Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนที่

แผนที่

Published by ถนอน ทองพันชั่ง, 2019-07-31 00:33:02

Description: แผนที่

Search

Read the Text Version

สังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม : ภู มิ ศ า ส ต ร์ อาจารย์กนก จนั ทรา -- เครอ่ื งมือและเทคโนโลยีทางภมู ิศาสตร์ 1. แผนที่ แผนท่ี (map) หมายถึง การเขียนหรือแสดงลกั ษณะของผิวโลกลงบนพ้นื ราบด้วยการยอ่ สว่ นให้เล็กลงตามขนาดทีต่ ้องการ และแสดง ส่ิงตา่ งๆทป่ี รากฎบนผวิ โลกดว้ ยสญั ลักษณ์ ประโยชน์ของแผนท่ี 1. ประโยชน์ทางด้านการเมอื ง 2. ประโยชนท์ างดา้ นการทหาร 3. ประโยชนท์ างดา้ นเศรษฐกิจ 4. ประโยชน์ทางดา้ นการศกึ ษา ชนิดของแผนที่ แบ่งไดห้ ลายชนดิ ชนิดทสี่ าคัญได้แก่ 1. แผนท่ีกายภาพ (physical map) หมายถงึ แผนท่ซี ่งึ แสดงลักษณะสง่ิ ที่ธรรมชาตสิ ร้างข้ึน แบ่งเป็น 3 ชนดิ ไดแ้ ก่ 1.1 แผนท่ีภมู ิประเทศ (topographic map) แผนทีช่ นิดน้ีมีประโยชน์มากทสี่ ดุ เปน็ แผนท่ีมลู ฐาน (base map) สาหรบั ศึกษาเรอื่ งต่าง ๆ ไดเ้ ป็นอยา่ งดี 1.2 แผนท่อี ุทกศาสตร์ (hydrological map) เป็นแผนทท่ี ่ใี ชส้ าหรบั เดินเรอื เพราะใช้แสดงข้อมูลเกี่ยวกับพนื้ นา้ ได้แก่ ความลกึ กระแสน้า ลกั ษณะทอ้ งน้า เกาะหินโสโครก ฯลฯ 1.3 แผนทล่ี มฟ้าอากาศ (weather map) เปน็ แผนทส่ี าหรับการพยากรณ์อากาศ จะแสดงขอ้ มูลเกย่ี วกบั อณุ หภูมิ ความกดอากาศ ลม เมฆ ฝน หมอก ฯลฯ 2. แผนท่รี ัฐกิจ (political map) หมายถึง แผนทีแ่ สดงลกั ษณะทางการเมอื ง การปกครองของรฐั ตา่ ง ๆ เช่น ประเทศ เมือง 3. แผนท่ีเฉพาะเร่ือง (thematic map) หมายถงึ แผนทีท่ ่แี สดงรายละเอยี ดเฉพาะเร่ือง โดยมงุ่ แสดงคณุ ลกั ษณะ และปรมิ าณ เช่น แผนที่ลกั ษณะทางธรณวี ิทยา แผนทชี่ นดิ ของป่าไม้ แผนทช่ี นดิ ของดิน แผนทแี่ สดงปรมิ าณฝน แผนทีแ่ สดงการกระจาย ประชากร ฯลฯ องคป์ ระกอบของแผนท่ี 1. ทศิ 2. พิกดั ภูมิศาสตร์ คอื การแสดงตาแหน่งท่ตี ้ังของจดุ ตา่ ง ๆบนผวิ โลก เปน็ คา่ ละตจิ ูดและลองจจิ ดู ละติจดู (latitude) ระยะทางเชิงมุมบนพ้ืนผิวโลกในแนวทศิ เหนือ – ใต้ โดยถอื เอาเปน็ ศูนย์สตู รเป็นจดุ เรมิ่ ตน้ เสน้ ศูนยส์ ตู รจะมีคา่ ละติจดู เปน็ 0 องศา ไปทางเหนือ 90 องศา ไปทางใต้ 90 องศา ลองจิจูด (longitude) ระยะทางเชิงมุมบนพน้ื ผวิ โลกในแนวทิศเหนอื – ใต้ โดยถือเอาเปน็ ศูนยส์ ูตรเปน็ จดุ เรมิ่ ตน้ เสน้ ศูนย์สตู รจะมีค่าละติจดู เปน็ 0 องศา ไปทางเหนือ 90 องศา ไปทางใต้ 90 องศา 3. เส้นโครงแผนท่ี คอื ระบบการเขยี นเสน้ ขนาน และเส้นเมรเิ ดยี นลงในแผนท่ี ดังน้ี เส้น ความหมาย ลกั ษณะสาคญั เส้นแรก การอ้างอิงแผนที่ เส้นขนาน เส้นสมมุติที่ลากขนานกับเส้นศูนย์สูตรไป ทุ กเ ส้ นย า วไ ม่ เส้นศนู ยศ์ ูนย์ ใช้ในการวิเคราะห์ ทางเหนือ 90 องศา และทางใต้ 90 เทา่ กัน เขตอากาศของโลก องศา โดยลากผ่านค่าของมุมละติจูด เดียวกันไปรอบโลก เสน้ เมรเิ ดียน เส้นสมมติที่ลากเชื่อมขั้วโลกเหนือและข้ัว ทุ ก เ ส้ น ย า ว เ ส้ น เ ม อ ใช้ในการคานวณ โลกใต้เป็นคร่ึงวงกลม โดยผ่านค่าของมุม เทา่ กัน รเิ ดยี นปฐม เวลา ลองจิจดู เดยี วกนั 4. มาตราส่วนในแผนท่ี คือ การย่อส่วนระยะทางจริง ๆ บนพืน้ ผิวโลกลงเป็นระยะทางบนแผ่นกระดาษ มาตราส่วนมที ้ังหมด 3 แบบ ดังนี้ 1

สงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม : ภู มิ ศ า ส ต ร์ อาจารย์กนก จนั ทรา -- 1. มาตราส่วนเป็นตวั เลขหรือมาตราสว่ นเศษสว่ น คือ มาตราสว่ นท่บี อกไวเ้ ปน็ ตัวเลข เช่น 1 : 50,000 หรือ 1 50 ,000 2. มาตราส่วนเส้นหรอื มาตราส่วนกราฟิก คือ มาตราสว่ นทแ่ี สดงไว้เป็นเสน้ หรือเป็นแท่ง 3. มาตราสว่ นคาพูด คือ มาตราส่วนที่บอกไวเ้ ปน็ คาพูด เช่น 1 ซ.ม. ตอ่ 5 ก.ม. มาตราส่วนตัวเลข มาตราสว่ นกราฟกิ มาตราสว่ นแผนที่ สว่ นมากใชร้ ะบบตัวเลขโดยใชม้ าตราเมตริก ไดแ้ ก่ ระบบเซนตเิ มตร ตัวอยา่ ง เช่น มาตราส่วน 1 : 100,000 หมายความวา่ ระยะทางในแผนท่ี 1 เซนติเมตร เทา่ กับระยะทางจริง 100,000 ซ.ม. หรอื 1 กิโลเมตร เพราะ 100,000 เซนติเมตรเท่ากับ 1 กโิ ลเมตร พื้นทใ่ี ดพนื้ ที่หนงึ่ หากใช้มาตราสว่ นแผนทีข่ นาดใหญจ่ ะใหข้ ้อมูลเกี่ยวกับพน้ื ทีน่ ้นั ได้ชัดเจนกว่ามาตราสว่ นขนาดเล็ก ตัวอยา่ ง เช่น มาตราสว่ น 1 : 50,000 เปน็ มาตราส่วนขนาดใหญจ่ ะให้รายละเอยี ดไดม้ ากกวา่ มาตราสว่ น 1 : 100,000 ซ่ึงเป็นมาตรา ส่วนขนาดเลก็ ขนาดของมาตราส่วน พนื้ ที่ใดพ้ืนหนึ่ง หากใช้มาตราส่วนขนาดใหญ่จะสามารถให้ข้อมลู เกย่ี วกบั พน้ื ทนี่ ้ันได้ชัดเจนกว่ามาตราส่วนขนาดเล็ก มาตราส่วนใหญ่ มาตราส่วนปานกลาง มาตราสว่ นเล็ก (มากกวา่ 1 : 250,000) (1:250,000 – 1:1,000,000) (นอ้ ยกว่า 1 : 1,000,000) 5. สญั ลกั ษณ์ในแผนที่ คือ เคร่อื งหมายต่าง ๆ ทีแ่ สดงเนอื้ หาในแผนท่ี แบ่งเปน็ 2 ประเภท 5.1 สัญลกั ษณ์ทางสงั คม เชน่ เสน้ แบ่งเขตแดน หมู่บ้าน วดั สะพาน เขือ่ น เป็นต้น 5.2 สญั ลักษณ์ทางกายภาพ เชน่ ภูเขา แมน่ ้า ทะเล เป็นตน้ 2

สังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม : ภู มิ ศ า ส ต ร์ อาจารย์กนก จนั ทรา -- การใชส้ ญั ลกั ษณ์ มหี ลายรปู แบบ เชน่ 1. สญั ลกั ษณท์ ่แี สดงภูมปิ ระเทศ มหี ลายรปู แบบ ได้แก่ การใช้สีแสดงความสูงต่าของพน้ื ที่ พ้นื ดิน สเี ขยี ว แทนพื้นที่ระดบั ต่า ทรี่ าบ สีเหลอื ง แทนพน้ื ที่เนนิ เขา สสี ม้ แทนพ้นื ที่ท่รี าบสูง สนี ้าตาล แทนพนื้ ที่เทอื กเขา ทิวเขา ภเู ขา พืน้ น้า จะมีการไลเ่ ฉดสีจากสขี าว สีฟ้า สนี า้ เงิน สนี า้ เงินเขม้ ตามลาดับความต้ืนไปลกึ การใชเ้ ส้นชั้นความสงู แสดงความสงู ต่าของพ้นื ท่ี โดยเส้นช้นั ความสูงแตล่ ะเสน้ จะลากผ่านบรเิ วณต่างๆที่ มคี วามสูงเทา่ กัน และมีเลขกากับค่าของเส้นความสูง ความชันนั้น 2. สญั ลกั ษณท์ แี่ สดงข้อมลู เชิงปรมิ าณ ได้แก่ ปรมิ าณน้าฝน จานวนประชากร พน้ื ท่ีป่าไม้ ปรมิ าณ แรธ่ าตุ และพชื ผลตา่ ง ๆ ซ่งึ สว่ นมากจะใช้จดุ 3. สัญลักษณ์อ่นื จะแสดงดว้ ยรปู ภาพทีแ่ ตกต่างกนั ไป 6. ช่อื แผนที่ เป็นองคป์ ระกอบแผนทส่ี ง่ิ แรกท่ีผใู้ ช้แผนที่ตอ้ งศึกษา เพอ่ื จะได้เลือกใช้แผนทใี่ ห้ถกู ตอ้ งกบั วตั ถปุ ระวตั ถุประสงค์ 3

สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม : ภู มิ ศ า ส ต ร์ อาจารย์กนก จนั ทรา -- วัตถปุ ระสงค์การใชง้ าน 2. เคร่อื งมือทางภูมศิ าสตร์อนื่ ๆ ที่ควรรูจ้ กั วดั การสัน่ สะเทือนของแผน่ ดนิ ประเภทเคร่ืองมือ ชื่อเครื่องมือทางภมู ิศาสตร์ เตอื นภัยสึนามิ เตือนภัยพบิ ตั ิ ไซโมมิเตอร์ เป็นเครอ่ื งมอื สำหรบั ใชใ้ นกำรหำทศิ ของตำแหน่ง พน้ื ท่ี โดยมหี น่วยวดั เป็นองศำ เขม็ ทศิ ใช้ DART Buoy ประโยชน์ในกำรเดนิ ทำง วัดความกดอากาศ กาหนดตาแหนง่ และ เข็มทศิ ทิศทาง วดั อณุ หภมู ิของอากาศ วดั ความชน้ื ของอากาศ บอกลกั ษณะอากาศ บารอมเิ ตอร์ วัดปริมาณน้าฝน เทอร์โมมเิ ตอร์ ไซโครมเิ ตอร์ วัดความเรว็ ลม เครอ่ื งวัดนา้ ฝน วัดทศิ ทางลม อะนิโมมเิ ตอร์ วนิ เวนด์ (ศรลม) 4

สังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม : ภู มิ ศ า ส ต ร์ อาจารย์กนก จนั ทรา -- 3. เทคโนโลยีทางภูมศิ าสตร์ 3.1 การสารวจขอ้ มลู ระยะไกลหรือรโี มตเซนซิง (Remote Sensing – RS) รีโมตเซนซงิ (Remote Sensing) เปน็ การสารวจข้อมลู ระยะไกล (การรบั รู้ระยะไกล) มี 2 ประเภท คอื ข้อมลู ทีไ่ ดจ้ ากการถา่ ยภาพ ทางเครื่องบนิ ในระดบั ต่าที่ เรยี กวา่ รปู ถ่ายทางอากาศ (aerial photo) และข้อมลู ทไ่ี ด้จากการบนั ทกึ ภาพจากดาวเทยี มในระดับสงู กวา่ เรียกวา่ ภาพถา่ ยจากดาวเทียม (satellite image) 1 ภาพถา่ ยทางอากาศ (aerial photography) คือ การถา่ ยภาพจากท่ีสงู ในอากาศเหนือพืน้ โลกโดยใช้ เครอ่ื งบิน ยานอวกาศ หรือบอลลูนทมี่ กี ารติดตั้งกลอ้ งถ่ายภาพ 2 ภาพถา่ ยจากดาวเทียม (satellite imagery) คอื การถา่ ยภาพและบันทึกข้อมลู เชงิ ตวั เลขจาก ดาวเทยี มทต่ี ิดตั้งอุปกรณ์ที่อาศัยกระบวนการบนั ทึกพลังงานทส่ี ะท้อน หรอื ส่งผ่านของ วัตถแุ ลว้ ส่งขอ้ มลู เหล่านนั้ มายงั สถานีรบั ภาพพืน้ ดนิ 3.2 ระบบกาหนดตาแหน่งบนพ้ืนโลก (Global Positioning System – GPS) คือ การนาคล่นื สญั ญาณจากดาวเทยี มบอกตาแหน่งมาบอกคา่ พกิ ัดของสิง่ ต่าง ๆ บนพื้นโลก โดยบอกเปน็ ค่าพิกัดละติจูดและลองจจิ ดู ของตาแหนง่ ต่างๆ ระบบน้ีจึงมี ประโยชน์ต่อการบอกตาแหน่ง และทิศทางการเดินทางท้งั ทางบก ทางนา้ และทาง อากาศ มคี วามสาคญั ด้านการทหาร การคมนาคมขนส่ง 3.3 ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (Geographic Information System – GIS) คอื เครอ่ื งมอื ทางภูมศิ าสตร์ ที่ ช่วยในการจัดเก็บ จัดการ จัดทา วิเคราะห์ ทาแบบจาลองและการแสดงข้อมลู เชิงพ้ืนท่ี ดว้ ยระบบคอมพวิ เตอร์ องคป์ ระกอบของระบบสารสนเทศภมู ิศาสตร์ 1. ขอ้ มลู เชงิ ภูมิศาสตร์ (geographical data) ประกอบดว้ ย 1.1 ขอ้ มลู เชิงพน้ื ที่ (spatial data) เช่น ตาแหน่งทต่ี ้งั ของพื้นที่ขอ้ มลู เชิงพนื้ ที่ เปน็ ข้อมลู ที่สามารถ อา้ งองิ กับตาแหน่งภมู ิศาสตรบ์ น พ้ืนผวิ โลกสามารถแสดงสัญลักษณ์ได้ 3 รูปแบบ คือ - จดุ (point) เชน่ ท่ีตั้ง หมูบ่ ้าน ตาบล อาเภอ เมือง หรอื สถานทีต่ ่าง ๆ - เสน้ (line) เช่น ทางรถไฟ ถนน ลาคลอง แมน่ ้า - พื้นท่ีหรือรูปเหลี่ยมต่าง ๆ (area or polygons) เชน่ นาขา้ ว ปา่ ไม้ พนื้ ที่ เกษตร พื้นที่อาเภอ 5

สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม : ภู มิ ศ า ส ต ร์ อาจารย์กนก จนั ทรา -- 1.2 ข้อมูลอธบิ ายพน้ื ที่ (non-spatial data or attribute data) ไดแ้ ก่ ข้อมูลตา่ ง ๆ ที่ไม่ใช่ข้อมูลเชงิ พนื้ ท่ี เชน่ คณุ สมบตั ิ คุณลักษณะเฉพาะ จานวน อัตราสว่ น การใชป้ ระโยชน์ของพื้นที่ 2. ฮารด์ แวร์ (hardware) คือ ตัวเครอ่ื งคอมพิวเตอร์ จอภาพ สายไฟ เครื่องพิมพ์ ที่จะช่วยอานวยความ สะดวกในการสบื คน้ ข้อมลู 3. ซอฟแวร์ (software) คือ ชดุ คาสง่ั โปรแกรมใหค้ อมพิวเตอรท์ างานตามทเ่ี ราตอ้ งการ 4. บุคลากร (peopleware/user) คอื ผ้ทู ท่ี าหน้าที่จัดการให้องคป์ ระกอบทง้ั 3 ประการข้างตน้ ทางานประสานกนั อย่างมีประสิทธภิ าพ เพือ่ ให้ไดผ้ ลตามทตี่ ้องการ การใช้ประโยชน์จากระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ ดา้ นตาแหน่งทต่ี ัง้ ทาใหท้ ราบตาแหนง่ ของสถานทีต่ ่างๆ ดา้ นการศึกษา ทาให้เกบ็ ขอ้ มลู ได้เป็นระบบ เพอ่ื สบื คน้ อย่างรวดเร็ว และถูกต้อง ด้านการวางแผน ทาให้เข้าใจสภาพแวดล้อมบรเิ วณที่จะวางแผนการใชท้ ่ดี นิ ด้านการป้องกันภัย ใช้พยากรณอ์ ากาศ และเตือนภยั ธรรมชาติ เตรยี มการป้องกันและการแก้ปญั หาภยั พิบตั ิ 6


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook