Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เล่ม 6 วิจัยในชั้นเรียน

เล่ม 6 วิจัยในชั้นเรียน

Published by boonsong kanankang, 2019-10-02 09:39:50

Description: วิจัยในชั้นเรียน

Search

Read the Text Version

คำช้ีแจง ชุดเอกสารศุกษาดุวยตนเอง วุชาความรูพื้นฐานดานการศกษาสาหรับคนพการหรือผูเรียนที่มี ความตองการจาเป็นพเศษ เรื่องุการวุจัุยในชั้นเรุียนเลุมน้ี ไดุรวบรวมเน้ือหาจากเอกสารที่เก่ียวของ ประกอบดวย แนวคดและหลักการเกยี่ วกบั การวจยั ในชัน้ เรยี นุการวางแผนการวจัยุการเกุบรวบรวมขุอมูุลุการ วุเคราะหุขุอมูุลุและการเสนอผลการวเคราะหุบทสรปและตัวอยางุการวจัยในช้ันเรียนดานการศกษาพเศษุ เพุื่อใหุครูุและผูุสนใจนาความรูุไปประยุกตุใชุในการจัดการเรียนการสอนและทาการวจัยุรวมถงการพัฒนา ศกั ยภาพของผเู รียนใหมปี ระสทธภาพสูงขน้ คณะผูจัดทา

สารบัญ หนา้ คานา 1 คาชี้แจง 1 แนวทางการใช้ชดุ เอกสารศึกษาด้วยตนเอง 2 หนว่ ยท่ี 1 แนวคดิ และหลักการเก่ยี วกับการวิจยั ในชัน้ เรียน.....………… …………………….………. 3 3 ความสาคัญและความหมายของการวจิ ยั ในช้นั เรียน.................……….................... 6 ความสาคัญของการวจิ ยั ในชั้นเรียน.............................. ………................................ 7 ประโยชน์ของการวิจัยในชัน้ เรียน.............................. ……….................................... 11 ลกั ษณะของการวิจยั ในชั้นเรยี น..............................………....... ............................... 11 ประเภทของการวจิ ัยในชั้นเรียน.............................………....................................... 12 รปู แบบการวิจัยในชนั้ เรียน...........................................………................................ หน่วยที 2 การวางแผนการวจิ ยั ................................................................... .......................... 14 การกาหนดชอื่ เรือ่ งงานวจิ ัย................................................................................... การทบทวนวรรณกรรมทีเ่ กยี่ วข้อง...................... ................................................. 17 การวางวางแผนการวิจัยและดาเนินการวิจัย.......................................................... 17 หนว่ ยที่ 3 การเก็บรวบรวมขอมลู ........................................................................................... 20 การสรา้ งและพฒั นาการเครื่องมือเก็บขอมลู ......................................................... 22 การเก็บรวบรวมขอมูล.......................................................................................... 22 หน่วยที 4 การวิเคราะห์ข้อมูลและการเสนอผลการวเิ คราะห์…………………………………….……. 22 การออกแบบการวเิ คราะห์ข้อมูล........................................................................... 27 การเสนอผลการวเิ คราะหข์ ้อมูล............................................................................ 27 หน่วยที 5 การนาเสนอผลงานวจิ ัย......................................................................................... 30 องค์ประกอบในการเขยี น 5 บท......................................................................... 30 การจดั รปู แบบการพิมพ์ของหนา้ .......................................................................... 32 การเขียนอา้ งองิ .................................................................................................... 32 หน่วยที 6 บทสรปุ และตวั อย่างการวจิ ัยในชน้ั เรียนด้านการศกึ ษาพิเศษ............................... 34 บทสรุป....................................................................................................... .......... ตวั อยา่ งการวิจัยในชั้นเรยี นด้านการศึกษาพิเศษ........................... ....................... บรรณานกุ รม แบบทดสอบท้ายบท แบบงานเขียนสะท้อนคิด

แนวทางการใช้ชดุ เอกสารศกึ ษาด้วยตนเอง ท่านที่ศกึ ษาเอกสารควรปฏิบตั ิดังต่อไปน้ี 1. ศึกษาขอบขา่ ยของเน้ือหา สาระสาคญั และจดุ ประสงค์ 2. ศึกษาขอบข่ายของเน้ือหาและทาความเขา้ ใจเนื้อหาอย่างละเอยี ด 3. ศึกษาแหลง่ ความรู้เพ่มิ เติม 4. โปรดระลกึ ไว้เสมอวา่ การศึกษาจากเอกสารด้วยตนเองเป็นเพยี งส่วนหน่งึ ของการพฒั นา ความรูด้ ้านการศึกษาพเิ ศษเท่านน้ั ควรศกึ ษาคน้ คว้าและหาประสบการณ์ตรงจากแหล่งความรอู้ นื่ ๆ เพิ่มเตมิ

หนว่ ยท่ี 1 แนวคิดและหลกั การเกี่ยวกบั การวจิ ยั ในชั้นเรยี น ความสาคญั และความหมายของการวจิ ัยในช้ันเรยี น การวิจัยเป็นเครื่องมือในการแสวงหาความรู้เพื่อแก้ไขปัญหาและเป็นการแสวงหาความรู้ท่ีมี วิธีการอย่างเป็นระบบแล้วนาไปสู่การแก้ปัญหา โดยจะค้นหาว่าอะไรเป็นเหตุของปัญหาที่จะศึกษาและ ค้นคว้าให้ได้ผลซ่ึงเป็นคาตอบท่ีน่าเชื่อถือ โดยมีวิธีการและเคร่ืองมือท่ีผ่านการตรวจประเมินจากผู้เชียว ชาญแลว้ ทั้งมกี ารอา้ งอิง หลกั การและทฤษฎีเพอื่ ยืนยนั ผลการคน้ พบความรใู้ หม่ท่ีเพ่ิมพูนจากองค์ความรู้ เดมิ ทีม่ ีอย่แู ลว้ ซง่ึ สามารถนาไปประยกุ ต์ใหเ้ กดิ ประโยชน์ได้ คาว่า Action Research ใช้ในความหมายภาษาไทยหลายคาท่ีใกล้เคียงกัน ได้แก่ การวิจัยเชิง ปฏิบัติการ การวิจัยปฏิบัติการ วิจัยดาเนินการ การวิจัยในช้ันเรียน วิธีการวิจัยในช้ันเรียน การวิจัยใน ห้องเรยี น (Classroom Research) การวิจัยเชิงปฏิบัติการในช้ันเรียน (Classroom Action Research) และการวิจัยของครู (Teacher – Base Research) เพราะเป็นการวิจัยที่ครูเป็นผู้ดาเนินการ ใช้เวลาใน การวิจัยไม่มากนัก มีประโยชน์ต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้สาหรับครู เป็นการวิจัยทางการศึกษา (Education Research) (สานกั งานคณะกรรมการการประถมศึกษาแหง่ ชาติ, 2544 และ กอบกุล จงกลนี ,2545) การวิจยั ในชั้นเรียนเป็นการวิจัยท่ีเกิดจากความต้องการของครูที่จะพัฒนาปรับปรุง เปล่ียนแปลง กิจกรรมการเรียนการสอนให้เกิดผลกับผู้เรียนในทางท่ีดีข้ึน เหมาะสมและมีคุณค่ามากขึ้น ทั้งน้ีเพื่อให้ คุณภาพของการศึกษาสูงข้ึน บรรลุจุดประสงค์ของการศึกษา คือ การพัฒนาและเปลี่ยนแปลงผู้เรียนให้ดี ข้ึน โดยเนน้ ผเู้ รยี นเปน็ สาคัญ การวิจัยในชั้นเรียนเป็นการศึกษาหาความรู้ด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์โดยการเร่ิมต้นจาก การศึกษาและวิเคราะห์ปัญหา ดาเนินการศึกษา จนถึงการสรุปและรายงานผลการศึกษาซ่ึงมีนักวิชาการ และนักการศึกษาได้ใหค้ วามหมายของการวจิ ยั ในช้ันเรียนไว้ดังนี้ มนสิช สิทธิสมบูรณ์ (2548) ให้ความหมายของการวิจัยในช้ันเรียนว่า หมายถึง การดาเนินงาน ของครูอย่างเป็นระบบในการเก็บรวบรวมข้อมูล เพ่ือการสะท้อนผลและหาวิธีการแก้ปัญหาตามสภาพท่ี เกิดข้ึนจริงในช้ันเรียน ด้วยกระบวนการวิจัยท่ีเชื่อถือได้ เพื่อการแก้ไขปรับปรุง เปลี่ยนแปลง พัฒนาและ เพ่ิมพูนความรู้ ให้เกิดประโยชน์สูงสุดกับผู้เรียน ทั้งในด้านที่เก่ียวกับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน การพฒั นาหลกั สตู ร และการบรหิ ารจดั การเรียนการสอน โชคชัย สุขสนิท (2548) สรุปความหมายของการวิจัยในช้ันเรียนว่า คือ การวิจัยที่จัดทาโดย ครูผู้สอน มจี ดุ มงุ่ หมายเพ่อื แกไ้ ขปัญหาทเี่ กดิ ขึ้นในชั้นเรียนและนาผลมาใช้ปรับปรุงพัฒนาการจัดกิจกรรม การเรียนการสอน ทาให้เกิดการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งครูผู้สอนและผู้เรียน เป็นการวิจัยที่ต้องทาอย่าง รวดเร็วเพอื่ นาผลไปใชท้ ันที

2 สุวิมล ว่องวานิช (2550) ให้ความหมายของการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน คือ การวิจัยที่ทาโดย ครผู สู้ อนในห้องเรียนเพ่ือแก้ปัญหาท่ีเกิดขึ้นในห้องเรียนและนาผลมาใช้ในการปรับปรุงการเรียนการสอน หรอื ส่งเสรมิ พัฒนาการเรยี นรู้ของผูเ้ รยี นให้ดียงิ่ ขน้ึ เพือ่ ใหเ้ กิดประโยชน์สูงสุดกับผู้เรียน เพลินพิศ ธรรมรัตน์ (2550) ได้ให้ความหมายของการวิจัยในช้ันเรียน (Classroom Action Research : CAR) หรือเรียกส้ันๆว่า การวิจัยในช้ันเรียน (Classroom Research : CR) ว่าหมายถึง การวิจัยที่ทาในบริบทของช้ันเรียนและนาผลการวิจัยมาใช้ในการพัฒนาการเรียนการสอน เป็นการนา กระบวนการวิจัยไปใช้ในการพฒั นาครใู ห้ไปสคู่ วามเปน็ เลิศและมอี สิ ระทางวิชาการ สรุปได้ว่า การวิจัยในช้ันเรียน เป็นการพัฒนาผู้เรียนอย่างมีระบบ เป็นการศึกษาและวิจัยควบคู่ กับการจัดการเรียนการสอนโดยครูผู้สอน เพ่ือแก้ปัญหาให้กับนักเรียน และพัฒนาการสอนของตนเอง และเผยแพร่ผลการวิจัยให้เกิดประโยชนต์ ่อผู้อ่นื ความสาคญั ของการวิจัยในชนั้ เรียน พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 หมวด 4 แนวทางการจัดการศึกษา มาตรา 24 การจัดกระบวนการเรียนรู้ (5) ระบุให้ สถานศึกษาและหน่วยงานที่เก่ียวข้องส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้สอน สามารถจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อม ส่ือการเรียนและอานวยความสะดวกเพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ และมีความรอบรู้รวมทั้งสามารถใช้การวิจัยเป็นส่วนหน่ึงของกระบวนการเรียนรู้ ท้ังน้ีผู้สอนและผู้เรียน อาจเรยี นไปพร้อมกัน จากสื่อการเรียนการสอนและแหล่งวิทยาการประเภทต่าง ๆ ซึ่งนักการศึกษาหลาย ทา่ นได้สรุปความสาคัญของการวิจยั ในช้ันเรียน ไวด้ ังน้ี บุญชม ศรีสะอาด (2546) กล่าวว่า การวิจัยในช้ันเรียนมีความสาคัญต่อการจัดการศึกษาเป็น อย่างย่ิงเพราะเป็นกระบวนการหนึ่งในกระบวนการเรียนการสอน ท่ีครูเป็นผู้จัดทาเพ่ือแก้ปัญหาการ เรียนรู้ของผู้เรียนทาให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนาเต็มตามศักยภาพ ส่งผลต่อคุณภาพการศึกษาและการ พัฒนาวชิ าชีพครดู ว้ ย การวจิ ัยในช้ันเรยี นมีความสาคัญต่อการจัดการเรียนการสอน โดยเฉพาะอย่างยิ่งกับครูผู้ทาวิจัยท่ี จะพัฒนาการเรียนการสอนและแก้ปัญหาการเรียนการสอนในช้ันเรียนควบคู่กับการจัดกิจกรรมการเรียน การสอน หรอื เปน็ การวจิ ัยประกอบแผนการจดั การเรียนรู้ใหม้ ีประสิทธภิ าพและเกิดประโยชน์สูงสุดต่อการ จัดการศกึ ษาต่อไป (พิทยา แสงสว่าง,2546) และมนสชิ สทิ ธิสมบรู ณ์, 2548) สุวมิ ล วอ่ งวานิช (2549) กลา่ วถึงความสาคัญและความจาเป็นของการวิจัยปฏิบัติการในช้ันเรียน ไว้ ดังนี้ 1) ให้โอกาสครูในการสร้างองค์ความรู้ ทักษะการทาวิจัย การประยุกต์ใช้ การตระหนักถึง ทางเลือกที่เป็นไปได้ท่ีจะเปลี่ยนแปลงโรงเรียนให้ดีขึ้น 2) เป็นการสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ นอกเหนอื จากการเปลี่ยนแปลงหรือสะท้อนผลการทางาน 3) เป็นประโยชน์ต่อผู้ปฏิบัติโดยตรง เนื่องจาก ช่วยพัฒนาตนเองด้านวิชาชีพ 4) ช่วยทาให้เกิดการพัฒนาที่ต่อเนื่องและเกิดการเปลี่ยนแปลงผ่าน กระบวนการปฏิบัติและการแก้ปัญหา 5) เป็นการวิจัยท่ีเก่ียวข้องกับการมีส่วนร่วมของผู้ปฏิบัติในการทา วจิ ยั ทาให้กระบวนการวจิ ยั มคี วามเปน็ ประชาธปิ ไตย ทาให้เกิดการยอมรบั ในความรู้ของผู้ปฏบิ ตั ิ

3 6) ช่วยตรวจสอบวิธีการทางานของครทู ่มี ปี ระสิทธผิ ล 7) ทาใหค้ รูเป็นผูน้ าการเปลีย่ นแปลง สรปุ ไดว้ ่า การวจิ ัยในช้ันเรียนเป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการท่ีใช้เพ่ือการศึกษาสภาพที่เกิดข้ึนภายใน หอ้ งเรยี นโดยมีครูเป็นผู้ดาเนินการ จึงมีความสาคัญ คือ เป็นกระบวนการศึกษาค้นคว้าที่เก่ียวข้องกับการ เรียนการสอนในห้องเรียน เพื่อหาแนวทางในการปรับปรุงคุณภาพการเรียนการสอนท่ีเก่ียวข้องกับ หลักสูตร วิธีสอน การจัดกิจกรรม ส่ือการสอน และวิธีการวัดประเมินผล เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนา ประสทิ ธภิ าพการเรยี นการสอนตามสภาพทีเ่ กดิ ขน้ึ ภายในห้องเรียนโดยมีครูเปน็ ผ้ดู าเนนิ การ ประโยชนข์ องการวิจัยในช้นั เรยี น การวจิ ัยในชัน้ เรียนมเี ปา้ หมายเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนหรือพฒั นาการเรียนรู้ เป็นกิจกรรมที่ กระทาควบคูก่ บั การเรยี นการสอนหรอื บูรณาการไปกับการเรียนการสอน เป็นการกระทาท่ีมีประโยชน์กับ ทุกๆ ผ่ายท่ีเก่ียวข้อง ช่วยในการพัฒนาวิชาชีพครู เนื่องจากข้อค้นพบท่ีได้จากกระบวนการสืบค้นที่เป็น ระบบและเชอื่ ถือได้ ทาให้ผู้เรยี นเกิดการพัฒนาการเรียนรู้มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนอยู่ในระดับท่ีน่าพอใจ และไม่มีปัญหาการเรยี น ซึง่ สง่ ผลไปถึงการขจัดปัญหาและผลกระทบอื่นๆ ด้วยมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน อยู่ในระดับที่น่าพอใจและไม่มีปัญหาการเรียน ซ่ึงส่งผลไปถึงการขจัดปัญหาและผลกระทบอื่นๆ ด้วย และครูเกิดการพัฒนาการจัดการเรียนการสอน มีความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ ในการหาทางแก้ปัญหาได้ อย่างเหมาะสม ได้นวัตกรรมท่ีผ่านการปรับปรุงจนเป็นที่ยอมรับ และเกิดความมั่นใจในการทางานมาก ข้ึน สามารถอธิบายได้ว่าตนเองสามารถจัดการเรียนรู้ให้เกิดผลแก่ผู้เรียนเป็นรายบุคคลและแต่ละคน อย่างไร นอกจากน้ียังเป็นการพัฒนาผู้ท่ีมีส่วนร่วมนาไปสู่การพัฒนาชุมชนแห่งการเรียนรู้ และด้วย หลักการสาคัญของการวิจัยปฏิบัติการที่เน้นการสะท้อนผล ทาให้การวิจัยแบบนี้ส่งเสริมบรรยากาศของ การทางานแบบประชาธิปไตยที่ทุกฝ่ายเกิดการแลกเปลี่ยนประสบการณ์และยอมรับในการค้นพบร่วมกัน (สุวมิ ล ว่องวานิช,2544;เพลินพิศ ธรรมรัตน์, 2550) ลักษณะของการวจิ ัยในชั้นเรียน การวจิ ยั ในช้ันเรยี น มีลักษณะท่ีสาคญั หลายประการซง่ึ นักการศึกษาหลายท่านได้กล่าวไว้ ดงั นี้ ประวติ เอราวรรณ์ (2546) ได้กลา่ วลกั ษณะของการวิจัยในชั้นเรียนไว้ดังนี้ 1) ปญั หาการวิจยั เกิดข้ึนจากการทางานในช้ันเรยี นทีเ่ กี่ยวกบั การเรียนการสอน 2) ผลการวจิ ัยนาไปใชเ้ พื่อพฒั นาการเรยี นการสอน 3) การวิจัยดาเนินไปพร้อมกับการจัดการเรียนการสอน กล่าวคือ สอนไปวิจัยไปแล้วนา ผลการวิจยั มาใช้แก้ปัญหา และทาการเผยแพรใ่ ห้เกิดประโยชน์ตอ่ ผู้อ่ืน เพลินพิศ ธรรมรัตน์ (2550) ได้ให้แนวคิดเก่ียวกับลักษณะของการวิจัยในชั้นเรียนไว้ว่า การวิจัย ในช้ันเรียน เป็นวิจัยแบบหน่ึงของการวิจัยทางการศึกษา โดยเป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการ (Action Research) นิยมเรียกว่า การวิจัยชั้นเรียน (Classroom Research) หรือการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน (Classroom Action Research : CAR) การวิจัยเกิดท่ีห้องเรียนโดยครูมีบทบาทเป็นผู้เก็บรวบรวมข้อมูล

4 อย่างเป็นระบบ มีหัวใจสาคัญคือมุ่งจัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้กับนักเรียนโดยอาศัยการปฏิบัติ (Action) ดังนั้น ครูจึงเป็นผู้วิจัยโดยตรง แต่เป็นนักทาหรือนักปฏิบัติมากกว่า โดยอาศัยระเบียบวิธีวิจัย หรือที่เรียกว่าการวิจัย เข้ามาใช้เป็นกระบวนการหรือวิธีการพัฒนาการเรียนการสอนในช้ันเรียนท่ีตนเอง รบั ผดิ ชอบอยู่ สุวิมล ว่องวาณิช (2550) ได้ให้แนวคิดเก่ียวกับลักษณะของการวิจัยในช้ันเรียนหรือการวิจัย ปฏิบัติการในช้ันเรียนว่า เป็นการวิจัยท่ีครูผู้สอนแสวงหาวิธีการแก้ไขปัญหาด้านการเรียนการสอนท่ี เกี่ยวข้องกับผู้เรียนในห้องเรียนโดยมีการดาเนินงานท่ีเป็นวงจรต่อเนื่อง มีกระบวนการทางานแบบมีส่วน ร่วม และเป็นกระบวนการท่ีเป็นส่วนหน่ึงของการทางานปกติ เพื่อให้ได้ข้อค้นพบเกี่ยวกับการแก้ไข ปญั หาท่สี ามารถปฏบิ ัตไิ ด้จริง ดงั นั้นการนาแนวทางการวิจัยปฏิบัติการในช้ันเรียนไปใช้ในการพัฒนาการ เรยี นการสอน มลี ักษณะสาคัญ ดังตารางที่ 1 ตารางที่ 1 ลกั ษณะสาคญั ของการวจิ ยั ปฏิบัตกิ ารในชัน้ เรียน ใครทา การวิจัยปฏบิ ัติการในชน้ั เรยี น คอื การวจิ ัยทม่ี ีลักษณะดังน้ี ทาอะไร ท่ีไหน ครผู ูส้ อนในห้องเรยี น เมื่อไร อยา่ งไร ทาการแสวงหาวิธีการแกไ้ ขปัญหา ทีเ่ กิดขนึ้ ในห้องเรียน เพือ่ จดุ มุ่งหมายใด ลักษณะเดน่ การวจิ ยั ในขณะทก่ี ารเรียนการสอนกาลงั เกดิ ขน้ึ ดว้ ยวิธกี ารวิจยั ทีม่ วี งจรการทางานต่อเนื่องและสะท้อนกลบั การทางานของตนเอง (Self-Refection) โดยข้ันตอนหลกั คือการทางาน ตามวงจร PAOR (Plan, Act, Observe, Reflect & Revise) มีจุดมงุ่ หมายเพ่ือพัฒนาการเรียนการสอนใหเ้ กิดประโยชน์สูงสุดต่อผเู้ รยี น เป็นกระบวนการวิจยั ที่ทาอย่างรวดเร็ว โดยครผู ้สู อนนาวิธกี ารแกป้ ัญหาที่ ตนคิดขน้ึ ไปทดลองใช้กบั ผู้เรียนทันทแี ละสงั เกตผลการแก้ปัญหาน้ัน มีการ สะทอ้ นผลและแลกเปลย่ี นประสบการณ์กบั เพือ่ นครูในโรงเรียน เปน็ การ วจิ ยั แบบรว่ มมอื (Collaborative Research) ทม่ี า : สุวิมล วอ่ งวาณิช (2550) รูปแบบของการวิจัยเชิงปฏบิ ัติการมีความสอดคล้องกับธรรมชาติของการเรียนการสอน และเหมาะ สาหรบั ครูท่ีไม่มคี วามรู้ในระเบียบวธิ ีวิจยั เนอ่ื งจากได้ลดเกณฑ์บางอย่างของการวจิ ัยตามรูปแบบออกไป ทาให้ครูสามารถนาวธิ กี ารวิจยั ในชนั้ เรยี นไปใช้ในการศกึ ษาเกยี่ วกับสง่ิ ทเี่ กดิ ข้นึ มาแล้วหรอื กาลงั จะเกดิ ข้นึ ต่อไปในอนาคตก็ได้ งานวิจัยทางการศึกษาพิเศษ นิยมใช้รูปแบบการวิจัยทางจิตวิทยา เนื่องจากกลุ่มเป้าหมายที่ ศึกษา มีจานวนน้อยและมีความแตกต่างกันมาก รูปแบบการศึกษาวิจัยท่ีนิยมใช้ คือ Single-Subject Design/Reversal Design/Withdrawal Design/Single-case Design, Single Baseline Design Single Study หรือ การวิจัยแบบกลุ่มตัวอย่างเด่ียว มีชื่อเรียก ต่าง กัน ได้แก่ Single Case Experimental Design, Single System Design, Single System

5 Design, Single Case Design, Single Subject Design, Within Subject Comparison Design ,Idiographic Design, N = 1 Design, Small- N- Design , Small- n – Experimentation ซ่ึงการ วิจัยรูปแบบน้มี ขี ้อดีคือ มีขั้นตอนง่าย ไม่ซับซ้อน แปลผลง่าย แต่มีข้อจากัดคือ ไม่สามารถสรุปอ้างอิงไปสู่ กลุ่มประชากรได้ กระบวนการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนต้องมีการดาเนินงานที่เป็นวงจรต่อเนื่อง มีกระบวนการ ทางานแบบมีส่วนร่วม และเป็นกระบวนการท่ีเป็นส่วนหนึ่งของการทางานปกติ เพ่ือให้ได้ข้อค้นพบ เก่ียวกับการแก้ไขปัญหาที่สามารถปฏิบัติได้จริง ในขั้นตอนของการวิจัยมีกระบวนการทางานท่ีเป็นวงจร การวิจยั แบบขดลวดตามแนวคิดด้ังเดิมที่เสนอ โดย Kemmis and Metaggart (1988) ซึ่งแสดงให้เห็น วา่ การวิจัยปฏิบตั กิ ารในชน้ั เรียนมี 4 ขั้นตอน คือ 1) การวางแผนหลังจากที่วิเคราะห์และกาหนดประเด็น ปัญหาที่ต้องการการแก้ไข (Plan) 2) การปฏิบัติตามแผนที่กาหนด (Act) 3) การสังเกตผลท่ีเกิดข้ึนจาก การปฏิบัติงาน (Observe) และ4) การสะท้อนผลหลังจากการปฏิบัติงานให้ผู้ที่มีส่วนร่วมได้ วิพากษว์ จิ ารณ์ ซ่ึงนาไปสกู่ ารปรับปรุงแกไ้ ขการปฏบิ ัตงิ านต่อไป (Reflect) วงจรการวจิ ยั ปฏิบตั ิการนี้เรียก ย่อๆ ว่า วงจร PAOR ดงั แสดงในภาพที่ 1 Plan Plan Plan Reflect Act Reflect Act Reflect Act Observ Observ Observ ภาeพท่ี 1 ขน้ั ตอนการวจิ ัยปฏบิ eตั กิ าร (Kemmis and McTaeggart, 1988) จุดเร่ิมตน้ ของการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน คือ การวิเคราะห์สภาพปัญหาที่เกิดขึ้นในช้ันเรียน จากนั้นจึงกาหนดเป็นคาถามวิจัยท่ีต้องการค้นหาคาตอบ โดยการวินิจฉัยปัญหาท่ีเกิดข้ึนแล้วหา แนวทางแก้ไข หลังจากได้ข้อค้นพบจึงนาผลดังกล่าวมาแลกเปล่ียนให้เพื่อนร่วมงานที่เก่ียวข้อง วิพากษว์ จิ ารณ์ แสดงใน ภาพท่ี 2 ระบุ วนิ ิจฉยั ปัญหา แลกเปลี่ยน ประสบการณ์ คน้ หาวธิ ีแกไ้ ขและ ลงมือแกไ้ ข ภาพท่ี 2 กิจกรรม การทาวิจยั ปฏิบตั ิการในชั้นเรยี น

6 ประเภทของการวิจัยในชั้นเรยี น การวิจัยในชั้นเรียนมีหลายประเภท ข้ึนอยู่กับเกณฑ์ท่ีใช้ในการจาแนก ซึ่งอาจยึดเกณฑ์การ จาแนกเช่นเดียวกับการวิจัยทั่วไปก็ได้ อย่างไรก็ตามการวิจัยในช้ันเรียนมีลักษณะเฉพาะอาจจาแนกตาม เกณฑเ์ ฉพาะเพมิ่ ขึ้นได้ ดังน้ี (เพลินพิศ ธรรมรัตน์, 2550) จาแนกตามความละเอยี ดของกระบวนการวิจัย จาแนกได้ 3 ประเภท คือ 1. การวจิ ยั หนา้ เดยี ว เป็นการวิจัยท่ีสามารถเขยี นรายงานเพยี งหน้าเดียวหรือหลายหน้า แต่ไม่มากนัก และการเขียนจะเขียนเพียงบอกปัญหาและวิธีแก้ปัญหา และผลการแก้ปัญหาอย่างย่อพอ เขา้ ใจ คล้ายกับบทคดั ย่อของการวิจยั อ่ืน 2. การวิจัยอย่างง่าย เป็นการวิจัยที่ค่อนข้างมีกระบวนการท่ีครบถ้วน แต่การเขียน รายงานการวิจยั บางหวั ข้ออาจขาดความสมบรู ณ์บ้าง เชน่ เอกสารงานวิจยั ทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง 3. การวจิ ยั ที่สมบรู ณ์เปน็ การวจิ ยั ทอี่ ยใู่ นระดับมาตรฐานสากลดาเนินการตาม กระบวนการทค่ี รบถ้วน เขียนรายงานการวจิ ัยอยา่ งสมบรู ณ์ จาแนกตามจดุ มงุ่ หมายเฉพาะของการวิจัย จาแนกเปน็ 2 ประเภท คือ 1. การวิจยั เพอ่ื ศึกษาสภาพปัจจบุ ันและปัญหา เชน่ การวจิ ยั เพ่อื วเิ คราะห์หรอื วินิจฉยั ผู้เรียน การวิจัยเพอ่ื ประเมินคุณภาพการศกึ ษา การวจิ ัยเพื่อศึกษาสภาพและปญั หาการเรียนรู้ เป็นตน้ 2. การวิจยั เพือ่ ประยุกต์ทฤษฎใี นการแก้ปัญหาและพัฒนา เช่น การวจิ ัยเพ่อื สรา้ งสื่อและ นวัตกรรมการเรยี นรู้ การวจิ ัยเพอ่ื สร้างเครอ่ื งมือประเมนิ ผลการเรยี นร้ขู องผู้เรียนให้มีความเปน็ เลศิ เป็นตน้ จาแนกตามรปู แบบหรอื แนวทางในการศกึ ษา จาแนกได้ 6 ประเภท คือ 1. รปู แบบหรอื วธิ กี ารเพ่ือการพัฒนาการเรยี นการสอน เชน่ การปรบั เปลยี่ นและพัฒนาวิธีการสอน ทดลองสอนดว้ ยเทคนคิ และวิธีการต่างๆ คน้ หาวิธกี ารใหม่ๆ เพื่อปรับเปลี่ยนพฤตกิ รรมผูเ้ รียน การสร้างแบบฝึกทักษะด้านต่างๆ ของผู้เรียน เทคนคิ วิธีการเสรมิ สรา้ งทกั ษะการเรียนรู้ หาแนวทางในการแกไ้ ขขอ้ บกพร่องของผู้เรียน 2. การศกึ ษาเกี่ยวกบั องค์ประกอบของการเรยี นการสอน เช่น ความสมั พนั ธ์ระหว่างครูกบั นกั เรยี น ความรเู้ ดิมกับพัฒนาการของการเรียนรู้ ปัจจัยท่ีมีผลตอ่ การเรยี นของผ้เู รยี น การวิเคราะหห์ ลักสตู ร การนาหลักสตู รไปใช้ ประสทิ ธิภาพและประสิทธิผลของการวัดประเมินผล บรรยากาศในหอ้ งเรยี นกับผลการเรยี นรูข้ องนักเรียน 3. การศึกษาเกีย่ วกบั ลักษณะและรูปแบบของหลักสตู ร เชน่ การประเมนิ การตดิ ตามกรใช้หลักสตู ร การพฒั นาหลกั สตู ร

7 การพฒั นาเทคนิคการวดั และประเมนิ ผล วเิ คราะหค์ วามเหมาะสมของรายวิชาตา่ งๆ 4. การศึกษาเก่ียวกบั การจัดการเรียนการสอน เช่น การประเมนิ ตดิ ตามการใช้แผนการสอน การทดลองใชว้ ิธีการสอนหรือชดุ การสอน การสรา้ งส่อื แบบฝกึ ชดุ ฝึก ชดุ การสอน หนงั สือ นวัตกรรม ผลการใชส้ อื่ แบบฝกึ ชุดฝึก ชุดการสอน หนังสอื นวตั กรรม การจดั หรอื ใช้รูปแบบของกิจกรรมการเรียนการสอน เจตคตขิ องครู อาจารย์ นักเรยี น ทีม่ ีต่อรายวิชาต่างๆ บรรยากาศในหอ้ งเรยี นและโรงเรียน การจดั หอ้ งเรียนและหอ้ งปฏบิ ตั ิการตา่ งๆ 5. การศึกษาเกี่ยวกับเทคนคิ วิธกี าร และรปู แบบของการวัดและประเมินผล เช่น การสร้างและพัฒนาแบบทดสอบแบบต่างๆ การวิเคราะหห์ าคณุ ภาพแบบทดสอบ การเปรยี บเทยี บผลสัมฤทธิท์ างการเรยี น การหาความสัมพันธ์ของผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี น การหาปัจจยั ที่มผี ลตอ่ ผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี น 6. การศึกษาเกย่ี วกับส่ือ เทคโนโลยี และนวัตกรรมตา่ งๆ เชน่ การพัฒนาส่ือการสอน หรอื การหาประสิทธิภาพของสอ่ื การสอน การเปรียบเทยี บวธิ ีการสอนแบบตา่ งๆ การเปรียบเทยี บประสิทธิภาพของสื่อการสอน ศกึ ษาผลการนาเทคโนโลยีมาใช้ในการเรยี นการสอน ศกึ ษาผลการเรียนรทู้ เี่ กดิ จากการใช้นวตั กรรม ศึกษาความสมั พันธ์ระหว่างผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นวชิ าตา่ งๆ ทเ่ี กดิ จากการใช้ส่ือ รปู แบบของการวิจยั ในช้ันเรยี น การวิจัยในชั้นเรียนเป็นการวิจัยที่เกิดจากการศึกษาโดยครู ซ่ึงเป็นผู้ท่ีอยู่ในเหตุการณ์หรือ สถานการณ์ของห้องเรียนในขณะท่ีทากิจกรรมการเรียนการสอนในช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง แล้วเขียน รายงานผลการศึกษาออกมาในรูปแบบของการวิจัยในช้ันเรียน เพ่ือใช้เป็นแนวทางในการศึกษาปัญหาที่ เกดิ ขน้ึ ต่อไป ดังนัน้ การวิจยั ในช้นั เรียนจึงมีลักษณะดังน้ี (เพลินพศิ ธรรมรตั น์, 2550) 1. เป็นงานวิจัยท่มี งุ่ คน้ หารูปแบบ วิธีการท่เี ก่ียวกับการเรียนการสอน 2. เป็นงานวิจยั ที่มุ่งพฒั นาคณุ ภาพของตวั ผเู้ รียนและประสิทธภิ าพของครูผ้สู อน 3. เป็นงานวิจัยทมี่ ุ่งศึกษา สารวจสภาพท่ปี รากฏตามความต้องการ ความสนใจ การวิจัยในชัน้ เรยี นเปน็ รูปแบบหนง่ึ ของการวิจยั เชงิ ปฏบิ ตั ิการ ซึ่งเปน็ การวิจัยท่ีมุ่งแก้ปัญหาท่ีเกิดขึ้นเป็น คร้ังๆ ไป หรือเป็นเร่ืองใดเรื่องหนึ่งในช่วงระยะเวลาหนึ่ง ผลการวิจัยที่ค้นพบไม่สามารถนาไปใช้อ้างอิงกลุ่มอื่นๆ

8 เพราะเป็นปัญหาที่เกิดขึ้นในวงจากัดเฉพาะที่ เช่น ปัญหาที่เกิดข้ึนในห้องเรียนที่ครูต้องการคาตอบมาอธิบาย เฉพาะที่เกิดขึ้นในหอ้ งที่ตนรบั ผิดชอบอยเู่ ท่าน้ัน ไม่เก่ียวกับปัญหาของหอ้ งเรยี นอ่ืนๆ การวิจยั ในช้ันเรียนใช้การวจิ ัยเชงิ บรรยายและวจิ ยั เชิงทดลอง ดังน้ี 1. การวิจัยเชิงบรรยาย 1.1 ลักษณะการศึกษาค้นคว้า เป็นการรวบรวมข้อมูลหรือค้นหาข้อเท็จจริงต่างๆ ใน สถานการณ์ท่ีเกิดขน้ึ แล้ว ไมม่ กี ารสร้างสถานการณใ์ ดๆ ไม่มีการกาหนดตัวแปรอสิ ระ 1.2 ลักษณะของปัญหาหรือเร่ืองท่ีเหมาะสมสาหรับการวิจัยเชิงบรรยาย คือ เป็นความสัมพันธ์ใน ปจั จุบันของสง่ิ ท่ปี ฏบิ ัติอยเู่ ป็นประจา ความเชื่อ แนวคิดหรือทัศนคติ กระบวนการที่กาลังดาเนินอยู่ เป็นการ ทานายลักษณะของผลท่จี ะเกดิ ขึ้น แนวโน้มหรอื ความเปล่ียนแปลงท่ีกาลงั พัฒนาอยู่ 1.3 การวิจัยในชั้นเรียนเชิงสารวจ เป็นแบบท่ีควรใช้อย่างมาก ก่อนที่จะทาการวิจัยเชิง ทดลอง เพราะทาให้ผู้วิจัยได้รู้จกั นกั เรยี น รู้วา่ มีนกั เรียนจานวนเทา่ ใดทีเ่ ป็นปัญหา มีปัญหาของการเรียน การสอนในเรื่องใด รู้สาเหตุของปัญหา เพ่ือครูจะสามารถแก้ไขปัญหาได้ตรงประเด็นและตรงกับกลุ่ม นักเรียนท่ีมีปัญหาจริงๆ เม่ือครูวิจัยในชั้นเรียนรู้จักนักเรียนดีแล้ว ครูต้องคิดต่อไปว่าจะแก้ไขอย่างไร แล้วจึงลงมอื แกไ้ ขโดยใช้การวิจยั ในชนั้ เรยี นเชงิ ทดลอง 2. การวจิ ยั เชิงทดลอง เป็นการศึกษาโดยจงใจเปล่ียนแปลงส่วนใดส่วนหนึ่งของสถานการณ์ที่ดาเนินอยู่หรือสร้าง สถานการณ์ขึ้นเองเพื่อศึกษาผลการเปลี่ยนแปลง การวิจัยในช้ันเรียนได้แก่ การทดลองใช้นวัตกรรม การศึกษาท่ีสร้างข้ึน เพ่ือแก้ไขปัญหาการเรียนการสอนที่เกิดข้ึนในห้องเรียน เนื่องจากการวิจัยตาม รปู แบบ (Formal Research) มีรายละเอยี ดและรปู แบบท่ีจะต้องยึดถืออยู่ตลอดเวลา ทาให้เกิดข้อยุ่งยาก และขอ้ จากัดในการทาวิจัยเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะกับผู้ที่ไม่มีพ้ืนฐานหรือความรู้ทางด้านระเบียบวิธีวิจัย ที่ดีพอ วิธีวิจัยเชิงปฏิบัติการ (Action Research) จึงถูกพัฒนาขึ้นมา เพื่อแก้ไขข้อยุ่งยากท่ีเกิดจากการ วิจัยในช้ันเรียน มีการลดข้ันตอนและข้อจากัดท่ีเป็นของการวิจัยเชิงปฏิบัติการตามรูปแบบของการวิจัย เชิงวิชาการลงไป ทาให้ง่ายต่อการทาความเข้าใจและนาไปใช้ได้ง่าย ดังนั้นเพื่อแสดงให้เห็นถึงความ แตกต่างระหวา่ งการวจิ ัยตามรูปแบบกบั การวิจัยเชิงปฏิบัติการจึงขอเสนอข้อเปรียบเทียบระหว่างการวิจัย เชงิ ปฏิบัตกิ ารกบั การวิจัยตามรปู แบบ ดงั ตารางที่ 2 ตารางที่ 2 เปรียบเทียบระหวา่ งการวิจยั เชิงปฏิบตั กิ ารกับการวจิ ัยตามรปู แบบ หวั ข้อ การวจิ ัยตามรปู แบบ การวิจัยเชิงปฏบิ ัติการ (Formal Research) (Action Research) 1. ผลการวจิ ัย มคี วามกว้างขวางและครอบคลมุ เฉพาะท่ี เฉพาะเรื่อง ไมส่ ามารถ อ้างองิ ไปใช้กบั กลุ่มอ่นื ได้ อ้างองิ ไปใชก้ บั กลมุ่ อนื่ ได้ 2. จุดมุง่ หมายของ มุง่ ศกึ ษา คน้ หาความรู้เพื่อนาไปใชก้ ับ มงุ่ ศึกษาคน้ หาความรู้ เพ่ือนาไปใช้ การวจิ ยั บุคคลหรือสถานการณ์ท่วั ไปไม่เจาะจง กับบุคคลหรือสถานการณ์เฉพาะ ทใี่ ดท่หี นงึ่

9 ตารางที่ 2 เปรียบเทยี บระหวา่ งการวิจัยเชงิ ปฏิบัติการกับการวจิ ัยตามรปู แบบ (ต่อ) หวั ข้อ การวิจัยตามรูปแบบ การวิจยั เชิงปฏิบัตกิ าร (Formal Research) (Action Research) 3. วธิ กี ารกาหนดปัญหาท่ี ศึกษาจากปัญหาวจิ ยั ที่ทามาก่อน ได้จากปัญหาทีเ่ กิดขน้ึ เฉพาะหน้า นามาศกึ ษา หรอื ปัญหาท่มี ีมุมมองกว้าง หรือจากเป้าหมายในขณะนน้ั 4. กระบวนการทีใ่ ช้ในการ ทาอย่างกว้างขวาง ชดั เจน และ คน้ คว้าอยา่ งง่ายๆ และเป็นแหล่ง คน้ ควา้ เอกสารและงานวิจยั เป็นแหลง่ ปฐมภมู ิ ทุติยภมู ิ 5. วธิ กี ารไดม้ าซึ่ง ใชว้ ธิ ีการสมุ่ เลือกโดยใชว้ ิธกี ารทาง เปน็ นกั เรียนในหอ้ งเรียนหรอื กลุ่มตัวอย่าง สถติ แิ ละความนา่ จะเป็น ผู้ทางานรว่ มกนั 6. แผนแบบการวจิ ัย มกี ารควบคุมตวั แปรอย่างเข้มงวด ตดั ข้นั ตอนทไี่ ม่จาเปน็ บางอย่าง และใชร้ ะยะเวลายาวนาน ออกไป ใช้ระยะเวลาสน้ั ไม่เขม้ งวด ในการควบคุมตัวแปร 7. กระบวนการวัดผล ประเมนิ ผลและมกี ารวัดก่อนการ วดั ตามแบบปกตหิ รือใชแ้ บบทดสอบ ทดลอง ระหว่างการทดลองและ มาตรฐาน หลงั การทดลอง 8. การวิเคราะห์ข้อมูล ใช้วิธกี ารทดสอบนัยสาคัญทางสถติ ิ ข้ึนอยู่กับความชดั เจนของการกระทา หรือวิธีการเชิงคุณภาพ เสนอเปน็ ข้อมูลดิบและ ไม่ เน้นการทดสอบนัยสาคัญทางสถิติ ซ่ึงจะมีหรือไม่มีก็ได้ 9. การประยุกตใ์ ช้ ยึดความสอดคล้องตามทฤษฎี ยึดความสอดคลอ้ งในการปฏิบตั ิ ผลการวจิ ยั 10.ระยะเวลาในการศึกษา ใชร้ ะยะเวลานานเปน็ ภาคเรียนหรือ ใชร้ ะยะเวลาสั้นๆ ตามหัวข้อหรอื ปกี ารศึกษาหรือมากกว่านน้ั ประเดน็ ท่ีศกึ ษา ธรี ะพัฒน์ ฤทธิ์ทอง (2545) ได้อธบิ ายรปู แบบการวจิ ัยในชนั้ เรียนว่า การวิจยั ในช้ันเรียนของครูเปน็ การวจิ ัยเก่ียวกับปญั หาที่เกิดขึ้นจากการจัดการเรยี นการสอนของครู สามารถทาได้ 4 รปู แบบ คือ 1. วิจัยสารวจปัญหา เป็นการวิจัยเพื่อสารวจศึกษาปัญหาที่เกิดข้ึนในการจัดการเรียนการ สอนโดยการสังเกตและเก็บข้อมูลอย่างเป็นระบบท้ังระหว่างทาการสอนและหลังจากตัดสินผลการเรียน โดยกาหนดประเด็นในการสารวจศึกษาปญั หาที่ขัดเจน 2. วิจัยทดลองสื่ออุปกรณ์ เป็นการแก้ปัญหาในการจัดการเรียนการสอนโดยใช้ส่ืออุปกรณ์ โดยผู้สอนได้ทาการวิเคราะห์ปัญหาที่ได้จากการสารวจวิเคราะห์ถึงสาเหตุของปัญหาและพิจ ารณาถึง แนวทางแก้ปัญหาเหมาะสมแล้วพบว่าควรจะแก้ปัญหาโดยการจัดส่ืออุปกรณ์การเรียนการสอนก็ ดาเนินการจัดทาส่ืออปุ กรณก์ ารเรยี นการสอน แลว้ นามาทดลองใชก้ บั นักเรียนกลุ่มเปา้ หมาย 3. วิจัยทดลองเทคนิควิธีการ เป็นการวิจัยเพื่อแก้ปัญหาการจัดการเรียนการสอนโดยใช้เทคนิค วธิ ีการต่าง ๆ ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ซ่ึงผู้สอนได้วิเคราะห์ถึงประเด็นปัญหาและพิจารณาเห็นว่าสาเหตุ

10 สาคัญของปัญหาเกิดจากกิจกรรมการเรียนรู้ที่จัดให้กับผู้เรียนยังไม่ส่งผลต่อครูภาพการเรียนรู้ของผู้เรียนจึง จาเป็นตอ้ งคดิ คน้ สรรหาเทคนคิ วิธีการในการจดั กิจกรรมมาทดลองใชใ้ นการแกป้ ญั หา 4. วิจัยทดลองหลักการแนวคิดและทฤษฎี เป็นการวิจัยเพ่ือแก้ปัญหาการจัดการเรียนการสอน โดยนาเอาหลักการแนวคิดและทฤษฎีท่ีได้คิดค้นหรือสรรหามากาหนดเป็นขั้นตอนการดาเนินงาน เพ่ือนาไปสู่ การพัฒนากลุ่มเป้าหมาย การวิจัยรูปแบบนี้จะนิยมเอาปัญหาท่ีเกิดข้ึน กับนักเรียนในภาพรวมมาพัฒนา เช่น การแก้ปัญหานักเรียนท่ีได้ผลการเรยี น “ร” โดยใช้หลกั การประเมินแบบมีส่วนร่วม เปน็ ต้น ชาตรี เกิดธรรม (2545) ได้อธิบายว่า เป้าหมายสาคญั ของการวิจัยในช้นั เรยี นคือ เพ่ือเปน็ การ แกไ้ ขปัญหาทีเ่ กิดขนึ้ ในการพัฒนาการเรยี นของผ้เู รยี นไม่ใช่เพื่อมุ่งสรา้ งองคค์ วามรใู้ หม่แต่อยา่ งใด ดังนั้น การวิจัยในช้นั เรียนจงึ ไมจ่ าเป็นต้องยดึ รูปแบบทเี่ คร่งครัดเหมอื นกับการวจิ ยั เชิงวิชาการ โดยท่ัวไปแล้วการ วจิ ัยในชน้ั เรยี นควรมลี กั ษณะดังน้ี 1) เปน็ การวจิ ยั จากปัญหาทีเ่ กดิ ขนึ้ ในช้นั เรยี นเกยี่ วกับการเรยี นการสอน 2) เปน็ การวจิ ยั เพือ่ นาผลการวจิ ยั ไปใชเ้ พอื่ พัฒนาการเรยี นการสอน 3) การวิจยั ดาเนนิ ไปพร้อมกับการจัดการเรียนการสอน กล่าวคือ สอนพร้อมกับทาการวิจัยไป ดว้ ย แล้วนาผลการวจิ ยั มาใชแ้ ก้ปญั หา และเผยแพรใ่ หเ้ กดิ ประโยชน์ตอ่ ผูอ้ ่ืน สรุปได้ว่าวิธีการวิจัยในชั้นเรียน สามารถทาได้ทั้งในรูปแบบการวิจัยสารวจและการวิจัยทดลอง การวิจัยสารวจทาให้ทราบปัญหาต่าง ๆ ท่ีเกิดขึ้นในบริบทของห้องเรียนทาให้ครูเข้าใจปัญหาได้อย่าง ชัดเจน อันจะนาไปสู่การคิดค้น หรือสรรหาเทคนิควิธีการ สื่อ อุปกรณ์การเรียนการสอน หรือหลักการ แนวคิด ทฤษฎีต่าง ๆ การวิจัยทดลองทาเพื่อใช้แก้ปัญหานั้น ๆ กับกลุ่มเป้าหมายอย่างเป็นระบบจนกว่า จะบรรลผุ ลสาเร็จตามเป้าหมายท่ีวางไว้

หน่วยที่ 2 การวางแผนการวจิ ยั การกาหนดชอื่ เร่อื งการวิจัย การวิจัยในชัน้ เรยี นเปน็ การวจิ ัยมงุ่ แก้ปัญหาและพฒั นาการจดั การเรียนร้ขู องนักเรียนซ่ึงสว่ นใหญ่ ปัญหาที่เกิดขึ้นมักอยู่ในชน้ั เรียน ดงั นัน้ ในการกาหนดปัญหาการวจิ ยั จงึ มาจากการบรรยายสภาพการณ์ใน ช้นั เรยี น ปรากฏการณท์ เี่ ปน็ ปญั หาท่ใี ชก้ ระบวนการวจิ ัยนาไปสกู่ ารกาหนดปัญหาการวจิ ัย (Research problem) และคาถามการวิจัย (Research question) ก่ อ น ท า ก า ร วิ จั ย เ รื่ อ ง ใ ด เ ร่ื อ ง ห น่ึ ง ผู้ วิ จั ย ต้ อ ง ศึ ก ษ า ส ภ า พ ก า ร ณ์ ห รื อ บ ริ บ ท ที่ ใ ช้ ใ น ก า ร วิ จั ย (Situation study or Contextual study) ซ่ึงบรรยายให้เห็นถึงความสาคัญท่ีจะศึกษา และมีประเด็น ปัญหาที่สงสัย (Issues) โดยแสดงหลักการ เหตุผล ที่มีข้อมูลและหลักฐานเชิงประจักษ์ ตลอดจนมี วรรณคดีที่เก่ียวข้องสนับสนุน ให้ผู้อ่านโดยเฉพาะผู้มีอานาจการตัดสินใจอนุมัติให้ทาวิจัยและแหล่งทุน สนับสนุน มีความเข้าใจและยอมรับถึงความสาคัญของปัญหาการวิจัย และคาถามการวิจัยชัดเจนย่ิงข้ึน ตามลาดับ ซ่ึงปัญหาการวิจัยจะนาเสนอในส่วนแรกของเค้าโครงการวิจัย (Research proposal) อย่างไร ก็ตามสาหรับการวิจัยในชั้นเรียนครูสามารถตัดสินใจทาวิจัยได้เองโดยไม่เน้นการทบทวนวรรณกรรมท่ี เก่ยี วขอ้ ง ในหัวข้อความเป็นมาและความสาคัญของปัญหาต้องบรรยายเกี่ยวกับปัญหาของการวิจัยที่ได้มา จากผลของการศึกษาสภาพปัญหา ซ่ึงแหล่งของปัญหาการวิจัยอาจได้จากการสังเกตสภาพการณ์หรือ ปรากฏการณ์ท่ีเป็นปัญหาจากประเด็นปัญหาที่สงสัยในปัจจุบัน (Current issues) จากประสบการณ์ใน การปฏบิ ตั ิงานและประสบการณ์สว่ นบคุ คล จากการทบทวนวรรณคดีที่เกี่ยวข้องและจากการคิดวิเคราะห์ และพฒั นามาจากทฤษฎีที่สนใจ ในเขียนความสาคัญของปัญหาการวิจัย ควรช้ีให้ให้เห็นถึงความสาคัญใน การแก้ปัญหาในชนั้ เรยี นโดยเน้นผเู้ รยี นเปน็ สาคัญ การได้ความรู้ใหม่ทพี่ ัฒนาการเรยี นการสอน คาถามการวิจัยได้มาจากการจาแนกปญั หาวิจัยออกมาเป็นประเด็นคาถามตา่ งๆ ใหช้ ัดเจนเจาะจง ย่ิงข้ึน คาถามการวิจัยจึงเป็นข้อความที่เป็นประโยคคาถามท่ีแสดงถึงตัวแปรท่ีต้องการศึกษาในการวิจัย เรื่องน้นั คาถามการวิจยั ที่ดีตอ้ งมลี ักษณะดงั น้ี คือ 1. มีความเปน็ ไปได้ (Feasibility) ในการทาวจิ ัยภายใต้ทรัพยากรสนบั สนุนทีผ่ ู้วจิ ัยมีอยู่ เชน่ ระยะเวลา งบประมาณ กาลังคน และพนื้ ฐานความรใู้ นสาขาวิชาการของผู้วจิ ัย 2. มีความชัดเจน (Clear) 3. มีความสาคญั (Significance) เช่น เปน็ คาถามที่จะได้คาตอบที่มคี ณุ คา่ ชว่ ยให้ได้ความร้ใู หม่ที่ สาคัญในการพฒั นาคน พฒั นางาน พฒั นาองค์กร เป็นตน้ 4. ไม่ขดั ต่อจริยธรรม (Ethics) เช่น ไมส่ ่งผลเสียหายต่อคน สตั ว์ พชื ศิลปวัฒนธรรม ทรัพยากร และส่งิ แวดล้อม เป็นต้น ( Fraenkel & Wallen , 1996 : 26–27)

12 การกาหนดปญั หาการวจิ ัยนาไปสกู่ ารต้ังคาถามการวิจยั และการเขียนวัตถปุ ระสงคข์ องการวจิ ยั รวมท้งั แสดงใหเ้ ห็นถึงความสัมพันธข์ องตัวแปรที่ชัดเจนเพราะวัตถปุ ระสงคข์ องการวจิ ัย เปน็ ข้อความที่ เป็นประโยคบอกเลา่ ที่แปลงมาจากคาถามวิจัยนั่นเอง โดยจะแสดงความสัมพนั ธ์ หรอื ความเชือ่ มโยง ระหวา่ งตวั แปรหรอื ปรากฏการณ์ท่ตี ้องการศึกษา ดังภาพที่ 2 ภาพท่ี 3 ความสัมพนั ธข์ องปัญหาการวจิ ยั คาถามการวจิ ยั วัตถุประสงค์และชือ่ เร่ือง การเขียนวัตถปุ ระสงคก์ ารวิจัยที่ดีต้องให้สอดคล้องกับปัญหาการวิจัยและคาถามการวิจัยส่วนช่ือ เร่อื งจะแสดงความสมั พนั ธ์ของตัวแปรตามทีก่ าหนดไวใ้ นวัตถุประสงค์ ดังนั้นในการเขียนรายงานการศึกษาจากข้อค้นพบท่ีได้จากการวิจัยแต่ละข้อจึงต้องมีความ สอดคล้องกับวัตถุประสงค์และคาถามการวิจัยซ่ึงจะเป็นตัวช้ีนาว่าจะส่ง ผลกระทบทางบวกอย่างไรและ ผวู้ ิจัยสามารถนามาเขยี นเปน็ ประโยชน์ที่ไดร้ ับจากการวิจัยได้ ตัวอย่างการเขียนปัญหาการวิจัย คาถามการวจิ ยั วตั ถุประสงคแ์ ละชื่อเร่ืองการวจิ ยั ท่ีมี ความสมั พนั ธก์ นั ตัวอย่างการเขียนปญั หาการวิจยั คาถามการวจิ ัย วัตถุประสงค์และชื่อเรือ่ งการวิจัย ปญั หาการวิจัย คือ นักเรียนออทิสตกิ ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 2 มีปญั หาในการอ่านคาศัพท์ คาถามการวิจยั คือ คอมพิวเตอร์ช่วยสอนทาให้ความสามารถในการอ่านคาศัพทข์ องนกั เรยี น ออทสิ ติกชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 2 สูงขน้ึ หรือไม่ วัตถุประสงค์ในการวจิ ัย คือ เพ่ือศกึ ษาผลของการใชค้ อมพิวเตอร์ชว่ ยสอนทีม่ ตี ่อความสามารถ ในการอ่านของนักเรยี นออทสิ ตกิ ชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 2 ช่อื เร่อื ง คือ การศึกษาผลของการใช้คอมพิวเตอร์ชว่ ยสอนท่ีมตี อ่ ความสามารถในการอ่านของ นักเรยี นออทิสติกชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี 2 การทบทวนวรรณกรรมทีเ่ กยี่ วข้อง (Review of literature หรือ Literature review) การทบทวนวรรณกรรม เป็นกระบวนการสาคัญที่จะส่งเสริมศักยภาพของครูให้เป็นบุคคลแห่ง การเรียนรู้ เป็นแบบอย่างของการเป็นบุคคลท่ีมีการเรียนรู้ตลอดชีวิต ในการทาวิจัยช้ันเรียนอาจให้ ความสาคัญต่อการทบทวนวรรณกรรมท่ีเกี่ยวข้องน้อย เพราะครูใช้เวลาส่วนใหญ่ในการสอนมีเวลาน้อย และขาดแหล่งเรียนรทู้ างวชิ าการทจี่ ะศกึ ษาคน้ คว้าเพ่มิ เตมิ การแก้ปัญหาต่างๆ อาจเกิดจากประสบการณ์

13 ของตนเองทีม่ มี านาน ซึง่ นาไปส่กู ารตัง้ สมมติฐานท่มี ีความเปน็ ไปได้ อยา่ งไรก็ตามการทบทวนวรรณกรรม ท่ีเกยี่ วขอ้ งมีความจาเปน็ สาหรับครทู ี่เป็นผู้วจิ ัยดว้ ย เป้าหมายหลักที่สาคัญของการทบทวนวรรณกรรมท่ีเก่ียวข้องซ่ึงเป็นเอกสาร ตารา แนวคิด ทฤษฎี หรืองานวจิ ัยต่าง ๆ ทั้งจากในประเทศและต่างประเทศ คือ ช่วยให้ผู้วิจัยสามารถ จัดกลุ่มตัวแปรท่ี เกย่ี วข้องและนาขอ้ มูลท่ีไดม้ าเป็นฐานความรู้ในการกาหนดตัวแปรที่จะนามาศึกษาวิจัย และนาไปกาหนด เป็นกรอบความคิดในการวิจัย ที่ผู้วิจัยนาไปใช้ในการกาหนดสมมุติฐานการวิจัย (ถ้ามี) นิยามเชิง ปฏิบัติการและทาให้ผู้วิจัยไม่ทาวิจัยซ้าซ้อนกับอดีตท่ีมีคนเคยทาวิจัยมาแล้ว ผู้วิจัยสามารถใช้ความรู้ท่ีได้ จากการทบทวนวรรณกรรมที่เก่ียวข้องมาใช้เป็นแนวทางในการออกแบบการเลือกตัวอย่าง (Sampling design) การออกแบบการวัด (Measurement design) ให้เหมาะสม รวมทั้งนาผลของการทบทวน วรรณกรรมท่ีเก่ียวข้อง ไปใช้ในการอภิปรายผลการวิจัยท่ีแสดงถึงการพัฒนาองค์ความรู้ในบริบทนั้นๆ ที่ สาคัญผลงานท่ีได้จากการทบทวนวรรณกรรมท่ีเก่ียวข้องเป็นการแสดงหลักฐานว่าผู้วิจัยมีความรอบรู้มี ความรู้ ความเขา้ ใจในเร่ืองทที่ าวจิ ัย และมีความทนั สมัยในการติดตามผลงานวจิ ยั อยา่ งครอบคลุม ในการทบทวนวรรณกรรมที่เก่ียวข้อง มักพบปัญหาว่า มีผู้วิจัยหน้าใหม่ ที่ทบทวนวรรณกรรมท่ี เก่ียวข้องแบบไม่เข้าใจเป้าหมายอย่างแท้จริง เพียงแต่ทาไปตามข้ันตอนของการวิจัยเท่านั้นอาจใช้วิธีการ รวบรวมแบบตัดต่อ ขาดการวิเคราะห์และสังเคราะห์ผลการทบทวน (Review) วรรณกรรมบางเร่ืองไม่ เก่ียวข้องกับเรื่องท่ีศึกษา ซ่ึงทาให้หลังทบทวนแล้วก็ไม่สามารถกาหนดกรอบความคิดในการวิจัยได้ ถือ เป็นความคลาดเคลื่อนท่ีสาคัญของผู้วิจัย หรือกาหนดกรอบความคิดในการวิจัยข้ึนมาเองโดยไม่ได้เอาผล การทบทวนวรรณกรรมมาใช้ประโยชน์ ซ่ึงมักจะมีปัญหาตามมาคือ นาผลการศึกษาวรรณกรรมไป อภปิ รายผลไมไ่ ด้ หวั ข้อเรอื่ งในการทบทวนวรรณที่เกยี่ วข้องต้องครอบคลุมตัวแปรตามที่กาหนดในชอ่ื เรื่องการวิจัย หรือวัตถุประสงคก์ ารวจิ ัย และต้องทบทวนวรรณกรรมที่เป็นทงั้ หลักการ แนวคดิ ทฤษฎี และงานวิจัยที่ เก่ียวข้อง จากแหลง่ ข้อมูลทีห่ ลากหลายได้แก่ หนงั สือ ตารา วารสาร รายงานการวิจัย วทิ ยานพิ นธ์ หรอื จากส่อื ออนไลน์ต่างๆ ซ่ึงในการยกข้อความนามาเขียนต้องมีการอ้างอิงชอ่ื สกลุ ผเู้ ป็นเจา้ ของผลงานปี พ.ศ. หรอื ค.ศ. ทผ่ี ลิตผลงานไว้อย่างถกู ต้องตามหลกั การเขยี น ซ่งึ เสนอไว้ในบทที่ 5 การเขยี นรายงานการวจิ ยั ตวั อยา่ งหัวข้อในการทบทวนวรรณกรรมท่ีเกีย่ วข้อง ชอ่ื เร่ือง การศกึ ษาผลของการใช้คอมพิวเตอรช์ ่วยสอนที่มตี ่อความสามารถในการอา่ นคาศัพท์ของ นกั เรยี นท่ีมีความบกพรอ่ งในการเรียนรู้ โรงเรียนประชารกั ษ์ อาเภอนา้ ใส จังหวดั แผน่ ดนิ ทอง วรรณกรรมท่เี ก่ยี วข้อง ควรประกอบดว้ ย หัวเร่ืองดงั นี้ 1. หลักการและแนวคิดในการสอนอา่ นเปน็ คา 2. หลกั การและแนวคิดเกยี่ วกับคอมพวิ เตอรช์ ่วยสอน 3. ความร้เู ก่ียวกบั นักเรียนทมี่ ีความบกพร่องในการเรยี นรู้ 4. งานวจิ ยั ทเี่ กีย่ วขอ้ ง ในการทบทวนวรรณกรรมทีเ่ กยี่ วข้อง จะทาใหผ้ วู้ จิ ัยสังเคราะหไ์ ด้ตัวแปรและเขียนเปน็ กรอบ ความคิดในการวจิ ยั

14 กรอบความคิดในการวิจยั (Conceptual framework) กรอบความคิดในการวิจยั เป็นกรอบความคิดที่ผู้วิจัยได้สรุปความสัมพันธ์ระหว่างปรากฏการณ์ที่ ศึกษาจากการทบทวนวรรณกรรมทีห่ รือปรากฏการณ์ท่เี กดิ ข้ึนจริงในธรรมชาติและจะนาไปตรวจสอบว่ามี ความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์หรือไม่เพียงใดในรายงานการวิจัยนิยมเสนอกรอบความคิดในการ วจิ ยั ในรปู ของแผนภาพแสดงโครงสรา้ งความสัมพนั ธ์ระหวา่ งตัวแปรทง้ั หมดทใ่ี ชใ้ นการวิจัย กรอบความคิด ในการวิจัยจะรวมตัวแปรทุกตัวที่เก่ียวข้องสัมพันธ์กับตัวแปรตามที่ผู้วิจัยต้องการศึกษา แต่ในการวิจัย ผู้วิจัยอาจพิจารณาควบคุมความแปรปรวนของตัวแปรบางตัว ทาให้อิทธิพลจากตัวแปรนั้นคงท่ี หรือ จากัดขอบเขตการวิจัยไม่ศึกษาตัวแปรท้ังหมดในกรอบความคิดเชิงทฤษฎี ตัวแปรที่เหลืออยู่ในกรอบ ความคิดในการวิจัย จึงอาจมีจานวนน้อยกว่าตัวแปรในกรอบความคิดในกรณีเร่ืองท่ีจะทาวิจัยเป็นเร่ืองท่ี ยังไม่เคยมีใครทามาก่อน จึงไม่สามารถกาหนดกรอบความคิดในการวิจัยได้ ซ่ึงมีโอกาสเป็นไปน้อยมาก เพราะองค์ความรู้ที่มีอยู่ในปัจจุบันมีทฤษฎีและข้อค้นพบจากการวิจัยเป็นฐานรองรับ ปัญหาวิจัยที่ยังไม่ เคยมีใครทามาก่อนนัน้ อาจจะมีได้ คือเป็นปัญหาวิจัยท่ียังไม่มีการวิจัยในประเทศไทย มีแต่ในต่างประเทศ กรณีเช่นนี้ การกาหนดกรอบความคิดในการวิจัยต้องอิงทฤษฎีและข้อค้นพบจากการวิจัยในต่างประเทศ หากจะมีกรณีท่ีปัญหาวิจัยท่ีจะทาน้ันยังไม่มีทฤษฎีใด ๆ เกี่ยวข้องเลยแม้แต่น้อยและไม่มีใครเคยทาวิจัย เลย ผวู้ ิจยั จะสร้างกรอบความคดิ ในการวจิ ยั ตามหลักการเหตผุ ลโดยกาหนดขอ้ ตกลงเบอ้ื งตน้ รองรับก็ได้ การวางแผนการวิจยั และดาเนินการวิจัย การวิจัยในชั้นเรียนเป็นกระบวนการเสาะแสวงหาความรู้เพ่ือตอบคาถามหรือปัญหาท่ีมีอยู่อย่าง เปน็ ระบบและมวี ตั ถปุ ระสงค์ท่ชี ัดเจน มขี อบข่ายการวิจัยในช้ันเรียนหรือเกี่ยวข้องกับการจัดการเรียนการ สอน โดยครูเป็นผู้ทาวิจัยเริ่มจากขั้นตอนการวิเคราะห์ปัญหา การกาหนดปัญหาการวิจัย การออกแบบ การวจิ ัย และสร้างเคร่ืองมอื การวิเคราะหข์ ้อมลู และเขียนรายงานวจิ ัย กระบวนการและข้ันตอนในการวิจัยในชน้ั เรยี น นกั การศึกษาหลายทา่ นได้เสนอกระบวนการวจิ ยั และขั้นตอนในการวิจัยในช้นั เรียนไว้ ดังนี้ ทิศนา แขมมณี และนงลกั ษณ์ วริ ชั ชยั (2546) ได้สรุป กระบวนการท่ีเป็นข้ันตอนในการทาวิจัยไว้ 9 ขั้นตอน เรยี กวา่ เกา้ ก้าวสคู่ วามสาเร็จในการปฏบิ ัติการในช้นั เรยี น ดังน้ี ก้าวท่ี 1 การเลอื กปญั หาวจิ ัย ทม่ี าของปัญหาวจิ ัย (ปัญหาจากตัวผู้เรียน ปัญหาที่เกิดระหว่าง การจัดการเรียนการสอน ปัญหาท่ีเกิดจากความต้องการของครู) เลือกปัญหาท่ีสาคัญเลือกปัญหาท่ีไม่ สามารถใช้วิธีการเดิมแก้ปัญหาได้ เลือกปัญหาที่เกิดขึ้นต่อเนื่อง และยังแก้ไขไม่ได้เลือกปัญหาท่ีสามารถ แก้ไขไดด้ ว้ ยตนเอง ก้าวที่ 2 การวิเคราะห์สภาพปัญหา สารวจสภาพ หรือลักษณะของปัญหาเก็บข้อมูลเส้นฐาน (หากทาได)้ กา้ วที่ 3 การวเิ คราะหส์ าเหตขุ องปญั หา หาสาเหตุท่ีหลากหลาย หาสาเหตุที่สาคญั ก้าวท่ี 4 การหาแนวทางแก้ปัญหา พัฒนาการเรียนรู้ สังเกต วิเคราะห์ เช่ือมโยงคิดหาวิธีท่ี แตกต่างไปจากเดิม ศกึ ษาหาความรู้ (อา่ น ฟงั พูดคยุ ) กา้ วที่ 5 การระบุปัญหาวจิ ัย คาถามวิจัย วัตถุประสงค์การวจิ ัย ระบุให้ชัดเจนเขยี นให้ถูกตอ้ ง

15 ก้าวท่ี 6 การวางแผนการดาเนินการแก้ปัญหา การพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนศึกษาทาความ เข้าใจในวิธีการ นวัตกรรมที่นามาใช้ ระบุวิธีการ ขั้นตอนที่จะใช้ในการดาเนินการให้ละเอียด และชัดเจน เกบ็ ขอ้ มลู เส้นฐาน (หากยังไมไ่ ด้ทาในข้นั ตอนท่ี 2) กา้ วท่ี 7 การลงมือปฏิบตั ิ เกบ็ รวบรวมข้อมูล และวิเคราะห์ข้อมูล ให้รายละเอียดเกี่ยวกับการ ดาเนินการแต่ละขั้นตอน และสิ่งท่ีเกิดขึ้นตามความเป็นจริง ให้ข้อมูลเก่ียวกับการปรับปรุงวิธีการ แก้ไข แนวปฏิบตั ิ ก้าวท่ี 8 การสรุปผลและอภิปรายผลการวิจัย แสดงความคิดเห็นว่าการวิจัยได้ผลดีไม่ดีเพราะ อะไร ให้ข้อมูลว่า ผู้วิจัยได้เรียนรู้หรือได้บทเรียนอะไรบ้าง ตามวัตถุประสงค์การวิจัย (ส่ิงที่ค้นพบช่วยให้ เกดิ ความเขา้ ใจ ความกระจ่าง และการขยายความรู้ ความคิดอยา่ งไร) กา้ วที่ 9 การสะท้อนความคิด แสดงความคิดเห็นว่า การวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนคร้ังน้ีครูได้ พัฒนาทักษะการวิจัย และความเป็นครูมืออาชีพในด้านใด ให้ข้อมูลเกี่ยวกับการเผยแพร่การแลกเปล่ียน เรียนรู้รายงานวิจัย และความคิดเห็นให้ความคิดเห็นเกี่ยวกับแนวทาง หรือผลการนางานวิจัยไปใช้ ประโยชนใ์ นการพัฒนางานของครู พสิ ณุ ฟองศรี (2550) เสนอข้ันตอนการทาวจิ ัยในชั้นเรียน ไว้ 8 ขนั้ ตอน คอื 1. การสารวจและกาหนดปัญหาเพือ่ เตรยี มเร่อื งวิจัย 2. การคน้ คว้าและทบทวนเอกสาร 3. การสรา้ งและพัฒนานวัตกรรมตา่ งๆ 4. การกาหนดตัวแปรและสมมติฐาน 5. การเลือกแบบวจิ ยั และกาหนดกลมุ่ ตวั อยา่ ง 6. การสร้างและพัฒนาเครื่องมอื เกบ็ ขอ้ มลู 7. การวเิ คราะห์ขอ้ มูล 8. การเขยี นเคา้ โครงและรายงานการวิจัย นกั การศึกษาแตล่ ะท่านไดเ้ สนอกระบวนการวิจัยในชัน้ เรียนไวอ้ ย่างหลากหลายขัน้ ตอนซึ่งมีความสอดคล้องกัน แต่ขั้นตอนหลักของการวิจยั ในช้นั เรยี น ได้แก่ สารวจและวเิ คราะห์ปญั หา กาหนดวิธีการในการแก้ปัญหา พัฒนาวิธีการ หรือนวัตกรรม ดาเนนิ การวิจัย และสรปุ ผลนน้ั ต้องถกู กาหนดไวใ้ นส่วนของการวางแผนการวิจัย ซึ่งหากมีการดาเนินการ วิจยั แล้วผลการวิจัยแสดงให้เหน็ ว่ายังไมส่ ามารถแกป้ ญั หาไดต้ ามท่ีตอ้ งการ ก็จะต้องทาการปรบั ปรุงแก้ไข โดยย้อนกลับ ไปค้นหาวิธีการหรือนวัตกรรมใหม่แล้วพัฒนาวิธีการหรือนวัตกรรม ตลอดจนนาวิธีการหรือนวัตกรรมไปใช้อีกเป็นวงจร จนไดผ้ ลเป็นทน่ี า่ พอใจแล้วจงึ เขียนเปน็ รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ การเลือกกกลุ่มตัวอยา่ งการวิจัย การเลือกกลุ่มตัวอย่างหรือเป้าหมายท่ีศึกษาในการวิจัยชั้นเรียนส่วนใหญ่มักศึกษาจากประชากร ทงั้ หมดซึ่งจะนิยมใชค้ าวา่ กลุ่มเปา้ หมายแทนคาว่าประชากร เช่น นักเรียนทั้งห้อง หรือนักเรียนทั้งระดับท่ี ครูได้รับมอบหมายให้สอน เนื่องจากครูต้องรับผิดชอบการสอนอยู่แล้ว ก็ใช้วิธีการสอนไป พัฒนาไป พรอ้ มๆ กัน นอกจากนี้จะพบวา่ ครูอาจสนใจพฒั นานกั เรียนบางคนบางกลุ่มที่มีคุณลักษณะเฉพาะเจาะจง ผู้วิจัยต้องเขียนลักษณะที่เฉพาะเจาะจงของกลุ่มเป้าหมายดังกล่าว หรือจะดาเนินการวิจัยเพ่ือแก้ปัญหา ของนักเรยี นคนเด่ียวทมี่ ีลกั ษณะหรอื ปญั หาที่เจาะจงกส็ ามารถดาเนินการได้ เชน่ กนั

16 โดยสรุปการวางแผนการวิจัยเห็นว่าเม่ือมีการกาหนดปัญหาและวัตถุประสงค์ในการวิจัยแล้วต้อง มีการวางแผนและออกแบบการวิจัย ท้ังการเตรียมเคร่ืองมือ วัสดุ อุปกรณ์ ส่ือ นวัตกรรม และเคร่ืองมือ เก็บรวบรวมข้อมูลท่ีจะใช้ในการวิจัย ซ่ึงได้แก่ การออกแบบการวัด ซึ่งต้องเป็นการออกแบบท่ีสอดคล้อง กบั วตั ถปุ ระสงคก์ ารวจิ ัยเพือ่ ตอบคาถามการวจิ ยั น่ันเอง การเลอื กกลมุ่ ตวั อย่างแต่ในการวิจัยชั้นเรียนมักไม่ ต้องกังวลในเรื่องหลักการสุ่มมากนักเน่ืองจากกลุ่มตัวอย่างส่วนมากเป็นกลุ่มเป้าหมายเฉพาะที่ผู้วิจัยหรือ ครสู นใจจะแก้ปัญหาไม่อ้างอิงกลุ่มประชากร ส่วนการวิเคราะห์ข้อมูลจะเป็นไปตามลักษณะของเครื่องมือ ซง่ึ ตอ้ งตอบคาถามการวิจัยอยา่ งเหมาะสมน่ันเอง ซ่งึ จะเสนอในบทตอ่ ไป

หนว่ ยท่ี 3 การเก็บรวบรวมขอ้ มลู การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู เปน็ ขัน้ ตอนที่สาคัญที่สุดขนั้ หนึ่งในงานวจิ ยั ผู้วิจัยควรศึกษาทาความเข้าใจ ทั้งลักษณะและประเภทข้อมูลตลอดจนวิธีการเก็บข้อมูล เพ่ือจะได้นาไปประยุกต์ใช้ได้อย่างถูกต้องและ เหมาะสมช่วยให้ครูตอบคาถามการวิจัยในช้ันเรียนได้ถูกต้อง ลักษณะของข้อมูลท่ีดีต้องมีความสัมพันธ์ โดยตรงกับปัญหาวิจัย การรวบรวมข้อมูลที่ใช้สาหรับการวิจัยในชั้นเรียนได้มาจากแหล่งต่างๆ เช่น แบบ บันทึกพฤติกรรม แบบทดสอบ แบบสอบถาม จากกลุ่มจากกลุ่มตัวอย่าง ข้อมูลที่รวบรวมได้ต้องอยู่ ภายใต้กรอบของปัญหา ขอ้ มูลอาจอยู่ในรปู ของข้อมูลเชิงปริมาณ หรือเชิงคุณภาพก็ได้ การรวบรวมข้อมูล ครูต้องยึดถอื คณุ ธรรมและจรยิ ธรรมของผูว้ ิจยั อย่างเข้มงวด ไม่มคี วามลาเอยี ง หรอื อคติเพราะจะทาให้ผล การศึกษาเกดิ ความผิดพลาดได้งา่ ย อย่างไรกต็ ามในการทาวิจยั ให้เป็นทเี่ ช่ือถือ เม่ือมีการศึกษาปัญหา แนวคิด ทฤษฎีท่ีเกี่ยวข้องและ กาหนดวัตถปุ ระสงคก์ ารวิจัยไดแ้ ล้วผูว้ ิจยั อาจตงั้ สมมตฐิ านได้ ในกรณีท่ีวัตถุประสงค์การวิจัยมีทิศทางและ ในการออกแบบการวิจัย ซ่ึงประกอบด้วย การออกแบบการวัด การออกแบบการสุ่มตัวอย่างและการ ออกแบบการวิเคราะห์ข้อมูล เป็นส่วนสาคัญในการวางแผนการวิจัยท่ีดีและส่งผลต่อความน่าเช่ือถือของ ผลการวิจยั การเก็บรวบรวมข้อมลู ของการวิจัยในชนั้ เรยี น มแี นวทางการดาเนินงาน ดังน้ี การสรา้ งและพัฒนาเครอ่ื งมอื เกบ็ ข้อมูล การออกแบบการวดั โดยทัว่ ไปในการวจิ ยั ช้ันเรียนมีเครอ่ื งมือท่ีผูว้ ิจัยจะพัฒนา 2 อยา่ ง คือ 1. เครอ่ื งมือทใี่ ช้ในการวดั เป็นเครอื่ งมือท่สี รา้ งข้นึ เพือ่ จะวัดคา่ ตัวแปรหรอื ใชใ้ นการรวบรวม ข้อมลู เพือ่ ตอบคาถามการวิจัยนั่นเอง 2. เคร่ืองมือท่ีใช้ในการทดลองซงึ่ เป็นไปตามเงื่อนไขการทดลอง อาจเป็นนวัตกรรมท่ีผวู้ จิ ัยพัฒนาขึ้น 1. เครอ่ื งมือทีใ่ ช้ในการวดั ในการออกแบบเครอ่ื งมือท่ีจะวัดตอ้ งคานึงถึงคุณลักษณะที่ต้องการวัด เช่น ส่ิงท่ีจะวัดเป็นความรู้ การกระทา ความเป็นจริง หรือความคิดเห็น ตามกรอบของเน้ือหาในการวิจัย ท้ังน้ีต้องสอดคล้องกับ นยิ ามปฏิบตั กิ ารของตวั แปรทจี่ ะวดั ด้วย การออกแบบเคร่ืองมือมีแนวทางการเลือกเครอ่ื งมอื แสดงดงั ตารางที่ 3

18 ตารางที่ 3 ความสัมพนั ธ์ของเครื่องมือและคณุ ลกั ษณะท่ตี อ้ งการวดั คณุ ลกั ษณะท่ตี อ้ งการวัด เคร่อื งมอื วิธกี ารเก็บรวบรวมข้อมูล ตรวจสอบรายการ เติมคา ความเปน็ จริง แบบสารวจ ประมาณคา่ บนั ทึกข้อมูล เขยี นตอบ เลือกตอบ ความคิดเห็น การกระทา แบบสอบถาม แบบสมั ภาษณ์ สนทนา บันทกึ บันทกึ ประมาณค่า ความรู้ ความเขา้ ใจ แบบทดสอบ แบบสมั ภาษณ์ พฤติกรรมหรือการกระทา แบบสังเกต แบบประเมิน ความเป็นจรงิ ในการสรา้ งเคร่ืองมือในการวัดคา่ ตัวแปรของการวจิ ยั มีขัน้ ตอนมขี นั้ ตอนการสรา้ ง ดังน้ี 1. กาหนดจุดมงุ่ หมายในการสร้างเครอื่ งมือ 2. ศกึ ษาหลักการและแนวคดิ ทเี่ กีย่ วข้องเกย่ี วกับการสร้างเครื่องมือ 3. เขียนนยิ ามปฏบิ ตั กิ ารของคุณลักษณะท่ีต้องการวัด 4. กาหนดชนดิ เคร่อื งมอื วัด 5. เขียนข้อความ / ข้อคาถาม 6. ตรวจสอบคณุ ภาพ โดยตรวจสอบความตรงเชงิ เน้ือหาให้ผเู้ ชยี่ วชาญท่ีเกยี่ วข้อง 7. ปรับปรุงเครือ่ งมือวัดตามคาแนะนาของผ้เู ชยี่ วชาญ 8. ตรวจสอบคณุ ภาพเชิงปฏิบัติโดยนาไปทดลองใช้ แตบ่ างคร้ังการนาเครอื่ งมือไป ทดลองใชท้ าได้ยากเพราะเด็กพเิ ศษที่มีคณุ สมบตั ิใกลเ้ คยี งกันมีจานวนน้อย และเครื่องมือท่ีออกแบบมา สาหรบั เก็บรวบรวมข้อมลู ชัน้ เรยี นใดยอ่ มมีความเหมาะสมกับช้นั เรยี นนนั้ 9. ปรับปรุงเครื่องมือวดั ใหส้ มบรู ณ์พร้อมเก็บข้อมลู อยา่ งไรก็ตามการสร้างเครอ่ื งมือสาหรับใชใ้ นการวจิ ัยช้ันเรียนไม่จาเปน็ ต้องใช้กระบวนการวิจยั ครบทงั้ 9 ข้อขา้ งตน้ ก็ได้ 2. เครอ่ื งมือทใ่ี ช้ในการทดลอง เครื่องมอื ที่ใชใ้ นการทดลอง ได้แก่ นวัตกรรม ซ่งึ อาจ เป็นสื่อ เปน็ กจิ กรรมหรอื วธิ ีการสอนท่ีผวู้ ิจยั นามาใช้เพ่ือพัฒนาการเรยี นการสอน ในการทาเครื่องมอื ท่ีใชใ้ นการทดลองเพื่อการทาวจิ ัยชน้ั เรยี น ควรจัดทานวัตกรรมและเอกสารซึ่ง เป็นองค์ประกอบที่เก่ียวข้องให้ครอบคลุมแนวทางในการนาไปใช้ ดังตารางท่ี 4

19 ตารางท่ี 4 เคร่ืองมือในการทดลองและองคป์ ระกอบท่เี ก่ียวข้อง เครอ่ื งมอื ในการทดลอง องค์ประกอบทเ่ี กย่ี วข้อง วิธีการสอนแบบ...... แผนการจัดการเรยี นรูโ้ ดยใช้วิธีสอนแบบ...... ส่อื / อุปกรณ์ /ใบงาน/แบบฝกึ แบบฝึกทักษะ แผนการจดั การเรยี นรโู้ ดยใช้ แบบฝึกทกั ษะ ค่มู อื การใชแ้ บบฝึกทกั ษะ กจิ กรรม........ แผนการจัดการเรยี นรู้โดยใชก้ ิจกรรม .... เชน่ กจิ กรรมดนตรี กิจกรรมศิลปะ คูม่ อื การจดั กจิ กรรม... กิจกรรมการปน้ั เป็นตน้ ชุดกจิ กรรมสือ่ /อปุ กรณ์ประกอบ สิ่งประดิษฐ์ ... แผนการจัดการเรียนร้โู ดยใช้ส่ิงประดษิ ฐ์ คู่มือการใชส้ ิ่งประดิษฐ์ แบบ /โครงสร้าง/สงิ่ ประดิษฐ์ ขน้ั ตอนการสรา้ งเครอื่ งมือทดลอง 1. กาหนดจุดม่งุ หมายในการสร้าง เครอื่ งมือทดลอง 2. ศึกษาหลักการ แนวคิดที่เก่ียวข้องกับเครอื่ งมือทดลอง 3. กาหนดโครงสรา้ งเน้อื หา 4. กาหนดรูปแบบ/โครงสร้างเครือ่ งมือทดลอง 5. เขียนรายละเอยี ดตามรูปแบบ/โครงสร้างที่กาหนด จัดทาแผนการจัดการเรยี นรู้และคู่มือ การใช้เครื่องมือทดลอง 6. ตรวจสอบคณุ ภาพเชิงเน้ือหาโดยผู้เช่ียวชาญ 7. ปรับปรุงเครอื่ งมอื ทดลองและเอกสารประกอบ 8. ตรวจสอบคุณภาพเชงิ ปฏิบัตโิ ดยนาไปทดลองใช้ 9. ปรับปรุงเครือ่ งมือทดลองและเอกสารประกอบใหส้ มบูรณก์ ่อนนาไปใช้ตามแผนการจดั การ เรยี นรู้ การออกแบบเครื่องมือการวิจัยที่ดี มีความสอดคล้องกับวัตถุประสงค์การวิจัย สามารถวัดได้ตรง กับสิ่งท่ีต้องการวัดซ่ึงก็คือตัวแปรในการวิจัย ในกระบวนการสร้างเคร่ืองมือต้องมีการหาคุณภาพเครื่องมือท้ัง ความตรงโดยเฉพาะอย่างยิง่ ความตรงเชิงเน้ือหาเพือ่ ใหม้ น่ั ใจวา่ เครือ่ งมอื สามารถวดั ไดต้ รงกับส่ิงที่ต้องการวัดแต่ อาจไมจ่ าเปน็ ตอ้ งหาความเทยี่ งถา้ ไม่มกี ลุ่มตัวอยา่ งท่มี คี ณุ ลักษณะคลา้ ยกันกับกลมุ่ ตวั อยา่ ง

20 การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ลักษณะของข้อมูลที่ดีต้องมีความสัมพันธ์โดยตรงกับปัญหาวิจัย การ รวบรวมข้อมูลที่ใช้สาหรับการวิจัยในช้ันเรียนได้มาจากแหล่งต่าง ๆ เช่น แบบบันทึกพฤติกรรม แบบทดสอบ แบบสอบถาม จากกลุ่มจากกลุ่มตัวอย่างหรือกลุ่มเป้าหมาย ซ่ึงต้องเป็นไปตามแบบแผนการ ทดลองที่กาหนดไว้อยา่ งชัดเจน ตัวอย่างขัน้ ตอนการเก็บรวบรวมข้อมูลการวิจัย แบบแผนการทดลอง แบบการวจิ ัยในการทดลองครั้งน้ีเป็นแบบวจิ ยั เชิงทดลอง ผู้วจิ ัยจะดาเนินการทดลอง แบบ One Group Pretest-Posttest Design ดงั นี้ E o1 X o2 เม่อื E แทน นักเรยี นบกพรอ่ งทางสติปญั ญาชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 1 o1 แทน การทดสอบความสามารถของการประสานสัมพนั ธร์ ะหว่างมือกบั ตา นักเรียนบกพรอ่ งทางสตปิ ญั ญาช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 กอ่ นการใช้กลอ่ งงาน X แทน การสอนโดยใช้กล่องงาน o2 แทน การทดสอบความสามารถของการประสานสัมพันธ์ระหว่างมือกับตา นกั เรียนบกพร่องทางสติปัญญาชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 1 หลังการใชก้ ลอ่ งงาน วิธดี าเนินการทดลอง การทดลองในคร้งั นี้ทดลองกับเด็กบกพร่องทางสตปิ ัญญาที่กาลงั ศึกษาในโรงเรยี นบา้ นทุ่งปี การศกึ ษา 2549 ใช้เวลาทดลอง 12 สัปดาห์ สัปดาหล์ ะ 5 คร้ัง ครั้งละ 30 นาที รวม 60 ครงั้ โดยมี ข้ันตอน ในการทดลองดังนี้ 1. ผูว้ ิจัยขอให้โรงเรยี นบา้ นทุ่งออกหนังสอื แตง่ ต้ังผเู้ ช่ยี วชาญและเรยี นเชิญผเู้ ช่ียวชาญ จานวน 5 ทา่ น ในการตรวจสอบเคร่ืองมอื และขออนุญาตผบู้ ริหารโรงเรียนบา้ นทุง่ เพ่อื ทาการทดลองและดาเนินการ ศึกษา 2. ทาการทดสอบก่อนการสอนโดยใช้กลอ่ งงาน จานวน 2 คร้งั ในสปั ดาห์ท่ี 1 จานวน 1 คร้งั และสัปดาห์ท่ี 2 จานวน 1 คร้ัง ด้วยแบบทดสอบความสัมพนั ธ์ระหวา่ งตากบั มือกบั กลุ่มเป้าหมาย ซ่ึงทา การทดสอบเปน็ รายบุคคลบันทึกคะแนนผลการทดสอบก่อนการทดลองเกบ็ ไวเ้ พื่อนาไปวิเคราะห์ข้อมลู ตอ่ ไป 3. ดาเนนิ การทดลอง โดยผู้วิจยั เป็นผทู้ าการทดลองด้วยตนเอง โดยใชก้ ลอ่ งงานประกอบแผนการ จัดการเรียนรทู้ ั้ง 16 กิจกรรม เปน็ เวลา 12 สัปดาห์ ทาการทดลองในวันจนั ทร์ ถงึ วันศุกร์ เวลา 13.00- 14.00 น. สปั ดาห์ละ 5 ครง้ั คร้งั ละ 30 นาที รวม 60 คร้ัง โดยมีการทดสอบระหว่างเรียนทุกวนั ศุกร์ของ สปั ดาห์ท่ี 2, สัปดาหท์ ี่ 4, สปั ดาห์ท่ี 6, สปั ดาห์ที่ 8, สัปดาห์ท่ี 10 และสัปดาห์ท่ี 12 จานวน 6 ครัง้ ด้วยแบบทดสอบความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งตากบั มือกบั กลมุ่ เป้าหมาย ซึ่งทาการทดสอบเป็นรายบคุ คล บนั ทึก

21 พฤติกรรมและบันทึกผลคะแนนการทดสอบหลงั การสอน จานวน 6 ครง้ั เกบ็ ไวเ้ พอื่ นาไปวิเคราะห์ขอ้ มูล ตอ่ ไป 4. หยุดทาการทดลองในสัปดาห์ที่ 13 และสัปดาห์ที่ 14 ทดสอบความคงทน ด้วยแบบทดสอบ ความสมั พันธร์ ะหว่างตากับมอื กบั กลุ่มเป้าหมาย ซ่ึงทาการทดสอบเป็นรายบุคคล บันทึกพฤติกรรมและบันทึก ผลคะแนนการทดสอบหลงั การสอน จานวน 1 ครง้ั เกบ็ ไวเ้ พื่อนาไปวเิ คราะหข์ ้อมลู ตอ่ ไป ตัวอย่างขั้นตอนการทดลอง ผ้วู จิ ัยดาเนินการดงั นี้ ตารางที่ 5 ตัวอย่างขั้นตอนการทดลอง สัปดาห์ท่ี 1 วันที่ 1 ของการฝึก นกั เรยี น กล่อง กจิ กรรมท่ี 1 กจิ กรรมท่ี 2 กจิ กรรมท่ี 3 กจิ กรรมท่ี 4 คนที่ งานที่ 1 1 ร้อยลกู ปัด ตอ่ ห่วง นาลกู ปัดใส่ถว้ ย นกั เรียนทกุ 2 2 ปลอ่ ยฝานา้ อดั ลมลง นาตัวหนบี ใส่ รอ้ ยเชือกตามรอยปรุ คนทาแบบฝึก รู กระดาษแข็ง ที่ 1ลากเสน้ 3 3 ใสห่ มดุ สี หยิบตวั เลขใสบ่ ล็อก คลึงดินน้ามนั เป็นเสน้ ตรงแนวตั้ง 4 4 นาตะเกยี บใสร่ ู หยิบรูปทรงใสบ่ ล็อก คลึงดินน้ามันเป็นก้อน จากบนลงล่าง 5 5 ปลอ่ ยลกู ปดั สลี งหลัก นาหว่ งใส่หลกั ตดั หลอดดดู ตามรอยประ สัปดาห์ท่ี 1 วนั ท่ี 2 ของการฝกึ กจิ กรรมที่ 2 กจิ กรรมที่ 3 กิจกรรมท่ี 4 นักเรียน กล่อง กิจกรรมท่ี 1 คนที่ งานท่ี นาตวั หนีบใส่ ร้อยเชอื กตาม นักเรียนทุกคน 1 2 ปลอ่ ยฝา กระดาษแข็ง รอยปรุ ทาแบบฝึกที่ 2 หยบิ ตัวเลขใส่ คลึงดินนา้ มันเปน็ ลากเส้นตรง น้าอัดลมลงรู บลอ็ ก เส้น แนวต้ังจากล่าง 2 3 ใสห่ มดุ สี หยบิ รปู ทรงใส่ คลงึ ดินนา้ มนั เป็น ขนึ้ บนตามรอย บลอ็ ก ก้อน ประ 3 4 นาตะเกียบใส่รู สปั ดาห์ท่ี 13 และสัปดาหท์ ่ี 14 หยดุ การทดลอง และติดตามความคงทนของทักษะการประสานสัมพันธ์ ระหว่างตากับมือด้วยแบบทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างตากับมือกับกลุ่มเป้าหมายซึ่งทาการทดสอบเป็น รายบคุ คล บันทึกพฤติกรรมและบนั ทึกผลคะแนนการทดสอบหลังการสอนจานวน 1 ครั้ง เก็บไว้เพ่ือนาไป วิเคราะห์ข้อมลู ต่อไป

หน่วยท่ี 4 การวเิ คราะห์ข้อมลู และการเสนอผลการวิเคราะห์ การวิเคราะห์ข้อมูลและการเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล เป็นข้ันตอนท่ีครูทาการประมวลผล ข้อมลู ที่รวบรวมไดแ้ ลว้ นาเสนอในรูปของแผนภูมิ ตารางต่าง ๆ ซ่ึงอาจอยู่ในรูปของข้อมูลดิบก็ได้ รูปแบบ ของข้อมูลท่ีนาเสนออาจมีลักษณะเป็นกลุ่ม เป็นรายบุคคล หรือผลการทดสอบนัยสาคัญทางสถิติ ซ่ึง ประกอบดว้ ยสถิตพิ รรณาต่าง ๆ ที่เกยี่ วข้องกบั ปัญหาวิจยั ในชั้นเรยี น รายละเอยี ดดังน้ี การออกแบบการวิเคราะห์ขอ้ มลู ในการออกแบบการวิเคราะห์ข้อมูล คือ กระบวนการวิเคราะห์ผลการวิจัยหลังจากการรวบรวม ขอ้ มลู แลว้ ซึง่ ในการวเิ คราะหผ์ ลขอ้ มูลจะพิจารณาจากข้อมลู ทีไ่ ด้ เชน่ ถ้าข้อมูลเป็นสาระข้อเท็จจริงจากการสัมภาษณ์ หรือประเด็นเน้ือหาจากคาถามปลายเปิด การ วเิ คราะหข์ ้อมูลตอ้ งใช้การพรรณนาเน้ือหาและจัดกลุ่มเนื้อหาตามประเด็นท่ีตอ้ งตอบคาถามการวิจยั ถ้าข้อมูลเปน็ จานวนเชงิ ปริมาณ ให้พิจารณาวา่ วัตถุประสงค์ตอ้ งการทราบอะไร คา่ ความถ่ี ค่าร้อย ละ หรอื ค่าเฉล่ีย การวิเคราะห์ข้อมูลสาหรับการวิจัยในช้ันเรียน อาจใช้การรับจานวน ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉล่ีย สว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐาน และการวเิ คราะห์เน้ือหา การเสนอผลการวิเคราะหข์ ้อมลู เนอื่ งจากงานวจิ ัยชั้นเรยี นมักใชก้ ลุม่ ตวั อย่างจานวนน้อยและศกึ ษากับกลมุ่ เปา้ หมายท่ีมีลกั ษณะ เฉพาะเจาะจง รูปแบบของงานวิจยั กไ็ ม่ซบั ซ้อนมาก สว่ นใหญ่จึงไมใ่ ช้สถติ ิวิเคราะห์ท่ยี ุง่ ยากมาก และอาจ ใช้วธิ ีการนาเสนอผลการวิจยั ในรูปแบบ ตาราง แผนภมู ิแท่ง แผนภมู วิ งกลม กราฟเส้นตรง เปน็ ต้น ดงั ตัวอย่าง ต่อไปนี้ Bar Chart) X Y 30% 50% 20% (0= , 1= , 2= ) ภาพท่ี 4 ตัวอย่างแผนภมู ิแท่งแสดงรอ้ ยละของจานวนนกั เรยี นทเี่ ล่มเกม

23 (Pie Chart) 30% 50% 20% (0= 1= , 2= ) ภาพท่ี 5 ตัวอยา่ งแผนภาพวงกลมแสดงร้อยละของจานวนนกั เรียนทีเ่ ลม่ เกม 1 23 120 98 99 100 90 90 90 80 ค่าเฉล่ีย = คา่ เฉล่ยี = 60 คา่ เฉลย่ี = 50 45 40 40 40 30 20 20 15 00 0 0 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 1 2 34 ……… ภาพที่ 6 ตวั อยา่ งกราฟเส้น แสดงคา่ รอ้ ยละของความถท่ี ่ีมีพฤติกรรมซ่ึงสังเกตได้ อยา่ งไรก็ตามในการเลอื กวา่ จะนาเสนอขอ้ มูลในรูปแบบใดน้ันต้องคานึงถึงลักษณะของข้อมูลด้วย เช่น ถ้าขอ้ มูลมีความเป็นอิสระมาจากกลุ่มตัวอย่างคนละคนสามารถใช้แผนภูมิแท่งหรือแผนภูมิวงกลมได้ แต่ถ้าข้อมูลมีความต่อเน่ืองกัน เป็นข้อมูลลักษณะเดียวกันมีเป้าหมายจากการสังเกตเดี่ยวกัน เช่นความถ่ี ของพฤติกรรมเดียวกนั เปล่ยี นตามชว่ งเวลา การนาเสนอโดยกราฟเสน้ จะมคี วามเหมาะสมมากกว่า เป็นตน้ ตัวอยา่ งการวิเคราะหข์ ้อมูล นาเสนอผลการพฒั นาทักษะการประสานสมั พันธ์ระหวา่ งตากบั มอื ของนกั เรยี นบกพร่องทาง สตปิ ัญญาโรงเรียนบา้ นท่งุ ภายหลังการใชก้ ลอ่ งงานเป็นกราฟเสน้ ตรง วเิ คราะห์เปรียบเทียบความแตกต่างของคะแนนท่ีได้จากการประเมินความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งตากับ มือก่อนและหลังการใช้กล่องงานโดยใช้สถติ ิ Wilcoxon matched- pairs signed – ranks test

24 สูตร D = Y – X เมอื่ D แทน คา่ ความแตกตา่ งของข้อมูลแตล่ ะคู่ Y แทน คะแนนของการประเมินหลังทาการทดลอง X แทน คะแนนของการประเมินกอ่ นทาการทดลอง สถิติท่ีใชว้ ิเคราะหผ์ ลการพัฒนาทกั ษะการประสานสมั พนั ธ์ระหว่างตากบั มือโดยใชก้ ล่องงานของ นักเรียนบกพร่องทางสตปิ ัญญาใชก้ ารวเิ คราะห์เนอื้ หาตามกราฟเส้นตรงและสถติ ใิ ช้สาหรับวิเคราะห์เปรยี บเทียบ ความสามารถก่อนและหลงั การใช้กล่องงานใช้สถติ ิ Wilcoxon matched- pairs signed – ranks test ตารางท่ี 6 คะแนนดา้ นการประสานสมั พันธ์ระหวา่ งตากับมอื ของนักเรยี นบกพร่องทางสตปิ ัญญา ทง้ั 5 คน กอ่ นสอนและหลังสอนในภาพรวม คะแนน (เตม็ 30 คะแนน) นกั ก่อน ก่อน หลัง หลงั หลัง หลงั หลัง หลงั ตดิ ตาม เรียน สอน สอน สอน สอน สอน สอน สอน สอน ผล คนที่ สปั ดา สปั ดาห์ สัปดาห์ สปั ดาห์ สปั ดาห์ สปั ดาห์ สปั ดาห์ สัปดาห์ สปั ดาห์ หท์ ี่ 1 ท่ี 2 ท่ี 2 ท4่ี ท6่ี ท8ี่ ท1ี่ 0 ท1่ี 2 ท1่ี 4 1 3 3 5 5 7 11 11 12 12 2 3 3 4 5 6 9 10 10 10 3 54 5 5 7 8 8 9 9 4 44 5 5 5 7 8 8 8 5 3 3 4 6 8 9 11 11 11 ค่าเฉลี่ย 3.6 3.4 4.6 5.2 6.6 8.8 9.6 10 10 SD .89 .55 .55 .45 1.14 1.48 1.51 1.58 1.58 จากตารางที่ 6 พบว่า การศึกษาผลของการใชก้ ล่องงานในการพัฒนาทกั ษะการประสานสมั พนั ธ์ ระหวา่ งตากับมือของนักเรียนบกพร่องทางสตปิ ญั ญา พบวา่ นักเรียนบกพร่องทางสติปญั ญาที่ไดร้ ับการ สอนด้วยกล่องงาน สว่ นใหญ่มคี ะแนนจากการทดสอบด้วยแบบทดสอบการประสานสัมพนั ธ์ระหวา่ งตากับ มอื เพ่มิ ข้ึนทุก 2 สัปดาห์ตามลาดบั ต้ังแต่สัปดาห์ที่ 1 ถงึ สัปดาหท์ ่ี 12 สงู ขนึ้ แสดงว่ากลอ่ งงานและ แผนการจัดการเรียนรู้ทั้ง 5 แผน จานวนกิจกรรม 16 กจิ กรรม สามารถพฒั นาทกั ษะการประสานสมั พันธ์ ระหวา่ งตากบั มอื ของนักเรยี นบกพร่องทางสตปิ ญั ญาได้

25 ภาพที่ 7 ผลของการใชก้ ล่องงานในการพฒั นาทกั ษะการประสานสัมพันธ์ระหว่างตากับมอื ของนกั เรียนบกพร่องทางสตปิ ญั ญา เฉล่ียทั้ง 5 คน คะแนนเฉลี่ย Treatment 8.8 9.6 10 Follow up p1re2 Pretest 10 10 8 4.6 5.2 pre6.6 3.4 6 3.6 4 2 0 สปั ดาห์ 1 2 2 4 6 8 10 12 14 pre จากภาพท่ี 7 พบว่า คา่ เฉล่ยี ของคะแนนด้านการประสานสมั พันธ์ระหวา่ งตากับมือ ของนกั เรยี น ท้งั 5 คน ที่ไดร้ ับการสอนดว้ ยกลอ่ งงานมรี ะดบั คะแนนเฉลย่ี ดา้ นการประสานสมั พันธ์ระหว่างตากบั มือ สูงข้ึนอยา่ งต่อเนื่อง ดงั นัน้ จึงสามารถสรุปไดว้ า่ การสอนโดยใชก้ ล่องงานทาให้นักเรียนบกพร่องทาง สตปิ ัญญามีพัฒนาการด้านทักษะการประสานสมั พนั ธร์ ะหว่างตากบั มือดีข้ึน เหน็ ได้จากคะแนนรายบุคคล และภาพรวมจากคะแนนเฉล่ียของทกุ คนที่มีแนวโน้มเพ่ิมขึ้นทกุ 2 สัปดาห์ จากผลการวจิ ัยครั้งน้ี พบวา่ ค่าคะแนนโดยเฉลี่ยก่อนการทดลอง ได้คะแนน 3.6 ซึง่ เทียบเทา่ กบั ความสามารถด้านการประสานสมั พนั ธ์ระหว่างตากับมือของนักเรียนทั่วไปอายุ 3 ปี 6 เดอื น หลงั จาก ทดลองใช้ได้ 12 สัปดาห์ หรือ 3 เดือน พบวา่ ค่าคะแนนโดยเฉล่ยี เท่ากบั 10 คะแนน เทียบเท่ากับ ความสามารถด้านการประสานสัมพนั ธ์ระหว่างตากับมือของนักเรยี นทวั่ ไปอายุ 6 ปี จากผลการทดลองน้ี แสดงให้เห็นว่าการใช้กล่องงานที่ผวู้ จิ ยั พัฒนาข้ึนทาใหน้ ักเรียนบกพร่องทางสติปญั ญามีพัฒนาการดีขึ้น ภาพท่ี 8 ผลการเปรียบเทียบความสามารถด้านการประสานสัมพันธร์ ะหวา่ งตากับมอื ของนักเรียน บกพรอ่ งทางสติปญั ญาเป็นรายบคุ คลกอ่ นและหลังการใช้กลอ่ งงาน คะแนน 12 10 8 11 12 9 4 3 10 4.5 4 3 นกั เรียนคนท่ี 8 5 pre 23 6 3 4 2 0 1

26 จากกราฟ พบว่า ผลคะแนนจากการทดสอบด้านการประสานสัมพันธ์ระหว่างตากับมือของ นักเรยี นบกพร่องทางสติปญั ญาเปน็ รายบุคคล ภายหลังจากที่ได้รับการสอนโดยใช้กล่องงาน มีคะแนนสูง กวา่ ก่อนได้รบั การสอนทุกคน เม่ือนาไปเทียบกับทักษะการประสานสัมพันธ์ระหว่างตากับมือของนักเรียน ทั่วไป พบวา่ ทักษะการประสานสมั พันธ์ระหว่างตากับมือของนักเรียนของนักเรียนบกพร่องทางสติปัญญา ใกลเ้ คียงหรือเทียบเท่ากับนักเรียนทั่วไป และเม่ืองดการสอนโดยใช้กล่องงานหลังจากสอนได้ 12 สัปดาห์ เพ่ือติดตามความคงทนของทักษะการประสานสัมพันธ์ระหว่างตากับมือของนักเรียน ก็พบว่านักเรียนยัง สามารถทาแบบทดสอบในสปั ดาห์ท่ี 14 ไดเ้ ทา่ กับคะแนนเดมิ ในสัปดาห์ที่ 12 แสดงให้เห็นว่าการสอนโดย ใช้กล่องงานท่ีผู้วิจัยพัฒนาข้ึนสามารถพัฒนาทักษะการประสานสัมพันธ์ระหว่างตากับมือของนักเรียนได้ อย่างมีประสิทธิภาพ และจากการบันทึกพฤติกรรม พบว่า หลังจากใช้กล่องงานได้ 1 เดือน หรือ 4 สัปดาห์ ผู้วิจัยพบว่า นักเรียนมีความก้าวหน้าของทักษะการประสานสัมพันธ์ระหว่างตากับมืออย่างเป็น รูปธรรม สามารถสงั เกตพฤติกรรมไดอ้ ยา่ งชดั เจน ทุกคน ผลการวิเคราะหค์ วามแตกตา่ งคะแนนด้านการประสานสมั พันธร์ ะหวา่ งตากับมือของนักเรียน บกพร่องทางสติปัญญาทั้ง 5 คน โดยใช้สถิติทดสอบ Wilcoxon matched–pairs signed–ranks test ปรากฏดงั ตาราง ตารางที 7 เปรยี บเทียบความสามารถของการประสานสมั พันธร์ ะหวา่ งตากบั มือของ นกั เรยี นบกพร่องทางสติปญั ญาทั้ง 5 คน กอ่ นและหลังการใชก้ ล่องงาน นกั เรียน คะแนนกอ่ น คะแนนหลัง ผลตา่ ง ลาดับที่ ลาดบั ตามเครื่อง คนที่ การสอนโดย การสอนโดย ของ ความ หมายคา่ สถิติ ใช้กล่องงาน ใช้กลอ่ งงาน คะแนน แตกตา่ ง (คะแนนเตม็ (คะแนนเต็ม D=Y-X +- 30 คะแนน) 30 คะแนน) 1 3 12 3 1 +1 -0 2 3 10 7 4 +4 -0 3 5 9 4 2.5 +2.5 - 0 4 4 8 4 2.5 +2.5 - 0 5 3 11 8 5 +5 -0 T+=+15 T - = 0 * มีนัยสาคญั ทางสถิตทิ ่ีระดับ .05 จากตาราง พบว่า ทักษะการประสานสัมพันธ์ระหวา่ งตากบั มือของนักเรียนบกพร่องทาง สตปิ ญั ญาท่ไี ด้รบั การสอนโดยใชก้ ล่องงาน ก่อนและหลังการทดลองแตกต่างกนั อย่างมนี ัยสาคญั ทางสถิติที่ ระดับ .05 โดยภายหลังการทดลอง นกั เรยี นบกพร่องทางสตปิ ัญญามีคะแนนในด้านการประสานสัมพนั ธ์ ระหวา่ งตากบั มอื สงู กวา่ ก่อนการสอนโดยใชก้ ล่องงานและแผนการจัดการเรยี นรู้โดยการใชก้ ลอ่ งงาน

หน่วยที่ 5 การนาเสนอรายงานผลการวิจัย ในการนาเสนอรายงานผลการวจิ ัยช้ันเรียนสามารถเขยี นได้ตามความเข้มข้นของกระบวนการวิจัย ได้แก่ 1) การวจิ ยั หน้าเดียวที่สามารถเขียนรายงานเพียงหน้าเดียวหรือหลายหน้าแต่ไม่มากนัก โดยเขียน เพียงบอกปัญหา วิธีแก้ปัญหาและผลการแก้ปัญหาอย่างย่อพอเข้าใจ คล้ายกับบทคัดย่อของการวิจัยอ่ืน 2) การวิจัยอย่างง่าย เป็นการวิจัยท่ีค่อนข้างมีกระบวนการท่ีครบถ้วน แต่การเขียนรายงานการวิจัยบาง หัวข้ออาจขาดความสมบูรณ์บ้าง เช่น เอกสารงานวิจัยท่ีเก่ียวข้องและ 3) การวิจัยที่สมบูรณ์ เป็นการ วิจัยที่อยู่ในระดับมาตรฐานสากล ดาเนินการตามกระบวนการท่ีครบถ้วน เขียนรายงานการวิจัยอย่าง สมบรู ณ์ (เพลินพิศ ธรรมรตั น์, 2550) ในการเขียนรายงานการวิจัยชั้นเรียนแบบสมบูรณ์เป็นการเขียนในรูปแบบมาตรฐานในการเขียน รายงานการวิจัยแบบสมบูรณ์ หรือรายงานการวิจัย 5 บทจาเป็นต้องมีการอ้างอิงแหล่งที่มาของข้อมูลที่ ชัดเจน มปี ระกอบดว้ ย3 ส่วนคือ ส่วนหน้า ส่วนเน้ือหาและส่วนท้าย ท้ังน้ีโครงสร้างรายงานวิจัยส่วนหน้า ได้แก่ ปกนอก(หน้าปก) ปกใน บทคดั ยอ่ ประกาศคุณูปการหรือกิตติกรรมประกาศ สารบัญ สารบัญตาราง สารบัญภาพประกอบ โครงสร้างรายงานวิจัยส่วนเน้ือหา ได้แก่ บทที่ 1 บทนา บทที่ 2 เอกสาร งานวิจัยท่ีเกี่ยวข้อง บทท่ี 3 วิธีดาเนินการวิจัย บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล และบทท่ี 5 สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะโครงสร้างรายงานวิจัยส่วนท้าย ได้แก่ บรรณานุกรม ภาคผนวก บัญชี รายนามผู้ทรงคุณวุฒิหรือผู้เชี่ยวชาญในการตรวจความตรงของเคร่ืองมือ สาเนาหนังสือประสานงาน ตวั อย่างเคร่ืองมือ และผลการหาคุณภาพเคร่อื งมือ ประวัตขิ องผูว้ จิ ัยรวมท้งั ปกนอก (หลัง) รายงานการวิจัยแบบสมบูรณ์มรี ายละเอียด เกีย่ วกับ องค์ประกอบในการเขยี น 5 บทรูปแบบ การพิมพ์ และการเขียนแนวทางในอา้ งอิง ดังนี้ องคป์ ระกอบในการเขยี น 5 บท องค์ประกอบในการเขียน 5 บท ประกอบด้วย 1.1 บทที่ 1 บทนา ในบทนาองรายงานการวิจยั โดยทั่วไปมรี ายละเอยี ดของ ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา คาถามของการวิจัย วัตถุประสงค์ของการศึกษา สมมติฐานของการวิจัย ขอบเขตของการศึกษาด้าน ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ตัวแปรที่ศึกษา ขอบเขตของเน้ือหา ขอบเขตเร่ืองเวลาและขอบเขตด้าน สถานท่ีในการวิจยั ประโยชน์ทีค่ าดว่าจะได้และนิยามศพั ทใ์ นการวิจัย 1.2 บทที่ 2 เอกสารและวรรณกรรมทีเ่ ก่ยี วข้อง ในบทท่ี 2 เอกสารและวรรณกรรมที่เก่ียวข้องมีรายละเอียดของข้อมูลจากการศึกษาหลักการ แนวคิด ทฤษฎแี ละงานวิจัยทเี่ กย่ี วข้องกับตัวแปรทศ่ี ึกษาและบรบิ ทท่เี ก่ียวขอ้ ง ซง่ึ ผู้วิจัยศกึ ษาจาก หนังสือ ตารา บทความในวารสาร เว็ปไซด์ สื่ออเิ ล็คทรอนิกส์และรายงานการวิจัยต่าง ๆ ตามกรอบและประเด็นท่ี เกยี่ วขอ้ งกับการวิจัย เพื่อเป็นการยนื ยันแนวคดิ หลกั การในการทางานวิจยั ทนี่ ่าเชื่อถอื

28 1.3 บทท่ี 3 การดาเนนิ การวิจยั ในบทที่ 3 ผู้วิจัยควรเขียนรายละเอียดเกี่ยวกับ วิธีการหรือข้ันตอนในการดาเนินงานวิจัย ประชากรและกลุ่มตัวอย่างซึ่งบอกถึงวิธีการเลือกกลุ่มตัวอย่างและวิธีการกาหนดขนาดกลุ่มตัวอย่าง เน่ืองจากการวิจัยทางการศึกษาพิเศษอาจมีประชากรท่ีสนใจศึกษาจานวนน้อย บางครั้งสนใจศึกษาจาก ประชากรท้ังหมด ไม่จาเป็นต้องเลือกกลุ่มตัวอย่าง อาจเรียกว่าเป็นการศึกษาจากกลุ่มเป้าหมาย รายละเอียดของเขอบเขตการศึกษา ตัวแปร ลักษณะของเครื่องมือท่ีใช้ในการวิจัยและเก็บรวบรวมข้อมูล การสร้างและหาคุณภาพของเครื่องมือ ข้ันตอนหรือวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลตลอดจนสถิติท่ีใช้ในการ วเิ คราะห์ข้อมลู 1.4 บทที่ 4 ผลการศกึ ษาและอภิปรายผล ในบทที่ 4 เป็นการนาเสนอผลการวิจัยมีรายละเอียดของผลการศึกษาตามวัตถุประสงค์ของการ วิจัยหรือเรียกว่าเป็นการตอบคาถามการวิจัยน่ันเองส่วนการอภิปรายผลให้อภิปรายตามประเด็นของ การศึกษาเพื่อยืนยันผลการค้นพบการอภิปรายผลและข้อเสนอแนะท่ีสมบูรณ์และดีจะเป็นประโยชน์ต่อ ผใู้ ช้ผลงานวิจยั นน้ั ๆ เป็นอย่างมาก ถือเป็นจุดสาคัญของรายงานการวิจัยท่ีจะช่วยให้ผู้อ่านมีความรู้ความ เขา้ ใจในการวิจยั นน้ั อยา่ งลึกซงึ้ สามารถนาไปประยุกตใ์ ชต้ อ่ ไปได้ ในการเขียนอภิปรายผลการวิจัย ผู้วิจัยควรนาข้อค้นพบของการวิจัยแต่ละข้อไปอภิปรายว่า เป็นไปตามสมมติฐานการวิจัยก็ควรอภิปรายว่าข้อค้นพบนั้นสอดคล้องกับทฤษฎีและผลงานวิจัยท่ี เก่ียวข้องอะไรบ้าง ถ้าเป็นไปได้ควรบรรยายว่าได้ข้อค้นพบท่ีใหม่ และช่วยสนับสนุนหรือพัฒนาองค์ ความรู้ในบริบทเรื่องนั้นอย่างไร และในกรณีที่ข้อค้นพบไม่เป็นไปตามสมมติฐานการวิจัย แสดงว่าไม่ สอดคลอ้ งกบั ทฤษฎแี ละผลการวิจยั ในอดีตตอ้ งอภิปรายว่าเนื่องมาจากสาเหตุใด 1.5 บทที่ 5 สรุปผลการศึกษาและขอ้ เสนอแนะ บทที่ 5 เป็นการเขียนสรุปผลการวิจัยท่ีมีรายละเอียดของงานวิจัยโดยย่อ ได้แก่ วัตถุประสงค์ สมมติฐานการวิจัย (ถ้ามี) วิธีการดาเนินศึกษา ซ่ึงรวมถึงกลุ่มตัวอย่าง ตัวแปร เครื่องมือและการเก็บ รวบรวมข้อมูล สรุปผลการศึกษาและข้อเสนอแนะ ซ่ึงการเขียนข้อเสนอแนะโดยท่ัวไปควรนาข้อค้นพบ ของการวิจยั แต่ละข้อไปประยกุ ต์ใช้ เพ่อื การพฒั นาในบรบิ ทที่เก่ียวข้องและเขียนข้อเสนอแนะสาหรับการ วิจัยครั้งต่อไป โดยอาศัยจุดอ่อนและจุดแข็งของผลงานวิจัยน้ันเป็นพ้ืนฐานในการเสนอแนะ ในการ รายงานการวจิ ยั สว่ นมากจะเสนอแนะให้การวิจัยครั้งต่อไปเพม่ิ ตวั แปร ซ่ึงในการเสนอแนะทุกประเด็นจึง ควรมเี หตุผลประกอบ 1.6 บรรณานกุ รม การอ้างอิงที่มาของข้อมูลท่ีเกิดจากการศึกษาค้นคว้าของผู้วิจัยจะต้องนามาเขียนไว้ใน บรรณานุกรม ซ่ึงมีรายละเอียดของข้อมูลการอ้างอิงท่ีมาของข้อมูลซ่ึงส่วนใหญ่เป็นการอ้างอิงจาก การศึกษาค้นควา้ ของผู้ทาวิจยั ซงึ่ อ้างองิ ชื่อบคุ คล องคก์ ร หน่วยงานทั้งในและต่างประเทศ ซ่ึงข้อมูลชื่อท่ี นามาอา้ งอิงบรรณานุกรมจะสอดคล้องกับในเล่ม หลักการเขียนบรรณานุกรมมีหลายแบบที่สากลนิยมใช้ ซงึ่ ผ้วู จิ ัยต้องตดั สนิ ใจเลอื กเพยี งแบบเดยี วเพ่อื ใหม้ คี วามคงเสน้ คงวาในการเขยี น

29 การเขยี นอ้างอิงในบรรณานุกรมตอ้ งมีการจัดเรียงชื่อผทู้ ี่ได้รับการอ้างองิ ตามลาดบั ตวั อักษรและ ถ้าชื่อผแู้ ต่งเป็นคนเดยี วกนั ให้เรียงตามปี พ.ศ. หรอื ค.ศ.ทเี่ ขียนหนงั สือ ทั้งน้ีใหอ้ า้ งอิงผู้แต่งที่เปน็ คนไทย กอ่ นคนต่างชาติ ตัวอย่างการเขียนบรรณานุกรม กระทรวงศึกษาธกิ าร. (2552). ราชกิจจานุเบกษา. ประกาศกระทรวงศึกษาธิการเรื่องกาหนดประเภท และหลกั เกณฑ์ของคนพิการทางการศึกษา พ.ศ.2552. เล่ม 126 ตอนพเิ ศษ 80 ง ลงวนั ท่ี 8 มิถุนายน 2552. หน้า 47. ดารารตั น์ สตั ตวชั ราเวช. (2546). เด็กออทสิ ติก. ค้นเม่ือ 18 กรกฎาคม 2546, ค้นจาก http://www.thaicilnic.com. ชาญยทุ ธ์ ศภุ คณุ ภิญโญ. (2547). อบุ ตั ิการณ์ สาเหตุ และการดาเนนิ โรคออทิสซึ่ม: ความรูเ้ รื่องออทิ สตกิ สาหรับผ้ปู กครอง ครูและบุคลากรทางสาธารณสุข. พิมพ์ครงั้ ที่ 2. ขอนแกน่ : คลงั นานา วทิ ยา. ทวีศักด์ิ สริ ิรตั นเ์ รขา. (2548). ออทิสติก. คน้ เมอ่ื 11 สิงหาคม 2548, จาก http://www. happyhomeclinic.com/autism.htm. เพญ็ แข ล่มิ ศิลา. (2540). การวินิจฉยั โรคออสทิ ซึม. สมทุ รปราการ: โรงพยาบาลยวุ ประสารทไวทโยปถมั ภ์. __________ . (2545). ออทิสซึม่ ในประเทศไทยจากตาราสปู่ ระสบการณ์ ในเอกสารประกอบบรรยาย พเิ ศษการประชุมระดบั ชาตเิ รอ่ื ง ครู หมอ พอ่ แม่ : มตกิ ารพฒั นาศักยภาพของบคุ คลออทิ สตกิ . กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. มาลินี ไชยบงั , ยุพาศรี ไพรวรรณ ชวลติ ชูกาแพง และจริยาภรณ์ รุจิโมระ.(2551). “การศึกษาผลการ ปรบั พฤติกรรมกา้ วร้าวของเด็กออทิสติกท่เี รียนร่วมโดยใชว้ ธิ ีการเสริมแรงด้วยเบี้ยอรรถกรในการ เลน่ เกมกบั เด็กปกติ”. วารสารมหาวิทยาลัยราชภฏั มหาสารคาม; ว.มรม. ปที ่ี 2 ฉบบั ที่ 1 : มกราคม - เมษายน 2551 : 43-52. วนิ ดั ดา ปิยะศลิ ป์. (2543). คมู่ ือเกี่ยวกับเด็กออทสิ ตกิ . กรงุ เทพฯ: แอดทีม ครเี อชั่น DfES Publication. (2006). Information for parents Autistic spectrum disorders (ASDs) and related condition. 2nd ed. Nottingham: DfES Publications 1.6 ภาคผนวก ในภาคผนวกควรแนบรายละเอยี ดท่ีมีรายละเอยี ด ภาคผนวก ก รายนามผเู้ ช่ยี วชาญตรวจสอบเครือ่ งมือ ภาคผนวก ข เครื่องมือการวจิ ัยและผลการหาคุณภาพเครื่องมือวจิ ัย ภาคผนวก ค แผนการจดั การเรยี นรูป้ ระกอบการใช้นวตั กรรม ภาคผนวก ง เอกสารอ่นื ๆ เช่น ภาพประกอบ ฯลฯ

30 การจดั รปู แบบการพมิ พข์ องหน้า ในการจัดรูปแบบการพิมพ์น้ันมีความสาคัญเพราะจะทาให้รายงานน่าอ่านและข้อมูลมีความ ครบถว้ น ไมข่ าดหาย เม่ือมกี ารเยบ็ เลม่ มาตรฐาน จัดหน้าโดยทั่วไป ในการจัดพิมพ์ในกระดาษ ขนาดมาตรฐาน A4 ควรเว้นก้ันหน้าจาก ด้านขวาและเว้นจากด้านบนเท่ากันคือ 1.5 น้ิวหรือ 3.81 เซนติเมตร เว้นก้ันหลังและเว้นจากด้านล่าง เท่ากนั คือ 1 น้ิว หรอื 2.54 เซนตเิ มตร รูปแบบตัวอักษรที่นิยม ได้แก่ Angsana New, Cordia New และTH SarabunPSK ขนาดตัวอกั ษรท่ีพิมพ์ หัวขอ้ หรือบท ใชข้ นาด 18 ส่วนอักษรทัว่ ไปใชข้ นาด 16 เพอ่ื ให้มคี วามสวยงามน่าอ่าน ควรใชอ้ กั ษรแบบเดียวกันทง้ั เล่ม การเขียนอ้างองิ ในการเขยี นอา้ งองิ มีความสาคัญเพราะนอกจากเปน็ การอ้างองิ แหล่งท่ีมาของข้อมูลทน่ี า่ เช่ือถือ แลว้ ยังเป็นการให้เกียรติแกเ่ จ้าของแหล่งข้อมูลและเป็นแนวทางให้ผอู้ ่านสืบคน้ ข้อมูลในเชิงลึกตอ่ ไปได้ ใน การเขียนอา้ งอิงมแี นวทางการเขียนดงั นี้ 1. ในการอา้ งอิงช่ือผ้แู ต่งก่อนเขียนขอ้ ความ เชน่ วินดั ดา ปิยะศิลป์. (2543). 2. ในการอา้ งอิงชื่อผู้แต่งหลายคน(ตั้งแตส่ องคนขน้ึ ไป) ก่อนเขยี นขอ้ ความ เช่น วินัดดา ปิยะ ศลิ ป์ (2543) และ ทวศี ักดิ์ สิริรตั นเ์ รขา (2548) มีความเห็นสอดคล้องกนั ว่า... 3. ในการอ้างอิงช่ือผ้แู ต่งหลังเขียนขอ้ ความ เชน่ (วนิ ัดดา ปยิ ะศลิ ป์, 2543) 4. ในการอ้างอิงช่ือผู้แตง่ หลายคน (ต้ังแต่สองคนขึน้ ไป) หลงั เขียนข้อความ เชน่ (วนิ ดั ดา ปิยะ ศลิ ป์, 2543และทวศี กั ด์ิ สิริรัตนเ์ รขา, 2548). ในการอ้างอิงภายในเล่มควรใช้รูปแบบการอ้างอิงใหค้ งเสน้ คงวาตลอดทั้งเล่ม ถา้ มกี ารคัดลอก ขอ้ ความจากเอกสารหนงั สือโดยตรงอาจต้องอ้างอิงเลขหน้าด้วย ซ่งึ ถา้ อ้างอิงเลขหน้าควรอา้ งอิงเลขหนา้ ตลอดทงั้ เลม่ และทส่ี าคัญในการศกึ ษาข้อมูลท่ีใชใ้ นการวจิ ัยควรศกึ ษาจากแหลง่ ข้อมลู ที่เปน็ ต้นฉบบั เพ่ือ ความถูกตอ้ งของข้อมลู จรงิ และการอา้ งองิ ไมค่ ลาดเคลื่อน โดยสรุปจะเห็นว่าในการเขียนรายงานการวิจัยแบบสมบูรณ์ 5 บทน้ันในรายงานการวิจัยควร ประกอบด้วย ส่วนหน้า ส่วนเนื้อหาและส่วนท้าย โดยมีโครงสร้างรายงานวิจัยส่วนหน้า ได้แก่ ปกนอก (หน้าปก) ปกในบทคัดย่อประกาศคุณูปการหรือกิตติกรรมประกาศสารบัญ สารบัญตาราง สารบัญ ภาพประกอบ โครงสรา้ งรายงานวิจยั สว่ นเน้อื หา ได้แก่ บทท่ี 1 บทนา บทท่ี 2 เอกสารงานวิจัยที่เก่ียวข้อง บทที่ 3 วิธีดาเนินการวิจัย บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลและบทท่ี 5 สรุป อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ โครงสร้างรายงานวิจัยส่วนท้าย ได้แก่ บรรณานุกรม ภาคผนวก บัญชีรายนามผู้ทร งคุณวุฒิหรือ ผเู้ ช่ยี วชาญในการตรวจความตรงของเคร่ืองมือ สาเนาหนังสือประสานงาน ตัวอย่างเคร่ืองมือ และผลการ หาคุณภาพเครอ่ื งมือ ประวัติของผวู้ จิ ยั รวมท้งั ปกนอก (หลัง) ซึ่งครูหรือผ้ทู าวจิ ัย

31 ช้ันเรียนอาจไม่มีเวลาในการศึกษาเรียบเรียงข้อมูลได้อย่างสมบูรณ์และเป็นระบบได้ โดยอนุโลมในการ เขียนรายงานวิจัยในชั้นเรียนอาจเขียนในรูปงานวิจัยหน้าเดียว หรือเขียนบทท่ีสองได้ไม่สมบูรณ์นักแต่ จาเป็นต้องมีข้อมูลท่ีสาคัญคือ การระบุปัญหาการวิจัยให้ชัดเจน การเขียนวัตถุประสงค์ที่ชัดเจน นาไปสู่ การตอบคาถามการวิจัยท่ีวัดได้ ประเมินได้ กลุ่มตัวอย่างหรือกลุ่มเป้าหมายที่ศึกษา ตัวแปรที่ศึกษา ข้ันตอนการดาเนินการศึกษาค้นคว้าและผลท่ีได้จากการวิจัยท่ีต้องสอดคล้องกับวัตถุประสงค์หรือตอบ คาถามการวิจัย อย่างไรก็ตามการเขียนรายงานการวิจัยชั้นเรียนแบบย่อแม้ไม่ครบห้าบทแต่ต้องนาเสนอ รายละเอียดของการค้นพบปัญหา แนวทางการแก้ปัญหา ข้ันตอนการทาวิจัยและผลท่ีได้รับ นอกจากน้ี แล้วอาจเขียนให้เหน็ ถึงกระบวนการสะท้อนกลับ(Reflection) ที่ได้จากการวิพากษ์วิจารณ์ของผ็เกี่ยวข้อง หรือเพือ่ นร่วมงานซงึ่ ช่วยกาจัดจุดออ่ นของการวิจยั ในช้ันเรียนท่ีมีเอกสารอา้ งอิงนอ้ ย

หนว่ ยท่ี 6 บทสรปุ และตัวอย่างการวจิ ยั ในชั้นเรียนด้านการศึกษาพเิ ศษ บทสรปุ การวิจัยชั้นเรียน( Action Research ) หรือการวิจัยในห้องเรียน (Classroom Research) หรือ การวิจัยเชิงปฏิบัติการในช้ันเรียน (Classroom Action Research) และการวิจัยของครู (Teacher – Base Research เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการ ซ่ึงมีความสัมพันธ์สืบเนื่องมาจากการวิจัยทางการศึกษา (Education Research) เป็นการวิจัยท่ีเกิดจากความต้องการของครูที่จะพัฒนาปรับปรุง เปล่ียนแปลง กิจกรรมการเรียนการสอนให้เกิดผลกับผู้เรียนในทางที่ดีข้ึน เหมาะสมและมีคุณค่ามากขึ้นโดยครูเป็น ผ้ดู าเนินการใชเ้ วลาในการวิจัยไม่มากนัก มีประโยชน์ต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้สาหรับครู ทั้งน้ีเพื่อให้ คุณภาพของการศกึ ษาสูงข้ึน การวิจัยในช้ันเรียนสามารถแบ่งได้หลากหลายขั้นตอนตามนักการศึกษาแต่ละคน ซึ่งข้ันตอน หลกั ของการวิจยั ในชน้ั เรียน ไดแ้ ก่ 1. สารวจและวเิ คราะห์ปัญหา เป็นจุดเริ่มต้นสาคัญในการวางแผนแก้ปัญหาหรือพัฒนาคุณภาพ การเรยี นการสอน ทาได้หลายลักษณะนาไปส่ปู ัญหาของการวจิ ัยแหล่งขอ้ มูล 2. กาหนดวิธีการในการแก้ปัญหา ทาให้เห็นแนวทางแก้ปัญหาได้ชัดเจนขึ้นขั้นตอนน้ีจะนาไปสู่ ตัวแปรท่ีจะศึกษา และวิธีการท่จี ะพัฒนาหรอื แก้ปญั หา 3. พัฒนาวิธีการหรือนวัตกรรม ขั้นตอนน้ีเป็นการกาหนดวิธีการ หรือสร้างนวัตกรรมในการ แกป้ ญั หาหรือพฒั นา เปน็ ข้ันตอนนาไปส่ตู วั แปรที่จะศึกษาและวธิ ีการทจ่ี ะพฒั นา 4. นาวิธีการหรือนวัตกรรมไปใช้ ขั้นตอนน้ีครูต้องระบุว่าจะปฏิบัติกับใครเมื่อไรอย่างไร แล้วเก็บ รวบรวมข้อมลู ตอ้ งมีเครอื่ งมอื และวธิ ีการเก็บรวบรวมข้อมลู รวมท้ังแนวทางการวเิ คราะห์ข้อมูล 5. สรุปและรายงานผล เม่ือรวบรวมข้อมูลได้แล้วนาข้อมูลมาวิเคราะห์โดยเลือกใช้สถิติท่ี เหมาะสมกับข้อมูลที่รวบรวมได้แล้วสรุปผลการวิเคราะห์ข้อมูล หากยังไม่สามารถแก้ปัญหาได้ตามท่ี ต้องการ ก็จะต้องทาการปรบั ปรงุ แกไ้ ข โดยยอ้ นกลบั ไปค้นหาวิธีการหรือนวัตกรรมใหม่แล้วพัฒนาวิธีการ หรือนวัตกรรม ตลอดจนนาวิธีการหรือนวัตกรรมไปใช้อีกจนได้ผลเป็นท่ีน่าพอใจแล้วจึงเขียนเป็นรายงาน การวจิ ัยฉบบั สมบูรณ์ ดงั ภาพท่ี 4

33 ภาพที่ 4 วงจรวจิ ัยปฏบิ ัตกิ ารในชั้นเรยี น การวิจัยที่ครูผู้สอนแสวงหาวิธีการแก้ไขปัญหาด้านการเรียนการสอนที่เก่ียวข้องกับผู้เรียนใน ห้องเรียนโดยมีการดาเนินงานที่เป็นวงจรต่อเนื่อง มีกระบวนการทางานแบบมีส่วนร่วม และเป็น กระบวนการท่ีเป็นส่วนหน่ึงของการทางานปกติ เพื่อให้ได้ข้อค้นพบเกี่ยวกับการแก้ไขปัญหาที่สามารถ ปฏิบตั ไิ ด้จริง ในการทาวิจัยช้ันเรียนนั้นนอกจากผู้วิจัยหรือครูผู้สอนจะมองเห็นปัญหา เข้าใจปัญหา สามารถ ระบุปัญหาการวิจัยได้ ต้ังคาถามการวิจัยได้แล้ว ต้องสามารถกาหนดแนวทางการแก้ไขปัญหาจากความรู้ และประสบการณ์ของครูเอง หรือจากการศึกษาค้นคว้าเอกสาร วรรณกรรมท่ีเก่ียวข้อง แล้วกาหนดเป็น วัตถุประสงค์และสมมติฐานการวิจัยซึ่งนาไปสู่การตอบคาถามการวิจัย ครูผู้วิจัยต้องมีความรู้ในการ ออกแบบและเลือกเคร่ืองมือวัดหรือเครื่องมือในการรวบรวมข้อมูล การหาคุณภาพของเคร่ืองมือ การ ทดลองใชน้ วัตกรรม เก็บรวบรวมขอ้ มลู วิเคราะหข์ อ้ มูลและรายงานผล ในการเขียนรายงานผลการวิจัยอาจเป็นความยุ่งยากของครูผู้วิจัยเพราะมีเวลาเหลือจากการสอน ไม่มากนัก แต่เป็นเร่ืองจาเป็นท่ีครูผู้วิจัยต้องเรียบเรียงผลการดาเนินการวิจัยมาเป็นรายงานวิจัยเพื่อ เผยแพร่ผลงานให้ผู้เก่ียวข้องและสาธารณชนได้แลกเปล่ียนเรียนรู้ซึ่งจะเป็นประโยชน์ในวงกว้างต่อไป อย่างไรก็ตามการเขียนรายงานการวิจัยชั้นเรียนไม่ได้คาดหวังความสมบูรณ์แบบในการเขียนรายงานการ วจิ ัย แต่ต้องมคี วามครบถ้วน สมบรู ณ์และชัดเจนในเร่อื งของ การระบุปญั หา คาถามการวิจัย วัตถุประสงค์ การวิจัย กลุ่มตัวอย่างหรือกลุ่มเป้าหมาย เคร่ืองมือการทดลองหรือนวัตกรรมหรือวิธารแก้ปัญหา เครื่องมือการวัดหรือเครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล ขั้นตอนการเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ ขอ้ มลู และการรายงานผลการวจิ ัยซึง่ ต้องตอบคาถามการวิจัย การเขียนรายงานการวจิ ยั ทดี่ ี มีความชัดเจนเม่ือนามาเผยแพร่ ผูอ้ า่ นจะเขา้ ใจง่ายและนามาใช้ ประโยชน์ เปน็ แนวทางในการพัฒนาการเรยี นการสอนและการพัฒนาคุณภาพการศึกษาตอ่ ไป

34 ตัวอย่างการวจิ ัยในชนั้ เรียนดา้ นการศึกษาพิเศษ 1. รายงานผลการปรับปรงุ พฤติกรรมต้ังใจเรยี นโดยการใช้ข้อตกลงของนกั เรียนบกพร่องทาง สตปิ ญั ญา ความเป็นมาและความสาคัญของการวิจยั ปัญหาการไมต่ ัง้ ใจทางาน กวนเพื่อนเป็นปัญหาท่เี กิดขึน้ ทกุ คร้งั ระหว่างครูสอน นักเรียนจะเดินไป มา รบกวนเพ่อื น และทาแบบฝกึ หัดท่คี รูมอบหมายไมเ่ สร็จในเวลาทคี่ รกู าหนด ปญั หาน้ีทาให้เกิดปัญหาใน ช้ันเรียน เชน่ ทาให้ครตู ้องหยุดสอนในชว่ งเวลาหนึ่ง นักเรียนคนอื่นไม่มีสมาธิในในการเรียน พูดคุยกันใน ชัน้ เรียน ปีการศึกษา 2555 ผู้วิจัยสอนวิชาภาษาไทย มีนักเรียนท่ีมีพฤติกรรมไม่ต้ังใจเรียนต้ังแต่เริ่มสอน จนหมดช่ัวโมงเรียน จานวน 4 คน ผู้วิจัยจึงนาปัญหานี้มาศึกษาหาแนวทางแก้ปัญหา เพื่อปรับปรุง พฤตกิ รรมการตั้งใจเรยี นโดยใชข้ อ้ ตกลง วตั ถุประสงคก์ ารวิจยั เพอ่ื แก้ปญั หาการต้ังใจเรยี นของนกั เรยี นบกพร่องทางสตปิ ัญญา ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 3 ในวชิ า ภาษาไทย ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2555 วธิ ดี าเนินการวิจยั การวิจยั คร้งั นเ้ี ปน็ การวิจัยเชิงทดลอง โดยใชข้ ้อตกลงในการเรยี นต้ังแต่ครง้ั แรกของการตั้งใจเรียน โดยใหค้ ะแนนพฤติกรรมไม่ตัง้ ใจเรยี นในวชิ าภาษาไทย ประกอบดว้ ย พฤติกรรมไม่ต้ังใจทางาน รบกวนเพอื่ น ไม่ ตงั้ ใจทางาน แตไ่ มก่ วนเพอ่ื น รวมกันเกนิ 5 คร้ัง จะไม่ได้คะแนนเข้าใชเ้ รยี น ในวนั น้นั ๆ กลุ่มเป้าหมาย นกั เรยี นบกพรอ่ งทางสตปิ ัญญา ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 3 ทเี่ รียนวชิ าภาษาไทย ภาคเรยี นท่ี 2 ปี การศกึ ษา 2555 เคร่อื งมอื การวจิ ยั 1. แบบบันทกึ คะแนนพฤติกรรมไมต่ ั้งใจเรยี น 2. ขอ้ ตกลงในการตัง้ ใจเรียน โดยแจ้งข้อตกลงกบั นักเรยี นและผู้ปกครองตง้ั แต่ครัง้ แรกของชัว่ โมง เรียน การรวบรวมขอ้ มูล 1. ใช้แบบบันทึกคะแนนพฤติกรรมไมต่ ัง้ ใจเรยี น คัดเลอื กกลมุ่ เป้าหมายได้จานวน 3 คน 2. ผูว้ จิ ยั สอบถามสาเหตุการไมต่ ้ังใจเรียนของนักเรยี นเป็นรายคน วเิ คราะหห์ าแนวทางการแกไ้ ข รว่ มกบั อาจารย์ประจาวชิ าอื่นๆ และผปู้ กครอง 3. สงั เกตพฤติกรรมของนักเรียนกล่มุ เปา้ หมาย เป็นระยะเวลา 10 สัปดาห์ โดยใช้แบบบันทึก คะแนนพฤติกรรม

35 4. บันทกึ คะแนนพฤติกรรมของกลุ่มเปา้ หมาย สปั ดาห์ละ 2 คร้ัง รวม 20 ครงั้ ตั้งแต่วันที่ 12 พฤศจิกายน 2555 ถึงวันที่ 18 มกราคม 2556 การวเิ คราะหข์ อ้ มลู วิเคราะหข์ ้อมลู จากผลการบันทกึ คะแนนพฤติกรรมไม่ต้ังใจเรยี นหลงั จากทาสัญญาขอ้ ตกลงกับ นกั เรยี น ผลการบันทกึ พฤติกรรม ไม่ต้ังใจเรยี น กลมุ่ เปา้ หมาย จานวน 4 คน พบว่านักเรียนมีพฤติกรรม ไม่ต้ังใจเรยี นลดลง ผลการวิจัย จากการใช้ข้อตกลงกับนักเรียนที่มีพฤติกรรมไม่ตั้งใจเรียน พบว่า นักเรียนกลุ่มเป้าหมายแสดง พฤติกรรมตงั้ ใจเรียนในวิชาภาษาไทย ในจานวนคร้งั ทต่ี รวจสอบว่าพฤติกรรมไม่ตั้งใจทางาน รบกวนเพื่อน ในช่ัวโมงเรยี น รวม 20 ครัง้ บันทกึ ขอ้ มูลได้ดงั นี้ ตาราง จานวนพฤติกรรมไม่ตั้งใจทางาน รบกวนเพ่ือนในชวั่ โมงเรยี น ของนักเรยี นกลุ่มเป้าหมาย ครัง้ ที่ จานวนพฤติกรรมนกั เรียน จานวนพฤตกิ รรม จานวนพฤตกิ รรม ตรวจสอบ คนที่ 1 นกั เรยี นคนที่ 2 นกั เรียนคนที่ 3 ไ ่มตั้งใจทางาน รบกวนเ ื่พอน รวม ไ ่ม ้ตังใจทางาน รบกวนเ ่ืพอน รวม ไ ่ม ้ัตงใจทางาน รบกวนเ ื่พอน รวม 1 7 3 10 5 6 11 7 5 12 2 7 5 12 5 7 12 7 5 12 3 7 5 12 5 8 13 7 5 12 4 6 4 10 4 7 11 6 4 10 5 6 4 10 4 6 10 6 4 10 6 54945 9 549 7 6 4 10 4 5 9 6 4 10 8 54945 9 549 9 53835 8 538 10 5 2 7 2 5 7 5 2 7 11 4 2 6 1 4 5 4 2 6 12 4 2 6 1 4 5 4 1 5 13 3 2 5 1 3 4 3 1 4 14 2 2 4 1 1 2 2 1 3 15 2 1 3 1 1 2 2 1 3

36 16 1 1 2 1 1 2 1 1 2 17 1 0 1 1 1 2 1 0 1 18 1 0 1 0 1 1 1 0 1 19 1 0 1 0 0 0 0 0 0 20 1 0 1 0 0 0 0 0 0 กราฟ จานวนพฤตกิ รรมไมต่ ้ังใจทางาน รบกวนเพือ่ นในช่ัวโมงเรียน ของนักเรียนกลุ่มเป้าหมาย 14 คะแนน 1 2 12 10 3 8 6 4 2 0 คร้ังท่ี 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 สรุปผลการวจิ ัย พฤติกรรมไมต่ ้งั ใจของนักเรียนบกพร่องทางสติปญั ญา หลังการทาข้อตกลง นกั เรียนแสดง พฤติกรรมตั้งใจเรียนเพ่ิมข้ึน พฤติกรรมไมต่ ัง้ ใจเรียน รบกวนเพื่อนในชั้นเรียนลดลง พยายามควบคุม ตนเองใหน้ ั่งเรยี นและทางานตามที่ครูกาหนดใหเ้ สร็จทนั เวลา รายงานผลการใชช้ ุดพัฒนาความสามารถในอา่ นคาของนักเรยี นบกพรอ่ งทางการเรยี นรู้ดา้ น การอา่ นคาท่ีมีฐานการออกเสียงวรรคปะ ในภาษาไทย ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 5 โรงเรยี นบา้ นสสี ด ความเปน็ มาและความสาคัญของการวิจัย ความสามารถในการอ่าน เป็นพ้ืนฐานของมนุษย์ในการเขียน การเรียนรู้ส่ิงแวดล้อมและการการ ดาเนินชีวิตประจาวัน ในปีการศึกษา 2554 ช้ันประถมศึกษาปีที่ 5 มีนักเรียนบกพร่องทางการเรียนรู้ จานวน 2 คน มคี วามยุง่ ยากในการอ่านออกเสยี งคา และความเข้าใจในคา ทีม่ ีฐานท่ีใช้ในการออกเสียง

37 วรรค ปะ ซึ่งอยู่ริมฝีปาก คือ พยัญชนะ บ ป ผ ฝ พ ฟ ภ และ ม ผู้วิจัยจึงพัฒนาชุดความสามารถใน การอ่านคา ทีม่ าจากฐานท่ีใชใ้ นการออกเสียง ดงั กล่าว วัตถปุ ระสงค์การวิจยั 1. เพ่ือพัฒนาชดุ ความสามารถในการอา่ นคา ทีม่ าจากฐานที่ใชใ้ นการออกเสยี ง วรรค ปะ ของ นักเรียนชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี 5 ในวชิ าภาษาไทย ภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศึกษา 2555 2. เพอื่ เปรยี บเทยี บความสามารถในการอ่านคาทม่ี าจากฐานทใ่ี ชใ้ นการออกเสยี ง วรรค ปะ ของ นักเรยี นชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 5 ในวชิ าภาษาไทย ภาคเรยี นที่ 2 ปีการศึกษา 2555 ก่อนและหลังการใช้ชดุ พฒั นาความสามารถในการอ่าน วิธดี าเนนิ การวจิ ยั การวิจัยคร้ังนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง แบบ one group pretest post test โดยทดสอบ ความสามารถในการอ่านคาที่มาจากฐานการออกเสียงวรรคปะ ก่อนและหลังการใช้ชุดพัฒนา ความสามารถในการคา ประกอบด้วย สื่อวีดีทัศน์ฝึกการฟัง การเลียนเสียง และบัตรภาพ เกมจับคู่ภาพ กับคา ทาการทดลองสัปดาห์ละ 5 วัน ทุกวันจันทร์ ถึงวันศุกร์ เวลา 15.00 น.- 16.00 น. ต้ังแต่ วันที่ 19 พฤศจกิ ายน 2555–5 มกราคม 2556 รวม 12 สัปดาห์ กลุ่มเปา้ หมาย นกั เรียนบกพร่องทางการเรียนรู้ ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 5 ทเ่ี รยี นวิชาภาษาไทย ภาคเรียนที่ 2 ปี การศกึ ษา 2555 เครื่องมอื การวจิ ัย 1. ชดุ พฒั นาความสามารถในการคา ทผ่ี า่ นการตรวจสอบความตรงเชงิ เน้อื หาจากผเู้ ชี่ยวชาญดา้ น ภาษาไทยและการศกึ ษาพิเศษ จานวน 3 คน 2. แบบทดสอบความสามารถในการอ่านคาที่มาจากฐานการออกเสยี งวรรคปะ จานวน 30 คา การรวบรวมขอ้ มูล 1. ใช้แบบทดสอบความสามารถในการอา่ นคาทีม่ าจากฐานการออกเสียงวรรคปะคดั เลือก กลุ่มเป้าหมายได้จานวน 2 คน และใชเ้ ปน็ คะแนนความสามารถก่อนการพัฒนา 2. ผูว้ ิจัยสอบถามสาเหตุความย่งุ ยากในการอา่ นคาที่มาจากฐานการออกเสียงวรรคปะของ นักเรียนเป็นรายคน วเิ คราะห์หาแนวทางการแก้ไขร่วมกบั อาจารย์ประจาวิชาภาษาไทยที่สอนนกั เรยี นใน ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศึกษา 2555 3. ใช้ชดุ พัฒนาความสามารถในการคาใช้ชดุ พฒั นาความสามารถในการคา สัปดาหล์ ะ 5 วัน ทุก วนั จนั ทร์ ถงึ วันศกุ ร์ เวลา 15.00 น.- 16.00 น. ตัง้ แต่ วันท่ี 19 พฤศจิกายน 2555 – 5 มกราคม 2556 รวม 12 สัปดาห์ 4. ใช้ทดสอบความสามารถในการอา่ นคาทมี่ าจากฐานการออกเสียงวรรคปะคดั เลือก กลมุ่ เป้าหมายไดจ้ านวน 2 คนหลังการใช้ชดุ พฒั นาความสามารถในการอา่ น

38 การวเิ คราะห์ข้อมูล วเิ คราะหข์ ้อมูลจากคะแนนการทดสอบความสามารถในการอ่านคาที่มาจากฐานการออกเสียง วรรคปะ กลุม่ เป้าหมาย จานวน 2 คน นาเสนอขอ้ มลู เปรียบเทยี บความสามารถในการอา่ นก่อนและ หลงั การใช้ชดุ พฒั นาความสามารถในการอ่านโดยใช้กราฟแทง่ ผลการวจิ ยั 1. นักเรียนกลมุ่ เปา้ หมาย จานวน 2 คน มีความสามารถในการอา่ นคาท่ีมาจากฐานท่ีใชใ้ นการ ออกเสียง วรรค ปะเพ่ิมสูงขนึ้ 2. ความสามารถในการอ่านคาที่มาจากฐานท่ีใช้ในการออกเสยี ง วรรค ปะ ของนักเรียนชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ 5 ในวชิ าภาษาไทย ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2555ก่อนและหลงั การใชช้ ุดพัฒนา ความสามารถในการอ่านแตกตา่ งกัน ตาราง คะแนนความสามารถในการอ่านคาที่มาจากฐานทใ่ี ชใ้ นการออกเสียง วรรค ปะ ของ กลุ่มเปา้ หมาย นักเรียนคนที่ คะแนนความสามารถในการอ่านคาท่มี าจากฐานท่ีใช้ในการออกเสียง วรรค ปะ (30 คะแนน) ก่อน หลงั 15 28 27 29 กราฟ เปรียบเทยี บคะแนนความสามารถในการอา่ นคาท่ีมาจากฐานทีใ่ ชใ้ นการออกเสียง วรรค ปะของ นกั เรียนบกพรอ่ งทางการได้ยิน กอ่ นและหลังการใช้ชุดพัฒนาความสามารถในการอา่ นคา 35 คะแนน 2 30 25 20 15 10 5 0 1 สรปุ ผลการวิจัย นักเรียนกลุ่มเป้าหมาย จานวน 2 คน มีความสามารถในการอ่านคาที่มาจากฐานท่ีใช้ในการออก เสียง วรรค ปะเพิ่มสูงขึ้น คะแนนก่อนและหลังการใช้ชุดพัฒนาความสามารถในการอ่านแตกต่างกัน นกั เรียนบกพร่องทางการเรยี นรสู้ ามารถอา่ นคาในชวี ติ ประจาวันในฐานการออกเสียงวรรคปะ คาอ่นื ๆ ได้

บรรณานกุ รม กระทรวงศึกษาธิการ. (2552). นโยบายปฏริ ปู การศกึ ษาสาหรบั คนพิการในทศวรรษท่สี อง พ.ศ.2542- 2561. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จากดั . กอบกลุ จงกลนี. (2545). ปญั หาการวจิ ัยในชัน้ เรยี น. วทิ ยานพิ นธ์ ปริญญาการศึกษามหาบันฑติ มหาสารคาม, มหาวิทยาลยั มหาสารคาม. ชาตรี เกดิ ธรรม. (2545). เทคนคิ การทาวจิ ยั ในชั้นเรยี น. ปทมุ ธานี: สถาบันราชภัฏเพชรบุรีวทิ ยาลงกรณ์ ในพระบรมราชปู ถัมภ์. ชิราวุธ โถชาลี. (2553). การวจิ ยั เชิงปฏบิ ัตกิ ารแบบมีสว่ นร่วมเพื่อพฒั นาครูในการทาวจิ ยั ในชั้นเรยี น โรงเรยี นบ้านคาลอดพื้น สงั กัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาสกลนคร เขต 3. วทิ ยานิพนธ์ ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศกึ ษา คณะครุศาสตร์, มหาวทิ ยาลัยราช ภัฏสกลนคร. โชคชัย สุขสนทิ . (2548). สภาพและปญั หาการทาวจิ ยั ในชน้ั เรียนของขา้ ราชการครผู ูส้ อน สังกัดสานักงานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษาชัยภูมิ เขต 2. วิทยานิพนธ์ ปริญญามหาบณั ฑิต, มหาวิทยาลัยราชภฏั เลย. ทศิ นา แขมมณี และนงลักษณ์ วริ ชั ชัย. (2546). เกา้ ก้าวในการวจิ ัยปฏบิ ตั กิ ารในชั้นเรียนและการ สงั เคราะห์งานวิจยั . กรงุ เทพฯ: นชิ นิ แอดเวอรไ์ ทซ่ิง กรู๊ฟ. ธีระพัฒน์ ฤทธ์ทิ อง. (2545). วิจัยในชน้ั เรยี น (พิมพ์ครัง้ ที่ 2). กรงุ เทพฯ: เฟ่ืองฟา้ พร้ินเตอร์. นตั ิยา พรหมสงิ ห์. (2553). การพัฒนาครดู ้านการทาวจิ ัยในชั้นเรียน โรงเรยี นบา้ นเหล่าหมากบ้าเชยี ง สม สานกั งานเขตพื้นที่การศึกษาอดุ รธานี เขต 2. รายงานการศึกษาอสิ ระปรญิ ญาศกึ ษา ศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์, มหาวิทยาลยั ขอนแกน่ . บญุ ชม ศรีสะอาด. (2546). การวจิ ัยสาหรบั ครู. กรุงเทพฯ: สุวรี ิยาสาสน์ . ประภาพรรณ เส็งวงศ.์ (2550). การพัฒนานวตั กรรมการเรียนร้ดู ว้ ยวธิ กี ารวิจยั ในชั้นเรียน.กรงุ เทพฯ : อี. เค. บคุ๊ ส์. ประวติ เอราวรรณ์. (2546). การวิจัยปฏิบัติการ ( พิมพ์ครง้ั ที่ 3 ). ขอนแกน่ : ขอนแก่นการพมิ พ์. พริง้ พรรณ คงสถติ . (2552). แนวทางการพฒั นาการดาเนนิ การวิจัยในชนั้ เรียน : กรณีศึกษาโรงเรยี น บา้ นห้วยไผ่สังกดั สานักงานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษาเลย เขต 2. ปรญิ ญาครุศาสตร์ มหาบณั ฑิต สาขาการบริหารการศกึ ษา, มหาวทิ ยาลัยราชภฏั เลย. พชั นี กุลฑานันท์. (2553). การพัฒนารปู แบบการฝึกอบรมครูผสมผสานในการทาวจิ ยั ในชัน้ เรยี น. วิทยานิพนธ์อตุ สาหกรรมดุษฎีบัณฑติ สาขาวิชาวิจัยและพัฒนาหลักสูตร คณะครศุ าสตร์บัณฑติ วทิ ยาลัย, มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ พระนครเหนือ. พิทยา แสงสว่าง. (2546). ปญั หาและความต้องการการวิจยั ในชนั้ เรยี นตามทัศนะของขา้ ราชการครูตน้ สังกดั สานักงานการประถมศกึ ษาจงั หวดั เลย. วทิ ยานิพนธป์ ริญญามหาบัณฑิต สาขาการบรหิ าร การศึกษา, สถาบันราชภฏั เลย. พิสณุ ฟองศรี. (2550). วิจัยช้ันเรียน : หลักการและเทคนคิ ปฏบิ ตั ิ (พิมพ์ครง้ั ที่ 3). กรงุ เทพฯ: บริษัท พรอพเพอรต์ ี้พรน้ิ ท์ จากดั .

พิสิจฎ์ พฒั ศรี. (2551). กระบวนการพัฒนาครดู ้านการวจิ ัยในชั้นเรียน : กรณีศึกษาโรงเรยี นบ้านโพน แพง สังกดั สานักงานเขตพ้นื ท่กี ารศึกษาสกลนคร เขต 1. วทิ ยานพิ นธ์ปริญญาครศุ าสตรมหา บัณฑติ สาขาการบริหารการศกึ ษา คณะครศุ าสตร์, มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สกลนคร. เพลินพศิ ธรรมรตั น์. (2550). การวจิ ยั เพ่ือพัฒนาการเรยี นรู้. สกลนคร : คณะครุศาสตร์, มหาวทิ ยาลัย ราชภัฏสกลนคร. มนสชิ สทิ ธสิ มบรู ณ์. (2546). การพฒั นาหลกั สูตรฝึกอบรมการวจิ ัยในชน้ั เรียน. วทิ ยานพิ นธ์ ศกึ ษา ศาสตรดุษฎีบณั ฑิต สาขาหลักสตู รและการสอน คณะศึกษาศาสตร์, มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น. ________. (2548). ชดุ ฝึกปฏิบตั ิการเหนือตาราการทาวิจยั ในชั้นเรยี . (พิมพค์ รั้งท่ี 4). พษิ ณุโลก: มหาวทิ ยาลยั นเรศวร. วีรพล พิลาจันทร์. (2547). การพัฒนาบุคลากรเก่ียวกับการวจิ ยั ในช้นั เรียน โรงเรยี นบา้ นวงั กงุ ก่งิ อาเภอซบั ใหญ่ จังหวดั ชยั ภูม.ิ การศึกษาค้นควา้ อสิ ระ วิทยานพิ นธ์ปรญิ ญาการศกึ ษามหาบนั ฑติ มหาสารคาม, มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. ศิริชัย กาญจนวาสี, ดิเรก ศรีสุโข และทวีวัฒน์ ปิตยานนท์. (2544). การเลือกใช้สถิติท่ีเหมาะสม สาหรบั การวิจยั ทางสังคมศาสตร์ (พมิ พ์ครง้ั ที่ 3) .กรงุ เทพมหานคร : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั . ศริ ิชัย กาญจนวาสี. (2547). ทฤษฎีการประเมิน. (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์ มหาวทิ ยาลยั . สมหวัง พิธิยานุวัฒน์. (2544). วิธีวิทยาการประเมิน : ศาสตร์แห่งคุณค่า (พิมพ์ครั้งท่ี 2). กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์แหง่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สัมมนา รธนิธย.์ (2546). การวจิ ัยเพื่อพฒั นาการเรียนรจู้ ากประสบการณส์ ู่ปฏบิ ัติการ (พิมพค์ รั้งที่ 3.) กรุงเทพฯ: ข้าวฟา่ ง. สานักงานคณะกรรมการการประถมศกึ ษาแห่งชาติ. (2544). การวิจยั ในชัน้ เรยี นเพือ่ พัฒนา การ เรียนรู้. กรงุ เทพฯ: โรงพมิ พก์ ารศาสนา. สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาแห่งชาติ. (2545). พระราชบญั ญตั ิการศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และท่ีแกไ้ ขเพ่ิมเติม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2545. กรงุ เทพฯ: บริษทั พริกหวานกราฟฟิค จากัด. สจุ ิตรา ตน้ โพธิ์. (2553). การพัฒนาบคุ ลากรดา้ นการวจิ ัยในชัน้ เรียน โรงเรียนพิบลู มงั สาหาร อาเภอ พบิ ลู มังสาหาร จงั หวดั อบุ ลราชธานี. วิทยานพิ นธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาการ บรหิ ารการศกึ ษา คณะศึกษาศาสตร์, มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม. สภุ าวดี ไชยศรหี า. (2553). การพัฒนาครูในการทาวิจยั ในชั้นเรยี น โรงเรียนห้วยเม็กวทิ ยาคม สานักงานเขตพน้ื ที่การศึกษากาฬสินธ์ุ เขต 2. วิทยานิพนธ์ ปรญิ ญาศึกษาศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวชิ าการบรหิ ารการศึกษา, มหาวิทยาลัยขอนแก่น. สุวมิ ล ว่องวาณิช. (2549). การวจิ ยั ปฏิบตั ิการในชน้ั เรียน (พมิ พ์คร้งั ที่ 9). กรงุ เทพฯ: บริษัทด่านสุทธา การพมิ พ์ จากดั . ________. (2550). การวิจัยปฏบิ ตั ิการในชัน้ เรียน (พิมพค์ รัง้ ท่ี 10). กรงุ เทพฯ : จฬุ าลงกรณ์ มหาวทิ ยาลัย. Brown, B. L. (2002). Improving Teaching Practices Through Action Research. Dissertation Abstracts International. 63(04) : 1304-A ; October, 2002.

Kemmis, S. & McTaggart, R. (1988). The Action Research Planner. 3rd ed. Victoria: Deakin University Press. Lee, T.S. (2002). Increasing Stakeholders’ Participation in the Individual Education Plan (IEP) Development Process Through Action Research. Doctor’s Thesis. University of Virginia. McCoy, T. M. (2003). High School Local Improvement Plans Development an Action Research Approach. Dissertation Abstracts International. 63(07) : 2500-A ; January, 2003.

แบบทดสอบทา้ ยบท ชุดเอกสารศึกษาดว้ ยตนเอง วชิ า ความรู้พ้นื ฐานดา้ นการจัดการศึกษาสาหรบั คนพกิ ารหรอื ผู้เรียนท่ีมคี วามต้องการจาเปน็ พิเศษ เลม่ 6 การวิจยั ในชน้ั เรยี น 1. การวิจัยในชัน้ เรยี นจดั เป็นการวจิ ยั รูปแบบใด ก) การวิจยั เชิงปริมาณ ข) การวิจยั เชิงปฏบิ ัติการ ค) การวจิ ัยเพือ่ สรา้ งทฤษฎี ง) การวิจยั เพ่ือพัฒนาเคร่ืองมือ 2. ข้อใดไม่ใชจ่ ดุ มุ่งหมายของการวจิ ัยในช้นั เรียน ก) พัฒนาผู้เรียน ข) แกป้ ัญหาผเู้ รยี น ค) ประเมนิ ตัดสินผเู้ รียน ง) หาสาเหตุของพฤติกรรม 3. ขน้ั ตอนแรกในการทาวิจัยในช้ันเรยี นคอื ข้ันตอนใด ก) รวบรวมขอ้ มูล ข) กาหนดปัญหา ค) ตัง้ สมมตุ ฐิ าน ง) วเิ คราะหป์ ัญหา 4. ขอ้ ใดไม่ใช่ “ลกั ษณะของการทาวจิ ยั ในช้นั เรียน” ก) ปญั หาการวจิ ัยเกดิ ข้ึนจากการทางานในชัน้ เรยี นท่เี กี่ยวกบั การเรียนการสอน ข) ผลการวจิ ัยนาไปใชเ้ พอื่ พัฒนาการเรยี นการสอน ค) การวจิ ยั ดาเนนิ ไปพร้อมกับการจัดการเรียนการสอน ง) การวิจัยก่อนการจัดการเรียนการสอน 5. งานวิจยั ทางการศกึ ษาพิเศษ นยิ มใชร้ ูปแบบการวจิ ัยทางจติ วิทยาเพราะเหตุใด ก) กลุ่มเป้าหมายท่ีศึกษามีจานวนนอ้ ย ข) กลุ่มเปา้ หมายที่ศึกษามคี วามแตกต่างกนั มาก ค) กลุ่มเปา้ หมายที่ศึกษามีความใกล้เคยี งกนั ง) ถกู ท้งั ข้อ 1 และขอ้ 2

6. การวิจัยท่สี ามารถเขียนรายงานเพียงหนา้ เดยี วหรือหลายหน้า แตไ่ มม่ ากนกั และการเขียนจะเขยี นเพยี ง บอกปัญหาและวธิ ีแก้ปัญหา และผลการแกป้ ญั หาอย่างย่อพอ เข้าใจ คล้ายกับบทคัดยอ่ ของการวจิ ัยอ่นื หมายถึงการวจิ ัยรูปแบบใด ก) การวิจยั หน้าเดยี ว ข) การวิจัยอยา่ งง่าย ค) การวิจัยท่สี มบูรณ์ ง) การวจิ ัยเชิงสารวจ 7. “นักเรียนออทสิ ตกิ ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ 2 มีปัญหาในการอ่านคาศพั ท”์ จัดอย่ใู นข้อใดของการเขียน ปญั หาทางการวิจัย ก) ปญั หาการวิจัย ข) คาถามการวจิ ัย ค) วัตถุประสงคใ์ นการวจิ ัย ง) ชื่อเร่ือง 8. “คอมพิวเตอรช์ ว่ ยสอนทาให้ความสามารถในการอ่านคาศพั ทข์ องนักเรียน ออทิสตกิ ช้นั ประถมศึกษาปี ท่ี 2 สงู ข้ึนหรือไม่” จัดอยู่ในขอ้ ใดของการเขียนปัญหาทางการวิจัย ก) ปญั หาการวิจยั ข) คาถามการวิจยั ค) วัตถปุ ระสงค์ในการวจิ ัย ง) ชอ่ื เร่อื ง 9. “เพ่อื ศกึ ษาผลของการใช้คอมพิวเตอรช์ ่วยสอนท่ีมีต่อความสามารถ ในการอา่ นของนักเรียนออทิสตกิ ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 2” จัดอยู่ในขอ้ ใดของการเขียนปญั หาทางการวจิ ัย ก) ปญั หาการวจิ ัย ข) คาถามการวจิ ยั ค) วัตถปุ ระสงค์ในการวจิ ยั ง) ชื่อเรอ่ื ง 10. “การศึกษาผลของการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่มตี ่อความสามารถในการอา่ นของ นกั เรียนออทสิ ติก ชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 2” จัดอยู่ในข้อใดของการเขยี นปญั หาทางการวิจัย ก) ปญั หาการวิจัย ข) คาถามการวิจยั ค) วัตถปุ ระสงคใ์ นการวจิ ัย ง) ช่อื เรอ่ื ง

11. หากต้องการวดั “ความเปน็ จริง” ต้องใช้เครือ่ งมือแบบใด ก. แบบสอบถาม แบบสมั ภาษณ์ ข. แบบทดสอบ แบบสัมภาษณ์ ค. แบบสังเกต แบบประเมนิ ง. แบบสารวจ 12. หากต้องการวดั “ความคดิ เห็น การกระทา” ต้องใชเ้ ครอื่ งมือแบบใด ก. แบบสอบถาม แบบสมั ภาษณ์ ข. แบบทดสอบ แบบสัมภาษณ์ ค. แบบสงั เกต แบบประเมิน ง. แบบสารวจ 13. หากต้องการวดั “ความรู้ ความเขา้ ใจ” ต้องใช้เครื่องมือแบบใด ก. แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ ข. แบบทดสอบ แบบสัมภาษณ์ ค. แบบสงั เกต แบบประเมนิ ง. แบบสารวจ 14. วิจัย 5 บท ประกอบไปดว้ ยองค์ประกอบต่อไปนี้ยกเวน้ ข้อใด ก. บทนา ข. ขอบเขตงานวจิ ยั ค. การดาเนินการวิจยั ง. สรปุ ผลการศกึ ษาและข้อเสนอแนะ 15. ขอ้ ใดถกู ตอ้ งเก่ยี วกับการเขยี นอ้างอิงในบรรณานุกรม ก. ต้องมีการจดั เรยี งชื่อหนังสือทไ่ี ดร้ บั การอ้างอิงตามลาดบั ตัวอักษร ข. ถ้าช่ือผแู้ ตง่ เปน็ คนเดียวกันใหเ้ รียงตามปี พ.ศ.ที่เขยี นหนังสือเท่าน้นั ค. ใหอ้ ้างอิงผู้แต่งทีเ่ ปน็ คนไทย กอ่ นคนต่างชาติ ง. ใหอ้ ้างอิงผแู้ ตง่ ท่เี ป็นคนตา่ งชาติ กอ่ นคนไทย 16. ข้อใด ไมใ่ ช่ การวิจัยเชิงปฏิบัติการ ก. การวิจัยช้ันเรียน (Action Research) ข. การวิจยั ในห้องเรยี น (Classroom Research) ค. การวจิ ัยของครู (Teacher – Base Research) ง. การวิจัยเพือ่ พัฒนา (Development Research)

17. ข้อใดคอื ประโยชนข์ องการวิจยั ในช้ันเรียน ก. ช่วยในการพฒั นาวิชาชีพครู ข. ทาใหผ้ ู้เรยี นเกิดการพฒั นาการเรียนรูม้ ีผลสมั ฤทธิ์ ทางการเรียนอย่ใู นระดับท่นี า่ พอใจ ค. ครูเกดิ การพฒั นาการจัดการเรียน การสอน ง. ถกู ทกุ ขอ้ ที่กล่าวมา 18. การวิจยั แบบขดลวดตามแนวคิดดง้ั เดิมทเี่ สนอ โดย Kemmis and Metaggart (1988) ซ่ึงแสดงให้ เห็นวา่ การวจิ ยั ปฏบิ ัติการในชน้ั เรยี นมี 4 ข้ันตอนดงั ต่อไปน้ียกเวน้ ข้อใด ก. การวางแผนหลงั จากทวี่ ิเคราะห์และกาหนดประเด็นปัญหาที่ตอ้ งการการแก้ไข (Plan) ข. การดาเนินงาน (Do) ค. การปฏบิ ัติตามแผนที่กาหนด (Act) ง. การสงั เกตผลทเ่ี กิดข้ึนจากการปฏิบัติงาน (Observe) 19. การวิจยั ในชนั้ เรียนมลี กั ษณะดงั ต่อไปนย้ี กเว้นข้อใด ก. เปน็ งานวจิ ยั ทีม่ ุ่งคน้ หารูปแบบ วิธกี ารทเ่ี กี่ยวกับการเรยี นการสอน ข. เป็นงานวิจยั ท่ีมงุ่ พฒั นาคุณภาพของตวั ผู้เรยี นและประสทิ ธภิ าพของครผู สู้ อน ค. เปน็ งานวิจัยที่มุ่งศึกษาในเชงิ ปรมิ าณมากกว่าเชงิ คุณภาพ ง. เป็นงานวิจัยท่มี ่งุ ศึกษา สารวจสภาพทปี่ รากฏตามความต้องการ ความสนใจ การวิจัยในชน้ั เรยี น เป็นรูปแบบหน่ึงของการวิจยั เชิงปฏบิ ตั ิการ 20. จงเรยี งลาดบั ขั้นตอนการสร้างเครือ่ งมือทดลองให้ถูกต้อง 1. กาหนดจุดมงุ่ หมายในการสร้าง เคร่ืองมือทดลอง 2. ปรับปรุงเครือ่ งมอื ทดลองและเอกสารประกอบ 3. กาหนดโครงสรา้ งเนอ้ื หา 4. ตรวจสอบคุณภาพเชงิ เนื้อหาโดยผ้เู ชยี่ วชาญ 5. ศกึ ษาหลักการ แนวคิดที่เกี่ยวข้องกบั เคร่ืองมือทดลอง ก. 1 2 3 4 5 ข. 1 3 5 4 2 ค. 1 5 3 4 2 ง. 1 3 4 5 2


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook