Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ภาษาไทยน่ารู้ 24-29 103

ภาษาไทยน่ารู้ 24-29 103

Published by Thitichayajatuma, 2020-02-10 03:33:45

Description: เนื้อหานี้เกียวกับเรื่อง คำนาม,คำสัพนาม,คำวิเศษณ์,คำอุทาน,คำอุปธาน เป็นต้น

Search

Read the Text Version

1

2 หนงั สอื ภาษาไทยน่ารู้เลม่ นีเ้ป็นสว่ นของวิชา การสร้างหนงั สืออเิ ลก็ ทรอนิกส์ ซงึ ้ ข้าพเจ้าใด้รับหมอบหมายคณุ ครูให้ทาหนงั สือเรื่องนีข้ นึ ้ ตามความสนใจ โดย บรู ณาการกบั วชิ า ภาษาไทย เนือ้ หาในหนงั สือเลม่ นีจ้ ะประกอบไปด้วยเร่ืองน่ารู้ ทางภาษาไทย อาทิเชน่ เร่ือง สภุ าษิต นิราชภเู ขาทอง คาพ้องรูป คาพ้องเสยี ง คาพ้องความหมาย ซงึ ้ ข้าพเจ้าใด้รวบรวมใว้ในหนงั สอื เลม่ นี ้ ขอขอบคณุ ครู ปภสั สร ก๋าเขียว ท่ีให้เนะนา ปรึกษา และเพ่ือนๆ ท่ีชว่ ย ให้คาเเนะนา ตลอดจนหนงั สือเลม่ นีเ้สร็จลลุ ว่ งไปด้วยดี หากผกิ พลาดประการใดก็ ขออภยั ณ ท่ีนีด้ ้วย ผ้จู กั ทา เด็กหญิง.ฐิตชิ ญา จาตมุ า เลขท่ี24 ม.1/3 เด็กหญิง.นิรชร ครองจริง เลขที่29 ม.1/3

คานา 3 สารบญั คานาม หน้า แหล่งอา่ งองิ ผจู้ ดั ทา ก ข 1 10 11

4 องค์ประกอบของคา “คา” ประกอบดว้ ยเสยี งสระ พยัญชนะ และวรรณยุกต์ ใช้สร้างประโยคเพื่อส่อื สาร คาในภาษาไทยมหี ลาย ชนดิ และหนา้ ที่ ชนิดและหนา้ ที่ของคา แบ่งดว้ ยเกณฑห์ นา้ ทีแ่ ละความหมายได้ ๗ ชนดิ ได้แก่ คานาม คาสรรพนาม คากริยา คาวิเศษณ์ คาบุพบท คาสนั ธาน และคาอทุ าน คานาม คานาม คือ คาที่ใชเ้ รียกคน สตั ว์ สิง่ ของ สถานท่ี สภาพ ท้ังมตี ัวตนและไม่มตี วั ตน ไดแ้ ก่ ๑. สามานยนาม คือ คานามทัว่ ไป ไม่เจาะจง เชน่ เส้ือผา้ ต้นไม้ ๒. วสิ ามานยนาม คอื คานามท่ีเป็นชอ่ื เฉพาะ เชน่ ดอกกหุ ลาบ กรุงเทพฯ ๓. สมหุ นาม คอื คานามบอกหมวดหมู่ เช่น ฝงู นก เหลา่ ลูกเสอื วงดนตรี ๔. อาการนาม คือ คานามบอกอาการ สรา้ งจากคากริยาหรือคาวิเศษณ์ ไดแ้ ก่ คาว่า การ นาหน้า คากรยิ า เช่น การนอน การกนิ และคาวา่ ความ นาหน้าคาวิเศษณห์ รือคากรยิ าเก่ียวกับความรสู้ ึก เช่น ความหวัง ความรู้ ๕. ลักษณนาม คอื คานามบอกลักษณะของคานามอ่ืน อยู่หลงั คาบอกจานวน เช่น กลอน ๓ บท ลกั ษณนามตา่ งจากสมุหนามตรงท่ีอยูห่ ลงั จานวนนับหรือคานามทั่วไป ส่วนสมหุ นามจะอยู่ หนา้ คานามทวั่ ไป เชน่ คณะนกั แสดง (สมุหนาม) นกั แสดง ๑ คณะ (ลกั ษณนาม) หนา้ ท่ขี องคานาม ๑. ประธานของประโยค เชน่ นกั เรยี นเดินข้ามถนน ๒. กรรมของประโยค เชน่ ลงุ ปลกู ตน้ ไม้ ๓. สว่ นขยาย เชน่ สตั ว์น้าต้องอยูใ่ นน้า (ขยายประธาน) ๔. ส่วนเติมเตม็ เชน่ ฉันเป็นคนไทย ๕. อยู่หลงั คาบพุ บท เช่น หนงั สอื อยใู่ นรถ ๖. คาเรยี กขาน เช่น พอ่ จ๋า หนกู ลบั มาแล้ว

5 คาสรรพนาม คาสรรพนาม คือ คาใช้เรียกแทนคานามเพ่ือไมต่ อ้ งกล่าวนามซา้ มี ๖ ชนดิ ได้แก่ ๑. บุรษุ สรรพนาม คอื คาสรรพนามที่ใช้ในการส่ือสาร ได้แก่ บุรษุ ที่ ๑ (แทนผู้พูด) เช่น ฉัน บรุ ษุ ท่ี ๒ (แทนผู้ฟงั ) เชน่ คุณ บุรุษท่ี ๓ (แทนผู้ทก่ี ลา่ วถงึ ) เช่น เขา มนั ๒. ปฤจฉาสรรพนาม คอื คาสรรพนามท่ีใช้ถามเพอ่ื คาตอบ เช่น อะไรแตก ๓. วภิ าคสรรพนาม คือ คาสรรพนามทีใ่ ชแ้ ทนคานามเพอ่ื ชี้ซา้ และแยกเปน็ สว่ น ๆ ได้แก่ ตา่ ง บ้าง กนั เช่น ชาวสวนต่างเก็บผลผลิต หากคาเหล่าน้ีทาหนา้ ทีอ่ ่นื เช่น ต่างคนกต็ ้องทางาน ถือเปน็ คา วเิ ศษณ์ ๔. อนยิ มสรรพนาม คอื คาสรรพนามไมช่ ้ีเฉพาะ คล้ายปฤจฉาสรรพนามแต่ไมใ่ ชค่ าถาม เช่น ใคร ๆ กอ็ ยากรู้ ๕. นิยมสรรพนาม คือ คาสรรพนามช้ีเฉพาะหรือบอกระยะ ไดแ้ ก่ น่ี นัน่ โน่น เช่น นคี่ ืองานของ เขา ๖. ประพนั ธสรรพนาม คือ คาสรรพนามที่ทาหน้าทแ่ี ทนนามข้างหน้าและเชอ่ื มประโยค ได้แก่ ที่ ซ่ึง อนั เช่น นักเรียนท่ีตัง้ ใจเรียนจะได้คะแนนดี หนา้ ที่ของคาสรรพนาม ๑. ประธานของประโยค เช่น ฉันกาลงั อา่ นหนงั สือ ๒. กรรมของประโยค เชน่ ครูทาโทษพวกเรา ๓. ส่วนเติมเต็ม เชน่ ตุ๊กตานีห้ นา้ ตาเหมือนเธอ ๔. คาเชอื่ มในประโยคความซ้อน เช่น คนที่ทาผดิ ตอ้ งไดร้ ับโทษ คากรยิ า คากรยิ า คือ คาแสดงอาการของนามหรือสรรพนามทเ่ี ป็นประธานของประโยค มี ๔ ชนดิ ได้แก่ ๑. อกรรมกรยิ า คอื คากริยาทสี่ มบูรณแ์ ล้ว ไม่ต้องมีกรรมตามหลงั เชน่ งูเล้อื ย โทรศพั ท์ดัง ๒. สกรรมกรยิ า คอื คากริยาท่ีต้องมกี รรมตามหลังจึงสมบูรณ์ เช่น แมวกินปลา ๓. วกิ ตรรถกริยา คอื คากรยิ าท่ไี มส่ มบูรณ์ในตัวเอง ตอ้ งการคานามหรือคาสรรพนามมาเปน็ ส่วน เติมเต็ม ได้แก่ เปน็ เหมอื น คล้าย เท่า คือ ราวกับ เชน่ หวดั เป็นโรคตดิ ต่อ เธอเหมอื นแม่ ๔. กริยานเุ คราะห์ คือ คากรยิ าช่วยท่เี ติมหนา้ กรยิ าหลกั ใหม้ ีความหมายชัดขน้ึ มี ๒ ลกั ษณะ คอื – เป็นกริยาช่วยอย่างเดยี ว ไดแ้ ก่ ยอ่ ม กาลัง จะ พงึ ควร นา่ อย่า เช่น พอ่ กาลงั ล้างจาน – เป็นกริยาตา่ งจาพวก ได้แก่ อยู่ ได้ แล้ว จะ คง ถ้าไมไ่ ด้ประกอบกริยาอื่นจะจัดเปน็ อกรรม

6 หรือสกรรมกริยา เช่น ลุงปลกู ต้นไม้อยู่ (อยู่ เป็นกริยานเุ คราะห์) แต่ เขาอยู่บ้าน (อยู่ เป็น อกรรมกริยา) หน้าท่ขี องคากริยา ๑. กริยาหลักของประโยค เช่น สุดาล้างมอื ๒. ประธานของประโยค เชน่ นอนเปน็ การพักผอ่ นท่ีดีท่สี ุด ๓. กรรมของประโยค เช่น ฉันชอบเล่นดนตรี ๔. ขยายกรยิ าหลกั เชน่ พ่อกาลงั อา่ นหนังสือพิมพ์ ๕. เปน็ ส่วนขยาย เช่น เขากนิ มะม่วงสกุ (ขยายกรรม) คาวิเศษณ์ คาวิเศษณ์ คือ คาขยายคาอ่นื ให้มีความหมายชดั ข้ึนหรอื มเี น้อื ความตา่ งไป ใช้ประกอบ คานาม คา สรรพนาม คากรยิ า และคาวเิ ศษณ์ มี ๑๐ ชนิด ไดแ้ ก่ ๑. ลักษณวิเศษณ์ คือ คาวิเศษณบ์ อกลักษณะ สี กล่ิน ขนาด ความรู้สกึ เชน่ พ่อชอบนา้ เย็น (ความรสู้ กึ ) ๒. กาลวิเศษณ์ คือ คาวิเศษณ์บอกเวลา ได้แก่ เช้า สาย อดีต อนาคต กอ่ น หลัง นาน เช่น ฉนั กลบั บา้ นดึก ๓. สถานวิเศษณ์ คือ คาวเิ ศษณบ์ อกสถานที่ ไดแ้ ก่ ใกล้ ไกล หา่ ง บน ใต้ บก ซ้าย เช่น รถว่ิงเลน ซา้ ย ๔. ประมาณวิเศษณ์ คอื คาวเิ ศษณ์บอกปริมาณหรอื จานวน ไดแ้ ก่ มาก น้อย หนง่ึ ที่หน่ึง หลาย หมด บรรดา เช่น น่คี ือเงนิ ท้งั หมดท่ีเหลอื ๕. นยิ มวเิ ศษณ์ คอื คาวิเศษณ์ช้เี ฉพาะ ไดแ้ ก่ นี่ น้นั ท้ังน้ี อย่างนี้ ดังนน้ั เอง เฉพาะ เชน่ เขาซื้อ โต๊ะตัวนี้ ๖. อนยิ มวเิ ศษณ์ คอื คาวิเศษณ์ไม่ชเี้ ฉพาะ ไดแ้ ก่ อะไร ไหน อยา่ งไร เชน่ ของอะไรมีค่าก็ควรเก็บ ๗. ปฤจฉาวิเศษณ์ คือ คาวเิ ศษณ์แสดงคาถาม ได้แก่ อะไร ทาไม หรือ ไหน ก่ี อยา่ งไร เช่น เขา ต้องการอะไร ๘. ประตชิ ญาวเิ ศษณ์ คือ คาวิเศษณ์ขานรับหรอื โต้ตอบ ไดแ้ ก่ ครบั คะ คะ่ จ๊ะ โว้ย เชน่ สวสั ดี ครบั

7 ๙. ประตเิ ษธวเิ ศษณ์ คือ คาวเิ ศษณแ์ สดงการปฏิเสธ ได้แก่ ไม่ ไมใ่ ช่ มไิ ด้ อย่า เชน่ สิ่งน้ีไมใ่ ช่ของ เรา ๑๐. ประพนั ธวเิ ศษณ์ คอื คาวิเศษณ์เชอ่ื มประโยค ไดแ้ ก่ ที่ ซึ่ง อนั อย่างท่ี ที่ว่า เพอ่ื วา่ เชน่ เขา ทาใหฉ้ นั ไวใ้ จ ตา่ งกับประพนั ธสรรพนาม คอื ประพนั ธวิเศษณ์จะวางตดิ กบั คากริยาหรอื วิเศษณ์ เชน่ เพอื่ นยอมรับท่ีเขาเป็นคนดี แต่ประพันธสรรพนามจะวางติดกบั คานามหรือสรรพนาม เช่น เพราะเขาเปน็ คนท่ีดี เพ่อื นจึงยอมรบั ตาแหน่งการวางคาวิเศษณ์ ๑. วางไวห้ ลงั ได้แก่ วางหลงั คานามเพ่ือขยายนาม เช่น เกา้ อ้ีขาว วางหลังกริยาเพ่ือขยายกริยา เช่น เขาพดู เก่ง วางหลงั กรรมเพือ่ ขยายกรยิ า เชน่ เขาผัดผักอร่อย วางหลงั คาวิเศษณ์เพ่ือขยาย วเิ ศษณ์ เชน่ พีข่ ับรถเรว็ มาก ๒. วางไวห้ น้า ได้แก่ วางหน้าคานาม เชน่ ปวงชนชาวไทย (วเิ ศษณ์ขยายนาม) มากคนก็มากความ (วิเศษณ์บอกปริมาณ) วางหนา้ คากรยิ า เชน่ เขาไม่รู้ (วเิ ศษณ์บอกปฏเิ สธ) ๓. วางไวท้ ้ังหน้าและหลัง ได้แก่ วเิ ศษณ์บอกคาถามหรอื ไมช่ ี้เฉพาะ เช่น อะไรท่ีเธอขอ เธอขอ อะไร หนา้ ทข่ี องคาวิเศษณ์ ๑. ขยายประธาน เชน่ รถใหม่ว่งิ เรว็ ๒. ขยายกรยิ า เชน่ เต่าคลานชา้ ๓. ขยายกรรม เช่น ฉนั ชอบมะม่วงหวาน ๆ ๔. ขยายส่วนขยาย เช่น แมค่ รัวปรงุ แกงอรอ่ ยมาก คาบพุ บท คาบุพบท คอื คาท่ีทาหนา้ ท่เี ชื่อม ๒ คาใหส้ ัมพนั ธก์ ัน อาจนาหน้าคานาม สรรพนาม หรือกริยาที่ ทาหน้าท่ีเป็นนามก็ได้ ๑. บอกเครอื่ งใชห้ รอื อาการร่วมกนั ไดแ้ ก่ กับ ด้วย โดย ตาม เช่น พ่อกบั พี่ ๒. บอกผู้รบั หรอื ความประสงค์ ได้แก่ แก่ แด่ เพอื่ ต่อ เช่น เขาบรจิ าคเงินแก่โรงเรียน ๓. บอกสถานทีต่ น้ ทางหรือสาเหตุ ไดแ้ ก่ แต่ จาก เช่น เขาบนิ มาจากตา่ งประเทศ ๔. บอกสถานท่ี ได้แก่ ที่ ใต้ บน เหนอื ล่าง ใกล้ ไกลใน นอก เช่น บ้านอยู่ใกล้วัด ๕. บอกความเปน็ เจ้าของ ได้แก่ ของ แห่ง ใน เช่น คุณค่าของภาษาไทย

8 ๖. บอกเวลา ได้แก่ เม่อื ต้ังแต่ กอ่ น หลัง เชน่ เม่ือคนื ตั้งแต่เที่ยง ๗. บอกสาเหตุ ได้แก่ เพราะ เนอ่ื งจาก เนื่องแต่ เช่น เพราะความขยัน เน่อื งแต่ภัยสงคราม คาสนั ธาน คาสนั ธาน คือ คาท่ที าหน้าทีเ่ ชือ่ มคากับคา ประโยคกับประโยค ข้อความกบั ข้อความ หน้าท่ีของคาสันธาน ๑. เช่ือมคา เช่น ครูและนักเรียน ๒. เชอ่ื มประโยค ไดแ้ ก่ ๑) ความต่อเนอื่ งหรือคลอ้ ยตาม ได้แก่ และ แลว้ ...จึง แล้ว...ก็ พอ...ก็ เช่น พอทางานเสรจ็ เขา ก็นอน ๒) ความขัดแย้งกนั ไดแ้ ก่ แต่ แต่ก็ แตท่ ว่า กว่า...ก็ เช่น กวา่ เขาจะมา พวกเรากก็ ลับกันแล้ว ๓) ใหเ้ ลอื กอย่างใดอย่างหนง่ึ ได้แก่ มิฉะนัน้ มิฉะนั้น...ก็ หรอื เช่น เขาโกหกหรอื เธอโกหก ๔) ความเปน็ เหตเุ ป็นผลกัน ไดแ้ ก่ จงึ เพราะฉะนน้ั ...จงึ เพราะ เชน่ เพราะเขาต้งั ใจจึงมี ผลงานเสมอ ๕) เชือ่ มใจความหลกั กับใจความขยาย ได้แก่ บอกเวลา (เมือ่ ก่อน จาก) เชน่ เขาออกไปเม่ือ หมาเห่า บอกความเปรยี บ (เหมือน คล้าย) เช่น รดู้ ้วยตนเองดีกว่าฟงั คนอื่น บอกเหตุผล (เพราะ) เช่น ครไู ม่มาเพราะป่วยข้อสงั เกตคาบุพบทและคาสันธาน บางคาเป็นได้ท้ังคาบุพบทและ คาสนั ธาน เช่น แมเ่ ลย้ี งแมวเหมอื นลูก (เหมอื น เป็นคาบพุ บท) แมเ่ ล้ียงแมวเหมือนมันเป็นลูกของ ตวั เอง (เหมอื น เป็นคาสนั ธาน) คาอทุ าน คาอุทาน คอื คาท่ีเปล่งออกมาเพ่อื แสดงความรู้สึก มี ๒ ชนิด ๑. อุทานแสดงอารมณ์ มีเครื่องหมายอศั เจรยี ์ (!) อยู่ด้านหลงั ได้แก่ สงสัย เชน่ เอะ๊ ! อา้ ว! เสยี ใจ เชน่ อนิจจา! ประหลาดใจ เชน่ โอ้โฮ! เขา้ ใจ เชน่ อ๋อ! โกรธ เช่น ชชิ ะ! สงสาร เช่น พทุ โธ่! บอกให้รูต้ วั เชน่ เฮย้ ! โว้ย! ๒. อุทานเสรมิ บท ใช้เสริมคาอ่นื เพือ่ ให้คล้องจอง หรือเป็นคาสร้อยในคาประพันธ์ คาเสรมิ อาจอยู่ ขา้ งหนา้ เชน่ โรงเลา่ โรงเรียน อยู่ข้างหลัง เชน่ กลับบ้านกลับชอ่ ง หรอื อย่กู ลางคาอ่ืน เชน่ ผล หมากรากไม้ ส่วนคาสร้อยอืน่ เช่น นา แลนา แฮ เอย เฮย

9 สรุป ภาษาไทยมีคา ๗ ชนิด ได้แก่ คานาม คาสรรพนาม คากรยิ า คาวิเศษณ์ คาบุพบท คาสนั ธาน และ คาอทุ าน แตล่ ะชนิดมีลกั ษณะและหนา้ ท่ีตา่ งกนั หากรู้เร่ืองชนดิ ของคาจะทาให้สรา้ งประโยคเพื่อ ตดิ ต่อส่ือสารในชวี ิตประจาวนั ไดด้ ียง่ิ ขึ้น คาสาคญั คานาม คาสรรพนาม คากรยิ า คาวิเศษณ์ คาบพุ บท คาสนั ธาน คาอทุ าน

10

11 ขอบคณุ เรื่องจาก : https://www.trueplookpanya.com/คานา

12 ผจู้ ดั ทา โดย เดก็ หญิง ฐติ ิชญา จาตุมา เลขท2่ี 4 ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ่ี1/3 เด็กหญิง นิรชร ครองจรงิ เลขท่ี29 ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที1/3 เสนอ คณุ ครู ปภัสสร ก๋าเขยี ว วชิ า การสรา้ งหนังสอื อิเลก็ ทรอนกิ ส์ โรงเรยี นแจ้ห่มวทิ ยา อาเภอ แจ้ห่ม จงั หวดั ลาปาง สานกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษามธั ยมศึกษาเขต 35 ภาคเรยี นที่ 2 ปีการศึกษา2562


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook