Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Best Practice สะเต็มศึกษา Active learning ปฐมวัย รร บ้านโคกกลาง

Best Practice สะเต็มศึกษา Active learning ปฐมวัย รร บ้านโคกกลาง

Description: Best Practice สะเต็มศึกษา Active learning ปฐมวัย รร บ้านโคกกลาง

Search

Read the Text Version

รายงานผลงานหรอื แนวทางปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practices) การจัดการเรียนรดู้ ว้ ยวธิ ีการ Active learning เรอ่ื ง การจัดประสบการณ์ในชั้นเรยี นปฐมวัยแบบคละช้ัน ด้วยกระบวนการสบื เสาะหาความรู้ ตามแนวทาง สะเต็มศึกษา/Active learning กล่มุ สาระการเรยี นรู้ ปฐมวัย 1. ประเภทผลงานหรือแนวทางปฏบิ ตั ิทเ่ี ปน็ เลิศ (Best Practice)  งานนโยบายท่ีหน่วยงานดาเนินงาน  ครูสอนดี สอนเก่ง 2. ช่ือผลงานหรือแนวทางปฏิบัตทิ ีเ่ ปน็ เลศิ (Best Practice) การจดั ประสบการณแ์ บบวฏั จักรการสืบเสาะในระดบั ชั้นปฐมวัย 3. ชอ่ื เจ้าของผลงานหรอื แนวทางปฏบิ ัติทเ่ี ปน็ เลิศ (Best Practice) นางสาวอุไรวรรณ แกว้ เบ้า ครู โรงเรียนบา้ นโคกกลาง 4. ท่ีมาและความสาคัญของผลงานหรอื แนวทางปฏิบัตทิ ่ีเปน็ เลศิ (Best Practice) เด็กปฐมวยั เป็นวัยทม่ี ีการพัฒนาทกุ ดา้ นเป็นไปอยา่ งรวดเร็ว ทงั้ ทางด้านร่างกาย อารมณ์-จติ ใจ สงั คม และสติปญั ญา เด็กวัยนีม้ ธี รรมชาตทิ ี่อยากรู้อยากเหน็ อยากทดลอง ชา่ งสงั เกตและคอยซกั ถามเกยี่ วกบั สิ่ง ตา่ งๆ ทีส่ นใจรวมถงึ สงิ่ ที่แปลกใหมร่ อบๆ ตวั ดังนั้นการจัดประสบการณ์ท่สี อดคล้องกบั พฒั นาการของเด็ก จงึ เปน็ สิง่ ที่สาคญั อย่างยงิ่ ต่อการปพู ้นื ฐานเพื่อใหเ้ ด็กมคี วามพร้อมท่จี ะเรียนรใู้ นระดบั ชั้นต่อไป การจัดประสบการณท์ างวทิ ยาศาสตร์ เป็นอีกแนวทางหนง่ึ ท่ีชว่ ยส่งเสรมิ พฒั นาการเด็กในทุกๆ ดา้ น ทง้ั ยังตอบสนองความสนใจ ความอยากรู้อยากเหน็ เก่ยี วกบั ส่งิ แวดลอ้ มรอบตัวเด็ก ประสบการณท์ าง วิทยาศาสตร์ที่เด็กได้รับจะเป็นส่วนหน่งึ ของชีวิตประจาวัน เด็กจะไดฝ้ ึกใช้ความคิด ใชค้ าถามถามสิง่ ทสี่ งสัย ได้ ฝกึ การรจู้ ักหาคาตอบแบบวทิ ยาศาสตร์ ซงึ่ ในการจดั ประสบการณ์ทางวทิ ยาศาสตร์ใหก้ ับเดก็ ปฐมวัยนน้ั สถาบนั สง่ เสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยไี ด้แนะนาให้ครปู ฐมวัยใช้กระบวนการแบบวัฏจกั รการสืบเสาะ หา ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ ซึ่งเป็นแนวทางทนี่ กั วทิ ยาศาสตร์ใชใ้ นการพัฒนาความรทู้ างวทิ ยาศาสตร์เพ่ือ ตอบ คาถามท่ีสงสัยเกย่ี วกบั โลกธรรมชาติ ซึง่ มคี วามเหมาะสมกับเดก็ ซึ่งเป็นเหมอื นนักวิทยาศาสตรต์ วั นอ้ ยๆ ท่มี ี ความสงสยั ใครร่ ู้ มคี าถามเกี่ยวกบั โลกธรรมชาติรอบตัวและเรยี นรสู้ ิง่ ท่อี ย่รู อบตวั ผา่ นประสบการณ์ตา่ งๆ ฉะน้นั การกระตนุ้ และสง่ เสรมิ การเรยี นรู้ของเดก็ ด้วยกระบวนการแบบวฏั จกั รการสบื เสาะ จงึ เป็นการ ตอบสนองต่อธรรมชาตขิ องการเรียนรู้ของเด็ก การใหเ้ ดก็ เรยี นรู้และฝึกฝนการใช้กระบวนการสืบเสาะ หา ความรทู้ างวทิ ยาศาสตร์ตั้งแต่ปฐมวยั จะชว่ ยสง่ เสรมิ ให้เดก็ เกิดทักษะทางการคดิ พ้ืนฐาน จินตนาการ ความคิด สร้างสรรค์ จิตวิทยาศาสตร์และทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 5. วตั ถปุ ระสงคข์ องผลงานหรอื แนวทางปฏบิ ัติทเ่ี ปน็ เลิศ (Best Practice) เพือ่ พฒั นาความสามารถในการแสวงหาความรขู้ องเด็กปฐมวัย และทกั ษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์

6. เป้าหมายของผลงานหรอื แนวทางปฏิบัติท่ีเปน็ เลศิ (Best Practice) ตวั ช้ีวัดเชงิ ปรมิ าณ เด็กปฐมวัย จานวน 23 คน ตัวช้ีวดั เชิงคณุ ภาพ ความสามารถในการแสวงหาความรูข้ องเด็กปฐมวยั และทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร 7. ลาดับขน้ั ตอนการด าเนินกจิ กรรมพัฒนาหรือ Flow Chart (แผนภูม)ิ ของผลงานหรือแนวทาง ปฏิบัติ ทเ่ี ป็นเลิศ (Best Practice) การจดั ประสบการณ์ทางวทิ ยาศาสตรด์ ว้ ยวฏั จกั รการสืบเสาะท่ีไดน้ ามาใช้จดั กจิ กรรมในหอ้ งเรยี นน้ัน ได้มาจากสถาบันสง่ เสรมิ วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ซ่งึ มีรายละเอยี ดดังน้ี 1) ต้งั คำถำมเก่ยี วกับปรำกฏกำรณธ์ รรมชำติ เป็นขนั้ ตอนที่ครูกระต้นุ ใหเ้ ด็กตง้ั คาถามเก่ียวกบั ส่ิงทเ่ี ด็กได้สังเกตพบระหว่างการสารวจ โดยเป็น คาถามทเี่ ด็กสนใจอยา่ งเจาะจงและอยากจะสารวจตรวจสอบอยา่ งละเอยี ด 2) กำรรวบรวมควำมคดิ และขอ้ สนั นษิ ฐำน เป็นขั้นตอนท่คี รูอภิปรายกับเด็กถงึ ส่ิงทีเ่ ด็กรู้อยแู่ ลว้ เก่ยี วกับคาถามหรือหวั ข้อนั้น และความคิดหรอื ขอ้ สันนษิ ฐานทเ่ี ด็กมี รวมถงึ ให้เด็กคดิ วธิ ีการในการหาคาตอบของคาถามนน้ั 3) ทดสอบและปฏิบัตกิ ำรสืบเสำะ เป็นขั้นตอนทใ่ี ห้เด็กมสี ว่ นรว่ มในการวางแผนในการสบื เสาะหรอื หาวธิ กี ารในการตรวจสอบ วา่ สง่ิ ท่ีเดก็ คิดไวน้ ้ันใชห่ รอื ไม่ โดยให้เดก็ รว่ มพจิ ารณาว่าจะสารวจตรวจสอบอะไร เด็กมีความคิด เกี่ยวกับสิ่ง น้นั อยา่ งไร มีวสั ดอุ ปุ กรณอ์ ะไรทส่ี ามารถนามาใช้ได้ ให้เวลาเด็กในการลองทาตามความคดิ ของตนเอง และทาการสบื เสาะ ดว้ ยตนเองซ้าๆ ตามความตอ้ งการของเด็ก 4) สังเกตและบรรยำย เป็นขน้ั ตอนทีก่ ระตุ้นใหเ้ ด็กสงั เกตกระบวนการอย่างละเอยี ด และบรรยายอยา่ งเทยี่ งตรงตาม ความ เป็นจรงิ วา่ เกดิ อะไรขน้ึ หรือสิง่ ตา่ งๆ แสดงออกมาเปน็ อยา่ งไร เพอ่ื ใหเ้ ด็กตระหนักว่าเด็กกาลงั สารวจ ตรวจสอบอะไรและส่งิ ท่ีกาลังสารวจตรวจสอบแสดงออกมาเป็นอยา่ งไร ครูควรใหค้ วามสนใจ ในการฟังสิง่ ทีเ่ ด็กพดู เพ่ือจะทราบความคิดของเดก็ และครอู าจถามคาถามหรือชี้แนะให้เด็กสงั เกต บางอยา่ งเพ่ือกระตนุ้ ใหเ้ ด็ก ทาการสงั เกต และคน้ พบลกั ษณะเฉพาะอื่นๆ 5) บนั ทึกข้อมลู เปน็ ขั้นตอนทใี่ ห้เด็กร่วมบนั ทึกผลในลักษณะตา่ งๆ เชน่ การวาดภาพ การถ่ายภาพ การจดบันทกึ การ ทาตาราง จะชว่ ยเด็กในการทบทบวนประสบการณ์และสะท้อนกระบวนการเรยี นรู้ของตนเอง 6) อภิปรำยผล เป็นขน้ั ตอนที่กระตนุ้ ใหเ้ ด็กอภปิ รายวา่ ได้รับประสบการณ์อะไรและได้คน้ พบอะไร โดยให้เดก็ ได้ฝึกฝน การพยายามสร้างคาอธบิ ายด้วยตนเอง โดยครูนาเด็กสนทนาเกยี่ วกับผลของการสืบเสาะ และเช่ือมโยงผลทีไ่ ด้ กบั คาถามตงั้ ต้นและความรู้เดิมของเดก็ โดยอาจใชค้ าถาม เชน่ ก่อนหน้านเ้ี ดก็ ๆ คิดวา่ อะไร เด็กๆ ต้องการจะ

รูอ้ ะไร เด็กๆ ได้พบอะไรจากการสบื เสาะ รวมถึงพดู คยุ เกี่ยวกับวธิ ีการทีเ่ ดก็ ใชใ้ นการคน้ พบส่ิงต่างๆ เชน่ เด็กๆ ได้ทาอะไรและทาไมจึงทาเช่นน้นั เดก็ ๆ เอาชนะปัญหาอุปสรรคได้อยา่ งไร นอกจากนคี้ รูควรรว่ มกับ เดก็ ใน การตคี วามหมายของส่ิงทเ่ี ด็กไดส้ ังเกตพบโดยพยายามหลีกเลย่ี งการใช้ภาษาหรอื คาอธบิ ายทาง วทิ ยาศาสตร์ท่ี ซับซ้อน เม่ือเด็กถามคาถามเพิ่มเติม ครูควรตอบสนองด้วยการถามย้อนกลบั ไปวา่ เดก็ ๆ คดิ วา่ ทาไมมันจึงเป็น เชน่ นนั้ ซึง่ จะนาไปสู่การเร่ิมต้นการสบื เสาะหาความรู้ในรอบต่อไป ครสู ามารถใช้ วัฎจกั รการสืบเสาะ เปน็ แนวทางในการนาเด็กทาการสบื เสาะหาความรู้แบบปลายเปดิ ได้ อย่างเป็นลาดบั ขน้ั ตอนแต่ไม่จาเป็นต้องยดึ ตามขั้นตอนเหล่าน้ตี ายตัวสามารถลัดข้นั ตอนหรอื ย้อนกลบั ขั้นตอน ได้ตามความเหมาะสม 8. ผลการดาเนินการ เด็กปฐมวยั มีความสามารถในการแสวงหาความรูแ้ ละมีทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์เพ่ิมขนึ้ 9. บทเรียนท่ีไดร้ ับ 9.1 ครูควรมีการบันทกึ คาพดู ของเด็กในขณะท่ีเด็กทากจิ กรรมหรอื ในขณะท่เี ด็กนาเสนอผลงาน 9.2 ครูควรให้เวลากบั การสบื เสาะของเด็กอยา่ งเตม็ ท่ี 9.3 ครูต้องมกี ารตง้ั คาถามเพื่อส่งเสรมิ การคิดของเด็ก คาถาม/คาพูดต้องไม่ยากเกินวยั ของเดก็ 9.4 ครตู อ้ งสร้างบรรยากาศการเรียนรู้ท่ีใหเ้ ด็กยอมรับฟงั ความคดิ เห็นซ่ึงกนั และกัน 9.5 ครูต้องมที กั ษะในการสังเกต และพยายามสารวจความตอ้ งการของเดก็ ว่าเขาอยากเรียนรู้อะไร คิดอะไร เพอ่ื จะได้ตอบสนองความต้องการในการเรียนรขู้ องเดก็ 9.6 ครูต้องเลยี่ งทีจ่ ะตอบคาถามของเดก็ โดยตรง พยายามให้เด็กคดิ หาคาตอบดว้ ยตนเองลงมอื ทา ด้วยตนเองเพื่อจะได้ฝึกการแสวงหาคาตอบด้วยตนเองใหม้ ากทสี่ ุด 9.7 ในด้านสื่อ อุปกรณเ์ ช่น แวน่ ขยาย แม่เหล็ก ครูจะต้องตรวจสอบความเรยี บร้อยใหอ้ ยู่ใน สภาพที่ ใช้งานไดเ้ สมอ 9.8 ครตู อ้ งคานึงถึงความปลอดภยั ในการเรยี นร้ขู องเดก็ 10. ปัจจัยความสาเรจ็ 10.1 ครตู อ้ งมีความเขา้ ใจในพฒั นาการของเดก็ 10.2 ผู้บรหิ าร เพ่อื นครูปฐมวัยและผูป้ กครองให้การสนับสนนุ การจดั ประสบการณท์ างวทิ ยาศาสตร์ ดว้ ย วฏั จกั รการสบื เสาะ 10.3 ลกั ษณะของกิจกรรมมคี วามสอดคล้องกบั วิธกี ารเรียนรขู้ องเด็กปฐมวยั 11. การเผยแพร/่ การไดร้ ับการยอมรับและ/หรอื รางวลั ท่ีได้รบั (ถ้ามี) 11.1 เผยแพร่โดยการจัดนิทรรศการ 11.2 เผยแพร่ให้กบั ครปู ฐมวัยสงั กดั สานักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาหนองบวั ลาภู เขต 1 โดยการ จัดอบรมเชิงปฏบิ ัตกิ าร 11.3 เกียรตบิ ตั ร การรว่ มเป็นวทิ ยากรเครือข่ายท่ีมุ่งส่งเสรมิ การเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ จาก โครงการบา้ นนกั วิทยาศาสตร์นอ้ ยประเทศไทย

12. ภาคผนวก ตวั อยา่ งภาพจากการเรียนรู้ ด้วยวัฏจกั รการสืบเสาะ “หัวหอมในพาชนะปลูกแตล่ ะชนดิ มีการเจรญิ เติบโตท่เี หมอื นกนั ไหม”

ตวั อยา่ งภาพจากการเรียนรู้ ด้วยวัฏจกั รการสบื เสาะ “หวั หอมในพาชนะปลกู แตล่ ะชนิดมกี ารเจรญิ เตบิ โตท่เี หมอื นกนั ไหม”