Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สี สีเคลือบ น้ำมันเคลือบใสและวัสดุตกแต่งงานสี

สี สีเคลือบ น้ำมันเคลือบใสและวัสดุตกแต่งงานสี

Published by ปัญญาวุธ ช่วยคง, 2021-06-10 12:20:06

Description: สี สีเคลือบ น้ำมันเคลือบใสและวัสดุตกแต่งงานสี

Keywords: สี ผลิตภัณฑ์เคลือบเงา

Search

Read the Text Version

หน่วยท่ี 4 สี สีเคลอื บ นํา้ มนั เคลอื บใส และวสั ดุตกแต่งงานสี วิชา งานสีเพ่อื งานก่อสร้าง โดย อ.ปัญญาวุธ ช่วยคง

-1- สี สีเคลอื บ นาํ้ มนั เคลือบใส และวัสดตุ กแตง งานสี บานเปนสถานที่พักพิง เปนท่ีๆคนหลายคนมาอยูรวมกันเปนครอบครัว และเปนสถานท่ีสราง ความสุขใหกับผูอยูอาศัย การเลือกสีทาบานเปนอกี ปจจัยที่ทําใหบานของเรานาอยมู ากขึ้น มีหลายทานท่ี เลือกสีทาบานตามวันเกิด เพราะเช่ือในเร่ืองดวงชะตา แตก็มีอีกหลายทานเชนกันท่ีเลือกสีทาบานตาม ความชอบของตนเอง แตท้ังนี้ทั้งน้ันเราก็ควรศึกษารายละเอียดและหลักในการเลือกสีทาบาน เพื่อทําให บา นซง่ึ เปนสถานที่สําคัญท่ีสดุ ในชวี ิตของเราดูเหมาะสมและลงตัวมากทีสุด เคลด็ ลับในการเลือกสีทาบาน ใหเหมาะสมและลงตัว 1. พิจารณาจากแสงสวางภายในบาน ควรเลือกสีทาบานเปนสีขาว หรือสีออน ๆ อยางสีครีม สเี บจ หรือสโี อลดโรส และทําใหบ า นดกู วา งข้นึ ไมควรใชส ีโทนนี้กบั หอ งใตด นิ หรอื บานทีห่ ันหนาไปทางทิศ เหนือ เพราะจะย่ิงทําใหบานหรือหองของคุณดูสลัวและใหความรูสึกหดหูมากข้ึน กรณีที่บานดูกวางเกิน โลงเกนิ ไป การเลอื กสีทาบานโทนสเี ขมอยางสนี ้ําตาล สีดํา หรอื สนี ้าํ เงิน ก็สามารถมาชวยแกไ ขจุดนีไ้ ด ทํา ใหบา นของคณุ ดลู งตวั ย่ิงข้ึน

-2- 2. สีทาบานสีกลางๆ อาจเปนสีท่ีไมเหมาะกับบานเสมอไป การทาสีทาบานเปนสีกลางๆ อยาง สเี บจ สนี าํ้ ตาลอมเทา หรอื สเี ทา เปน สที ี่ตกแตงบานไดงา ยท่ีสุด เพราะเปนสที ่เี ขา กบั สง่ิ อ่ืนๆ ไดงาย แตใน บางครั้งสีกลางๆ ก็อาจทาํ ใหมองดนู าเบอ่ื การเลอื กสีทาบานใหเขม ขน้ึ หรือเลอื กผสมสีใหไ ดโ ทนใหมก็อาจ เปน อีกทางเลอื กใหบา นดสู ดใส มชี วี ิตชวี ามากขึ้น 3. ตรวจสอบสีท่ีเลือกใหแนใจเสียกอนท่ีจะซ้ือ หลังจากตัดสินใจเลือกสีทาบานไดแลว อยาเพ่ิง ดวนตัดสินใจซ้ือ เพราะสีทาบานแตละย่ีหอแตละแบรนดใหเฉดสีออกมาตางกัน ฉะน้ันควรทดสอบสีให แนใ จกอนทีจ่ ะตัดสนิ ใจซ้อื โดยการลองซ้อื สนี ั้นมาแลว เพนทล งบนแผนตวั อยางแลว นาํ ไปติดไวบ นผนังตาม สวนตางๆ ของบานหรอื พื้นที่ท่ีตองการแลว ท้ิงเอาไวอยา งนอย 2 วนั เพอื่ สังเกตความเหมาะสมของสีตาม การใชง านจรงิ และดูการเปล่ียนแปลงของเนื้อสีดวย หากไดตามท่ตี อ งการกไ็ ปซือ้ ไดเลย

-3- 4. เปรียบเทียบสีทาบานกับของตางๆ ภายในบาน การนําสีทาบานที่ตองการมาเปรียบเทียบกับ ของตางๆ ภายในบาน จะทําใหการตกแตงบานดูลงตัวย่ิงข้ึน โดยการนําสีทาบานท่ีเลือกมาเทียบกับจุด ตางๆ ในบาน เชน พ้ืนบาน พื้นที่บริเวณขางหนา ตาง หลังงานศิลปะ และเทียบกับเฟอรนเิ จอรต างๆ เชน ตูโชว โซฟา เตียงนอน และควรนําไปเทียบตามชวงเวลาตาง ๆ ดวยท้ังตอนเชา ตอนกลางวัน ตอนเย็น และชวงคาํ่ ดวยกย็ ิ่งดี 1. สที าบาน 1) สีนํ้ามันหรือสีเคลือบเงา เปนสีท่ีใชตัวทําละลายเปนสวนผสมหรือทําใหเจือจาง เชน ทินเนอร นิยมใชท าเคลือบงานไม งานโลหะ เพอื่ ทาํ ใหพ ้ืนผิวมีความสวยงาม มีความเงางาม และรกั ษาสภาพพ้ืนผิว ใหคงทน 2) สีพลาสติกหรือสีอะคริลิก สีชนิดน้ีมักใชน้ําเปนตัวทําละลายหรือสวนผสมเพื่อใชเกิดการเจือ จางกอนใชง าน ใชส าํ หรบั ทาเคลือบพ้นื ปนู พื้นคอนกรตี รวมถงึ กระเบ้ือง เพื่อใหเ กิดสีสวยงาม และรักษา สภาพพื้นผิว 1.1 เกรดสีทาบาน เกรดสี คือ ตัวบงบอกปริมาณสวนผสมและคุณภาพของสี ซึ่งสามารถแบงได เปน 4 เกรด ดังนี้ 1.1.1 สีทาบานเกรด A : สีอะคริลิก 100% สวนใหญจะนําเขาจากทางยุโรป มักใชทา ภายนอก โดยเฉพาะอาคารสูงหรือบานท่มี รี าคาแพง 1.1.2 สีทาบานเกรด B : สีอะคริลิค 100% สวนใหญจะนําเขาจากทางแถบเอเชีย มักใชทา ภายนอกหรอื ภายใน 1.1.3 สีทาบานเกรด C : สีท่ีมีการผสมสารปรุงแตง 30% และมีอะคริลิค 70% มักใชท้ังทา ภายนอกและภายใน 1.1.4 สีทาบา นเกรด D : สที ่ีมีการผสมสารปรงุ แตงมากกวา 30%

-4- 1.2 วธิ เี ลอื กสีทาภายนอก 1.2.1 ทนตอ สภาพอากาศ ความรอนแสงแดด แรงลม ความชนื้ และภาวะสิ่งแวดลอมตางๆ ไดดี ดว ยโมเลกุลสีทม่ี ีขนาดเล็ก สามารถยดึ เกาะพ้ืนผิวผนงั ไดดี 1.2.2 ปกปดรอยแตกราว รอยแตกลายงา ดวยโมเลกุลสีที่มีความยืดหยุน สามารถหดกลับ ตามสภาพโครงสรา ง และจากความรอ นไดดี 1.2.3 ปองกันน้ําซึมผาน ปองกันพื้นผิวซีเมนต เหล็กจากนํ้าฝน และความชื้นไดดี เนื้อสีล่ืน เปนเงา ไมจ บั ฝนุ งา ย 1.2.4 ขัดหรือทําความสะอาดรอยเลอะหรือความสกปรกออกไดงายโดยไมทําลายเน้ือสีให เสียหาย 1.2.5 ปองกันเช้ือรา ตะไครนาํ้ ไดด ีดวยสารเติมแตงหากสัมผสั กบั นาํ้ ฝนหรอื ความชืน้ 1.2.6 ทนตอ สภาพความรอ น รงั สี เน้อื สไี มล ดุ ลอกหรือซดี จางงา ย 1.3 วิธีเลอื กสีทาภายใน 1.3.1 เน้อื สตี อ งมีความละเอยี ดเปน เงางาม 1.3.2 สามารถเชด็ ทําความสะอาดสิ่งปนเปอ น รอยดางดําไดงา ย และทนตอแรงถูขดั 1.3.3 ปองกันเช้ือรา แบคทีเรีย และคราบหมองคลา้ํ ท่เี กิดจากเชื้อรา 1.3.4 ปราศจากกล่ินฉุน กล่ินสารระเหยที่อาจเปนอันตรายตอผูอาศัยหรอื ทําใหเกิดกลนิ่ อัน ไมพ งึ ประสงค 2. ผลิตภณั ฑเ คลอื บเงาไม ปจ จุบนั น้ี มผี ลิตภณั ฑเ คลือบเงาสําหรับช้ินงานไมม ากมายหลายชนดิ หลายยี่หอ ซง่ึ แตล ะผูผ ลิตก็ ใชชื่อตางกันออกไป สรางความสับสนใหกับผูบริโภคในการเลือกผลิตภัณฑเคลือบเงาไมมาใชงาน เรา สามารถแบง ตามประเภทตา งๆ ได 6 ประเภท ดังน้ี

-5- 1) งานนํา้ มัน (Oil) 2) งานวานชิ (Varnish) 3) งานเชแลค (Shellac) 4) งานแลคเกอร (Lacquer) 5) กลุม ผลิตภัณฑสตู รนา้ํ (Water based) 6) แวกซ (Wax) 2.1 จุดประสงคทเ่ี ราเคลือบเงาไม มี 3 ขอ ไดแก 2.1.1 เพื่อขบั /ดึงความสวยงามของไมใหโดดเดน ออกมา (Enhance) 2.1.2 เพ่อื ผนึกปด ไมไ ว (Seal) 2.1.3 เพอ่ื ปองกันไมจ ากการใชง าน (Protect) 2.2 หลักในการพจิ ารณาเลอื กใชการเคลือบเงานัน้ เราจึงตอ งตัง้ โจทย ถามตวั เองวา 2.2.1 ตองการใหการเคลือบเงาน้ี มีผลกับเฉดสีด้ังเดิมของไมหรือไม มากนอยเพียงใด (Color) การเคลอื บเงาแตล ะประเภท สงผลกระทบกบั เฉดสีดัง้ เดมิ ของไมแตกตา งกนั ออกไป บางครัง้ เราก็ ตอ งการใหเฉดสเี ปลีย่ น แตบ างคร้งั เราก็ตอ งการใหคงเฉดสีดัง้ เดิมไว เรามาดูคาํ อธิบาย และเปรียบเทียบสี ตา งๆ ของไม ดังรูป 1) กลุมสูตรน้ํา (Water based finishes) สงผลใหไมสีเขมข้ึน แตไมมีผลกับเฉดสี ด้ังเดมิ 2) น้ํามันลินซีด (Boiled linseed oil) ทําใหไมมีสีเขมข้ึน และเฉดสีจะออกเหลือง อําพนั โทนสีอุน 3) แวกซ ไมมผี ลกับสีดัง้ เดิมเลย มายงั ไงก็ไปแบบนัน้

-6- 4) โพลียูริเทน-สตู รนํา้ มัน ทาํ ใหไมม ีสีเขมข้นึ และเฉดสจี ะออกเหลืองอําพนั โทนสีอนุ แตไมเขมเทา กบั กลมุ นาํ้ มันลินซดี 5) เชแลคสม เพ่ิมสีสมโทนอุนใหกับเฉดสีเดิมของไม (เชแลคสีอื่นๆ ก็เพิ่มโทนสี ตามนนั้ ๆ) 6) แลคเกอร ทําใหไมสเี ขม ขน้ึ นิดนึง 2.2.2 ตองการใชกระบวนการเคลือบเงา ท่ีมีข้ันตอนการทํางานยากงายเพียงใด (Application) โดยท่ัวๆ ไปแลว กระบวนการเลือกทํางานเคลือบไมเปนเร่ืองของความถนัดชางแตละคน เพราะการเคลือบไมแตละประเภทใชทักษะทางชางและประสบการณ มากนอยไมเทากัน การเคลือบ ประเภทน้ํามันและแวกซ ทํางานไดงายที่สุด (เช็ดนํ้ามันและเช็ดออก ทําใหเกิดรอยชั้นฟลมบางๆ บน ชิ้นงาน) ในขณะที่งานเชแลค, วานิช และกลุมสูตรน้ํา จะใชแปรงทา และสรางช้ันฟลมท่ีหนากวา ตัวชาง เองก็ตอ งอาศยั ความประณตี และประสบการณในการใชแ ปรง เพ่ือไมใหเกดิ รอยขนแปรง หรือรอยชน้ั ฟลม ทบั กัน และสดุ ทา ย งานแลคเกอร (ซง่ึ เรามกั จะการพน ) ก็จําเปนตองมีอุปกรณเพม่ิ เตมิ เชน กาพนสี ระบบ ลม และทกั ษะฝกฝนการใชกาพน สี 2.2.3 ตองการปองกันเน้ือไม ดวยคุณภาพดีเพียงใด (Protection) ถาหากเราตองการ ปกปอ งรักษาชนิ้ งานใหม ีอายุยนื ยาว ก็ควรจะเลอื กการเคลือบเงาท่ีสามารถปองกนั การระเหยของนา้ํ ในชิ้น ไม (ดังที่เราทราบอยูแลววา แมจะผานการอบไมมาแลว ไมก็ยังมีความช้ืนออนๆหลงเหลืออยู) ย่ิงเรา เคลือบไมหนามากแคไหน ก็จะยิ่งปกปองการระเหยของน้ําไดมาก แตอยาลืมวา ทุกอยางก็มีขอจํากัด เพราะการสรางชั้นฟล มท ่ีหนามากกวา 0.006 นว้ิ (ประมาณวา ทายูริเทนไป 4 รอบ) ก็จะมแี นวโนม วา จะ เกดิ รอยแตกบนชั้นฟล มไ ด โดยเฉพาะอยางยง่ิ ในพื้นท่ีท่ีมีอากาศเปลย่ี นแปลงกะทันหนั

-7- 2.2.4 ตองการความทนทานจากการเคลือบเงามากแคไหน (Durability) ประเภทของการ เคลือบเงา และความหนาของชั้นฟลมท่ีเคลือบ จะชวยปกปองชิ้นงานไมจากรอยขีดขวนที่อาจจะเกดิ ข้ึน จากการใชงาน การเคลอื บบางประเภทสามารถทนตอรอยขดู ขีด, นํ้า, ความรอน ไดดีกวา คณุ สมบัติความ ทนทานน้ี ข้ึนอยูกับประเภทของการใชงานไมเ ราดวย เชน เฟอรนิเจอรโตะกม็ ีโอกาสท่ีจะเกิดรอยขีดขวน ไดม ากกวาโคมไฟต้งั โชว ตารางเปรยี บเทยี บความทนทาน ของประเภทการเคลือบเงาแตล ะประเภทกับปจจยั การเกดิ รอยบนชิ้นไม Excellent ดีเยีย่ ม = 6; Very Good ดีมาก = 5; Good ดี = 4; Fair พอใชได = 3; Poor แย = 2; Very Poor แยม าก = 1