Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ความฉลาดทางดิจิทัล

ความฉลาดทางดิจิทัล

Published by Arrirat Khana, 2022-02-15 10:21:10

Description: ความฉลาดทางดิจิทัล

Search

Read the Text Version

รายงาน เรอ่ื งความฉลาดทางดิจิทัล (DQ: Digital Intelligence) เสนอ อาจารย์สธุ ดิ า ปรชี านนท์ จัดทำโดย นางสาวอารยี ์รัตน์ คะณา รหัสนักศึกษา 634143035 รายงานนีเ้ ป็นส่วนหน่ึงของวชิ านวตั กรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่อื การส่อื สาร การศึกษา(PC62506) สาขาวชิ าคณิตศาสตร์ ปี 2 หมู่ 1 มหาวทิ ยาลัยราชภฏั หมู่บา้ น จอมบงึ

ก คาํ นํา ความฉลาดทางดิจทิ ลั (Digital Intelligence Quotient : DQ) คือ กลมุ่ ของ ความสามารถ ทาง สังคม อารมณ์ และการรับรู้ ทีจ่ ะทำใหค้ นคนหนึ่งสามารถเผชิญกับความ ท้าทายบนเสน้ ทาง ของชวี ิตใน ยคุ ดิจิทลั และสามารถปรับตัวให้เข้ากบั ชีวติ ดจิ ทิ ลั ได้ ความ ฉลาดทางดจิ ิทัล ครอบคลุมทั้ง ความรู้ ทักษะ ทัศนคตแิ ละค่านิยมที่จำเป็นตอ่ การใช้ชีวติ ใน ฐานะสมาชิกของโลก ออนไลน์ กล่าวอีกนัยหน่ึงคือ ทักษะ การใช้สื่อและการเข้าสังคมในโลก ออนไลน์ ดังนัน้ พลเมืองดิจิทัล จงึ หมายถึงสมาชกิ บนโลกออนไลนท์ ่ใี ช้เครอื ขา่ ยอนิ เทอร์เนต็ ซึ่ง มคี วามหลาก หลายทางเชื้อชาติ อายุ ภาษา และวัฒนธรรม ดังนั้น พลเมอื งดจิ ทิ ัลทกุ คนจงึ ต้อง ม‘ี ความเปน็ พลเมอื งดจิ ทิ ัล’ ทมี่ คี วามฉลาดทางดจิ ทิ ัลบนพ้ืนฐานของความรับผิดชอบ การมี จริยธรรม การมสี ่วนร่วม ความเหน็ อกเห็นใจและเคารพผอู้ นื่ โดยมุ่งเนน้ ความเป็น ธรรมใน สงั คม ปฏิบัติและรกั ษาไว้ซึ่งกฎเกณฑ์ เพื่อสรา้ ง ความสมดุลของการอยู่รว่ มกนั อย่าง มีความสขุ การเปน็ พลเมอื งดจิ ิทัลนัน้ มีทักษะสำคัญ 8 ประการท่คี วรบ่มเพาะใหเ้ กิดข้ึนกบั พลเมอื งดจิ ทิ ลั ทุกคนใน ศตวรรษท่ี 21

สารบัญ ข หน้า ก คาํ นํา ข สารบญั ๑ ความฉลาดทางดิจิทลั (DQ: Digital Intelligence) คืออะไร ๒ ทําไมตอ้ งเพิม่ ทักษะความฉลาดทางดิจิทัล ๓ ความเป็นพลเมอื งดิจิทัล (Digital Citizenship) คอื อะไร ๔ - ทกั ษะในการรักษาอัตลักษณ์ทดี่ ขี องตนเอง (Digital Citizen Identity) ๕ - ทกั ษะการคิดวเิ คราะห์มวี ิจารณญาณท่ีดี (Critical Thinking) ๖ - ทกั ษะในการรกั ษาความปลอดภยั ของตนเองในโลกไซเบอร์ ๗ (Cybersecurity Management) ๘ - ทักษะในการรกั ษาข้อมลู ส่วนตวั (Privacy Management) ๙ - ทกั ษะในการจัดสรรเวลาหน้าจอ (Screen Time Management) - ทกั ษะในการบริหารจดั การข้อมูลทผ่ี ้ใู ช้งาน มกี ารท้งิ ไว้บนโลกออนไลน์ ๑๐-๑๑ (Digital Footprints) ๑๒ - ทักษะในการรับมอื กับการกลัน่ แกลง้ บนโลกไซเบอร์ ๑๓-๑๔ (Cyberbullying Management) - ทกั ษะการใชเ้ ทคโนโลยีอย่างมจี ริยธรรม (Digital Empathy) บรรณานุกรม

