Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โก หนอง นา โมเดล

หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โก หนอง นา โมเดล

Description: หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โก หนอง นา โมเดล

Search

Read the Text Version

การประยุกต์ใช้ โคก หนอง นา โมเดล เรยี บเรียงโดย ศูนยถ์ ่ายทอดเทคโนโลยกี ารสหกรณ์ที่ ๑๑ สานกั พฒั นาและถา่ ยทอดเทคโนโลยกี ารสหกรณ์ กรมส่งเสริมสหกรณ์

ก คานา เน่ืองจากสถานการณ์ปัจจุบัน รัฐบาลมีนโยบายส่งเสริมการทาการเกษตรเพื่อการพ่ึงพาตนเอง พัฒนาเศรษฐกิจในทอ้ งถน่ิ และชุมชนอยา่ งยั่งยืน ผ่านการดาเนินโครงการหรอื กิจกรรมต่างๆ เพอื่ สรา้ งงาน สร้างอาชีพ ให้เกิดขึ้นในท้องถิ่น มีความมั่นคงทางอาหาร และการประกอบอาชีพ ด้วยการดาเนินตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง โดยน้อมนาศาสตร์พระราชาของ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร สู่การประยุกต์ใช้ท่ีดินตามศาสตร์พระราชา “โคก หนอง นา โมเดล” โดย นายวิวัฒน์ ศัลยกาธร ประธานสถาบันเศรษฐกิจพอเพียงและมูลนิธิกสิกรรมธรรมชาติมาบเอื้อง และ“อ.โก้” ผศ.พิเชฐ โสวิทยสกุล คณบดีคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ร่วมกันออกแบบ “โคก หนอง นา โมเดล” เพ่ือให้เป็น การจัดการพื้นท่ีซึ่งเหมาะกับพ้ืนที่การเกษตร โดยผสมผสานเกษตรทฤษฎีใหม่ เข้ากับภูมิปัญญาพื้นบ้านที่อยู่อย่างสอดคล้องกับธรรมชาติในพ้ืนที่นั้นๆ เป็นการที่ให้ธรรมชาติจัดการตัวมันเองโดยมี มนุษย์เป็นส่วนส่งเสริมให้สาเร็จเร็วขึ้นอย่างเป็นระบบ เกิดประโยชน์ในด้านการเกษตรด้วยหลักกสิกรรมธรรมชาติ อยา่ งย่ังยนื จากเหตุผลท่ีกล่าวมานั้น ทาให้เห็นความสาคัญของการทาการเกษตร ด้วยการนาแนวทาง “โคก หนอง นา โมเดล” ไปประยุกต์ใช้ กับผู้สนใจเปน็ แนวทางปฏบิ ตั อิ นั จะเปน็ ประโยชน์ต่อไป ศนู ยถ์ ่ายทอดเทคโนโลยีการสหกรณ์ที่ ๑๑ จงั หวดั พษิ ณโุ ลก สานกั พฒั นาและถ่ายทอดเทคโนโลยกี ารสหกรณ์ กรมส่งเสริมสหกรณ์ สิงหาคม 2563

สารบญั ข เร่อื ง หนา้ คานา ก สารบญั ข บทนา ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง ๑ ทฤษฏีบันได 9 ขนั้ สูค่ วามพอเพียง 2 โคก หนอง นา โมเดล 3-6 ปา่ 3 อย่าง ประโยชน์ 4 อย่าง , การปลกู ปา่ 7 ระดับ 7 หม่ ดิน แห้งชาม นา้ ชาม 8 ตวั แปรท่ีต้องนามาใชใ้ นการออกแบบ “โคก หนอง นา โมเดล” 9 ขอ้ มลู เบ้ืองตน้ ของการออกแบบ 10 วธิ ีการออกแบบ “โคก หนอง นา โมเดล” 11 การคานวณปริมาณนา้ 12 ตวั อยา่ งการออกแบบพนื้ ที่ทากิน 13-14 แบบจาลองการจดั การพืน้ ที่กสิกรรม 15-16 พน้ื ท่ตี น้ แบบสาหรับการดูงาน 17 บรรณานกุ รม 18

๑ บทนา การประยกุ ต์ใช้ทดี่ นิ ตามศาสตรพ์ ระราชา “โคก หนอง นา โมเดล” เริ่มต้นจาก “อ.ยักษ์” นายวิวัฒน์ ศัลยกาธร ประธานสถาบันเศรษฐกิจพอเพียงและมูลนิธิกสิกรรม ธรรมชาตมิ าบเอื้อง และ “อ.โก้” ผศ.พเิ ชฐ โสวทิ ยสกลุ คณบดคี ณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอม เกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ร่วมกันออกแบบ “โคก หนอง นา โมเดล” เพ่ือให้เป็น การจัดการพ้ืนท่ีซึ่งเหมาะกับ พื้นท่ีการเกษตร โดยผสมผสานเกษตรทฤษฎีใหม่เข้ากับภูมิปัญญาพ้ืนบ้านที่อยู่อย่างสอดคล้องกับธรรมชาติในพื้นท่ี นั้นๆ เป็นการทใี่ หธ้ รรมชาตจิ ัดการตวั มนั เองโดยมี มนุษยเ์ ปน็ สว่ นสง่ เสริมใหม้ ันสาเร็จเร็วขนึ้ อยา่ งเปน็ ระบบ การนาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งมาใช้

๒ การพึง่ ตนเอง แบ่งปัน และยัง่ ยืน ร่วมกับทฤษฏีบันได 9 ข้ันสูค่ วามพอเพยี ง 1. เศรษฐกจิ พอเพียงขัน้ พน้ื ฐาน ด้วยการขุดหนอง ทาโคก ปลูกป่า 3 อย่าง ประโยชน์ 4 อยา่ ง ทาการเกษตรแบบกสิกรรมธรรมชาติ 2. เศรษฐกิจพอเพยี งข้นั กา้ วหน้า ด้วยการสร้างสังคม ทาบุญ ทาทานก่อนการขาย 3. เศรษฐกจิ พอเพยี งขั้นยั่งยืน ดว้ ยการมเี ครือข่ายท่ีมาจากศรัทธาร่วม 5 ภาคี ไดแ้ ก่ รฐั , วชิ าการ, ประชาชน, เอกชน, ประชาสังคมและสอื่

๓ “โคก หนอง นา โมเดล” ศาสตร์พระราชา ด้านการจัดการดนิ น้า ป่า ตามแนวทางพระราชดารแิ ละปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง เป็น หลักคิดในการทางาน การจดั การออกแบบพื้นทเ่ี พ่ือทาการเกษตรอย่างยง่ั ยนื โดยเนน้ ที่แหล่งนา้ เพอ่ื ใช้ในการเกษตร มีการจดั การเพื่อให้เกิดสมดลุ ของระบบนิเวศ ตลอดจนใชพ้ ื้นท่ใี ห้เกดิ ประสทิ ธิภาพสงู สุด เป็นการออกแบบพื้นทเี่ พ่ือการจัดการน้าตามภมู สิ งั คม : ความแตกต่างของแต่ละพน้ื ที่ ท้งั ทางด้านภมู ิศาสตร์ สงิ่ แวดล้อม ชีวภาพ วถี ชี ีวติ ประเพณี ขนบธรรมเนียมและวัฒนธรรม โดยยึดหลกั การสร้าง micro climate หรอื การ สรา้ งระบบนิเวศย่อยๆ ในพืน้ ท่สี ว่ นบคุ คล พืน้ ทีช่ มุ ชน พน้ื ที่สาธารณะ ตามความต้องการของบุคคลและชุมชนในพืน้ ท่ี ดว้ ยการร่วมมือลงแรง ลงแขก ลงขนั กลายเปน็ ความมน่ั คงของชมุ ชน เปน็ สังคมในอนาคต “โคกหนองนาโมเดล” เป็น “หลุมขนมครกเก็บกักน้า” เหมาะสาหรับสภาพพื้นที่ลุ่ม พ้ืนที่ท่ีจะออกแบบ จะเน้นการเก็บน้าเพื่อใช้สอยจากน้าฝนท่ีตกในพื้นที่เป็นหลัก และถ้ามีน้าจากระบบชลประทานหรือแหล่งน้า ตามธรรมชาติ (แม่น้า ลาคลอง) เป็นส่วนเสริม จะย่ิงทาให้พื้นที่มีหลักประกันด้านน้าใช้ ส่วนพ้ืนที่ที่ไม่มีส่วนเสริม ดังกล่าวการวางแผนเพ่ือบริหารการใช้น้าอย่างย่ังยืนจึงเป็นสิ่งท่ีต้องคานึงถึง โดย โคกหนองนาโมเดล จะแบ่งพื้นท่ี ออกเปน็ 3 ส่วนคอื โคก หนอง และ นา

๔ โคก เกดิ จากการนาดินทขี่ ุดเพอื่ ทาบอ่ นา้ หรือหนองน้ามาทาเป็นเนนิ สูงจนเปน็ โคก บนโคกใหป้ ลูกป่า 3 อยา่ ง ประโยชน์ 4 อยา่ ง โดยรากไม้ท่ปี ลกู จะสานกันหลายระดับ ทาหนา้ ทเ่ี ก็บกกั น้าไว้ในดนิ ควรปลกู แฝกร่วมด้วยเพื่อช่วย เกบ็ นา้ และป้องกนั การพังทลายของดิน รากไม้ต่างๆจะชว่ ย ปา่ 3 อยา่ ง (ไม้กิน ไม้ใชส้ อย ไม้สรา้ ง ซบั นา้ ไวแ้ บบ “หลุมขนมครกใตด้ นิ ” เม่ือตน้ ไมเ้ จริญเตบิ โต บ้านเรือน) โดยปลกู ให้มี 5 ระดบั (ไม้ ป่ามีความสมบรู ณ์ ปา่ บนโคกจะช่วยเกบ็ น้าไวใ้ ต้ดนิ สูง ไมก้ ลาง ไม้เต้ีย ไมเ้ รย่ี ดินและพืชหัว) มากหรือน้อยขน้ึ อยู่กบั ชนดิ ของดนิ ตาแหน่งของโคกควร ประโยชน์ 4 อยา่ ง (พอกิน พออยู่ อยูท่ างทิศตะวันตกเพ่ือช่วยบังแสงอาทติ ย์ยามบา่ ย บริเวณ พ้นื ที่ของโคกจะใชป้ ระโยชน์เปน็ ทีอ่ ยู่อาศยั ปลกู ผกั เลยี้ ง พอใช้และช่วยสรา้ งสมดุลระบบนิเวศ) สตั ว์และกิจกรรมอน่ื ๆ ของเกษตรกร หนอง เกิดจากการขุดบอ่ กักเกบ็ นา้ เพ่ือใช้ในการเพาะปลูก เลยี้ งสัตวน์ ้าหรือปลูกพืชนา้ เพือ่ ใชบ้ ริโภค ส่วนดิน ท่ขี ดุ หนองน้านาไปใช้ทาโคกได้ ตาแหน่งของหนองนา้ ควร อยู่ทางทิศที่ลมร้อนผ่านเพ่อื ใหล้ มเย็นลงก่อนพดั เข้าสบู่ า้ น หนองน้าควรขดุ ให้ขอบและพื้นหนองนา้ มีความคดโค้ง คลองไส้ไก่ (เป็นรอ่ งน้าเล็กๆ ขุดให้ เปน็ ร่องเปน็ แนว มีความลกึ หลายระดับและใหแ้ ดดส่องถงึ วนเวียนในพืน้ ที่ปลูกป่า/ปลูกพชื เพ่ือให้ปลาวางไข่ได้ดี มีการขุด “คลองไส้ไก”่ เพื่อช่วย คลา้ ยลาไสข้ องไก)่ กระจายนา้ ให้ทว่ั พ้ืนที่ เพม่ิ ความชุม่ ชืน้ ในดนิ สง่ ผลดตี อ่ การปลูกพืช สร้าง “ฝายชะลอน้า”และ”หลมุ ขนมครก” ฝายชะลอนา้ (เปน็ คันกั้นนา้ ทาจากดนิ เพ่ือรบั นา้ และชะลอน้าที่ไหลมา ดักตะกอนให้ไหลลง หรอื วัสดุจากธรรมชาติ ติดตัง้ ทห่ี ลมุ หนองน้านอ้ ยลง ชะลอการสูญเสียแร่ธาตุและเปน็ การ ขนมครก) เพ่ิมแหลง่ กักเกบ็ น้าในพื้นที่ ปริมาณนา้ ทเ่ี ก็บในหนองต้อง หลมุ ขนมครก (เปน็ แอง่ รวมน้าเลก็ ๆ คานวณให้เพียงพอต่อการใชง้ านในพ้นื ที่และมนี ้าเหลอื ใช้ รับนา้ จากคลองไส้ไก่) ในหนา้ แล้งหรือฝนทงิ้ ช่วง บริเวณพ้นื ทีข่ องหนองจะใช้ ประโยชนเ์ ป็น แกม้ ลิงเก็บน้าในหน้าฝนและแหล่งนา้ สาหรับ อุปโภคบรโิ ภคในหนา้ แลง้ ฝายชะลอนา้ : ภาพจาก oknation.nationtv.tv

๕ คลองไสไ้ ก่ : ภาพจาก Arif.farm การขุดหลมุ ขนมครกและคลองไส้ไก่ : ภาพจาก Rabbit Daily

๖ นา ควรยกหัวคันนาให้สูงอย่างน้อย 1 เมตร เพ่ือเพิ่มพ้ืนที่เก็บน้าไว้ในนาให้เท่ากับความสูงของคันนาและป้ันคันนา กว้างๆ เพือ่ ปลกู ไม้ผล ไม้สมนุ ไพรและพชื ผักสวนครวั ท่ีสามารถเกบ็ กินและขายสรา้ งรายได้ ในทกุ ๆ วัน จงึ ถูกเรยี กเป็น “หัวคนั นาทองคา” และควรปลกู แฝกเพอ่ื ป้องกนั การพังทลายของคนั นา คนั นาถูกใช้เป็นเครือ่ งมือปรับระดับนา้ เข้านา ตามความสูงของต้นข้าว และยังสามารถใช้น้าเพ่ือควบคุมวัชพืชและแมลงตามภูมิปัญญาท้องถ่ิน โดยปริมาณน้าฝน ส่วนหน่ึงจะซึมลงดินเก็บเป็นน้าใต้ดินช่วยสร้างความชุ่มช้ืนให้แก่ระบบนิเวศในดินต่อไป บริเวณพื้นที่ของนาจะใช้ ประโยชน์เป็น ที่ปลูกข้าว เลี้ยงปลาสาหรับกาจัดศัตรูของข้าวและเป็นอาหาร และปลูกพืชหมุนเวียนอ่ืนๆ ของ เกษตรกร หวั คนั นาทองคา : ภาพจาก facebook มลู นิธิกสกิ รรมธรรมชาติ ภาพตดั หวั คนั นาทองคา : ภาพจาก ข่าวนอกคอก http://outcaststyle.com

7 ป่า ๓ อยา่ ง ประโยชน์ ๔ อย่าง เป็นแนวทางการอนุรักษ์และฟืน้ ฟูทรพั ยากรปา่ ไมท้ ่เี กื้อกลู ตอ่ ความต้องการด้านเศรษฐกิจและสงั คม สามารถปลูกได้ ทกุ ส่วนของพนื้ ที่ ๑. ประโยชนพ์ ออยู่ -การปลกู ไม้เนื้อแข็งอายุยนื เพอ่ื ใชส้ รา้ งทพ่ี กั อาศัยและเครื่องเรือนรวมท้ังยังสามารถรักษาไว้เปน็ ทรัพย์สนิ ในอนาคตได้ ไม้ในกลมุ่ นไ้ี ดแ้ ก่ ตะเคียนทอง ยางนา แดง สกั พะยูง ฯลฯ ๒.ประโยชนพ์ อกิน -การปลกู ต้นไมท้ ่ีใช้เป็นอาหารหรือใช้เปน็ สมนุ ไพรได้ เชน่ แค มะรมุ สะตอ ผักหวาน กลว้ ย ฯลฯ ๓. ประโยชนพ์ อใช้ -การปลูกพืชโตเร็วเพ่อื นามาใช้ประโยชนใ์ นชวี ติ ประจาวนั เช่น เผาถ่าน ทาหัตถกรรม ปอ้ งกนั ลม ไม้ในกลมุ่ นไี้ ด้แก่ ไผ่ กระถนิ เทพ หวาย มะคาดีควาย ฯลฯ ๔. ประโยชน์พอร่มเยน็ – การปลกู ปา่ เพ่ือประโยชน์ทัง้ สามอย่างจะนาไปสู่ความรม่ เย็นและระบบนเิ วศน์ท่อี ุดม สมบูรณม์ ากขนึ้ การปลูกปา่ 7 ระดับ เปน็ แนวทางการปลูกพชื อยา่ งผสมผสานเพือ่ ให้เกดิ ความหลากหลายทางชวี ภาพรวมถงึ ประโยชนส์ ูงสุดจากการใช้ พน้ื ทีแ่ ละแสงอาทติ ย์ ๑. ไม้สงู - ไม้ลาตน้ สูงใหญ่และอายุยืน เช่น ยางนา ตะเคยี น พะยงู เป็นตน้ ๒. ไมก้ ลาง - ไม้ลาตน้ ไม่สูงนัก ไมผ้ ล เชน่ มะมว่ ง ขนนุ มังคุด กระท้อน ไผ่ เปน็ ตน้ ๓. ไม้เต้ีย – ต้นไม้ทรงพุม่ เช่น มะนาว มะกรูด มะละกอ มะเขือพวง กล้วย เปน็ ต้น ๔. ไมท้ รงพุ่ม – พืชผกั สวนครัว เชน่ พรกิ มะเขือ กระเพรา ผักหวานบ้าน ตะไคร้ เหรียง เป็นต้น ๕. ไมเ้ ลอ้ื ยเกาะเก่ยี ว - พชื จาพวก พริกไท ตาลงึ มะระ ถว่ั ฝักยาว บวบ รางจืด เป็นต้น 6. ไมห้ วั ใต้ดนิ - พืชจาพวก ขิง ข่า มนั บุก เป็นตน้ 7. ไม้นา้ – พชื จาพวก ผักกะเฉด ผักบุง้ บา้ น บวั กระจบั สาหร่ายนา้ เปน็ ตน้

8 ควรปลูกแฝกเพื่อป้องกันการพังทลายของดิน ช่วยดักตะกอนและช่วยเก็บความชุ่มชื้นของใต้ดิน และควรปลูกพืช ตระกูลถ่ัวท่ีใบร่วงมาก เช่น จามจุรีและทองหลาง เป็นต้น รอบหนองน้าเพ่ือตรึงไนโตรเจนลงดิน ใบไม้ท่ีร่วงลงพ้ืนจะ ช่วยควบคุมวัชพืชและคลุมหน้าดินให้มีความช่มุ ช้นื ส่วนใบไม้ที่ร่วงลงน้าจะช่วยเพิ่มปริมาณอินทรียวัตถุและจุลินทรยี ์ ให้กบั นา้ ที่จะนามาใช้เล้ยี งพืช การดักตะกอนของแฝก : ภาพจาก http://www.sudyord.com/ “ห่มดิน” เป็นการนาวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรต่างๆ เช่น ฟางข้าว ใบไม้ เป็นต้น มาปิดที่ผิวหน้าของดิน เพื่อให้ ดินไม่ถูกแสงแดดและรังสีความร้อนในเวลากลางวัน ลดความสูญเสียน้าให้แก่พืช ดินจะสามารถเก็บความชื้นจากน้า น้าฝนหรือน้าค้างไวใ้ นดินได้นานขึ้น ดินจะมีความนุ่มไม่แข็งกระด้าง รากพืชสามารถแตกแขนงหาอาหารไดด้ ี พืชและ สัตว์ขนาดเลก็ ที่มปี ระโยชน์ต่อพชื เช่น ไส้เดือน จุลินทรยี ์ต่างๆ เปน็ ต้น สามารถเจรญิ เตบิ โตในดินได้ นอกจากน้วี ัสดุท่ี นามา “ห่มดนิ ” จะปอ้ งกันวัชพชื ไม่ใหเ้ ติบโตมารบกวนพชื ทปี่ ลูก “แหง้ ชาม นา้ ชาม” เป็นการใสป่ ยุ๋ ท่ีเรียกวา่ ใส่ “แห้งชาม” ใชป้ ุ๋ยอินทรยี ์ มาโรยบริเวณโคนต้นพชื เพือ่ ใหพ้ ชื ได้รับ สารอาหารเพ่ิม ส่วนท่ีเรียกว่าใส่ “น้าชาม” เป็นการใส่ปุ๋ยน้าหมัก ผสมน้าตามอัตราส่วน 1:500 ใช้ราดบริเวณโคน ตน้ พชื หลังจากใส่ปยุ๋ แลว้ กต็ ามมาด้วยการหม่ ดนิ เพ่ือลดการสูญเสยี ของปุ๋ยจากแรงลม แรงน้า จากการชะลา้ ง การหม่ ดินและแหง้ ชาม-นา้ ชาม : ภาพจากเว็บไซด์ ศนู ยภ์ ูมิรักษ์ธรรมชาติ

9 ตวั แปร ทตี่ ้องนามาใช้ในการออกแบบ “โคกหนองนาโมเดล” มี 5 ประการคือ 1. ทศิ ควรสารวจทิศเหนือ ใต้ ตะวันออก ตะวนั ตกและทิศทางการขึน้ ของพระอาทิตย์ในฤดตู ่างๆ ในพื้นท่ีน้ันๆ 2. ลม ควรพิจารณาลมตามฤดแู ละลมประจาถนิ่ อย่างฤดฝู นและฤดูร้อนลมจะพดั มาจากทิศตะวันตกเฉียงใต้ ฤดู หนาว(ลมหนาวหรอื ลมขา้ วเบา) ลมจะพัดมาจากทิศตะวันออกเฉยี งเหนอื ควรวางตาแหน่งบ้านเรือนและลานตากข้าว ไมใ่ ห้ขวางทิศทางลม และออกแบบบ้านให้มีช่องรับลมตามทศิ ในแต่ฤดกู าล เพ่อื ให้บา้ นเย็นอยู่สบายและลดการใช้ พลังงานในบ้าน 3. ดนิ พจิ ารณาลักษณะของดนิ การอมุ้ น้าของดนิ เพื่อวางแผนการขดุ หนองนา้ และการปรับปรงุ ดนิ ทเี่ หมาะสม ใช้ การฟน้ื ฟูดินดว้ ยการห่มด้วยฟาง ใบไมห้ รือหญา้ ทเี่ รยี กว่า “ไมป่ อกเปลือกเปลอื ยดิน” แล้วเตมิ ปยุ๋ ใหเ้ หมาะสมกับ คุณลกั ษณะของดิน เน้นการใชป้ ยุ๋ อินทรยี ์ทง้ั ชนิดแหง้ และชนดิ น้าแบบทเ่ี รยี กว่า “แหง้ ชามนา้ ชาม” โดยนาฟางวางบน ดนิ สลับดว้ ยปยุ๋ หมักแล้วตามด้วยการราดปยุ๋ น้าจลุ นิ ทรยี ์ ด้วยวธิ ีการ “ห่มดิน” จะช่วยลดการระเหยของน้าบนผวิ ดนิ ช่วยใหส้ ่งิ มีชวี ติ ผวิ ดินและในดินเพม่ิ จานวนได้มากข้ึน ทาให้จุลินทรยี ์ย่อยสลายอนิ ทรียวตั ถไุ ด้ดีข้นึ ปดิ กนั้ ไมใ่ ห้วชั พืช ไดร้ ับแสงแดด ดว้ ยวิธกี ารหม่ ดนิ จะชว่ ยแก้ปญั หาของดินได้ 4. น้า การขุดหนองน้าต้องดูทางไหลเข้าและออกของนา้ ในพน้ื ที่ ควรวางตาแหนง่ หนองน้าในด้านทลี่ มร้อนพัดผ่าน กอ่ นเข้าสูบ่ ้าน จะช่วยให้บ้านเยน็ ข้นึ ควรขุดหนองใหม้ ีความคดเค้ยี วเพื่อเพมิ่ พืน้ ที่เพาะปลกู พชื รมิ ขอบหนองและทา “ตะพกั ” หริอความลดหลั่นของระดับความสูงในหนองให้ไมเ่ ทา่ กนั โดยชัน้ แรกมีความลึกเทา่ ระดบั ท่ีแสงแดดส่องลง ไปถงึ เพื่อเป็นชั้นให้ปลาสามารถวางไข่และอนบุ าลสัตวน์ ้าได้ ควรปลูกพืชนา้ หรือไม้น้าเพื่อให้ปลาใช้เป็นแหล่งวางไข่ ท่ีอยู่อาศัยและเปน็ อาหารใหก้ ับสตั วน์ ้า รวมทั้งทา “แซนวิชปลา” นาหญ้าและฟางกองสลับกบั ปุ๋ยหมักไวท้ ตี่ ้นนา้ เพ่อื สร้างแพลงตอนและไรแดง เป็นการเพ่ิมอาหารให้กบั สัตว์น้า 5. คน หัวใจสาคัญของการออกแบบพน้ื ท่ีใหเ้ หมาะสม ข้ึนอย่กู บั ความตอ้ งการของผู้ที่เป็นเจ้าของเป็นหลัก ซ่ึงจะเป็น ผ้ทู ่ใี ชป้ ระโยชนจ์ ากพ้นื ที่น้ันมากทส่ี ุด

๑0 การออกแบบหลมุ ขนมครก : ภาพจาก มติ ชิ น ขอ้ มูลเบ้อื งตน้ ของพน้ื ท่ีที่ควรรวบรวมกอ่ นการออกแบบ “โคกหนองนา” มดี งั ต่อไปน้ี 1. แผนทอี่ อร์โธสีเชงิ เลขทม่ี เี ส้นช้นั ความสงู 1 เมตร ของพ้ืนทเี่ ปา้ หมายและพืน้ ท่ีโดยรอบรัศมี 1 กิโลเมตร มาตรา สว่ น 1:4000 เป็นขอ้ มูลในรูปแบบ Digital และ PDF 2. ค่าพิกดั ทตี่ ้ังของพน้ื ท่เี ป้าหมาย 3. ข้อมลู อตุ ุนิยมวิทยา เชน่ ปรมิ าณนา้ ฝนรายวนั และรายปี 25 ป,ี ปริมาณนา้ ฝนสูงสุดตดิ ต่อ 3 วนั , จานวนวันท่ฝี น ตก, ปรมิ าณการระเหยของนา้ เป็นตน้ 4. แผนทก่ี ายภาพปจั จุบันบรเิ วณพื้นท่ีเป้าหมาย เช่น แผนทีก่ ารใช้ประโยชนท์ ด่ี นิ , แผนทีก่ ลุ่มชดุ ดิน, แผนที่ภมู ิ ประเทศท่ีมีเส้นช้นั ความสงู 0.25 เมตร เปน็ ตน้ 5. ข้อมูลสารวจท่ใี ช้ในการทาแผนท่ีภมู ิประเทศในขอ้ 4 6. ความตอ้ งการในการใชป้ ระโยชน์ทีด่ ินของเจา้ ของพ้นื ที่ เช่น ชนิดและจานวนพชื ท่ีใช้ปลกู ปา่ , พชื ไร่, พืชสวน, พชื สวนครวั และของสตั ว์เลี้ยง เป็นต้น 7. ข้อมูลความต้องการใชน้ า้ ของพชื และของสัตวเ์ ลี้ยงตามความต้องการของเกษตรกร ที่จะมีในพนื้ ทีเ่ ป้าหมาย 8. จานวนคนของครอบครวั เกษตรกรในพ้นื ที่เปา้ หมาย

๑1 วธิ กี ารออกแบบ “โคกหนองนาโมเดล” (1) นาท่ดี ินของเกษตรกรมาแปลงหนว่ ยจากตารางวามาเป็นตารางเมตร ( 1 ตารางวาเท่ากับ 4 ตารางเมตร) (พน้ื ท่ี 1 ไร่ หรือ 400 ตารางวา เทา่ กับ 1,600 ตารางเมตร) เชน่ มีทดี่ ิน 5 ไร่ เท่ากับ 5 x 1,600 = 8,000 ตารางเมตร (2) คานวณปรมิ าณนา้ ฝนท่ีตกในพ้ืนท่ี (ต้องเก็บน้าใหไ้ ด้ 100%) ปริมาณน้าฝนเฉลยี่ ต่อปีของพ้ืนท่ีนนั้ ๆ (ม.ม.) x พ้ืนทดี่ นิ (ตร.ม.) เชน่ พ้ืนที่น้นั มปี รมิ าณนา้ ฝนเฉล่ยี ตอ่ ปี = 1,200 ม.ม. ปรมิ าณนา้ ฝนต่อปีเท่ากับ 1.20 x 8,000 = 9,600 ลบ.ม. (3) คานวณขนาดของหนองน้าเพอื่ เก็บน้าฝน ใน 1 ปีมีวันทฝี่ นไม่ตก 300 วนั โดยนา้ จะระเหยอยา่ งน้อยวนั ละ 1.25 ซ.ม.(เดิมใช้ 1.0 ซ.ม.) น้าจะระเหยไปต่อปีเท่ากับ 1.25 x 300 = 3.75 ม. ตอ้ งขดุ หนองลึกกว่า 3 + 3.75 = 6.75 ม. หนองนา้ เกบ็ น้า 9,600 ลบ.ม. จะมีขนาดเทา่ กับ 40(กวา้ ง) x 35.6(ยาว) x 6.75(ลกึ ) = 9,612 ลบ.ม. (คิดแบบความลาดชันของขอบหนองน้าสูง) พืน้ ทใ่ี ช้เปน็ หนองน้าเท่ากับ 40 x 35.6 = 1,424 ตร.ม. หรอื 0.89 ไร่ หรือ 3 งาน 56 ตร.วา (4) คานวณปรมิ าณดนิ สาหรับใชท้ าโคก ไดจ้ ากการขดุ หนอง ดินจะฟูข้ึน 30% เท่ากับได้ดินทาโคก 9,612 x 1.30 = 12,495.6 ลบ.ม. (5) คานวณขนาดนา (ครอบครวั เกษตรกรมีสมาชกิ 5 คน) คน 1 คนใช้ข้าวสารหุงขา้ ว 0.3 ก.ก./วนั ดังนั้นคน 5 คนใชข้ ้าวสารเทา่ กับ 5 x 0.3 = 1.5 ก.ก./วนั ในหนึ่งปีใชข้ า้ วสารเทา่ กบั 1.5 x 365 = 547.5 ก.ก. ขา้ วสาร 1 ก.ก. ไดจ้ ากการสีข้าวเปลือก 2 ก.ก. ดงั นน้ั ข้าวเปลอื กที่ใช้ต่อปคี ือ 1,095 ก.ก. โดยเฉลีย่ นา 1 ไร่จะได้ข้าวเปลือกประมาณ 1,000 ก.ก. ดังนั้นใชพ้ น้ื ท่ีทานาเพียง 1.1 ไร่กพ็ อเพยี ง แต่ตามหลักเศรษฐกิจพอเพยี งข้ันกา้ วหน้าควรทาทานแจกจ่าย ดงั นัน้ พ้นื ที่ทานาควรทา 2.0 ไร่ และจะมขี า้ วเปลอื กสว่ นเหลือประมาณ 905 ก.ก. เพื่อแบง่ ปัน สรุป พน้ื ที่เหลือเปน็ โคกเท่ากับ 5 - 0.89 - 2 = 2.11 ไร่

๑2 (6) ปรมิ าณนา้ ฝนที่เกบ็ ไวใ้ นนา พ้ืนทนี่ า 2.0 ไร่ 3,200 ตร.ม. ยกขอบคันนาสงู 1.0 ม. เก็บน้าได้ 3,200 x 1 = 3,200 ลบ.ม. (ไม่ไดน้ าการระเหยของน้าในนามาคิด) (7) ปรมิ าณนา้ ฝนทีเ่ ก็บไวใ้ นโคก(ปา่ ) โคก(ปา่ ) จะเก็บน้าไวใ้ ตด้ นิ ได้ครึง่ หน่งึ ของความจหุ นองน้า 9,612/2 = 4,806 ลบ.ม. (8) ปริมาณน้าทเี่ ก็บไวใ้ นคลองไสไ้ ก่และหลมุ ชะลอน้า (ยังไม่นามารวมจนกวา่ จะออกแบบพ้นื ทแี่ ลว้ เสรจ็ ) สรปุ ปรมิ าณนา้ ทเี่ กบ็ ได้ 9,612 + 3,200 + 4,806 = 17,618 ลบ.ม. คิดเป็น 184% ของปริมาณน้าฝนทีต่ กในพน้ื ที่ (9) คานวณปริมาณนา้ ใชส้ าหรับกิจกรรมต่างๆ นา 1 ไร่ใชน้ ้า 1,000 ลบ.ม./ปี นา 2 ไร่จะใชน้ ้า 2 x 1,000 = 2,000 ลบ.ม./ปี ปา่ 3 อยา่ งประโยชน์ 4 อยา่ ง 1 ไรใ่ ช้นา้ 1,000 ลบ.ม./ปี ปา่ 1 ไรจ่ ะใชน้ า้ 1 x 1,000 = 1,000 ลบ.ม./ปี พชื ไรห่ รอื ไมผ้ ล 1 ไร่ใชน้ า้ 1,000 ลบ.ม./ปี พชื ไร่หรือไม้ผล 1 ไรจ่ ะใช้น้า 1 x 1,000 = 1,000 ลบ.ม./ปี พืชสวนครัวและกิจกรรมอนื่ ๆ 1 ไรใ่ ชน้ า้ 1,000 ลบ.ม./ปี พืชสวนครวั และกจิ กรรมอ่ืนๆ 0.11 ไรจ่ ะใชน้ ้า 0.11 x 1,000 = 110 ลบ.ม./ปี นา้ ใช้อุปโภคบริโภคครวั เรอื น 1 คนใชน้ า้ 200 ลติ ร/วัน 5 คนใช้น้า 1,000 ลิตร/วนั (1 ลบ.ม.) ใชน้ า้ รวม 1 x 365 = 365 ลบ.ม./ปี หนองนา้ 0.89 ไร่ น้าระเหยวนั ละ 1.25 ซ.ม. วันทีฝ่ นไมต่ ก 300 วัน น้าระเหยไปต่อปี 3.75 ม. ใช้น้าไป 0.89 x 1,600 x 3.75 = 5,340 ลบ.ม./ปี เหลือน้าใช้ 0.89 x 1,600 x 3.00 = 4,272 ลบ.ม./ปี สรุป ปริมาณนา้ ใช้ 2,000 + 1,000 + 1,000 + 110 + 365 + 4,272 = 8,747 ลบ.ม. หนองนา้ ทเ่ี ก็บได้-นา้ ใช้ เท่ากับ 9,612 - 8,747 = 865 ลบ.ม. (นา้ ทีเ่ กบ็ ในหนองน้ามีเพียงพอ)

๑3

ตวั อยา่ งการออกแบบพื้นท่ที ากิน 10 ไร่ ๑4

๑5 1. พน้ื ทีส่ ูง กรณที ่ีเปน็ พืน้ ราบ 2. พ้ืนที่สงู กรณที ่เี ขามหี บุ เขา สามารถก้ันฝายเกบ็ นา้ ได้

16 3. พนื้ ทสี่ ูง กรณีที่เปน็ สนั เขา ลาดเอียงทางเดียว ไมม่ ีหุบเขา 4. พ้นื ที่สงู กรณที ี่เปน็ สนั เขา ลาดเอยี งสองทาง ไมม่ หี บุ เขา โมเดลโคกหนองนา : ภาพจาก Terrabkk.com

17 พนื้ ทต่ี ้นแบบสาหรบั การดงู าน 1. ศูนย์การเรียนรู้ \"ปา่ สักโมเดล\" ในพน้ื ทห่ี ว้ ยกระแทก 600 ไร่ ของหน่วยบญั ชาการสงครามพเิ ศษ ศนู ย์สงคราม พเิ ศษ คา่ ยเอราวัณ จ.ลพบุรี 2. โรงเรียนสงครามพเิ ศษ ศูนย์สงครามพิเศษ ค่ายเอราวณั จ.ลพบรุ ี 3. การจดั การน้าบนพน้ื ทีส่ งู บ้านหว้ ยกระทงิ แม่ระมาด จังหวดั ตาก 4. ศนู ย์กสิกรรมธรรมชาตชิ ุมชนต้นนา้ น่าน ต.ศรีภมู ิ อ.ทา่ วังผา จ.นา่ น 5. ศูนย์กสกิ รรมธรรมชาติตลาดน้าสีภ่ าค พัทยา จ.ชลบรุ ี 6. ศูนย์กสิกรรมธรรมชาติมาบเอือ้ ง เลขที่ 114/1 หมู่ 1 ต.หนองบอนแดง อ.บา้ นบึง จ.ชลบุรี 20170. 7. โคกหนองนาดาราโมเดล บา้ นดแู่ ละบา้ นหนองบอน ต.หนองบวั บาน อ.รตั นบุรี จ.สุรนิ ทร์ 8. ศูนย์พฒั นาโครงการหลวงห้วยลกึ ตาบลปิงโค้ง อาเภอเชียงดาว จงั หวัดเชียงใหม่ 9. ศูนย์ภมู ริ ักษธ์ รรมชาติ บา้ นทา่ ด่าน ตาบลหนิ ตง้ั อาเภอเมือง จงั หวัดนครนายก 10. ศูนย์เรียนรู้การพัฒนาทด่ี ินตามแนวเศรษฐกจิ พอเพียง ตาบลหนองโน อาเภอเมอื ง จังหวดั สระบุรี 11. ศูนย์เรยี นรู้เศรษฐกจิ พอเพียงสวนลอ้ มศรรี นิ ทร์ จงั หวดั สระบรุ ี 12. โคกหนองนาโมเดล บ้านสวยสายใยกอ้ นแก้ว ต.ก้อนแก้ว อ.คลองเขื่อน จ.ฉะเชงิ เทรา

18 บรรณานุกรม ทีม่ าของข้อมลู 1. นายไชยยทุ ธ ลยี ะวณชิ และนายดนุ เนยี มฤทธ์ิ . (๒๕๖๑). การประยกุ ต์ใช้ทีด่ นิ ตามศาสตร์พระราชา. กรงุ เทพฯ : กลุ่มสถาปตั ยกรรมและภมู ิสถาปัตยกรรม สานักวิศวกรรมเพือ่ การพัฒนาท่ีดิน กรมพฒั นาทีด่ นิ . 2. เอกสารประกอบการบรรยายโครงการฝึกอบรม “ผูน้ าการขบั เคลอ่ื นปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง กระทรวงเกษตร และสหกรณ์” วันท่ี 11-15 พ.ค. 2559 ณ ศนู ยก์ สกิ รรมธรรมชาติชมุ ชนตน้ น้าน่าน ต.ศรภี มู ิ อ.ทา่ วงั ผา จ.น่าน. 3. กลุ่มภูมปิ ัญญาทอ้ งถนิ่ และนวัตกรรมด้านการเกษตร กองวจิ ยั และพัฒนางานสง่ เสริมการเกษตร กรมส่งเสรมิ การเกษตร (http://new.research.doae.go.th/?page_id=502) online 4. วิถีพอเพียง (https://sites.google.com/site/vetherporpeanglife/thvsti-bandi-9-khan-su-khwam-phx-pheiyng) 5. เศรษฐกจิ พอเพียง คนรุ่นใหม่หวั ใจพอเพียง http://lugesan25042017.blogspot.com/2015/04/blog- post_6.html online 6. งานออกแบบ โคก หนอง นา โมเดล โดย นกั ศกึ ษาคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้า คณุ ทหาร ลาดกระบงั 7. โคก หนอง นา โมเดล : การออกแบบ Landscape ทีเ่ หมาะสมกับภูมิสังคม https://www.facebook.com/.../โคก-หนอง-นา-โมเดล-การออกแบบ-landscape-ทเี่ หมาะสมกับภมู สิ งั คม 8. มลู นธิ กิ สิกรรมธรรมชาติ https://th-th.facebook.com/agrinature.or.th/posts/735535473170712 online