Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ตอนที่ ๓ ข้อมูลพื้นฐานของห้องสมุด

ตอนที่ ๓ ข้อมูลพื้นฐานของห้องสมุด

Published by worawong_o, 2020-09-11 02:44:04

Description: ตอนที่ ๓ ข้อมูลพื้นฐานของห้องสมุด

Search

Read the Text Version

ตอนที่ ๓ ข้อมลู พืน้ ฐานของห้องสมดุ ในม่ิงมงคลสมยั ท่สี มเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงเจริญพระชนมายุ ๓๖ พรรษาเมอื่ ปีพทุ ธศกั ราช ๒๕๓๔ กระทรวงศึกษาธกิ าร ไดร้ บั พระราชทานพระราชานุญาต ใหด้ าเนนิ โครงการจดั ตง้ั หอ้ งสมดุ ประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” เพ่ือเฉลมิ พระเกียรตแิ ละเพื่อสนองแนวทางพระราชดาริ ในการส่งเสรมิ การศกึ ษาสาหรับประชาชนที่ได้ทรงแสดงในโอกาสต่าง ๆ ในโอกาสที่ทรงมีพระมหากรุณาธคิ ุณเสดจ็ เปน็ องคป์ ระธาน ในการประชมุ สมัชชาสากลว่าด้วยการศึกษาผใู้ หญ่ เมือ่ วนั ที่ ๑๒ มกราคม ๒๕๓๓ ไดท้ รงพระราชทานลายพระหตั ถ์

หอ้ งสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ าร”ี อาเภอพฒั นานคิ ม

ขอ้ มูลพื้นฐานของห้องสมดุ ๒.๑ ประวตั ิความเป็นมา เนือ่ งในมง่ิ มงคลสมยั ทสี่ มเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงมี พระชนมายุครบ ๓๖ พรรษา ในปีพุทธศักราช ๒๕๓๔ กระทรวงศึกษาธิการโดยกรมการศึกษานอกโรงเรียนได้จัดทาโครงการ จัดสร้างห้องสมุดเพ่ือเฉลิมพระเกียรติ และสนองพระราชปณิธานในการท่ีจะส่งเสริมให้ประชาชนอ่านออก เขียนได้ โดยได้นาความขึ้นกราบบังคมทูล ขอพระราชทานพระราชานุญาตจาก สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ซึ่งพระองค์ได้พระราชทานพระราชานุญาต และพระราชทานนามห้องสมุดตามโครงการน้ีว่า “ห้องสมุดประชาชน เฉลิมราชกมุ ารี” ๒.๒ สถานท่ีกอ่ สร้าง จังหวัดลพบุรีได้ขออนุญาตใช้ที่ดินของกรมประชาสงเคราะห์ จานวน ๒ ไร่ เป็นสถานท่ีก่อสร้าง หอ้ งสมุดประชาชน”เฉลมิ ราชกมุ ารี” ๒.๓ ผใู้ หก้ ารสนับสนุนงบประมาณ ๑) คุณหญิงวันทนา โรจนนิล รับเป็นผู้สนับสนุนงบประมาณการก่อสร้างอาคารเป็น จานวนเงิน ๓,๐๙๐,๐๐๐ ล้านบาท ๒) กรมการศึกษานอกโรงเรียนสนับสนุนงบประมาณ ค่าครุภัณฑ์และหนังสือ จานวน ๓๐๐,๐๐๐ บาท คา่ วสั ดอุ ุปกรณ์ โสตทศั นศกึ ษาจานวน ๒๕๑,๐๑๐ บาท ๓) องค์การบรหิ ารสว่ นจังหวัดลพบุรีสนับสนุนในการจัดทารั้วประตูและเสาธง เป็นจานวนเงิน ๗๒๒,๐๐๐ บาท ๒.๔ ทตี่ งั้ ห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อาเภอพัฒนานิคม จังหวัดลพบุรี ต้ังอยู่เลขท่ี ๒๔๕ หมู่ ๖ ตาบลพฒั นานิคม อาเภอพัฒนานิคม จังหวัดลพบรุ ี บรเิ วณเขตเทศบาล ตาบลพฒั นานคิ ม โทรศัพท์ ๐ ๓๖๔๙ ๑๔๔๔ โทรสาร ๐ ๓๖๔๙ ๑๖๓๓ Email : [email protected] Webside : http://lrls.nfe.go.th/LRLS/frontend/theme/index.php?Submit=Init&ID_Lib=596 https://www.facebook.com/profile.php?id=100027197418963 ๒.๕ รปู แบบของหอ้ งสมุด เปน็ อาคาร ๒ ชน้ั ตามรปู แบบของกรมการศึกษานอกโรงเรียน มีเนอื้ ทีใ่ ช้สอย รวม ๓๒๐ ตารางวา ช้ันลา่ ง จัดเปน็ มมุ หนงั สอื วชิ าการ หนังสือพมิ พ์ วารสารท่ัว ๆ ไป มมุ เดก็ และครอบครวั ช้ันบน จัดเปน็ ห้องเฉลมิ พระเกยี รตสิ มเด็จพระเทพฯ ห้องโสตทัศนศกึ ษาและหอ้ งเอนกประสงค์

๒.๖ พิธเี ปิดอาคารหอ้ งสมดุ พรอ้ มภาพประกอบ

ภาพทรงปลูกตน้ ราชพฤกษ์ ภาพปัจจุบนั ต้นราชพฤกษ์ ต้นไม้ท่ีสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงปลูกไว้เพื่อเป็นศิริมงคลในวันที่ทรง เสด็จพระราชดาเนินเป็นองค์ประธานพิธีเปิดอาคารห้องสมุดประชาชน ”เฉลิมราชกุมารี”อาเภอพัฒนานิคม จังหวัดลพบุรี ในวันพฤหัสบดี ท่ี ๑๓ สิงหาคม พุทธศักราช ๒๕๓๕ คือ ต้นราชพฤกษ์ หรือเรียกตาม ทอ้ งถิน่ ว่า คูณ ลมแลง้ ท่ีให้ทรงปลกู เพราะเป็นตน้ ไม้มงคลดอกสเี หลือง และเปน็ ต้นไม้ประจาชาติไทย

ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ Cassia fistula L. วงศ์ LEGUMINOSAE-CAESALPINIOIDEAE ช่ือสามัญ Pudding Pine, Indian Laburnum, Golden Shower ชื่ออ่นื ๆ คูน ลมแล้ง บางท้องถิ่นเรยี กว่า ชัยพฤกษ์ ไม้ต้น ผลัดใบ สูง ๘ - ๑๕ เมตร ใบประกอบแบบขนนกปลายคู่เรียงสลับ มีใบย่อย ๓ - ๘ คู่ แผ่นใบ รูปป้อม รูปไข่ หรือรูปขอบขนาน ขนาดกว้าง ๔ - ๘ เซนติเมตร ยาว ๗ - ๑๕ เซนติเมตร ปลายใบแหลม โคนมน ดอกสเี หลือง ออกเปน็ ชอ่ ตามซอกใบ หรือตามก่ิง ยาว ๒๐ - ๔๕ เซนติเมตร ผลเป็นฝักทรงกระบอกยาว ๒๐ - ๖๐ เซนตเิ มตร เส้นผ่าศูนยก์ ลาง ๑.๕ – ๒.๕ เซนติเมตร นเิ วศวทิ ยา ถนิ่ กาเนิดเอเชียแถบร้อน ขน้ึ ตามป่าเบญจพรรณแลง้ ทั่วไป ออกดอก กมุ ภาพนั ธ์ - พฤษภาคม ทิ้งใบก่อนออกดอก ขยายพันธุ์ โดยใช้เมล็ด วิธีการเตรียมเมล็ดก่อนเพาะนาเมล็ดมาตัดหรือทาให้เกิดบาดแผลท่ีปลายเมล็ดแล้ว แช่น้าไว้ ๑๒ ชั่วโมง หรือแช่กรดซัลฟูริค เข้มข้น ๑.๘๔ ประมาณ ๑๕ นาที แล้วล้างน้าให้สะอาด แช่น้าท้ิงไว้ ๑๒ ช่ัวโมง วธิ นี ี้สะดวกแต่อนั ตราย และ อีกวิธีหนึ่งคือ ต้มน้าให้เดือดแล้วเทลงในเมล็ด ทิ้งไว้ข้ามคืน ทั้ง ๓ วิธีน้ีจะทา ให้ เมล็ดดูดน้าเข้าไปและ พรอ้ มทจี่ ะงอก วธิ เี พาะอาจหยอดลงในถุงดินท่ีเตรียมไว้หรือจะเพาะในแปลงเพาะแล้วย้ายชากล้าในภายหลัง ควรให้ เมลด็ อยู่ใต้ผิวดนิ ๓ - ๕ มลิ ลิเมตร รดนา้ ให้ช่มุ เมล็ดจะงอกภายใน ๑ - ๒ สปั ดาห์ ประโยชน์ รากฝนทาแก้กลาก เป็นยาระบาย รากและแก่นเป็นยาขับพยาธิ เปลือกและไม้ใช้ฟอกหนัง และใช้บดทาผ่ืนตามร่างกาย เน้ือไม้สีแดงแกมเหลือง ทนทาน ใช้ทาเสา ล้อเกวียน ใบต้มกินเป็นยาระบาย ดอกแก้ไข้ ฝักเนอื้ ในรสหวาน เปน็ ยาระบาย ช่วยบรรเทาการแน่นหน้าอก แก้ขดั ขอ้

“ห้องสมดุ ในทศั นะของข้าพเจ้า” ความรู้ของมนุษย์เป็นมรดกตกทอดกันมาตั้งแต่โบราณ เม่ือมีการประดิษฐ์คิดค้นตัวอักษรข้ึน ผู้มี ความรู้ก็ได้บันทึกความรู้ของตน สิ่งท่ีค้นพบเป็นจารึกหรือเป็นหนังสือทาให้บุคคลอ่ืนในสมัยเดียวกัน หรือ อนุชนรุ่นหลัง ได้มีโอกาสศึกษาทราบถึงเรื่องน้ัน ๆ และได้ใช้ความรู้เก่า ๆ เป็นพื้นฐานท่ีจะหาประสบการณ์ คดิ ค้นสิง่ ใหม่ ๆ ทีเ่ ปน็ ความก้าวหนา้ เป็นความเจรญิ สบื ต่อไป ห้องสมุดเป็นสถานที่เก็บเอกสารต่าง ๆ อันเป็นแหล่งความรู้ดังกล่าว แล้วจึงเรียกได้เป็นครูเป็นผู้ช้ีนา ให้เรามาปัญญา วเิ คราะห์ วจิ ารณ์ ใหร้ ้สู ิ่งควรอันรู้อนั ชอบธรรมดว้ ยเหตุผลได้ ข้าพเจ้าอยากให้เรามีห้องสมุดที่ดี มีหนังสือครบทุกประเภทสาหรับประชาชน หนังสือประเภทที่ ข้าพเจ้าคิดว่าสาคัญที่สุดอย่างหน่ึงคือ หนังสือสาหรับเด็ก วัยเด็กเป็นวัยเรียนรู้ เด็ก ๆ ส่วนใหญ่สนใจที่จะ ทราบเร่ืองราวต่าง ๆ แปลก ๆ ใหม่ ๆ อยู่แล้ว ถ้าเรามีหนังสือท่ีมีคุณค่าทั้งเนื้อหาและรูปภาพให้เขาอ่าน ให้ ความรู้และความบันเทิง เด็ก ๆ จะได้เติบโตขึ้นเป็นผู้ใหญ่ท่ีสมบูรณ์ ท่ีรอบรู้ มีธรรมประจาใจ มีความรัก บา้ นเมอื ง มคี วามตอ้ งการปรารถนาจะทาแตป่ ระโยชน์ที่สมควร สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี

ห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อาเภอพัฒนานิคม เป็นแหล่งศึกษาค้นคว้าหาความรู้ของ ประชาชนเพ่ือปลูกฝั่งนิสัยรักการอ่านให้กับประชาชน และพัฒนาส่งเสริมการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง งาน ห้องสมุดมีการพัฒนาห้องสมุดให้กลายเป็นห้องสมุดเพื่อชีวิตมีความเป็นกันเองเหมือนอ่านหนังสืออยู่บ้าน จัดรูปแบบการให้บริการหลากหลาย ปราศจากการเลือกปฏิบัติโดยเฉพาะการให้บริการและสมาชิกได้มีส่วน ร่วมในการแสดงความคิดเห็น ข้อเสนอแนะและมีส่วนร่วมในการเลือกส่ือหนังสือ สื่อสิ่งพิมพ์ต่าง ๆ เพื่อ ให้บรกิ ารตามความตอ้ งการของผู้อา่ น สนบั สนุนเครอื ข่ายสง่ เสรมิ การอ่าน ด้านสื่อส่ิงพิมพ์ ส่ือวิดีโอซีดี และขอ ความร่วมมอเครือข่ายชุมชนในการจัดรูปแบบห้องสมุดประชาชนให้เป็นแหล่งเรียนรู้และพัฒนาวิธีการเรียนรู้ ให้มคี วามหลากหลายเพือ่ ตอบสนองชุมชนไดอ้ ย่างแทจ้ ริง ตวั ชว้ี ัด 1. จานวนประชาชนทว่ั ไปรับบรกิ ารการศึกษาตามอัธยาศัยได้อย่างทวั่ ถงึ 2. ร้อยละภาครฐั และเอกชนทกุ ภาคสว่ นร่วมเป็นภาคีเครือข่ายในการจดั สง่ เสริมและสนับสนนุ การ ดาเนินงานการศึกษาตามอัธยาศัย 3. รอ้ ยละภาคเี ครือข่ายและภูมิปัญญาท้องถน่ิ มีสว่ นร่วมในการจัดการศึกษาตามอัธยาศัยโดยยดึ หลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง 4. รอ้ ยละ ห้องสมดุ ประชาชน และแหล่งเรียนร้พู ร้อมให้บริการการศึกษาตามอธั ยาศัยใหค้ รอบคลมุ ทกุ พนื้ ที่ ทุกกลุม่ เป้าหมายอย่างทัว่ ถึงไดร้ บั โอกาสในการเรียนรู้และเทคโนโลยที ี่เหมาะสมสามารถประยกุ ต์ใช้ ในการแก้ปัญหาและพัฒนาคุณภาพชวี ติ ได้อย่างสร้างสรรค์ บทบาทหน้าทขี่ องห้องสมุดประชาชน หอ้ งสมุดประชาชนอาเภอพัฒนานิคมมีบทบาทหนา้ ทดี่ งั ต่อไปน้ี 1.จัดการศกึ ษาตามอัธยาศัยใหแ้ กป่ ระชาชน ทุกเพศทุกวยั ทุกระดบั การศกึ ษาและทกุ อาชีพ โดย จัดหาสอื่ ต่าง ๆ ทั้งสื่อสิง่ พิมพ์ (หนงั สือ วารสาร หนังสอื พมิ พ์ เป็นตน้ ) ส่อื อื่น ๆเช่น เทป VCD DVD จดั บรกิ ารทงั้ ภายในห้องสมดุ ประชาชน และจดั บริการสู่ชุมชนในรปู แบบหอ้ งสมุดเคล่ือนทสี่ ูช่ มุ ชน/หมนุ เวียน สื่อสู่ชมุ ชน เป็นต้น 2. จดั และสง่ เสรมิ การศึกษานอกโรงเรียน โดยจดั หาและบริการสอ่ื ประกอบ การเรียนการสอน ชุด วชิ า เทป โทรทศั นเ์ พอ่ื การศึกษาทางไกลไทยคม 3. จดั ศนู ย์ข้อมลู ชุมชนท้องถิ่น โดยการหาขอ้ มูลของท้องถ่ินทห่ี อ้ งสมดุ ตัง้ อยู่ ทั้งข้อมูลในอดตี ปจั จบุ นั และอนาคต ในเร่อื งเกี่ยวกบั ประวัติ ความเป็นมา ประชากร ลกั ษณะภูมศิ าสตร์ ภมู ิอากาศ ทรพั ยากร แหล่งทอ่ งเทีย่ ว การศกึ ษา ศาสนา ศลิ ปวฒั นธรรม ขนบธรรมเนียม ประเพณี ภูมิปัญญา ท้องถนิ่ การเกษตรกรรม เป็นต้น

บทบาทหน้าทข่ี องเจ้าหนา้ ที่ห้องสมุด บรรณารักษ์ ๑. สารวจสภาพหอ้ งสมดุ เพือ่ ปรับปรงุ ซอ่ มแซม ทั้งภายนอกและภายในรายงานให้ผู้อานวยการสานกั สง่ เสริม การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยจังหวัด ศูนยก์ ารศึกษานอกโรงเรียนจงั หวัดเสนอของบประมาณ ๒. จัดทาแผนพฒั นาห้องสมุดประชาชน ๓. จัดทารวบรวมสื่อที่เกี่ยวกับการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนใหด้ เี ด่นเป็นพิเศษ ๔. จัดหาหนังสือใหม่และสื่อท่ีสอดคลอ้ งกับแผนยุทธศาสตร์พฒั นาประเทศโดยเอาจดุ แข็งของจงั หวัดมาใช้ ประโยชน์ทม่ี เี น้ือหาเก่ียวกับ เศรษฐกิจ และอาชีพ สอดคล้องกับการพฒั นาเศรษฐกิจในจังหวดั ๕. จดั หาหนงั สอื และสื่อเก่ยี วกับเศรษฐกิจ เพิ่มเติมเปน็ ระยะๆ โดยเฉพาะหนงั สือพิมพ์ วารสาร พรอ้ มทง้ั แนะนา หนงั สอื และส่อื ๖. รบั สมัครสมาชิก เชน่ กล่มุ อาชพี ตา่ งๆ กองทุนอตุ สาหกรรมขนากย่อมเขา้ รว่ มเป็นสมาชกิ ๗. จดั เวทีเสวนา อภิปราย แลกเปลยี่ นข่าวสารข้อมูลระหวา่ งสมาชกิ ๘. สืบคน้ ขอ้ มลู จากอินเตอร์เน็ตเก่ยี วกบั เศรษฐกจิ ในจังหวัดตนเองจังหวัดตนเองพร้อมท้ังดาวนข์ ้อมลู จดั ทา บอรด์ นิทรรศการ บอร์ดสถิติ ปรับเปลย่ี นข้อมูลใหเ้ ป็นปัจจบุ ัน ๙. จัดทาเว็บไซดข์ องห้องสมดุ และเช่อื มโยงเว็บไซต์ ข้อมูลทางดา้ นเศรษฐกจิ กับหน่วยงานอ่นื เพื่อสบื ค้นขอ้ มลู ทาง สถิติทางดา้ นเศรษฐกจิ ๑๐. ใชโ้ ปรแกรมบริการงานห้องสมดุ ในการบันทึกข้อมลู หนงั สือวสั ดุ

ห้องสมุดประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ ารี” พัฒนานคิ ม นบั เป็นแหลง่ เรยี นรู้ท่ีสาคัญยงิ่ ต่อประชาชน ดังนี้ ๑. ศูนยข์ า่ วสารขอ้ มลู ของชมุ ชน หมายถงึ จัดหอ้ งสมุดใหเ้ ปน็ แหล่งศกึ ษาหาความรู้ ค้นควา้ วิจัยโดยมีการจัด จดั บริการหนังสอื เอกสารส่ิงพมิ พ์ สอ่ื โสตทัศน์ ๒. ศูนยส์ ่งเสริมารเรียนรู้ชมุ ชน เป็นแหลง่ ส่งเสริม สนับสนนุ และจดั กิจกรรมการเรียนรู้ ๓. ศูนย์กลางจัดกิจกรรมของชุมชน หมายถึง การจัดกิจกรรมวันสาคัญตามประเพณี การจัดสวน สุขภาพ สนาม เด็กเล่น ๔. ศูนยก์ ลางสนบั สนุนเครือข่ายการเรียนร้ใู นชุมชน หมายถึง การจัดใหเ้ กดิ กระบวนการท่ีจะเชื่อมประสาน ระหว่างห้องสมุดและแหล่งความรใู้ นชมุ ชนอน่ื ๆ เช่น ที่อ่านหนงั สอื ประจาหมบู่ า้ น สถานศึกษา สถานศึกษา แหล่งประกอบการ ภูมปิ ัญญาทอ้ งถ่นิ อาคารห้องสมุด “เฉลิมราชกุมารี” ห้องสมุดประชาชน “เฉลมิ ราชกุมารี” เป็นอาคาร ๒ ชัน้ มี ๒ รูปแบบ พน้ื ที่ใช้ สอยประมาณ ๓๒๐ ตารางเมตร ๑. ห้องอา่ นหนังสอื ท่วั ไป หนงั สือที่จัดบริการ ประกอบด้วยหนังสืออ้างอิง นวนิยาย สารคดี แบบเรียนระดับต่าง ๆ นอกจากน้ันมีหนังสือพิมพ์ วารสาร กฤตภาค จุลสาร และส่ิงพิมพ์อ่ืนๆ มีบริการข้อมูลท้องถ่ินท่ีจัดข้ึนตาม พระราชโชวาทของสมเด็จพระเทพรตั นราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ซงึ้ มขี ้อมูล ดังนี้ ๑. ขอ้ มลู สภาพทวั่ ไป ๖. ขอ้ มลู ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๒. ขอ้ มลู ทางสังคม ๗. ขอ้ มลู ทางการเกษตร ๓. ข้อมลู ทางการเมอื งการปกครอง ๘. ขอ้ มูลทางอุตสาหกรรม ๔. ขอ้ มูลทางการศกึ ษา ๙. ข้อมูลทางเศรษฐกิจ ๕. ข้อมูลทางศิลปวัฒนธรรม ๒. ห้องเด็กและครอบครัว ลักษณะอาจจาลองภาพจากตานานพื้นบ้าน เทพนิยาย หรือ สภาพภูมิประเทศท้ัง ใกล้และไกลตัวมาตกแต่ง พร้อมกับจัดที่นั่งอ่าน ท่ีนั่งเล่นที่เหมาะสม มีบริเวณการจัดกิจกรรมให้เด็กและ ครอบครัวสามารถมีส่วนร่วมและแสดงออก เช่น การเล่านิทาน การแสดงละครหุ่น การวาดภาพแข่งขันอ่าน เขียน ๓. ห้องโสตทัศนศกึ ษามีวตั ถุประสงค์ท่จี ะจดั บรเิ วณส่ือ เพ่ือการศึกษาค้นคว้า ส่งเสริมการศึกษาด้วยตนเอง มี สอ่ื พืน้ บ้าน ไดแ้ ก่ วดี ิทัศน์ เทปเสียง สไลด์ และคู่มอื ประกอบการฟังและการชม ๔.ห้องเอนกประสงค์ ในแต่ละห้องสมุดจะนาเสนอรูปแบบท่ีต่างกัน แต่จะครอบคลุมประเด็นในเร่ือง ประวัติศาสตร์ โบราณคดี ของพ้ืนที่นั้นๆ ภูมิศาสตร์และส่ิงแวดล้อม ศิลปวัฒนธรรม ประเพณี อาชีพ การ ส่งเสรมิ คุณภาพชีวิต คนดมี ฝี มี ือ ภมู ปิ ัญญาทอ้ งถ่ิน ๕. ห้องเฉลิมพระเกียรติ หัวใจของห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” คือ ห้องเฉลิมพระเกียติ ซ่ึงมี วตั ถุประสงค์นาเสนอพระราชประวัติ พระปรชี าญาณ และพระมหากรุณาธิคุณท่ีสถาบันพระมหากษัตริย์ที่มีต่อ ประชาชนชาวไทย


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook