมองท่ีเกิดข้นึ กบั ผสู้ ังเกตบนโลกนนั่ เอง

คาบการโคจรของดวงจันทร์รอบโลกหนึง่ รอบน้ัน มอี ย่สู องแบบคือ 1. synodic period (ไซโนดิค พีเรียด) หรือคาบการโคจรครบ 1 รอบเมื่อเทียบกบั ดาวฤกษ์ บนทอ้ งฟ้า ซ่ึงมีค่าเท่ากบั 27.5 วนั เป็ นคาบเวลาจริง ดงั น้นั ใน 1 รอบทรงกลมทอ้ งฟ้า ดวง จนั ทร์จะเปล่ียนตาแหน่งไป 27 ตาแหน่งหรือเคลื่อนไปทางทิศตะวนั ออกราววนั ละ 13.33 องศา (360 / 27.5) 2. sidereal period (ไซดิเรียล พีเรียด) หรือคาบการโคจรครบ 1 รอบเม่ือเทียบกบั ดวง อาทิตย์ ระหว่างที่ดวงจนั ทร์โคจรไปรอบโลกน้นั โลกเองก็โคจรไปรอบดวงอาทิตยด์ ้วยเช่นกนั เมื่อดวงจนั ทร์โคจรครบรอบ synodic period (27.5วนั ) แลว้ โลกก็มีการเปล่ียนตาแหน่ง ไปดว้ ย ทาให้ดวงอาทิตยเ์ คล่ือนที่ไปจากตาแหน่งเดิมเช่นกนั คือเคล่ือนไปทิศตะวนั ออกอีกราว 27 องศา ( ดวงอาทิตยเ์ ปลี่ยนตาแหน่งไปจากเดิมวนั ละ 1 องศาโดยประมาณ) ทาให้ดวงจนั ทร์ ตอ้ งใช้เวลาเคลื่อนท่ีอีกนิดเพื่อให้ทนั ดวงอาทิตย์ ดงั น้ัน sidereal period จะมากกว่า synodic period อยู่ 2 วนั รวมเป็น 29.5 วนั

จากภาพ ให้ผสู้ ังเกตจินตนาการว่า อย่นู อกโลกหรืออยู่ในอวกาศ แลว้ มองกลบั มาที่โลก และเห็นดวงจนั ทร์โคจรรอบโลก ภาพดวงจนั ทร์ด้านใน (ด้านท่ีอยู่ติดกบั โลก) คือธรรมชาติที่ แทจ้ ริงของดวงจนั ทร์ ดว้ ยเหตุเพราะดวงจนั ทร์ไม่มีแสงสวา่ งในตวั เอง ซ่ึงจะเห็นไดจ้ ากดวงจนั ทร์ จึงมีส่วนสวา่ งคร่ึงดวงคือดา้ นท่ีหนั เขา้ หาดวงอาทิตย์ ในขณะเดียวกนั ดวงจนั ทร์โคจรรอบโลก ส่วนท่ีโดนแสงอาทิตยห์ ันเข้าหาโลกเปลี่ยนไปเมื่อมองจากโลกจึงเห็นรูปร่างของดวงจนั ทร์ เปลี่ยนไป วงนอกเป็นภาพปรากฏของเส้ียวดวงจนั ทร์ ท่ีเห็นจากผสู้ ังเกตบนโลก วงในคือตาแหน่ง ต่าง ๆ ของดวงจนั ทร์เมื่อโคจรรอบโลก 1 รอบโดยใชด้ วงอาทิตยเ์ ป็ นจุดอ้างอิง Sidereal Period ดงั น้ันคาบการเกิดเส้ียวบนดวงจนั ทร์จะอ้างอิงกบั ตาแหน่งของดวงอาทิตย์เป็ นหลกั คือจาก ตาแหน่งดวงจนั ทร์มืด (คนื เดือนมืด) คร้ังแรกจนถึงดวงจนั ทร์มืดอีกคร้ังจะกินเวลา 29.5 วนั ตาม ค่า Sidereal Period นน่ั เอง New Moon หรือ เดือนมืด เป็นตาแหน่งท่ีดวงจนั ทร์อยู่ระหว่างโลกกบั ดวงอาทิตย์ หรือดวง จนั ทร์อยหู่ นา้ ดวงอาทิตยน์ น่ั เอง ในวนั น้ีผูส้ ังเกตที่อยู่ดา้ นมืดหรือดา้ นกลางคืน และดา้ นกลางวนั บนโลกจะมองไม่เห็นดวงจนั ทร์ เราจึงเรียกวา่ คืนเดือนมืด หรือ จนั ทร์ดบั

Full Moon หรือ วนั เพญ็ ตรงกบั ข้ึน 15 ค่า เป็ นตาแหน่งท่ีดวงจนั ทร์อยตู่ รงขา้ มกบั ดวง อาทิตย์ หรือเป็ นตาแหน่งตรงขา้ มกบั New Moon ซ่ึงแสงจากดวงอาทิตยจ์ ะต้งั ฉากกบั ดวง จนั ทร์พอดี ผสู้ ังเกตที่อยดู่ า้ นกลางวนั จะไม่เห็นดวงจนั ทร์บนทอ้ งฟ้าเลย ในขณะผทู้ ี่อยู่ดา้ นมืดจะ เห็นดวงจนั ทร์นานที่สุดคือเริ่มจบั ขอบฟ้าต้งั แต่เวลาประมาณ 6 โมงเยน็ และตกตอน 6 โมงเชา้ ของอีกวนั หน่ึง โดยที่เวลาเท่ียงคืนดวงจนั ทร์จะอยกู่ ลางศรี ษะพอดี ขา้ งข้ึน (Waxing) เป็นช่วงท่ีเกิดข้นึ ระหวา่ งคืนเดือนมืดจนถึงคืนวนั เพญ็ โดยใชด้ า้ นสว่างของ ดวงจนั ทร์เป็นตวั กาหนด แบ่งออกเป็น 15 ส่วน เริ่มจาก ข้ึน 1...2...3... คา่ จนถึง ข้ึน 15 ค่า เราแบ่งขา้ งข้ึนออกเป็น 3 ช่วงคือ 1) ช่วงข้างข้ึนอ่อนๆ ต้งั แต่ ข้ึน 1..2..3 ค่า จนถึง ข้ึน 7 ค่า ภาษาองั กฤษจะใช้คาว่า Waxing Crescent ดวงจนั ทร์จะปรากฏเป็ นเส้ียวสวา่ งบางๆ จนถึงเกือบคร่ึงดวง โดยหนั ดา้ นสวา่ งไปทางดา้ นใกลด้ วงอาทิตยด์ า้ นทิศตะวนั ตก คือเราจะเห็นอย่บู นทอ้ งฟ้าดา้ นทิศตะวนั ตก ตอนหวั คา่ นน่ั เอง 2) จนั ทร์คร่ึงดวงคร้ังแรก ภาษาองั กฤษใช้คาวา่ First Quarterหรือตรงกบั ข้ึน 8 ค่า ดวง จนั ทร์ทามุม 90 องศาระหว่างโลกกบั ดวงอาทิตย์ จะเริ่มเห็นจับขอบฟ้าต้งั แต่เวลาเท่ียงวนั โดยประมาณ และเริ่มมองเห็นไดใ้ นตอนกลางวนั เพราะมีขนาดเส้ียวค่อนขา้ งใหญ่ แลว้ จะตกลบั ฟ้า ในตอนเที่ยงคืนโดยประมาณ 3) ช่วงขา้ งข้ึนแก่ๆ ต้งั แต่ ข้ึน 9 ค่าจนถึงข้ึน 14 ค่า จะเรียกว่า Waxing Gibbous ดวง จนั ทร์จะปรากฏดา้ นสวา่ งคอ่ นขา้ งใหญ่ มองเห็นไดใ้ นตอนกลางวนั ทางขอบฟ้าดา้ นทิศตะวนั ออก ต้งั แต่หลงั เท่ียงวนั ไปแลว้ ขา้ งแรม (Waning) เป็นช่วงท่ีเกิดข้นึ ระหวา่ งคืนวนั เพญ็ จนถึงคืนเดือนมืดอีกคร้ัง โดยใชด้ า้ น มืดของดวงจนั ทร์เป็นตวั กาหนด แลว้ แบ่งออกเป็น 15 ส่วนเช่นกนั เริ่มจาก แรม 1..2...3.. ค่า จนถึงแรม 14-15 คา่ โดยจะเร่ิมเห็นดวงจนั ทร์ ต้งั แต่ตอนหวั ค่าจนถึงเกือบรุ่งเชา้ ดา้ นทิศจะวนั ออก โดยหนั ดา้ นสวา่ งของดวงจนั ทร์ไปทางทศิ ตะวนั ออกหรือดา้ นใกลด้ วงอาทิตย์ จะเป็นช่วงที่อยู่ ตรงขา้ มกบั ขา้ งข้ึนนนั่ เอง เราแบ่งช่วงขา้ งแรมออกเป็น 3 ช่วงเช่นกนั คือ

1) ช่วงขา้ งแรมอ่อนๆ ต้งั แต่ แรม 1 ค่า..2..3..4 จนถึงแรม 7 ค่า จะเรียกว่า Waning Gibbous จะเป็นช่วงที่เราเห็นดา้ นสวา่ งของดวงจนั ทร์คอ่ นขา้ งมาก และเริ่มลดลงเรื่อยๆจนถึง คร่ึงดวง เห็นไดต้ ้งั แตต่ อนหวั ค่าจนถึงเท่ียงคนื ดา้ นทิศตะวนั ออก 2) จนั ทร์คร่ึงดวงคร้ังสุดทา้ ย หรือ Last Quater ตรงกบั แรม 8 ค่า ดวงจนั ทร์ทามุม 90 องศาระหวา่ งโลกกบั ดวงอาทิตยอ์ ีกคร้ัง ซ่ึงจะเร่ิมเห็นจบั ของฟ้าดา้ นทิศตะวนั ออกต้งั แต่เวลาเท่ียง คืนโดยประมาณ และตกลบั ขอบฟ้าในตอนเที่ยงวนั ของอีกวนั หน่ึง ซ่ึงดา้ นมืดและดา้ นสวา่ งของ ดวงจนั ทร์ในคืนแรม 8 ค่าน้ี จะอยสู่ ลบั กนั คอื ตรงขา้ มกบั คนื วนั ข้ึน 8 ค่า 3) ช่วงขา้ งแรมแก่ๆ ต้งั แต่ แรม 9 ค่า ...10..11..จนถึงแรม 14 -15 ค่า จะเรียกว่า Waning Crescent ซ่ึงเราจะเห็นดวงจนั ทร์เป็นเส้ียวต้งั แตค่ ร่ึงดวงจนถึงบางๆอีกคร้ัง แตจ่ ะ เห็นค่อนขา้ งดึกจนถึงใกลร้ ุ่งเชา้ โดยหนั ดา้ นเส้ียวสวา่ งเขา้ หาดวงอาทิตยด์ า้ นทิศตะวนั ออก และตอ่ จากน้ีดวงจนั ทร์กจ็ ะไปอยู่ดา้ นหน้าดวงอาทิตยอ์ ีกคร้ัง คือเร่ิมตน้ New Moon อีกคร้ังแบบน้ี ไปเรื่อยๆเร่ิมวฏั จกั รของขา้ งข้นึ ขา้ งแรมใหม่ ซ่ึงจะกินเวลา 1 รอบ 29.5 วนั เราเรียก 1 รอบดวง จนั ทร์ หรือ 1 เดือน (เม่ือเดือนน้นั เราหมายถึงดวงจนั ทร์ ในขณะที่ภาษาองั กฤษเองก็ใช้คาว่า Month มาจากคาวา่ Moon นน่ั เอง) จะเห็นวา่ ถา้ เราเขา้ ใจลกั ษณะเส้ียวของดวงจนั ทร์รวมถึงทิศและเวลาในการปรากฏของดวงจนั ทร์ บนทอ้ งฟ้าแลว้ เรากจ็ ะทราบไดท้ นั ทีวา่ คืนน้นั ตรงกบั ขา้ งข้นึ หรือขา้ งแรมกี่ค่า ตวั อยา่ งเช่น เราเห็น ดวงจนั ทร์เป็ นเส้ียวสว่างราว 3 ใน 15 ส่วนของดวงจนั ทร์ และอยบู่ นขอบฟ้าดา้ นทิศตะวนั ตก เรากท็ ราบไดท้ นั ทีวา่ เป็นข้ึน 3 คา่ ในทางตรงกนั ขา้ มหากเราเห็นเส้ียวสวา่ ง 3 ใน 15 ส่วนของ ดวงจนั ทร์เช่นกนั แต่อยบู่ นขอบฟ้าดา้ นทิศตะวนั ออก เรากท็ ราบไดท้ นั ทีว่าเป็ นช่วงขา้ งแรม 12 ค่า (พิจารณาดา้ นมืดจะมี 12 ส่วน มาจาก 15 ลบ 3)

ลกั ษณะเส้ียวของดวงจนั ทร์ช่วงขา้ งข้ึนกบั ขา้ งแรมจะเกิดข้ึนคนละดา้ นของดวงจนั ทร์ท่ีหันเขา้ หา โลก ภาพกลาง เป็ นภาพดวงจนั ทร์เตม็ ดวงที่เราเห็นในคืนวนั เพญ็ หรือ ข้ึน 15 ค่า ดา้ นบนจะเป็ นทิศ เหนือของดวงจนั ทร์ ขณะที่ดา้ นขวามือจะเป็นทิศตะวนั ออกและซ้ายมือจะเป็นทิศตะวนั ตก ภาพซ้าย เป็นภาพดวงจนั ทร์ขา้ งข้ึน ประมาณ ข้ึน 7 ค่าเกือบเตม็ ดวง สังเกตว่าดา้ นสวา่ งของดวง จนั ทร์น้นั จะเร่ิมเกิดข้ึนจากทิศตะวนั ออกของดวงจนั ทร์ก่อน แลว้ เพิ่มข้ึนเรื่อยๆจนเตม็ ดวงในวนั ข้นึ 15 ค่า ภาพขวา เป็ นภาพดวงจนั ทร์ขา้ งแรม ประมาณแรม 9-10 ค่า ดวงจนั ทร์สวา่ งคร่ึงดวง แต่ดา้ น สวา่ งจะไปปรากฏซีกตะวนั ตกของดวงจนั ทร์แทน โดยที่ดา้ นมืดของดวงจนั ทร์เริ่มไล่มาจากดา้ น ทิศตะวนั ออกของดวงจนั ทร์ตอนแรม 1 คา่ และเพิ่มข้ึนเร่ือยๆ จนเห็นดา้ นสวา่ งของดวงจนั ทร์เป็น เส้ียวบางดา้ นทิศตะวนั ตกของดวงจนั ทร์ช่วงแรม 13 คา่ ปรากฏการณ์นา้ ขึน้ นา้ ลง เมื่อดาวดวงหน่ึงไดร้ ับอิทธิพลจากแรงโน้มถ่วงจากดาวอีกดวงหน่ึง ดา้ นท่ีอยูใ่ กลจ้ ะไดถ้ ูกดึงดูด มากกวา่ ดา้ นที่อยไู่ กล ความแตกต่างของแรงท้งั ดา้ นจะทาให้เกิดความเครียดภายใน ถา้ เน้ือของดาว ไม่แขง็ แรงพอกอ็ าจจะทาใหด้ าวแตกได้ ถา้ เน้ือของดาวมีความหยนุ่ กจ็ ะทาให้ดาวยดื ออกเป็นทรงรี เราเรียกแรงภายในท่ีแตกตา่ งน้ีวา่ \"แรงไทดลั \" (Tidal force) ยกตวั อยา่ งเช่น แรงท่ีทาให้ดวง จนั ทร์บริวารแตกเป็นวงแหวนของดาวเสาร์ แรงท่ีทาให้ดาวพธุ เป็นทรงรี และแรงที่ทาให้เกิดน้าข้ึน น้าลง ซ่ึงจะอธิบายไดต้ ามกฏแปรผกผนั ยกกาลงั สองของนิวตนั เม่ือวตั ถุอยู่ไกลจากกนั แรงโน้ม ถ่วงระหวา่ งวตั ถุจะลดลง แรงโนม้ ถ่วงของดวงจนั ทร์กระทา ณ ตาบลตา่ งๆ ของโลกแตกต่างกนั โดยสามารถวาดลูกศรแสดง ขนาดและทิศทางของแรงดึงดูด ซ่ึงเกิดจากอิทธิพลความโนม้ ถ่วงของดวงจนั ทร์ ไดด้ งั ภาพ

เม่ือพิจารณาแรงไทดลั ณ จุดใดๆ ของโลก แรงไทดลั ภายในโลกมีขนาดเท่ากบั ความแตกต่าง ระหว่างแรงดึงดูดจากดวงจนั ทร์ที่กระทาต่อจุดน้ันๆ กับแรงดึงดูดจากดวงจนั ทร์ที่กระทาต่อ ศูนยก์ ลางของโลก ซ่ึงสามารถเขียนลูกศรแสดงขนาดและทิศทางของแรงในภาพ เนื่องจากเปลือกโลกเป็นของแขง็ จึงไม่สามารถยดื หยนุ่ ตวั ไปตามแรงไทดลั ซ่ึงเกิดจากแรงโนม้ ถ่วง ของดวงจนั ทร์ได้ แต่ทว่าพ้ืนผิวส่วนใหญ่ของโลกปกคลุมดว้ ยน้าในมหาสมุทร จึงปรับตวั เป็ น รูปทรงรี ตามแรงไทดลั ท่ีเกิดข้ึนดงั รูป ทาให้เกิดปรากฏการณ์ \"น้าข้ึนน้าลง\" (Tides) โดยท่ี ระดบั น้าทะเลจะข้นึ สูงสุดบนดา้ นที่หนั เขา้ หาดวงจนั ทร์และดา้ นตรงขา้ มดวงจนั ทร์ (ตาแหน่ง H และ H’) และระดบั น้าทะเลจะลงต่าสุดบนดา้ นท่ีต้งั ฉากกบั ดวงจนั ทร์ (ตาแหน่ง L และ L’) โลกหมุนรอบตวั เอง 1 รอบ ทาให้ ณ ตาแหน่งหน่ึงๆ บนพ้ืนผวิ โลก จึงเคล่ือนผา่ นบริเวณที่เกิดน้า ข้ึนและน้าลงท้งั สองดา้ น ทาให้เกิดน้าข้นึ น้าลง วนั ละ 2 คร้ัง

เนื่องจากดวงจนั ทร์โคจรรอบโลก ขณะท่ีโลกเองกห็ มุนรอบตวั เอง จึงทาให้เรามองเห็นดวงจนั ทร์ ข้ึนชา้ ไปวนั ละ 50 นาที หน่ึงวนั มีน้าข้ึน 2 คร้ัง ดงั น้นั น้าข้ึนคร้ังต่อไปจะตอ้ งบวกไปอีก 12 ชวั่ โมง 25 นาที เช่น น้าข้ึนคร้ังล่าสุดน้าข้ึนเวลา 24.00 น. น้าข้ึนคร้ังต่อไปประมาณเวลา 12.25 น. และในวนั ถดั ไปน้าจะข้ึนประมาณเวลา 00.50 น. ปรากฏการณ์นา้ เกดิ นา้ ตาย ในวนั ข้ึน 15 ค่า และวนั แรม 15 ค่า ดวงอาทิตย์ โลก และดวงจนั ทร์เรียงตวั อยใู่ นแนวเดียวกนั แรงโนม้ ถ่วงของดวงอาทิตยแ์ ละดวงจนั ทร์เสริมกนั ทาให้แรงไทดลั บนโลกเพ่ิมข้ึน ส่งอิทธิพลให้ ระดบั น้าข้ึนสูงสุดและระดบั น้าลงต่าสุดแตกต่างกนั มากดงั ภาพ เรียกว่า \"น้าเกิด\" (Spring tides) ในวนั ข้ึน 8 คา่ และวนั แรม 8 ค่า ดวงอาทิตย์ โลก และดวงจนั ทร์อยูใ่ นแนวต้งั ฉากกนั แรงโนม้ ถ่วงของดวงอาทิตยแ์ ละดวงจนั ทร์ไม่เสริมกนั ทาให้แรงไทดลั บนโลกลดลง ส่งอิทธิพลให้ระดบั น้าข้ึนสูงสุดและระดบั น้าลงต่าสุดไม่แตกต่างกนั มากดงั ภาพ เรียกวา่ \"น้าตาย\" (Neap tides)

สุริยุปราคา ดวงอาทิตยม์ ีขนาดเส้นผา่ นศูนยก์ ลางยาวกวา่ ดวงจนั ทร์ 400 เท่า แต่อยหู่ ่างจากโลกมากกวา่ ดวง จนั ทร์ 400 เท่า เราจึงมองเห็นดวงอาทิตยแ์ ละดวงจนั ทร์มีขนาดปรากฎเท่ากนั พอดี สุริยปุ ราคา หรือ สุริยคราส เป็นปรากฏการณ์ที่เกิดข้นึ จากดวงจนั ทร์โคจรผ่านหน้าดวงอาทิตย์ เราจึงมองเห็น ดวงอาทิตย์ค่อยๆ แหว่งมากข้ึนจนกระทงั่ มืดมิดหมดดวงและโผล่กลับมาอีกคร้ัง คนในสมยั โบราณเรียกปรากฏการณ์น้ีวา่ “ราหูอมดวงอาทิตย”์ สุริยปุ ราคาเกิดข้นึ เฉพาะในวนั แรม 15 ค่า แตไ่ ม่เกิดข้นึ ทุกเดือน เนื่องจากระนาบท่ีโลกโคจรรอบ ดวงอาทิตยแ์ ละดวงจนั ทร์โคจรรอบโลกไม่ใช่ระนาบเดียวกนั หากตดั กนั เป็นมุม 5 องศา (ดงั ภาพ) ดงั น้นั โอกาสท่ีจะเกิดสุริยปุ ราคาบนพ้นื ผวิ โลก จึงมีเพยี งประมาณปี ละ 1 คร้ัง และเกิดไม่ซ้าที่กนั เนื่องจากเงาของดวงจนั ทร์ท่ีทาบไปบนพ้ืนผิวโลกครอบคลุมพ้ืนท่ีขนาดเล็ก และโลกหมุนรอบ ตวั เองอยา่ งรวดเร็ว เงาของดวงจนั ทร์ ดวงจนั ทร์บงั แสงจากดวงอาทิตย์ ทาใหเ้ กิดเงา 2 ชนิด คอื เงามืด และเงามวั เงามืด (Umbra) เป็นเงาท่ีมืดที่สุด เน่ืองจากโลกบงั ดวงอาทิตยจ์ นหมดส้ิน หากเราเขา้ ไปอยใู่ น เขตเงามืดจะไม่สามารถมองเห็นดวงอาทิตยไ์ ดเ้ ลย

เงามวั (Penumbra) เป็ นเงาท่ีไม่มืดสนิท เน่ืองจากโลกบงั ดวงอาทิตยเ์ พียงดา้ นเดียว หากเรา เขา้ ไปเขตเงามวั จะมองเห็นบางส่วนของดวงอาทิตยโ์ ผล่พน้ ส่วนโคง้ ของโลก เงาท่ีเกิดข้ึนจึงไม่มืด นกั ประเภทของสุริยุปราคา เนื่องจากวงโคจรของดวงจนั ทร์รอบโลกเป็ นรูปวงรี ระนาบวงโคจรของดวงจนั ทร์และระนาบวง โคจรของโลกไม่ซ้อนทบั กนั พอดี จึงทาให้เกิดสุริยปุ ราคาได้ 3 แบบ ดงั น้ี สุริยุปราคาเตม็ ดวง (Total Solar Eclipse) เกิดข้ึนเม่ือผูส้ ังเกตการณ์อยใู่ นเงามืดบน พ้นื ผวิ โลก (A) จะมองเห็นดวงจนั ทร์บงั ดวงอาทิตยไ์ ดม้ ิดดวง สุริยุปราคาบางส่วน (Partial Solar Eclipse) เกิดข้ึนเมื่อผูส้ ังเกตการณ์อยใู่ นเงามวั บน พ้นื ผวิ โลก (B)จะมองเห็นดวงอาทิตยส์ วา่ งเป็นเส้ียว สุริยรุปราคาเกิดข้นึ ในเวลากลางวนั เม่ือดวงจนั ทร์เคลื่อนท่ีผ่านหน้าดวงอาทิตย์ ปรากฏการณ์น้ีจะ เกิดข้ึนนานประมาณ 3 ชว่ั โมง แต่ช่วงเวลาท่ีเกิดสุริยปุ ราคาเตม็ ดวงจะกินเวลาเพียง 2 - 5 นาที เท่าน้นั เนื่องจากเงามืดของดวงจนั ทร์มีขนาดเลก็ มาก และดวงจนั ทร์เคลื่อนที่ผ่านดวงอาทิตยด์ ว้ ย ความเร็ว 1 กิโลเมตรตอ่ วนิ าทีสุริยุปราคาวงแหวน (Annular Solar Eclipse) เน่ืองจาก วงโคจรของดวงจนั ทร์เป็นรูปวงรี บางคร้ังดวงจนั ทร์อยู่ห่างจากโลกมาก จนเงามืดของดวงจนั ทร์

ทอดยาวไม่ถึงผิวโลก (C) ดวงจนั ทร์จึงมีขนาดปรากฏเล็กกวา่ ดวงอาทิตย์ ทาให้ผสู้ ังเกตการณ์ มองเห็นดวงอาทิตยเ์ ป็นรูปวงแหวน สุริยรุปราคาเกิดข้ึนในเวลากลางวนั เมื่อดวงจนั ทร์เคลื่อนที่ผา่ นหนา้ ดวงอาทิตย์ ปรากฏการณ์น้ีจะ เกิดข้นึ นานประมาณ 3 ชว่ั โมง แต่ช่วงเวลาท่ีเกิดสุริยปุ ราคาเตม็ ดวงจะกินเวลาเพียง 2 - 5 นาที เท่าน้นั เน่ืองจากเงามืดของดวงจนั ทร์มีขนาดเลก็ มาก และดวงจนั ทร์เคล่ือนท่ีผา่ นดวงอาทิตยด์ ว้ ย ความเร็ว 1 กิโลเมตรต่อวนิ าที จนั ทรุปราคา จนั ทรุปราคา หรือ จนั ทรคราส เกิดข้ึนจากดวงจนั ทร์โคจรผา่ นเขา้ ไปในเงาของโลก เราจึงมองเห็น ดวงจนั ทร์แหวง่ หายไปในเงามืดแลว้ โผล่กลบั ออกมาอีกคร้ัง คนไทยสมยั โบราณเรียกปรากฎการณ์ น้ีวา่ \"ราหูอมจนั ทร์\" จนั ทรุปราคาจะเกิดข้นึ เฉพาะในคนื วนั เพญ็ 15 ค่า หรือคืนวนั พระจนั ทร์เตม็ ดวง อยา่ งไรกต็ ามปรากฏการณ์จนั ทรุปราคาไม่เกิดข้ึนทุกเดือน เนื่องจากระนาบที่โลกโคจรรอบ ดวงอาทิตยแ์ ละระนาบที่ดวงจนั ทร์โคจรรอบโลกไม่ใช่ระนาบเดียวกนั หากตดั กนั เป็ นมุม 5 องศา ดงั น้นั จึงมีโอกาสท่ีจะเกิดจนั ทรุปราคาเพียงปี ละ 1 - 2 คร้ัง เงาโลก

โลกเป็นดาวเคราะห์ไม่มีแสงสวา่ งในตวั เอง หากแตไ่ ดร้ ับแสงจากดวงอาทิตย์ ดา้ นที่หนั หนา้ เขา้ หา ดวงอาทิตยเ์ ป็นเวลากลางวนั ส่วนดา้ นตรงขา้ มกบั ดวงอาทิตยเ์ ป็นเวลากลางคืน โลกบงั แสงอาทิตย์ ทาให้เกิดเงา 2 ชนิด คือ เงามืด และเงามวั เงามืด (Umbra) เป็นเงาที่มืดที่สุด เนื่องจากโลกบงั ดวงอาทิตยจ์ นหมดสิ้น หากเราเขา้ ไปอย่ใู น เขตเงามืด จะไม่สามารถมองเห็นดวงอาทิตยไ์ ดเ้ ลย เงามวั (Penumbra) เป็ นเงาท่ีไม่มืดสนิท เนื่องจากโลกบงั ดวงอาทิตยเ์ พียงดา้ นเดียว หากเรา เขา้ ไปเขตเงามวั เราจะมองเห็นบางส่วนของดวงอาทิตยโ์ ผล่พน้ ส่วนโคง้ ของโลก เงาที่เกิดข้ึนจึงไม่ มืดนกั จนั ทรุปราคาเกิดข้ึนเฉพาะในคืนที่ดวงจนั ทร์เตม็ ดวง โดยท่ีดวงอาทิตย์ โลก และดวงจนั ทร์เรียงตวั เป็ นเส้นตรง ผูส้ ังเกตการณ์ในซีกโลกกลางคืนสามารถมองเห็นปรากฏการณ์ท้งั หมดได้นาน ประมาณ 3 ชวั่ โมง แต่จะเห็นดวงจนั ทร์อยู่ในเงามืดไดน้ านท่ีสุดไม่เกิด 1 ชว่ั โมง 42 วินาที เนื่องจากเงามืดของโลกมีขนาดเลก็ ดวงจนั ทร์เคล่ือนท่ีผา่ นเงามืดดว้ ยความเร็ว 1 กิโลเมตรต่อ วนิ าที ประเภทของจนั ทรุปราคา เน่ืองจากระนาบวงโคจรของดวงจนั ทร์และระนาบวงโคจรของโลกไม่ซ้อนทบั กนั พอดี จึงทาให้ เกิดจนั ทรุปราคาได้ 3 แบบ ดงั น้ี จนั ทรุปราคาเต็มดวง (Total Eclipse) เกิดข้ึนเม่ือดวงจนั ทร์ท้งั ดวงเขา้ ไปอย่ใู นเงามืดของ โลก

จนั ทรุปราคาบางส่วน (Partial Eclipse) เกิดข้ึนเม่ือบางส่วนของดวงจนั ทร์เคลื่อนท่ีผา่ นเขา้ ไปในเงามืด จนั ทรุปราคาเงามวั (Penumbra Eclipse) เกิดข้ึนเมื่อดวงจนั ทร์โคจรผ่านเขา้ ไปในเงามวั เพียงอย่างเดียว เราจึงมองเห็นดวงจันทร์เต็มดวงมีสีคล้าเนื่องจากความสว่างลดน้อยลง จนั ทรุปราคาเงามวั หาดูไดย้ าก เพราะโดยทว่ั ไปดวงจนั ทร์มกั จะผา่ นเขา้ ไปในเงามืดดว้ ย


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook