Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore โรงเรียนพื้นที่นวัตกรรม

โรงเรียนพื้นที่นวัตกรรม

Published by ศน ศธจ.ยะลา, 2023-06-19 07:26:32

Description: โรงเรียนพื้นที่นวัตกรรม

Search

Read the Text Version

พื้นที่นวัตกรรมการศึกษา Education Sandbox Yala Province @พื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดยะลา

Education Sandbox Yala Province @พื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดยะลา

รายงานประจำปี พื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดยะลา ปีงบประมาณ 2565 จัดทำโดย สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดยะลา พิมพ์ครั้งแรก สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ที่ปรึกษา พฤศจิกายน 2565 ออกแบบรูปเล่ม นายอำนาจ ชูทอง รองผู้ว่าราชการจังหวัดยะลา นายพิทยา เพชรรักษ์ ศึกษาธิการจังหวัดยะลา จัดพิมพ์โดย นางสาวอรวินท์ ชำระ ศึกษานิเทศก์ สนง.ศธจ.ยะลา นายปรีชา สุกใส ศึกษานิเทศก์ สนง.ศธจ.ยะลา นางสาวยัสมี ดือราซอ ครู ร.ร. บ้านปงตา สังกัด สพป.ยล. 1 นางสาวฮานาน สามะ ครู ร.ร. บ้านบาตัน สังกัด สพป.ยล. 1 นางสาวอัมนี มะแดเฮาะ ครู ร.ร บ้านยะต๊ะ สังกัด สพป.ยล. 1 นายนุรสรินทร์ การีจิ ครู ร.ร สตรีอิสลามวิทยามูลนิธิ สังกัด สช.ยะลา นางสาวกัญญารัตน์ ถานองบัว เจ้าหน้าที่ธุรการ สนง.ศธจ.ยะลา สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดยะลา สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ 3/4 ถนนอาคารสงเคราะห์ ตำบลสะเตง อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา 95000 โทร. 0 7372 9828

คำนำ สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดยะลา

BOOKISH CONTENTS บทนำ 5 พื้นที่นวัตกรรมจังหวัดยะลาคืออะไร 9 - แนวทางการดำเนินงาน 11 - วิสัยทัศน์ของหลักสูตร 14 - หลักการของหลักสูตร - คุณลักษณะของผู้เรียน 15 - กระบวนการพัฒนาหลักสูตร 16 17 ผลการดำเนินงานปีงบประมาณ 2565 18 นวัตกรรม 30 โรงเรียนนำร่องจังหวัดยะลา 26 กลไกลสำคัญผู้นำการเปลี่ยนแปลง 58

บทนำ 5

การทำงานภายใต้แนวคิด ในการมีส่วนร่วมในการออกแบบ การจัดการศึกษาให้เหมาะสม กับพื้นที่ โดยเน้นการมีอิสระในการบริหารจัดการตนเอง มีภาคีเครือข่าย จากหลายภาคส่วนและการระดมสรรพกำลังในพื้ นที่เพื่ อสนับสนุน การทำงานอย่างเต็มกำลัง นายสุพจน์ รอดเรือง ณ หนองคาย 6 ประธานคณะกรรมการขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดยะลา

การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษานำร่อง ในจังหวัดยะลา โดยมุ่งให้เด็กยะลารัก(ษ์) ยะลาและเป็นพลเมืองที่เข้มแข็ง โดยใช้ฐาน ภาษาและการเรียนรู้สู่การสร้างอาชีพในสังคม แห่งความสุข นายพิทยา เพชรรักษ์ กรรมการและเลขานุการคณะกรรมการ ขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดยะลา 7

ขับเคลื่อนระบบกลไก COACH ในพื้นที่ บทบาทในการเป็ นพี่เลี้ยงของครู หากระบวนการที่จะสนับสนุนการเรียนรู้ ของคุณครู ร่วมเป็ นเพื่อนคู่คิดเป็ นที่พึ่งพาทางวิชาการสร้างแนวคิดร่วมกัน ในการขับเคลื่อนคุณภาพการจัดการศึกษาจังหวัดยะลา นางสาวอรวินท์ ชำระ ศึกษานิ เทศก์ สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดยะลา 8

พื้นที่นวัตกรรม จังหวัด ยะลา คืออะไร เกิดขึ้นได้อย่างไร 9

ข้อเสนอจัดตั้ง “พื้นที่นวัตกรรมการศึกษา” เป็นพื้นที่ปฏิรูป จะช่วยให้ประเทศไทยสามารถปรับนโยบาย และกฎระเบียบต่างๆ ได้อย่างคล่องตัว ลดอุปสรรคในการจัดการศึกษา เพิ่มขีดความสามารถในการบริหาร จัดการของเขตพื้นที่ให้ได้รับประโยชน์สูงสุดจากการกระจายอํานาจตามเจตนารมณ์ของพระราชบัญญัติ การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ทั้งนี้ เมื่อการปฏิรูปในพื้นที่การศึกษาประสบความสําเร็จ สามารถขยาย ผล นวัตกรรมการเรียนการสอนและการบริหารสู่สถานศึกษาและเขตพื้นที่อื่น ตลอดจนนําเสนอนโยบาย เพื่อพัฒนาการศึกษาของประเทศต่อไป ในการดําเนินการพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาให้มีเสถียรภาพ ในการบริหารและการหนุนเสริมการปฏิรูประดับประเทศและระดับสถานศึกษา จึงมีการเสนอให้ออก พระราชบัญญัติพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา โดยเชื่อมโยงกับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 กระทรวงศึกษาธิการ ซึ่งมีนโยบายเพิ่มคุณภาพและประสิทธิภาพในการจัดการศึกษา ลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา ส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนร่วมกันจัดการศึกษา จึงจัดตั้งพื้นที่ นวัตกรรมการศึกษาขึ้น เพื่อส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนร่วมกันจัดการศึกษา เพื่อส่งเสริมให้ สถานศึกษามีอิสระในการจัดหลักสูตรการจัดการเรียนรู้ การบริหารจัดการที่คล่องตัว ให้ครูใช้เวลา ในการพัฒนานักเรียนอย่างเต็มที่ ครูและบุคลากรทางการศึกษาได้รับการพัฒนาให้มีคุณภาพสูง มีการคิดค้นพัฒนานวัตกรรมการศึกษาที่เหมาะสมกับบริบทและสามารถขยายวิธีปฏิบัติที่ดี มีประสิทธิภาพของสถานศึกษาในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาไปยังสถานศึกษาในพื้นที่อื่นได้ 10

แนวทางการดําเนินงานพื้นที่ นวัตกรรมการศึกษา การพัฒนานวัตกรรมการศึกษา การดําเนินงานภายในพื้นที่นวัตกรรม การศึกษา จะมีการพัฒนานวัตกรรม 2 ประเภท นวัตกรรมเชิงนโยบาย เป็นการปรับปรุงนโยบาย นวัตกรรมการเรียนการสอนและการบริหารในสถานศึกษา กฎระเบียบให้คล่องตัว ข้อเสนอเพ่ื่อการปรับปรุงได้มาจาก เป็นการดําเนินของผู้บริหารและครูในสถานศึกษานําร่อง การปรึกษาหารือและรับฟังปัญหาจากสถานศึกษาและ ที่เข้าร่วมอยู่ในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา โดยเริ่มจากการ หน่วยงานการศึกษาในพื้นที่รวมทั้งการศึกษา วิเคราะห์ปัญหาการเรียนรู้ของนักเรียนและการพัฒนา กฎระเบียบและแนวทางการบริหารของสถานศึกษา นวัตกรรม เพื่อแก้ปัญหา ทั้งการจัดการหลักสูตรรูปแบบใหม่ คุณภาพสูง วิธีการสอน วิธีการบริหาร การพัฒนาระบบประกันคุณภาพ โดยพิจารณาเลือกต่อยอดแนวปฏิบัติที่ผ่านการใช้จริงและ พบว่ามีผลลัพธ์ที่ดี ทั้งในประเทศและต่างประเทศ การพัฒนานวัตกรรมทั้งสองประเภทจะได้รับความร่วมมือ การขยายผลสู่พื้นที่อื่น จะมีการประเมินผลลัพธ์ การพัฒนา สนับสนุนจาก “ภาคีเพื่อพัฒนาการศึกษาไทย นวัตกรรมการศึกษาถอดบทเรียนและนําเสนอแนวปฏิบัติที่ดี (TEPThailandEducationPartnership)” เพื่อขับเคลื่อน ทั้งด้านการสอนการบริหารและนโยบาย สู่สถานศึกษาในพื้นที่อ่ื่น การปฏิรูปการศึกษา ซ่ึ่งรวมถึงการพัฒนาและขยายผล กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงต่างๆ ที่เกี่ยวข้องและสื่อสารสู่ นวัตกรรมด้วย สาธารณะ 11

12

คณะกรรมการขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดยะลา 13

วิสัยทัศน์หลักสูตร จ.ยะลา หลักสูตรจังหวัดยะลา มุ่งสร้างเด็กยะลาให้รัก(ษ์)ยะลา และเป็นพลเมืองที่เข้มแข็ง โดยใช้ฐานภาษา และการเรียนรู้ สู่การสร้างอาชีพในสังคมแห่งความสุข 14

หลักการของหลักสูตรการศึกษา จังหวัดยะลา พ.ศ. 2565 1. เป็นหลักสูตรที่มุ่งเน้นการจัดการศึกษาเชิงพื้นที่มีการเชื่อมโยงความรู้จากบทเรียน หรือเรื่องราว และเนื้ อหาของจังหวัดยะลา เพื่อการจัดการเรียนรู้ภายใต้บริบทสังคมพหุภาษา พหุวัฒนธรรม จังหวัดยะลา 2. เป็นหลักสูตรที่พัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ ความเข้าใจ ยอมรับและเห็นคุณค่าในตนเองและผู้อื่น มีทัศนคติที่ดีต่อการเรียนรู้และมีความเป็ นยะลาและความเป็ นไทย 3. เป็นหลักสูตรที่มีกระบวนการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางพหุภาษาศึกษาโดยใช้ภาษาท้องถิ่นเป็นฐาน การเรียนรู้เพื่อการใช้ภาษาเป็นเครื่องมือ การพัฒนาผู้เรียนที่มีทักษะการคิดขั้นสูง การสร้างผลิตภาพ ของความคิดและความรับผิดชอบต่อสังคม 4. เป็นหลักสูตรที่เชื่อมโยงระหว่างสมรรถนะหลักและสมรรถนะเฉพาะในการกําหนดผลลัพธ์การเรียนรู้ (Learning Outcom) เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้สามารถนําไปใช้ประโยชน์ในชีวิตและการทํางาน 5. เป็นหลักสูตรที่สามารถรองรับการจัดกระบวนการเรียนรู้ในสถานการณ์วิกฤติ โดยที่ผู้เรียนสามารถ เรียนรู้ได้อย่างหลากหลายมีความยืดหยุ่น โดยจัดการเรียนรู้ในบริบทครอบครัวและชุมชนเป็นฐาน การเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุณภาพ 6. เป็นหลักสูตรที่มีเป้ าหมายการพัฒนาผู้เรียนให้มีสมรรถนะ ความรู้ ทักษะ ที่เหมาะสมกับช่วงวัย โดยเป็นการพัฒนาผู้เรียนของบุคคล (Presonalizaton) อย่างเป็นองค์รวม (Holistic Development) เพื่อให้เป็นเจ้าของการเรียนรู้และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง (Life-Long Learning) 7. เป็นผู้มีความรู้ ความเข้าใจ มีการปฏิบัติได้ถูกต้องตามหลักการของศาสนาที่ตนเองนับถือ และเป็นผู้ที่มี คุณธรรมจริยธรรม 15

คุณลักษณะของผู้เรียน ตามหลักสูตรการศึกษาจังหวัดยะลา พ.ศ. 2565 เป็นผู้มีความรู้ เข้าใจ ทัศนคติที่ดี เป็นผู้มีความรู้ รู้จักและเข้าใจ มีการยอมรับและเห็นคุณค่า ในความเป็นยะลา ทั้งในมติเศรษฐกิจ ในตนเองและผู้อื่น สามารถตัดสินใจ สังคม สิ่งแวดล้อม ลักษณะพื้นที่ และมีทักษะการปฏิบัติทางสังคม ทางกายภาพ อัตลักษณ์ ประวัติศาสตร์ ท่ี่ส่งผลต่อการอยู่ร่วมกันในสังคม ท้องถิ่น วิทยาศาสตร์ท้องถิ่น และมีความรู้ พหุภาษา พหุวัฒนธรรม ได้อย่าง รู้จักและเข้าใจในความเป็นไทย ราบรื่นและมีความสุข ทุกมิติเช่นกัน เป็นผู้ที่มีสมรรถนะ เป็นผู้มีสมรรถนะในการเข้าสู่อาชีพ ด้านภาษา ทั้งภาษา การทํางานและการใช้ชีวิต ท้องถิ่นของตนเอง ภาษาไทยและ เป็นผู้มีสมรรถนะในด้านการคิดขั้นสูง และสามารถสร้างผลิตภาพ พหุภาษา จากความคิด และมีความรับผิดชอบ 16 ต่อสังคม

17

ผลการดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ 2565 18

ผลการดําเนินงานกิจกรรม ตามโครงการ ปีงบประมาณ 2565 จัดประชุมคณะกรรมการและ คณะอนุกรรมการขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรม การศึกษาจังหวัดยะลา ประชุมเชิงปฏิบัติการ อบรมหรือสัมมนา เพื่อพัฒนาศักยภาพบุคลากรในโรงเรียน นําร่องและบุคลากรที่เกี่ยวข้อง จัดเก็บข้อมูล/จัดประชุมเชิงปฏิบัติการ สัมมนา หรือเป็นค่าใช้สอยอื่นๆ ในการ พัฒนานวัตกรรมทางการศึกษาของ สถานศึกษานําร่อง (สืบค้น-นวัตกรรม) ขับเคลื่อนภารกิจการดําเนินงาน คณะกรรมการและคณะอนุกรรมการ ขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา จังหวัดยะลา ขับเคลื่อนภารกิจ บริหารงานติดตามและ รายงานการขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรม โดยความร่วมมือจากหลายๆ ภาคส่วน ในพื้นที่ภาคและในส่วนกลาง 19

ประชุมคณะกรรมการและ คณะอนุกรรมการขับเคลื่อนพื้นที่ นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดยะลา การประชุมคณะกรรมการขับเคลื่อนพื้นที่ นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดยะลา ครั้งที่ 1/2565 การประชุมคณะกรรมการขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรม การศึกษาจังหวัดยะลา ครั้งที่ 2/2565 การประชุมคณะกรรมการขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรม การศึกษาจังหวัดยะลา ครั้งที่ 3/2565 20

ประชุมเชิงปฏิบัติการ อบรม หรือสัมมนา เพื่อพัฒนาศักยภาพบุคลากรในโรงเรียนนำร่อง และบุคลากรที่เกี่ยวข้อง การประชุมเชิงปฏิบัติการเร่งรัดการดําเนินงาน ด้านหลักสูตรตามพระราชบัญญัติพื้นที่นวัตกรรม การศึกษา พ.ศ. 2562 การประชุมเชิงปฏิบัติการเร่งรัดการดําเนินงาน ด้านหลักสูตรตามพระราชบัญญัติพื้นที่ นวัตกรรมการศึกษา พ.ศ. 2562 ครั้งที่ 2 และยกร่างหลักสูตรจังหวัดยะลา พ.ศ. 2565 21

จัดเก็บข้อมูล/จัดประชุมเชิงปฏิบัติการสัมมนา หรือเป็นค่าใช้สอยอื่นๆ ในการพัฒนานวัตกรรม ทางการศึกษาของสถานศึกษานําร่อง (สืบค้น-นวัตกรรม) การประชุมเชิงปฏิบัติการวิเคราะห์ ทบทวน นวัตกรรมของสถานศึกษานําร่องพื้นที่นวัตกรรม การศึกษาจังหวัดยะลา 22

ขับเคลื่อนภารกิจการดําเนินงาน คณะกรรมการและคณะอนุกรรมการ ขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรม การศึกษาจังหวัดยะลา การประชุมคณะอนุกรรมการฝ่ายวิชาการ เพื่อกําหนด(ร่าง) วิสัยทัศน์หลักสูตรจังหวัดยะลา หลักการของหลักสูตรการศึกษา จังหวัดยะลา พ.ศ. 2565 และคุณลักษณะของผู้เรียน อันเป็น จุดมุ่งหมายของหลักสูตรการศึกษาจังหวัดยะลา พ.ศ. 2565 การประชุมคณะอนุกรรมการฝ่ายวิชาการ เพื่อร่วมพิจารณา การขออนุมัติหลักสูตรสถานศึกษาของสถานศึกษานําร่อง พื้นท่ี่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดยะลา ปีการศึกษา 2565 ประชุมคณะอนุกรรมการฝ่ายวิชาการ เพ่ื่อร่วมพิจารณาการขอ อนุมัติหลักสูตรสถานศึกษาฐานสมรรถนะและหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐานปี พ.ศ. 2551 (ฉบับปรับปรุง) ครั้งที่ 2 ประชุมคณะอนุกรรมการด้านอํานวยการ บริหารและส่งเสริมการขับเคลื่อน ประชุมเชิงปฏิบิัติการจัดทําแผนยุทธศาสตร์ การพัฒนาพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดยะลา 23

ขับเคลื่อนภารกิจ บริหารงาน ติดตามและ รายงานการขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรม โดยความร่วมมือจากหลายๆ ภาคส่วน ในพื้นที่ภาคและในส่วนกลาง การขับเคลื่อนภารกิจ บริหารงาน ติดตามและรายงาน การขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรม โดยความร่วมมือจากหลายๆ ภาคส่วนในพื้นที่และในส่วนกลาง โดยการจัดจ้างเจ้าหน้าที่ธุรการ เพื่อทําหน้าที่ขับเคลื่อนการดําเนินการประสานงานดําเนินการ ในส่วนเอกสารธุรการที่เก่ี่ยวข้อง จัดทํา VTR เพื่อรวบรวม เรียบเรียงเส้นทาง การทํางานในปีงบประมาณท่ี่ผ่านมา จัดทํารายงานผลการดําเนินงาน ประจําปีงบประมาณ 2565 24

ดึ ง ค ว า ม ฝั น เ ข้ า ใ ก ล้ ค ว า ม จ ริ ง ส ร้ า ง บ ร ร ย า ก า ศ ใ ห ม่ ใ น ก า ร ป ฎิ รู ป ด้ ว ย ‘Sandbox’ 25

โ(รปงรเะรีชยานอุบท้ิาศนว2ัง5ใ1ห9ม)่ \"ยุวเกษตรยุคใหม่ ใส่ใจเทคโนโลยี สู่ผู้ประกอบการที่ดี\" นวัตกรรมการบริหาร นางสาววรรณลดา เกตุแสง 26 ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านวังใหม่ (ประชาอุทิศ 2519)

โรงเรียนไทยรัฐวิทยา ๙๕ (บ้านบ่อน้ำร้อน) สู่การเป\"็สนืบผู้สปารนะกภูอมิบปักญาญรทาี่ดีสในร้าสังงสครมรพค์อหุาวัชฒีพนธรรม\" นวัตกรรมการบริหาร นวัตกรรมการจัดการเรียนการสอน นางพัชรี เจ๊ะและ 27 ผู้อำนวยการโรงเรียนไทยรัฐวิทยา ๙๕ (บ้านบ่อน้ำร้อน)

โรงเรียนบ้านจาหนัน \"โรงเรียนบ้านจาหนัน จัดการเรียนรู้บนพื้นฐานการใช้โครงงานเป็นฐาน โดยบูรณาการภูมิปัญญาปลาส้มจาหนันสู่การเป็นผู้ประกอบการน้อยบนพื้นฐานวิถีอิสลาม\" นวัตกรรมการบริหาร นายซาการียา ซาฮา 28 ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านจาหนัน

โรงเรียนบันนังสตาอินทรฉัตร มิตรภาพที่ ๒๐๐ ที่ระลึก ส.ร.อ. \"นวัตกรน้อย สื่อสารสร้างสรรค์ ด้วยใจรักษ์ถิ่นและสิ่งแวดล้อม\" นวัตกรรมการบริหาร นางประไพ ปุยุ 29 ผู้อำนวยการโรงเรียนบันนังสตาอินทรฉัตรมิตรภาพที่ ๒๐๐ ที่ระลึก ส.ร.อ.

โรงเรียนบ้านบันนังดามา \"ส่งเสริมกีฬา พัฒนาเกษตรอินทรีย์ สืบสานวัฒนธรรมตามวิถีอิสลาม\" นวัตกรรมการบริหาร นวัตกรรมการจัดการเรียนการสอน นายมูฮำหมัดบูคอรี มะแอ 30 ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านบันนังดามา

โรงเรียนบ้านราโมง \"โรงเรียนส่งเสริมด้านภาษา สร้างอาชีพ นำเทคโนโลยีร่วมสร้างสรรค์ อยู่ร่วมกับธรรมชาติอย่างยั่งยืน\" นวัตกรรมการบริหาร นวัตกรรมการจัดการเรียนการสอน นายบาฮารอดิง เจ๊ะและ 31 ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านราโมง

โรงเรียนนิบงชนูปถัมภ์ \"เด็กนิบง เรียนรู้สู่ความเป็นอัจฉริยะ บนพหุภาษา เป็นผู้ประกอบการน้อยร้อยปัญญา สำนึกรักษ์ถิ่นฐานยะลาบ้านเรา\" นวัตกรรมการบริหาร นวัตกรรมการจัดการเรียนการสอน ว่าที่ร้อยตรีอับดุลรอแม การีอูมา 32 ผู้อำนวยการโรงเรียนนิบงชนูปถัมภ์

โรงเรียนบ้านปอเยาะ เป็นหลักสูตรที่มุ่งจัดการศึกษาให้นักเรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยผู้เรียนอ่านออกเขียนได้ สื่อสารอย่างสร้างสรรค์ โดยใช้ฐานภาษาและเข้าใจในพหุวัฒนธรรม มีความรักในถิ่นบ้านเกิดและเรียนรู้การสร้างอาชีพในสังคม โดยนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และคำสอนของศาสนาอิสลามมาเป็นแนวทางการดำเนินชีวิตอย่างมีความสุข นวัตกรรมการบริหาร นวัตกรรมการจัดการเรียนการสอน นางซาราห์ ปาแมม๊ะ 33 ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านปอเยาะ

โรงเรียนเขื่อนบางลาง \"รใักฝ่(เรษี์ย)นสิ่รงู้ แสว่งดเลส้อริมมภสาืบษสาาพนัวฒัฒนนาเธทรครมโนตโาลมยีแบสู่บทัวกิถษีอิะสอลาาชีมพ\" นวัตกรรมการบริหาร นวัตกรรมการจัดการเรียนการสอน นายพีรดนย์ การดี 34 ผู้อำนวยการโรงเรียนเขื่อนบางลาง

โรงเรียนบ้านรามัน \"เก่งภาษา นำพาชุมชน สู่พลเมืองที่ดี ด้วยเทคโนโลยีเชื่อมโลก\" นวัตกรรมการบริหาร นวัตกรรมการจัดการเรียนการสอน นายอาบัส สาเหล็ม 35 ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านรามัน

โรงเรียนบ้านนิคมสร้างตนเองธารโต \"สืบสานงานพ่อ ต่อยอดภูมิปัญญา ใช้เทคโนโลยีและภาษา พัฒนาสู่นวัตกรที่ดีของชุมชน\" นวัตกรรมการบริหาร นวัตกรรมการจัดการเรียนการสอน นายเจริญ แขกไทย 36 ผู้อำนวยการโรงเรียนนิคมสร้างตนเองธารโต

กลไกการศึกษาใหม่ ตอบโจทย์ความต้องการ และการเปลี่ยนแปลงของ โลกอนาคต 37

โรงเรียนบ้านลาแล \"คุณธรรมนำชีวิต เรียนรู้สู่อาชีพ เก่งภาษา อยู่ร่วมกับสังคมและสิ่งแวดล้อม\" นวัตกรรมการบริหาร นวัตกรรมการจัดการเรียนการสอน นางสาวศิริภา ไชยนุ้ย 38 ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านลาแล

โรงเรียนบ้านเกล็ดแก้ว \"สืบสานภูมิปัญญา พัฒนานวัตกรรม สู่ผู้ประกอบการที่ดี ในชุมชนที่เป็นสุข\" นวัตกรรมการจัดการเรียนการสอน นายเอกพงษ์ ศรีสุวรรณ 39 ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านเกล็ดแก้ว

โรงเรียนบ้านสะเอะ \"โรงเรียอนาบช้ีพานสู่สกะาเรอเะป็สนร้ผูา้ปงรกะากรอเรีบยกนารูร้บทีน่มีพคืุ้นณฐธารนรกมาตราวิมจัวยิถีอเิพืส่อลพาัมฒ\"นางาน นวัตกรรมการบริหาร นวัตกรรมการจัดการเรียนการสอน นางเพ็ญศรี ว่องภาณุสกุล 40 ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านสะเอะ

โรงเรียนบ้านอัยเยอร์เวง \"นวัตกรรุ่นเยาว์ นำพาเทคโนโลยี สร้างอาชีพดี สังคมพหุวัฒนธรรม\" ด้านภาษา บหpัoนนัpไงดสืuอ5pเล่ขัม้นเล็ก ด้านอาชีพ โครงงานเป็นฐาน ยะลาศึกษา โครงงานเป็นฐาน นวัตกรรมการจัดการเรียนการสอน นายจำลอง จันทรโชติ 41 ผู้อำนวยการโรงเรีย นบ้านอัยเยอร์เวง

โรงเรียนบ้านศรีท่าน้ำ \"นักวิทยาศาสตร์น้อย แพทย์แผนไทย ร่วมสร้างสังคมสุขภาพดีและสร้างสรรค์การสื่อสาร\" นวัตกรรมการบริหาร นวัตกรรมการจัดการเรียนการสอน นางสาวมารีน่า สะนี 42 ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านศรีท่าน้ำ

โรง(เสรุีภยานพออนุนบุสารลณเ์บ)ตง \"พัฒนาผู้เรียนให้มีความเป็นเลิศทางวิชาการ สื่อสารหลายภาษา ล้ำหน้าทางความคิด ผูกมิตรด้วยสามวัฒนธรรม น้อมนำหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง เทียบเคียงมาตรฐานสากล รักและภูมิใจในความเป็นไทย เป็นมนุษย์ที่มีความสมดุลทั้งด้านร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มีจิตสำนึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดมั่นในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข\" นวัตกรรมการบริหาร นวัตกรรมการจัดการเรียนการสอน นางอรวรรณ เรืองหิรัญ 43 ผู้อำนวยการโรงเรียนอนุบาลเบตง (สุภาพอนุสรณ์)

โรงเรียนนิคมสร้างตนเองธารโต 5 \"นักรู้การคิด มีจิตรักษ์ท้องถิ่น สื่อสารพหุภาษา สร้างสรรค์นวัตกร\" นวัตกรรมการบริหาร นวัตกรรมการจัดการเรียนการสอน นางสาวอามาล เจ๊ะสนิ 44 ผู้อำนวยการโรงเรียนนิคมสร้างตนเองธารโต 5

โรงเรียนบ้านปะเด็ง \"โรงเรียนสืบสานภูมิปัญญา อนุรักษ์ธรรมชาติ สำนึกรักษ์บ้านเกิด เชื่อมโยงเทคโนโลยีอย่างสร้างสรรค์ สู่นวัตกรน้อย\" นวัตกรรมการบริหาร นวัตกรรมการจัดการเรียนการสอน นางสาววรรณี หนูชูสุข 45 ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านปะเด็ง

โรงเรียนบ้านด่านสันติราษฎร์ \"ผู้ประกอบการน้อยรักษ์ถิ่น ยึดมั่นวิถีพุทธ สื่อสารสี่ภาษา สู่พลเมืองแห่งศตวรรษที่ 21\" นวัตกรรมการบริหาร นวัตกรรมการจัดการเรียนการสอน นายสุหริ ทิพย์มณี 46 ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านด่านสันติราษฎร์

โรงเรียนและชุมชน มีอิสระในการบริหาร จัดการ 47

(ฟโรลงอเรยียด์นรอบ้สานอนบุาสตรัณน์) \"โรงเรียนบ้านบาตันสร้างคุณภาพการเรียนรู้ เพื่อสร้างนวัตกรผู้ประกอบการน้อย ตามวิถีอิสลามในสังคมแห่งความสุข\" นวัตกรรมการบริหาร นวัตกรรมการจัดการเรียนการสอน นางซาลีตา เจะมิง 48 ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านบาตัน (ฟลอยด์รอสอนุสรณ์)

โรงเรียนบ้านตะโละหะลอ \"ต้นกล้าแห่งความพอเพียง ตามวิถีอิสลามสู่สากลโลก\" นวัตกรรมการบริหาร นวัตกรรมการจัดการเรียนการสอน นางรอยทรง การีอูมา 49 ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านตะโละหะลอ