๑ ความฉลาดทางดิจทิ ัล (DQ: Digital Intelligence) คอื อะไร ความฉลาดทางดจิ ทิ ลั (DQ: Digital Intelligence Quotient) คือ กลุ่มความสามารถทาง สังคม อารมณ์ และการรบั รู้ ท่ีจะทาใหค้ นคนหนึ่งสามารถเผชิญกับ ความท้าทายของชวี ิตดจิ ทิ ัล และ สามารถปรับตวั ใหเ้ ขา้ กับ ชวี ิตดิจิทัล ได้ ความฉลาดทางดิจิทลั ครอบคลุมท้ัง ความรู้ ทักษะ ทัศนคตแิ ละค่านิยมท่ีจำเป็นตอ่ การใชช้ วี ติ ในฐานะสมาชิกของโลกออนไลน์กลา่ วอีกนัยหนึ่ง คอื ทักษะการใช้สอ่ื และ การเข้าสังคมในโลกออนไลน์ ความฉลาดทางดิจทิ ัล เป็นผลจากศกึ ษา และ พฒั นาของ DQ. institute หน่วยงานทีเ่ กดิ จากความร่วมมือกันของภาครัฐและเอกชนทั่วโลก ประสานงานร่วมกบั เวิลด์อีโคโนมิกฟอรัม่ (World Economic Forum) ที่ม่งุ ม่ัน ใหเ้ ดก็ ๆ ทุก ประเทศได้รบั การศึกษาดา้ นทักษะพลเมืองดิจทิ ัลท่ีมคี ุณภาพและใช้ชีวิตบนโลกออนไลนอ์ ย่าง ปลอดภัย ด้วยความก้าวหน้า ของเทคโนโลยีสมยั ใหม่ อย่างไรก็ตาม ระดับทักษะ ความฉลาดทาง ดจิ ิทัล ของเด็กไทยตามรายงาน DQ report 2018 ยังอยู่ในระดบั ต่ำอยู่ ท้ังน้ีเนอื่ งจาก สำนัก งาน สง่ เสริมเศรษฐกจิ ดิจิทัล (ดีป้า) กระทรวงดจิ ิทัลเพอ่ื เศรษฐกิจและสังคม , สำนกั งานคณะกรรมการ การศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน (สพฐ.) กระทรวงศึกษาธกิ าร และ DQ. institute ร่วมกันทำโครงการ #DQEveryChild โดยศึกษาเด็กไทยอายุ 8-12 ปีท่ัวประเทศ 1,300 คนผา่ นแบบสำรวจ ออนไลน์ DQ Screen Time Test ชดุ เดียวกันกับ เด็ก ประเทศอ่นื ๆ รวมกลมุ่ ตัวอย่างท่ัวโลกท้ัง สน้ิ 37,967 คน ผลการศกึ ษาพบว่าเดก็ ไทยมคี วามเส่ียงจากภัย ออนไลนถ์ งึ 60% ในขณะที่คา่ เฉลยี่ ของการศึกษา ครั้งนี้อยู่ท่ี 56% (จาก 29 ประเทศท่ัวโลก) ภยั ออนไลนท์ ่ีพบจากการศกึ ษาชุดนี้ ประกอบไปด้วยการกล่ีนแกล้งบนโลกออนไลน์,ถกู ลอ่ ลวงออกไปพบคนแปลกหน้าจากสอ่ื สงั คม ออนไลน์,ปญั หาการเล่นเกมเดกต็ ดิ เกม,ปัญหาการเขาถ้ ึงสอื่ ลามกอนาจาร,ดาวน์โหลด ภาพหรือ วดิ โี อท่ยี ั่วยุอารมณเ์ พศ และพดู คุยเรื่องเพศกับ คนแปลกหน้า ในโลกออนไลน์ ดัง น้ัน ทักษะ ความฉลาดทางดจิ ิทลัจงึ ควรที่จะถูกนามาใช้ในการพัฒนาคณุ ภาพและความสามารถของ เยาวชน ไทย

๒ ทำไมต้องเพ่ิมทักษะความฉลาดทางดจิ ทิ ัล เดก็ ๆ และเยาวชนในยุค ไอทีเตบิ โตมาพรอ้ มกับอุปกรณ์ดจิ ิทัลและอินเทอรเ์ น็ต ดว้ ยลกั ษณะการ สอื่ สารที่รวดเร็วอสิ ระไร้พรมแดนและไม่เห็นหน้าของอกี ฝ่ายทาให้การรบั ร้แู ละการใช้ชวี ิต ของเด็ก ร่นุ ใหม่ มลี ักษณะทีแ่ ตกตา่ งจากเจนเนอเรช่ันรุ่นกอ่ นๆ มาก ทักษะชีวิตใหม่ๆ ต้องไดร้ ับ การ เรียนรู้และฝกึ ฝน เพื่อที่เดก็ ท่ีเติบโตมาในยุคที่เตม็ ไปดว้ ยข้อมูลข่าวสารและเทคโนโลยี สามารถ นาไปใช้ในชวี ติ ประจำวัน การใชช้ ีวิตของคนรุ่นใหมย่ ังผูกตดิ กับเครอื ขา่ ยอนิ เทอรเ์ นต็ และส่ือ ออนไลนเ์ กือบตลอดเวลาไม่ว่า จะเป็นการรับข่าวสารความบันเทิงหรือการซื้อขาย สนิ ค้า และ บริการ และการทำธุรกรรมการเงนิ ในอดตี ตัว ชว้ี ัด อย่าง IQ ไดถ้ ูกนำมาใช้พัฒนา ระดับทกั ษะ ทางสติปัญญาของมนุษย์ในขณะที่ EQ ไดน้ ำมาศึกษาเพื่อพัฒนาระดบั ทกั ษะความ ฉลาดทาง อารมณ์แตด่ ้วยบรบิ ททางสังคมท่เี ปล่ียนไปปจั จบุ ันทกั ษะความฉลาดทางปัญญาและ ทางอารมณ์ ไมเ่ พยี งพอตอ่ สง่ิ ทเ่ี ยาวชนต้องเผชิญในโลกไซเบอรย์ ิ่งไปกว่าน้ัน อนิ เทอรเ์ นต็ และ อปุ กรณด์ จิ ิทัล ถึงแม้จะเพม่ิ ความสะดวกสบาย แตก่ ็แฝงด้วยอนั ตราย เชน่ กันไม่ว่าจะเป็น อนั ตรายตอ่ สุขภาพการ เสพตดิ เทคโนโลยีหากใช้งานส่อื ดิจิทัลมากเกินไปหรอื อันตรายจาก มิจฉาชพี ออนไลน์ การคุกคาม ทางไซเบอร์ และการกล่ันแกล้งทางไซเบอร์ พลเมืองยุคใหมจ่ ึงต้องรู้เท่าทันส่ือสารสนเทศ และมี ทกั ษะความฉลาดทางดิจิทัลเพื่อที่จะใชช้ ีวิตอยู่ในสงั คม ออนไลนแ์ ละในชวี ติ จรงิ โดยไมท่ ำตวั เอง และผอู้ ่ืนให้เดือดร้อนดงั น้ันครอบครัวโรงเรยี นทาง ภาครัฐ และ องค์กรทเ่ี กย่ี วข่อง ควรร่วม ส่งเสริมให้เยาวชนเปน็ ‘พลเมืองดจิ ิทัล’ ท่มี ีความรคู้ วามเข้าใจในเรอ่ื งทเ่ี ก่ียวข้องกับการใชง้ าน อนิ เทอร์เนต็

๓ ความเป็นพลเมอื งดิจิทัล (Digital Citizenship) คืออะไร ความเป็นพลเมืองดจิ ิทลั คอื พลเมอื งผใู้ ชง้ านสอ่ื ดิจทิ ัลและส่ือสังคมออนไลน์ทเี่ ข้าใจบรรทัดฐาน ของ การปฏบิ ตั ติ วั ให้เหมาะสมและมคี วามรับผดิ ชอบในการใชเ้ ทคโนโลยี โดยเฉพาะอยา่ งย่งิ การ ส่ือสาร ในยุคดิจิทลั เป็นการสอ่ื สารท่ไี ร้พรมแดน สมาชิกของโลกออนไลน์คือ ทุกคนทใ่ี ชเ้ ครือขา่ ย อนิ เทอรเ์ นต็ บนโลกใบน้ี ผู้ใชส้ ื่อสงั คมออนไลน์มคี วามหลากหลายทางเช้ือชาติ อายุ ภาษา และ วัฒนธรรม พลเมือง ดจิ ทิ ัลจึงต้องเปน็ พลเมืองท่ีมีความรับผดิ ชอบ มีจรยิ ธรรม เห็นอกเห็นใจและ เคารพผ้อู นื่ มสี ่วนร่วม และมุ่งเนน้ ความเปน็ ธรรมในสงั คม การเป็นพลเมอื งในยคุ ดจิ ทิ ัลนั้น มี ทกั ษะท่ีสำคัญ 8 ประการ

๔ 1. ทักษะในการรกั ษาอัตลักษณท์ ี่ดขี องตนเอง (Digital Citizen Identity) สามารถสร้างและบรหิ ารจัดการอัตลักษณ์ทีด่ ีของตนเองไว้ได้อยา่ งดีทง้ั ในโลกออนไลนแ์ ละโลก ความจรงิ อตั ลักษณท์ ่ีดีคือ การทผี่ ใู้ ช้ส่ือดจิ ิทลั สรา้ งภาพลักษณใ์ นโลกออนไลนข์ องตนเองในแง่ บวก ทงั้ ความคิด ความรู้สกึ และการกระทำ โดยมีวจิ ารณญาณในการรบั สง่ ข่าวสารและแสดง ความคิดเหน็ มีความเหน็ อก เหน็ ใจผรู้ ่วมใช้งานในสังคมออนไลน์ และรู้จักรบั ผิดชอบต่อการกระ ไม่กระทำการที่ผดิ กฎหมาย และจริยธรรมในโลกออนไลน์ เชน่ การละเมดิ ลิขสทิ ธ์ิ การกลน่ั แกล้ง หรือการใช้วาจาที่สร้างความ เกลยี ดชังผอู้ ื่นทางสือ่ ออนไลน์

๕ 2. ทักษะการคิดวเิ คราะห์มวี ิจารณญาณท่ดี ี (Critical Thinking) สามารถในการวิเคราะหแ์ ยกแยะระหว่างขอ้ มูลท่ีถกู ต้องและขอ้ มูลทีผ่ ดิ ข้อมลู ทีม่ เี นือ้ หาเป็น ประโยชน์ และข้อมลู ทเ่ี ข้าข่ายอันตราย ข้อมูลติดต่อทางออนไลน์ท่ีนา่ ต้ังขอ้ สงสัยและน่าเชอ่ื ถอื ได้ เมือ่ ใชอ้ ินเทอร์เน็ต จะรูว้ า่ เนื้อหาอะไร เป็นสาระ มปี ระโยชน์ รูเ้ ท่าทันสอื่ และสารสนเทศ สามารถ วิเคราะห์และประเมนิ ข้อมลู จากแหลง่ ขอ้ มูลทีห่ ลากหลายได้ เขา้ ใจรูปแบบการหลอกลวงตา่ งๆ ในโลกไซเบอร์ เชน่ ข่าวปลอม เว็บปลอม ภาพตดั ตอ่ เป็นตน้

๖ 3. ทักษะในการรักษาความปลอดภยั ของตนเอง ในโลกไซเบอร์ (Cybersecurity Management) สามารถป้องกันข้อมูลดว้ ยการสร้างระบบความปลอดภยั ท่ีเข้มแข็ง และปอ้ งกันการโจรกรรม ขอ้ มูล หรือการโจมตีออนไลน์ได้ มีทักษะในการรักษาความปลอดภัยของตนเองในโลกออนไลน์ การรกั ษา ความปลอดภัยของตนเองในโลกไซเบอรค์ ือ การปกปอ้ งอปุ กรณด์ ิจิทลั ข้อมลู ทจ่ี ดั เกบ็ และข้อมลู ส่วนตวั ไม่ให้เสยี หาย สญู หาย หรือถูกโจรกรรมจากผ้ไู ม่หวังดีในโลกไซเบอร์ การรักษา ความปลอดภัยทาง ดจิ ิทัลมคี วามสำคัญดังน้ี

๗ 4. ทกั ษะในการรักษาขอ้ มลู ส่วนตัว (Privacy Management) มีดลุ พนิ ิจในการบรหิ ารจัดการขอ้ มูลส่วนตัว รู้จกั ปกปอ้ งข้อมลู ความสว่ นตัวในโลกออนไลน์ โดยเฉพาะ การแชร์ขอ้ มลู ออนไลน์เพ่ือปอ้ งกนั ความเปน็ ส่วนตวั ท้ังของตนเองและผู้อื่น รเู้ ท่าทนั ภยั คุกคามทาง อินเทอรเ์ น็ต เชน่ มัลแวร์ ไวรัสคอมพิวเตอร์ และกลลวงทางไซเบอร์

๘ 5. ทักษะในการจัดสรรเวลาหนา้ จอ (Screen Time Management) สามารถในการบรหิ ารเวลาท่ีใชอ้ ปุ กรณ์ยุคดิจทิ ลั รวมไปถึงการควบคมุ เพ่อื ใหเ้ กิดสมดุลระหว่าง โลกออนไลน์ และโลกภายนอก ตระหนักถงึ อนั ตรายจากการใชเ้ วลาหนา้ จอนานเกนิ ไป การทำงาน หลายอยา่ งในเวลาเดียวกนั และผลเสียของการเสพติดสือ่ ดจิ ิทลั สำนกั วจิ ยั สยามเทคโนโลยี อนิ เทอรเ์ น็ตโพลล์ระบวุ า่ วยั รุน่ ไทยเกือบ 40 % อยากใช้เวลาหน้าจอ มากกว่าออกกำลังกาย และ ผลการสำรวจจาก We are social พบว่า ในแตล่ ะวัน คนไทยใชเ้ วลา หน้าจอ ดงั นี้

๙ 6. ทักษะในการบริหารจดั การขอ้ มลู ทผี่ ใู้ ชง้ าน มีการท้งิ ไว้บนโลกออนไลน์ (Digital Footprints) สามารถเขา้ ใจธรรมชาติของการใช้ชีวิตในโลกดจิ ทิ ัลว่าจะหลงเหลือรอ่ ยรอยข้อมูลทิง้ ไว้เสมอ รวม ไปถงึ เขา้ ใจผลลพั ธ์ทอ่ี าจเกดิ ขึ้น เพื่อการดแู ลส่งิ เหล่านี้อยา่ งมคี วามรับผิดชอบ รอยเท้าดิจทิ ัล (Digital Footprints) คอื อะไร รอยเทา้ ดิจิทลั คอื คำทใ่ี ชเ้ รียกร่องรอยการกระทำตา่ งๆ ท่ีผู้ใชง้ านทง้ิ รอยเอาไว้ในโลกออนไลน์ โซเชียล มีเดีย เว็บไซต์หรือโปรแกรมสนทนา เช่นเดยี วกบั รอยเท้าของคนเดินทาง ข้อมูลดิจทิ ลั เช่น การลงทะเบยี น อเี มล การโพสตข์ อ้ ความหรือรูปภาพ เมื่อถกู ส่งเข้าโลกไซเบอรแ์ ลว้ จะทิ้งรอ่ ย รอยขอ้ มูลสว่ นตัวของ ผูใ้ ช้งานไว้ให้ผอู้ ื่นตดิ ตามไดเ้ สมอ แม้ผู้ใช้งานจะลบไปแล้ว ดงั นั้น หากเป็น การกระทำทผี่ ดิ กฎหมาย หรือศลี ธรรม ก็อาจมีผลกระทบต่อชอื่ เสยี งและภาพลกั ษณข์ องผกู้ ระทำ กล่าวง่ายๆ รอยเทา้ ดจิ ทิ ัลคือ ทกุ ส่ิงทกุ อย่างในโลกอินเทอรเ์ น็ตทบ่ี อกเรอ่ื งของเรา เชน่

๑๐ 7. ทักษะในการรับมอื กับการกลน่ั แกลง้ บนโลกไซเบอร์ (Cyberbullying Management) การกลั่นแกล้งบนโลกไซเบอรค์ อื การใชอ้ ินเทอรเ์ น็ตเปน็ เคร่ืองมือหรอื ชอ่ งทางเพือ่ ก่อให้เกดิ การ คกุ คาม ลอ่ ลวงและการกลัน่ แกล้งบนโลกอินเทอร์เน็ตและสือ่ สังคมออนไลน์ โดยกล่มุ เปา้ หมาย มกั จะเปน็ กลุ่มเดก็ จนถึงเดก็ วัยรุน่ การกล่นั แกล้งบนโลกไซเบอร์คลา้ ยกันกับการกลน่ั แกลง้ ใน รูปแบบอ่นื หากแต่การกล่ันแกล้งประเภทน้ีจะกระทำผ่านสอื่ ออนไลนห์ รือส่อื ดิจทิ ลั เช่น การสง่ ขอ้ ความทาง โทรศพั ท์ ผ้กู ลนั่ แกล้งอาจจะเปน็ เพ่ือนร่วมช้นั คนรู้จักในส่อื สงั คมออนไลน์ หรือ อาจจะเป็นคน แปลกหนา้ ก็ได้ แตส่ ว่ นใหญ่ผู้ทีก่ ระทำจะรจู้ ักผทู้ ีถ่ กู กล่ันแกลง้ รปู แบบของการกลั่น แกล้งมกั จะเป็น

๑๑ ดงั เช่น เคยมกี รณี เดก็ ผู้หญิง อายุ 11 ปี ไปเลน่ อินเทอรเ์ นต็ ทร่ี า้ นแล้วลืมออกจากบญั ชกี ารใช้งาน เฟซบุ๊ก ทำใหม้ ีคนสวมรอยใช้เฟซบุก๊ ของเธอ ไปโพสตข์ ้อมลู ตามกล่มุ สนทนาทข่ี ายบรกิ ารทางเพศ มเี นือ้ หาเชิงเชญิ ชวนว่า ‘สาววยั ใสวัยประถมยงั ไม่เคยเสยี สาว สนใจติดต่อผ่านอินบ็อกซเ์ ฟซบุ๊กนี’้ ด้วยความทเ่ี ธอไมร่ เู้ ร่อื ง พอมคี นแอดเฟรนด์มากร็ บั เลย เน่อื งจากไม่ไดค้ ิดถึงอนั ตรายหรือภัยตา่ งๆ คิดแค่อยากมีเพอ่ื นเยอะๆ ตอ่ มาปรากฎวา่ ส่วนใหญ่จะเปน็ ผู้ชายส่งข้อความมาหา ซงึ่ ตอนแรกกค็ ยุ ดๆี ปกติธรรมดา สักพักกถ็ ามว่า อยู่ทีไ่ หน เคยรยึ งั ขอเบอรโ์ ทรตดิ ต่อหน่อยจะนัดขนึ้ ห้อง ทำให้ เธอกลัวมาก แต่โชคดีทเ่ี ธอมสี มั พันธภาพกับพ่อแม่ค่อนขา้ งดี จงึ เล่าให้ผ้ปู กครองฟงั ว่าเกิดอะไรขน้ึ แม่กร็ ับฟัง และ ชว่ ยกนั รับมอื กับการกล่นั แกล้งบนโลกออนไลนน์ ี้

๑๒ 8. ทกั ษะการใชเ้ ทคโนโลยีอยา่ งมีจรยิ ธรรม (Digital Empathy) มคี วามเหน็ อกเห็นใจ และสร้างความสมั พันธท์ ดี่ ีกับผ้อู นื่ บนโลกออนไลน์ แม้จะเปน็ การส่ือสารท่ี ไม่ได้เห็นหน้ากนั มีปฏสิ ัมพันธอ์ ันดตี อ่ คนรอบขา้ ง ไมว่ ่าพอ่ แม่ ครู เพอื่ นทั้งในโลกออนไลนแ์ ละใน ชวี ติ จริง ไม่ดว่ นตัดสินผู้อื่นจากข้อมูลออนไลนแ์ ตเ่ พยี งอย่างเดียว และจะเปน็ กระบอกเสยี งใหผ้ ูท้ ่ี ตอ้ งการความช่วยเหลือ คดิ ก่อนจะโพสตล์ งสงั คมออนไลน์ (Think Before You Post) ใคร่ครวญก่อนทจี่ ะโพสต์รูปหรอื ข้อความลงในส่ือออนไลน์ ไม่โพสต์ขณะกำลังอยู่ในอารมณ์โกรธ ส่อื สารกับผอู้ ื่นดว้ ยเจตนาดี ไมใ่ ช้วาจาทสี่ ร้างความเกลียดชังทางออนไลน์ ไม่นำลว้ งข้อมูลสว่ นตวั ของผอู้ ่ืน ไม่กลัน่ แกลง้ ผอู้ นื่ ผ่านส่อื ดิจิทัล โดยอาจตง้ั ความถามกับตวั เองก่อนโพสตว์ ่า

๑๓ บรรณานกุ รม 6 เหตุการณ์ สะเทือนใจ!! จากภยั Cyberbullying - จส. 100 [Online]. แหล่งทมี่ า http://www.js100.com/en/site/post_share/view/25700 [4 มกราคม 2561] 9 ข้อควรปฏบิ ัตขิ องพลเมืองดจิ ิทัลยุคใหม่ [Online]. แหลง่ ทีม่ า http://www.okmd.or.th/ okmd-opportunity/digital-age/258/ [2 มกราคม 2561] ดีป้าจับมือพันธมิตรขับเคล่อื นความฉลาดทางดจิ ิทลั ให้เดก็ ไทยเทียบเท่ามาตรฐาน [Online]. แหล่งทีม่ า http://www.ryt9.com/s/prg/2778991 [3 มนี าคม 2561] โจไ๋ ทยเมินออกกำลังกาย 40% อยากเล่นเน็ต-เกมมากกว่า [Online]. แหลง่ ที่มา http://www. manager.co.th/qol/viewnews.aspx?NewsID=9560000154824 [2 มกราคม 2561] ผลวิจัยช้วี ัยร่นุ อยู่ ‘หนา้ จอ’ นาน ยิ่งผูกพนั กับพอ่ แม่-เพอ่ื นลดลง [Online]. แหล่งท่ีมา http://www. manager.co.th/Around/ViewNews.aspx?NewsID=9530000030132 [24 มกราคม 2561] วิทยา ดำรงเกียรติศักด.์ิ พลเมืองดิจิทัล [Online]. แหลง่ ทีม่ า http://www.infocommmju.com/ icarticle/images/stories/icarticles/ajwittaya/digital/Digital_Citizenship.pdf [1 กุมภาพันธ์ 2561] วิวรรณ ธาราหริ ัญโชติ. ทกั ษะทางดิจิตอลท่ีจำเปน็ สำหรบั เด็กในอนาคต [Online]. แหล่งทมี่ า http://www.bangkokbiznews.com/blog/detail/642553 [3 มกราคม 2561] สำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสยี ง กจิ การโทรทศั น์ และกิจการโทรคมนาคมแหง่ ชาติ. คู่มอื Cyber Security สำหรับประชาชน [Online]. แหล่งที่มา https://www.nbtc.go.th/ getattachment/News/รวมบทความ-(1)/คู่มือ-Cyber-Security-สำหรบั ประชาชน/คู่มือ- CyberSecurity-สำหรับประชาชน.pdf.aspx [12 มกราคม 2561] Digital Southeast Asia / Thailand In 2017 – An Overview [Online]. แหล่งท่ีมา http://my-thai.org/digital-southeast-asia-thailand-2017-overview/ [12 มกราคม 2561]

๑๔ Digital Intelligence (DQ) A Conceptual Framework & Methodology for Teaching and Measuring Digital Citizenship [Online]. แหล่งที่มา https://www.dqinstitute. org/wp- content/uploads/2017/08/DQ-Framework-White-Paper-Ver1-31Aug17.pdf [16 มกราคม 2561] ดร.สรานนท์อินทนนท์(2563).ความฉลาดทางดิจทิ ลั(คร้ังท่ี3).ปทมุ ธาน:ี สบื คน้จาก http://cclickthailand.com/wp-cont.../uploads/.../04/dq_FINAL.pdf


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook