Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ประวัตืเอเชียนเกมส์

ประวัตืเอเชียนเกมส์

Published by Guset User, 2022-07-18 05:23:05

Description: 5FAC9EE1-188D-4C75-8DFA-AE371211BAAE

Search

Read the Text Version

ป ร ะ วั ติ เ อ เ ชี ย น เ ก ม ส์ ASIAN GAMES

สารบัญ ป ร ะ วั ติ สั ญ ลั ก ษ ณ์ ก า ร จั ด แ ข่ ง ขั น เ ห รี ย ญ ร า ง วั ล ร ว ม ส รุ ป

ประวัติเอเชี่ยนเกมส์ เอเชียนเกมส์ (อังกฤษ: Asian Games; ชื่อย่อ: Asiad) เป็นการแข่งขันกีฬาหลากชนิดระหว่างประเทศใน ทวีปเอเชียซึ่งมีการจัดขึ้นในทุกสี่ปี เริ่มกำหนดการแข่งขัน โดยสหพั นธ์เอเชียนเกมส์ (The Asian Games Federation; AGF) ตั้งแต่การแข่งขันครั้งแรกถึงครั้งที่ 8 และตั้งแต่เอเชียนเกมส์ครั้งที่ 9 เป็นต้นมา บริหาร จัดการแข่งขันโดยสภาโอลิมปิกแห่งเอเชีย (Olympic Council of Asia; OCA) ภายใต้การรับรองโดยคณะ กรรมการโอลิมปิกสากล (International Olympic Committee; IOC) และยังถือได้ว่าเป็นการแข่งขันกีฬา หลากชนิด ซึ่งมีขนาดใหญ่เป็นอันดับสองรองจากกีฬา โอลิมปิกด้วย ในประวัติศาสตร์ของเอเชียนเกมส์ มีชาติเจ้าภาพ จัดการแข่งขันแล้ว 9 ประเทศ โดยมี 46 ประเทศเข้าร่วม ยกเว้นอิสราเอลซึ่งถูกกีดกันออกจากเอเชียนเกมส์หลัง จากที่เข้าร่วมเป็นคราวสุดท้ายใน เอเชียนเกมส์ ครั้งที่ 7 ที่ประเทศอิหร่าน สำหรับเอเชียนเกมส์ครั้งหลังสุดได้จัด ขึ้นที่เมืองจาการ์ตาของประเทศอินโดนีเซีย ระหว่างวันที่ 18 สิงหาคม - 2 กันยายน พ.ศ. 2561 (ค.ศ. 2018) และ การแข่งขันครั้งต่อไป จะจัดขึ้นที่หางโจวของประเทศจีน ในปี พ.ศ. 2565 (ค.ศ. 2022)

ยุคกีฬาตะวันออกไกล เมื่อปี พ.ศ. 2456 (ค.ศ. 1913) อี.เอส.บราวน์ ประธานสมาคมกีฬาแห่งหมู่เกาะฟิลิปปินส์ของ สหรัฐอเมริกา (The Philippines Athletic Association) ผู้จัดการแข่งขันกีฬาคาร์นิวัลแห่งกรุงมะ นิลา (Manila Carnival Games) เชิญชวนให้ สาธารณรัฐจีน และ จักรวรรดิญี่ปุ่น (ชื่อในขณะนั้น) เข้า ร่วมการแข่งขัน กีฬาชิงชนะเลิศแห่งตะวันออกไกล (Far East Games) ทว่าในเวลาต่อมา เกิดปัญหาทางการ เมืองระหว่างจีนกับญี่ปุ่น การแข่งขันจึงต้องสิ้นสุดลงใน ปี พ.ศ. 2480 (ค.ศ. 1937) หลังจากสงครามโลกครั้งที่ สองสิ้นสุดลง มีการประกาศเอกราชเกิดขึ้นเป็นหลาย ประเทศใหม่ ซึ่งประเทศในเอเชียทั้งหมดต่างก็คาดหวังจะ เห็น การแข่งขันกีฬาภายในทวีปรูปแบบใหม่ ที่ไม่มีการใช้ อิทธิพลเข้าครอบงำ หากแต่ร่วมกันเสริมสร้างความเข้ม แข็ง ภายใต้ความเข้าใจซึ่งกันและกัน

สหพั นธ์กีฬาเอเชียนเกมส์ จากนั้นในปี พ.ศ. 2491 (ค.ศ. 1948) กลุ่มนักกีฬาของสาธารณรัฐ ประชาชนจีน และฟิลิปปินส์ ซึ่งเข้าร่วมแข่งขันในโอลิมปิกฤดูร้อน ครั้งที่ 14 ที่ THE ASIAN GAMES FEDERATION กรุงลอนดอนของสหราชอาณาจักร มีดำริที่จะฟื้ นการแข่งขันกีฬาตะวันออกไกล ขึ้นใหม่ อย่างไรก็ตาม กูรู ดัตท์ สนธิ (Guru Dutt Sondhi) ผู้แทนคณะ กรรมการโอลิมปิกแห่งอินเดีย ให้ความเห็นว่า ควรเปิดกว้างให้แก่ทุกประเทศใน ทวีปเอเชีย สามารถเข้าร่วมการแข่งขันอย่างเท่าเทียมกัน จึงเสนอให้ร่างระเบียบ ขึ้น เพื่ อจัดตั้งขึ้นในรูปสหพั นธ์กีฬาแห่งเอเชีย (The Asian Athletic Federation) ต่อมาเมื่อวันที่ 13 กุมภาพั นธ์ พ.ศ. 2492(ค.ศ. 1949) ธรรมนูญ องค์กรก็เสร็จสมบูรณ์ พร้อมทั้งเปลี่ยนชื่อเป็น สหพันธ์กีฬาเอเชีย (The Asian Games Federation)[1] ถือกำเนิดขึ้นที่กรุงนิวเดลีของอินเดีย ซึ่งเมืองหลวง แห่งนี้เอง ที่เป็นเจ้าภาพการแข่งขันครั้งที่ 1 ของเอเชียนเกมส์ ในอีกสองปีถัดมา (พ.ศ. 2493; ค.ศ. 1950) ระยะต่อมาเกิดปัญหาขึ้น ตั้งแต่ก่อนการแข่งขันครั้งที่ 8 ซึ่งมี กรุงเทพมหานครของไทยเป็นเจ้าภาพ เมื่อปี พ.ศ. 2521(ค.ศ. 1978) เนื่องจาก สหพั นธ์เอเชียนเกมส์ ออกมติไม่ยินยอมให้ จีนไทเปและอิสราเอล เข้าร่วมแข่งขัน อันมีสาเหตุมาจากปัญหาการเมืองภายในของทั้งสองชาติ ทำให้เกิดความกังวล ต่อการรักษาความปลอดภัย[2] เป็นเหตุให้องค์กรกีฬาระดับนานาชาติหลายแห่ง ออกมาทักท้วงต่อต้าน โดยเฉพาะสหพั นธ์สมาคมกรีฑานานาชาติ (International Association of Athletics Federations; IAAF) ถึงกับประกาศขู่ว่า หากนัก กรีฑาของชาติใด เข้าร่วมแข่งขันเอเชียนเกมส์คราวนี้ สหพั นธ์ฯจะกีดกันไม่ให้เข้า แข่งขัน ในกีฬาโอลิมปิกครั้งที่ 22 ประจำปี พ.ศ. 2523 (ค.ศ. 1980)[3] ซึ่งส่ง ผลกระทบให้นักกีฬาหลายชาติ ขอถอนตัวจากการแข่งขันครั้งนี้[4]

ยุคสภาโอลิมปิกแห่งเอเชีย จากวิกฤตการณ์ดังกล่าว คณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติใน ทวีปเอเชีย ตัดสินใจเปิดการประชุมร่วมกันในวันที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2524 (ค.ศ. 1981) โดยไม่มีการแจ้งให้ทางอิสราเอลเข้าร่วม ด้วย เพื่อยกร่างแก้ไขธรรมนูญสหพันธ์เอเชียนเกมส์ มีสาระสำคัญคือ การจัดตั้งสมาคมบริหารจัดการเอเชียนเกมส์ขึ้นใหม่ เรียกว่า สภา โอลิมปิกแห่งเอเชีย[5] และก่อตั้งอย่างเป็นทางการ ระหว่างการ ประชุมครั้งแรกของสภาโอลิมปิกแห่งเอเชีย เมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายนพ.ศ. 2525 (ค.ศ. 1982) ที่กรุงนิวเดลี ก่อนการแข่งขัน ครั้งที่ 9 ซึ่งจัดขึ้นที่เมืองหลวงของอินเดียตามกำหนดเดิม โดยไม่มี การยกเลิกกำหนดการต่าง ๆ ซึ่งสหพันธ์กีฬาเอเชียจัดทำไว้แล้ว และ มีสมาชิกชุดก่อตั้ง เป็นคณะกรรมการโอลิมปิกของ 34 ชาติ[1] จาก นั้นสภาโอลิมปิกแห่งเอเชีย จึงเริ่มรับหน้าที่กำกับดูแลเอเชียนเกมส์ ครั้งที่ 10 ซึ่งโซลของเกาหลีใต้เป็นเจ้าภาพ เมื่อปี พ.ศ. 2529 (ค.ศ. 1986) เป็นครั้งแรก[6] มาจนถึงปัจจุบัน ส่วนจีนไทเปกลับเข้าร่วมใน ครั้งที่ 11 ที่กรุงปักกิ่งของจีน เมื่อปี พ.ศ. 2533 (ค.ศ. 1990)[7]

จำนวนกีฬาที่แข่งขันจะกำหนดให้ลด ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ใ น อ น า ค ต น้อยลง เหลือเพี ยง 35 ชนิดในการแข่งขัน ครั้งที่ 17 ซึ่งจะจัดขึ้นที่นครอินช็อนของ เกาหลีใต้ และคราวนี้จะเป็นครั้งสุดท้ายที่ การแข่งขันจะจัดขึ้นตามระยะเวลาเดิม เมื่อ โอซีเอผลักดันให้การแข่งขันครั้งถัดไป เกิด ขึ้นก่อนกีฬาโอลิมปิกเพี ยงหนึ่งปี จึง หมายความว่าเอเชียนเกมส์ครั้งที่ 18 ซึ่ง ตามปกติจะมีกำหนดจัดในปี พ.ศ. 2561 (ค.ศ. 2018) จะผลักดันไปเป็น พ.ศ. 2562 (ค.ศ. 2019) ในปัจุบันได้มีการยุติการเปลี่ยนระยะเวลา จัดการแข่งขันออกไป จากที่จะจัดการ แข่งขันก่อนโอลิมปิกเกมส์เพี ยงหนึ่งปีเป็น จัดการแข่งขันตามระยะเวลาเดิม เนื่องจาก ประเทศอินโดนีเซียซึ่งเป็นเจ้าภาพเอเชียน เกมส์ครั้งที่ 18 ไม่สามารถที่จะจัดภายใน ปีค.ศ. 2019 ได้ ซึ่งในปีค.ศ. 2019 นั้นได้มี การจัดการเลือกตั้งประธานธิบดีของ ประเทศอินโดนีเซีย จึงจัดภายในปีค.ศ. 2018 ตามระยะเวลาเดิมแทน

สัญญาลักษณ์ สภาโอลิมปิกแห่งเอเชียได้มีการใช้สัญลักษณ์เพื่ อที่จะใช้ในการ แข่งขันเอเชียนเกมส์ ซึ่งยึดแนวทางตามการแข่งขันโอลิมปิก สัญลักษณ์ของการแข่งขันเอเชียนเกมส์ คือ ธงสภาโอลิมปิกแห่งเอเชีย คบเพลิงเอเชียนเกมส์ เพลงสดุดีสภาโอลิมปิกแห่งเอเชีย

การจัดแข่งกีฬา เ ป็ น ก า ร แ ข่ ง ขั น กี ฬ า ห ล า ก ช นิ ด ร ะ ห ว่ า ง ป ร ะ เ ท ศ ใ น ท วี ป เ อ เ ชี ย ซึ่ ง มี ก า ร จั ด ขึ้ น ใ น ทุ ก สี่ ปี เริ่มกำหนดการแข่งขันโดยสหพั นธ์เอเชียน เกมส์ (The Asian Games Federation; AGF) ตั้งแต่การแข่งขันครั้งแรกถึงครั้งที่ 8 และตั้งแต่เอเชียนเกมส์ครั้งที่ 9 เป็นต้นมา บ ริ ห า ร จั ด ก า ร แ ข่ ง ขั น โ ด ย ส ภ า โ อ ลิ ม ปิ ก แ ห่ ง เอเชีย (Olympic Council of Asia; OCA) ภ า ย ใ ต้ ก า ร รั บ ร อ ง โ ด ย ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร โ อ ลิ ม ปิ ก สากล (International Olympic Committee; IOC) และยังถือได้ว่าเป็นการ แข่งขันกีฬาหลากชนิด ซึ่งมีขนาดใหญ่เป็น อั น ดั บ ส อ ง ร อ ง จ า ก กี ฬ า โ อ ลิ ม ปิ ก ด้ ว ย

เหรียญรางวัล

เ อ เ ชี ย น เ ก ม ส์ ������ ������ สรุป จั ด ไ ป เ เ ล้ ว 1 7 ค รั้ ง เริ่มตั้งเเต่2494 ที่เมืองดิวเดลี อินเดีย 2497 มลิลา ฟิลิปปินส์ 2501 โตเกียว ญี่ปุ่น 2505 จากาต้า อิโด กำเนิดครั้งเเรก เรียก กีฬาเกรียญ 2509 กรุงเทพ ไทย ท อ ง ������ 2513 กรุงเทพ ไทย ป ร ะ เ ท ศ ที่ เ ข้ า ร่ ว ม ������ 2517 เต๊ะฮาราน อีหร่าน บ รู ไ น 2521 กรุงเทพ ไทย กัมพู ชา 2525 เดดิวลี อินเดีย อิ โ ด นี เ ซี ย 2529 โซ เกาหลีใต้ ลาว 2533ปักกิ่ง จีน ม า เ ล เ ซี ย 2537 ฮิโรชิม่า ญี่ปุ่น เ มี ย น ม า ร์ 2541 กรุงเทพ ไทย ฟิลิ ป ปิ น ส์ 2544 ปูซาน เกาหลีใต้ สิ ง ค โ ป ร์ 2549 โดฮา กาต้า ติ ม อ เ ล ส เ ต 2553 กว่างโจ จีน เ วี ย ด น า ม 2557 อินซอน เกาหลีใต้ ไทย

สมาชิกในกลุ่ม Thank you น า ง ส า ว ปิ ย ะ ธิ ด า เ พ็ ง ส กุ ล น า ย จั ก ร ธ ร ห อ ม ป ร ะ ก อ บ เ ล ข ที่ 1 9 ห้ อ ง 1 / 1 เ ล ข ที่ 7 ห้ อ ง 1 / 1 น า ง ส า ว สุ ธิ ด า เ กิ ด ศ รี เ ล ข ที่ 1 6 ห้ อ ง 1 / 1 น า ง ส า ว ศ ศิ ก า ญ จ น์ จั น ท ร์ ฝ า ก นายสรเดช จอมมาลา นายธนาพรรณ พรหมคณะ เ ล ข ที่ 1 0 ห้ อ ง 1 / 1 เ ล ข ที่ 1 5 ห้ อ ง 1 / 1 เ ล ข ที่ 1 ห้ อ ง 1 / 1


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook