Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore E-book หน่วยที่6 รายการปรับปรุงและแก้ไขข้อผิดพลาดทางบัญชี

E-book หน่วยที่6 รายการปรับปรุงและแก้ไขข้อผิดพลาดทางบัญชี

Published by changwong2520.p, 2020-06-13 12:08:37

Description: รายการปรับปรุงและแก้ไขข้อผิดพลาดทางบัญชี

Search

Read the Text Version

หนว่ ยที่ 6 รายการปรับปรุงและ การแกไ้ ขขอ้ ผิดพลาด

สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของรายการปรบั ปรุง 2. ประเภทของรายการปรบั ปรุง 3. การบนั ทึกรายการปรบั ปรงุ 4. การแก้ไขขอ้ ผดิ พลาดทางบัญชี

ความหมายของรายการปรบั ปรุง รายการปรับปรุง (Adjusting Entries) เปน็ รายการบญั ชที ก่ี จิ การตอ้ งทาการบนั ทึกแกไ้ ขเพ่อื ให้ ยอดคงเหลอื ในบัญชีแยกประเภททว่ั ไปถูกตอ้ งตรงกับความเป็นจรงิ โดยจัดทาขึน้ ตามหลักการบญั ชที รี่ บั รอง ทัว่ ไปในเรื่องของเกณฑ์คงคา้ ง (Accrual Basis) และการดาเนนิ งานตอ่ เนื่อง (Going concern) ซ่งึ จะมีผลทา ให้การจัดทางบการเงนิ ของกจิ การถกู ตอ้ งตามควร



ประเภทของรายการปรับปรุง รายการปรับปรงุ มีหลายรายการ โดยสรปุ แบ่งออกเปน็ 3 ประเภท ดงั น้ี 1. รายการคงค้าง (Accruals) แบง่ ออกเป็น 1.1 รายไดค้ า้ งรบั (Accrued Revenues) 1.2 ค่าใช้จ่ายคา้ งจ่าย (Accrued Expenses) 2. รายการล่วงหนา้ (Deferred) แบ่งออกเปน็ 2.1 รายไดร้ ับล่วงหนา้ (Deferred Income) 2.2 ค่าใชจ้ ่ายจ่ายล่วงหนา้ (Prepaid Expense) 2.3 วัสดุสน้ิ เปลอื ง (Supplies) 3. รายการประมาณการ (Estimates) หรือรายการทไ่ี ม่ได้เป็นตัวเงนิ (Non-cash) แบง่ ออกเปน็ 3.1 คา่ เสื่อมราคา (Depreciation Expense) 3.2 หนี้สงสัยจะสญู (Doubtful Accounts)

การบนั ทกึ รายการปรบั ปรงุ การบันทกึ รายการปรับปรุง โดยปกตจิ ะทาในวันส้นิ งวดบญั ชี กอ่ นการปิดบัญชแี ละ ออกงบการเงนิ โดยบันทึกรายการในสมดุ รายวันทว่ั ไป และผ่านรายการไปบัญชีแยกประเภท ท่วั ไป 1. รายไดค้ ้างรบั (Accrued Revenues) คอื รายได้ของกิจการท่เี กดิ ข้ึนในงวด บญั ชีปจั จุบนั คือ กิจการให้บริการหรอื ใหใ้ ช้ประโยชน์ไปแลว้ แตก่ ิจการยังไม่ได้รับเงนิ เชน่ ค่านายหนา้ ค้างรับ ค่าโฆษณาค้างรบั รายไดค้ า้ งรบั ถือเป็นสินทรัพย์หมุนเวียน การบันทึกรายการปรบั ปรงุ ในสมดุ รายวนั ทัว่ ไป เดบติ รายได้คา้ งรบั (ระบุ) XX เครดติ รายได้ (ระบุ) XX

ใหท้ า บนั ทึกรายการปรบั ปรุงในสมดุ รายวนั ท่วั ไป เดบติ รายไดค้ า่ โฆษณาค้างรบั 3,500 เครดิต รายได้ค่าโฆษณา 3,500

2. ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย (Accrued Expenses) คือ ค่าใช้จ่ายท่ีเกิดขึ้นในงวดบัญชี ปัจจุบัน คือกิจการใช้บริการหรือได้รับประโยชน์ไปแล้ว แต่ยังมิได้จ่ายเงิน เช่น ค่าเช่าค้างจ่าย คา่ ไฟฟ้าคา้ งจา่ ย การบันทึกรายการปรบั ปรงุ ในสมุดรายวนั ทวั่ ไป เดบติ คา่ ใช้จา่ ย (ระบุ) XX เครดติ คา่ ใช้จ่ายค้างจา่ ย (ระบุ) XX

ใหท้ า บนั ทึกรายการปรับปรุงในสมุดรายวันทว่ั ไป เดบิต ค่าบรกิ ารอินเทอร์เน็ต 749 เครดติ ค่าบริการอนิ เทอรเ์ น็ตคา้ งจา่ ย 749

3. รายได้รับล่วงหน้า ( Deferred Income ) คือ รายได้ท่ีกิจการได้รับมาแล้วในปีปัจจุบันแต่รวม รายได้ของงวดบัญชีถัดไปไว้ด้วย จึงต้องทาการปรับปรุงเพ่ือให้รายได้ปีปัจจุบันถูกต้องตรงกับความเป็นจริง เช่น คา่ วารสารรบั ล่วงหนา้ ค่าเชา่ รบั ล่วงหนา้ รายได้รบั ลว่ งหน้าถอื เป็นหน้ีสินหมนุ เวียน การบันทึกรายการปรับปรงุ แยกเป็น 2 กรณคี อื 3.1 กรณีบันทึกไว้ในบญั ชีรายได้ (เดบติ เงนิ สด/เครดิต รายได)้ 3.2 กรณีบันทกึ ไวใ้ นบญั ชรี ายได้รับล่วงหน้า (เดบิต เงินสด/เครดิต รายได้รบั ล่วงหน้า) การบนั ทึกรายการปรบั ปรงุ ในสมดุ รายวันทว่ั ไป-กรณีบันทกึ ไว้ในบญั ชรี ายได้ เดบิต รายได้ (ระบุ) XX เครดติ รายได้รับลว่ งหนา้ (ระบ)ุ XX

ใหท้ า บันทึกรายการปรับปรุงในสมุดรายวันทั่วไป เดบิต รายได้คา่ เช่าทดี่ นิ *4,000 เครดติ รายไดค้ ่าเชา่ ทดี่ ินรบั ล่วงหนา้ 4,000 * รายได้ค่าเชา่ จานวน 12,000 บาท สาหรับ 6 เดอื น = เดอื นละ 12,000/6 = 2,000 บาท ปี 25X1 รายได้ค่าเชา่ ทดี่ ิน = 2,000 X 4 = 8,000 บาท (ก.ย.-ธ.ค.) ปี 25X2 รายได้ค่าเช่าท่ดี นิ รบั ลว่ งหน้า = 2,000 X 2 = 4,000 บาท (ม.ค.-ก.พ.)

การบันทึกรายการปรับปรุงในสมดุ รายวันทั่วไป-กรณบี นั ทึกไวใ้ นบญั ชีรายไดร้ ับล่วงหน้า เดบติ รายได้รบั ล่วงหนา้ (ระบุ) XX เครดิต รายได้ (ระบ)ุ XX ให้ทา บันทกึ รายการปรบั ปรุงในสมดุ รายวนั ทว่ั ไป เดบิต รายได้ค่าเช่ารบั ล่วงหนา้ *21,000 เครดติ รายได้ค่าเช่า 21,000 *รายไดค้ ่าเชา่ จานวน 36,000 บาท สาหรบั 1 ปี = เดือนละ 36,000/12= 3,000 บาท ปี 25X1 รายไดค้ ่าเช่า = 3,000 X 7 = 21,000 บาท (มิ.ย.-ธ.ค.) ปี 25X2 รายไดค้ ่าเชา่ รบั ลว่ งหน้า = 3,000 X 5 = 15,000 บาท (ม.ค.-พ.ค.)

ใหท้ า บนั ทึกรายการปรับปรงุ ในสมดุ รายวนั ทวั่ ไป เดบิต รายได้ค่าเชา่ รับล่วงหน้า *21,000 เครดติ รายได้คา่ เช่า 21,000 *รายได้ค่าเชา่ จานวน 36,000 บาท สาหรบั 1 ปี = เดอื นละ 36,000/12= 3,000 บาท ปี 25X1 รายได้คา่ เช่า = 3,000 X 7 = 21,000 บาท (ม.ิ ย.-ธ.ค.) ปี 25X2 รายได้คา่ เชา่ รับล่วงหน้า = 3,000 X 5 = 15,000 บาท (ม.ค.-พ.ค.)

4. ค่าใชจ้ า่ ยจา่ ยลว่ งหน้า(Prepaid Expense) คอื คา่ ใชจ้ ่ายท่ีกจิ การจา่ ยในปปี ัจจบุ นั แต่ รวมคา่ ใช้จา่ ยของงวดบัญชถี ดั ไปไว้ดว้ ย จึงต้องทาการปรบั ปรงุ เพอ่ื ให้คา่ ใชจ้ ่ายปีปจั จุบนั ถกู ตอ้ งตรงกับ ความเป็นจริง เชน่ ค่าวารสารจา่ ยลว่ งหนา้ ค่าเชา่ จา่ ยล่วงหน้า ค่าใชจ้ ่ายจา่ ยลว่ งหน้าถือเปน็ สนิ ทรัพย์ หมนุ เวียน การบันทกึ รายการปรบั ปรงุ แยกเป็น 2 กรณี คือ 4.1 กรณบี ันทกึ ไวใ้ นบญั ชีคา่ ใชจ้ า่ ย (เดบิต คา่ ใชจ้ ่าย/เครดติ เงินสด) 4.2 กรณีบันทึกไว้ในบัญชีค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้า (เดบิต ค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้า/เครดิต เงนิ สด) การบนั ทกึ รายการปรบั ปรุงในสมุดรายวนั ทว่ั ไป-กรณบี นั ทกึ ไว้ในบญั ชคี ่าใช้จา่ ย เดบติ ค่าใช้จ่ายจ่ายลว่ งหน้า (ระบุ) XX เครดติ ค่าใช้จ่าย (ระบุ) XX

ใหท้ า บันทกึ รายการปรบั ปรุงในสมดุ รายวันทว่ั ไป เดบิต ค่าวารสารจา่ ยล่วงหน้า *1,200 เครดิต คา่ วารสาร 1,200 *ค่าวารสารจานวน 1,440 บาท สาหรบั 1 ปี = เดอื นละ 1,440/12 = 120 บาท ปี 25X1 ค่าวารสาร = 120 X 2 = 240 บาท (พ.ย.-ธ.ค.) ปี 25X2 คา่ วารสารจา่ ยลว่ งหน้า = 120 X 10 = 1,200 บาท (ม.ค.-ต.ค.)

การบันทกึ รายการปรบั ปรุงในสมุดรายวนั ท่ัวไป-กรณบี นั ทึกไว้ในบัญชคี ่าใช้จา่ ยจา่ ยล่วงหน้า เดบิต คา่ ใช้จ่าย (ระบุ) XX เครดิต ค่าใชจ้ า่ ยจ่ายลว่ งหน้า (ระบ)ุ XX ให้ทา บันทกึ รายการปรับปรุงในสมดุ รายวนั ท่วั ไป เดบิต คา่ เบีย้ ประกนั อคั คภี ัย *6,000 เครดติ คา่ เบี้ยประกนั จา่ ยล่วงหน้า 6,000 *คา่ เบี้ยประกันอคั คีภัย จานวน 18,000 บาท สาหรบั 2 ปี = เดอื นละ 18,000/24 = 750 บาท ปี 25X1 ค่าเบ้ียประกันอคั คีภัย = 750 X 8 = 6,000 บาท (พ.ค.-ธ.ค.) ปี 25X2 ค่าเบ้ียประกันจา่ ยล่วงหน้า = 750 X 12 = 9,000 บาท (ม.ค.-ธ.ค.) ปี 25X3 ค่าเบยี้ ประกนั จ่ายล่วงหนา้ = 750 X 4 = 3,000 บาท (ม.ค.-เม.ย.)

5. วสั ดุสน้ิ เปลือง (Supplies) คือวัสดทุ ี่ซือ้ มาใช้ในกจิ การ มลี กั ษณะใช้แลว้ หมดไป แปรสภาพ หรอื ไมค่ งสภาพเดมิ วัสดสุ ้ินเปลอื งอาจเรยี กในชอ่ื อืน่ แลว้ แตล่ กั ษณะการใชง้ าน เชน่ - วัสดสุ านกั งาน เปน็ วสั ดสุ ้นิ เปลืองทซี่ ือ้ มาใชใ้ นสานักงาน เชน่ กระดาษพมิ พ์ กระดาษต่อเนื่อง กระดาษคารบ์ อน ปากกา ดินสอ ลวดเยบ็ กระดาษ ยางลบ นา้ ยาลบคาผดิ สมดุ บัญชี - วัสดุการสอน เป็นวสั ดุสน้ิ เปลืองทีซ่ ้อื มาใช้ในสถานศกึ ษา เชน่ กระดาษพิมพ์ ปากกาไวทบ์ อร์ด แปรงลบกระดาน ลวดเยบ็ กระดาษ กระดาษเขยี นตอบ - วสั ดกุ ารเกษตร เปน็ วสั ดสุ นิ้ เปลอื งท่ซี ้อื มาใชใ้ นกิจการเกษตร เชน่ ปุ๋ย สารเคมปี อ้ งกันและกาจดั ศตั รพู ืชหรือสัตว์ อาหารสตั ว์ - วสั ดกุ อ่ สร้าง เป็นวสั ดุสิ้นเปลอื งท่ีซือ้ มาใช้ในกิจการรับเหมาก่อสร้าง เช่น ตะปู นอตเชือก ยาแนว แลกเกอร์ กระดาษทราย ยางมะตอย

การบันทึกรายการปรบั ปรุง จะบันทกึ เฉพาะสว่ นท่ีถูกใช้หรือแปรสภาพไปแล้วโดย ถอื เปน็ คา่ ใช้จ่ายในงวดบญั ชี การคานวณวัสดสุ ิ้นเปลืองใช้ไป เป็นดงั นี้ วสั ดุสิน้ เปลอื งใชไ้ ป = วสั ดุสิ้นเปลืองตน้ งวด + ซ้อื วสั ดุส้ินเปลอื งระหวา่ งปี – วสั ดุ สน้ิ เปลอื งปลายงวด การบันทกึ รายการปรบั ปรุงในสมดุ รายวนั ทว่ั ไป เดบิต วัสดุส้นิ เปลอื งใช้ไป XX เครดติ วัสดสุ ้ินเปลอื ง XX

ใหท้ า บนั ทึกรายการปรับปรงุ ในสมดุ รายวันทว่ั ไป 22,700 เดบติ วัสดุโรงงานใช้ไป (7,500 + 24,300 -9,100) เครดิต วสั ดุโรงงาน 22,700

6. คา่ เส่ือมราคา (Depreciation Expense) ตามมาตรฐานการบัญชี ฉบบั ที่ 16 (ปรับปรงุ 2561) เร่ืองที่ดนิ อาคาร และอปุ กรณ์ ได้ให้คานิยามและ ขอ้ ปฏิบตั เิ กย่ี วกับคา่ เสื่อมราคาไวด้ ังนี้ คา่ เสื่อมราคา หมายถึง การปันสว่ นจานวนทคี่ ดิ คา่ เสื่อมราคาของสินทรพั ย์อยา่ งมรี ะบบตลอดอายกุ าร ใช้ประโยชนข์ องสนิ ทรพั ย์น้ัน ทีด่ ิน อาคารและอุปกรณ์ หมายถึง สินทรัพยท์ ี่มีตัวตนซ่ึงเข้าเงอื่ นไขทุกข้อตอ่ ไปนี้ 1. มีไวเ้ พ่ือ ใช้ประโยชนใ์ นการผลิต ในการจาหน่ายสนิ ค้าหรือใหบ้ ริการ เพ่อื ใหเ้ ช่า หรือ เพื่อใชใ้ นการบริหารงาน 2. คาดวา่ จะใชป้ ระโยชนม์ ากกวา่ หนง่ึ รอบระยะเวลา

ตวั อยา่ งการแบง่ ประเภทท่ดี นิ อาคารและอปุ กรณ์ ได้แก่ 1) ทดี่ ิน 2) ทด่ี นิ และอาคาร 3) เครอ่ื งจกั ร 4) เรอื 5) เครอ่ื งบนิ 6) ยานพาหนะ 7) เคร่อื งตกแตง่ และตดิ ตง้ั 8) อปุ กรณ์สานกั งาน มลู ค่าคงเหลือ หมายถึง จานวนเงินโดยประมาณทก่ี จิ การคาดว่าจะได้รับในปัจจบุ ันจากการจาหนา่ ยสินทรพั ย์ หลังจากหักตน้ ทุนท่ีคาดวา่ จะเกิดขึน้ จากการจาหน่ายสินทรัพย์นั้น หากสนิ ทรัพยน์ ้นั มีอายุและสภาพทค่ี าดว่าจะ เปน็ ณ วนั สิน้ สดุ อายุการใช้ประโยชน์

3. อายกุ ารใช้ประโยชน์ หมายถงึ กรณใี ดกรณหี นึง่ ตอ่ ไปนี้ 1) ระยะเวลาท่กี จิ การคาดวา่ จะมีสินทรพั ย์ไว้ใช้ หรือ 2)จานวนผลผลติ หรอื จานวนหน่วยในลักษณะอน่ื ท่ีคลา้ ยคลึงกนั ซึง่ กิจการคาดวา่ จะได้รบั จาก สนิ ทรัพย์ กจิ การต้องเริม่ คดิ ค่าเสื่อมราคารายการทดี่ ิน อาคาร และอุปกรณเ์ ม่อื สนิ ทรัพย์นั้นพร้อมท่ีจะ ใช้งานและยังคงตอ้ งคิดคา่ เสอ่ื มราคาตอ่ ไปจนกวา่ กจิ การได้ตดั สนิ ทรพั ย์นนั้ ออกจากบญั ชแี ม้ว่ากจิ การ จะหยุดใชง้ านสนิ ทรัพยใ์ นรอบระยะเวลาดังกล่าว

วธิ กี ารคิดคา่ เส่อื มราคาตามมาตรฐานการบญั ชีดงั กล่าว กาหนดไวใ้ นขอ้ 60-62 ดงั น้ี

จากขอ้ มลู ข้างต้นสรปุ ไดว้ า่ วิธคี ดิ ค่าเส่อื มราคามีหลายวิธี เชน่ 1. วิธีเส้นตรง (Straight-line Method) วิธีน้ี มีผลทาให้ค่าเส่ือมราคามีจานวนคงท่ีตลอดอายุการใช้ ประโยชน์ของสินทรัพย์หากมลู ค่าคงเหลือของสนิ ทรพั ย์น้ันไมเ่ ปลยี่ นแปลง 2. วธิ ียอดคงเหลือลดลง (Diminishing Balance Method) วิธีนี้ มีผลทาให้ค่าเส่ือมราคาลดลงตลอด อายกุ ารใช้ประโยชน์ของสินทรัพย์ 3. วิธีจานวนผลผลิต (Units of Output Method) วิธีน้ี มีผลทาให้ค่าเส่ือมราคาข้ึนอยู่กับประโยชน์ หรือผลผลติ ที่คาดว่าจะไดร้ ับจากสินทรัพย์ กิจการต้องปันส่วนจานวนที่คิดค่าเส่ือมราคาของสินทรัพย์อย่างมีระบบตลอดอายุการใช้ ประโยชนข์ องสินทรพั ยแ์ ละตอ้ งทบทวนมลู คา่ คงเหลือและอายุการใช้ประโยชน์ของสนิ ทรพั ยอ์ ยา่ งน้อยที่สุด ทุกส้นิ รอบปบี ัญชี

คา่ เสื่อมราคา ถอื เปน็ คา่ ใชจ้ า่ ย ส่วนคา่ เสื่อมราคาสะสม ถือเปน็ รายการปรับมูลคา่ ของสนิ ทรพั ย์ ถอื เปน็ สนิ ทรพั ย์ไม่หมนุ เวียน หมายเหตุ: ถ้าไม่กาหนดอายกุ ารใช้ประโยชน์ อาจกาหนดเป็นอตั ราค่าเส่ือมราคาตอ่ ปี เช่น 10%,20%

ใหท้ า บนั ทกึ รายการปรบั ปรงุ ในสมุดรายวนั ท่ัวไป เดบิต คา่ เสอ่ื มราคา-อุปกรณ์สานักงาน 150,000 คา่ เส่อื มราคา-เครือ่ งจกั ร 2122,000 เครดติ คา่ เสื่อมราคาสะสม-อุปกรณส์ านกั งาน 50,000 122,000 ค่าเส่ือมราคาสะสม-เคร่อื งจกั ร



ใหท้ า บนั ทกึ รายการปรับปรงุ ในสมุดรายวนั ทว่ั ไป 24,000 เดบิต คา่ เสือ่ มราคา-เครื่องตกแตง่ 324,000 85,000 คา่ เสือ่ มราคา-อาคารโรงงาน 485,000 เครดิต คา่ เสื่อมราคาสะสม-เคร่อื งตกแตง่ คา่ เส่ือมราคาสะสม-อาคารโรงงาน





ใหท้ า บันทกึ รายการปรบั ปรงุ ในสมดุ รายวันท่วั ไป (ปี 25X1-25X3)

25X1 เดบิต คา่ เสือ่ มราคา-รถยกสนิ คา้ 51,000 ธ.ค. 31 เครดติ ค่าเสือ่ มราคาสะสม-รถยกสินค้า 51,000 25X2 ธ.ค. 31 เดบติ ค่าเสอ่ื มราคา-รถยกสนิ ค้า 45,900 25X3 เครดิต คา่ เสื่อมราคาสะสม-รถยกสินค้า 45,900 ธ.ค. 31 เดบิต คา่ เสือ่ มราคา-รถยกสนิ คา้ 41,310 เครดติ ค่าเสื่อมราคาสะสม-รถยกสินคา้ 41,310



ใหท้ า 1. คานวณค่าเส่อื มราคาเครอ่ื งจกั ร 2. บนั ทกึ รายการปรับปรงุ ในสมดุ รายวนั ท่วั ไปเฉพาะปี 25X1

7. หนสี้ งสัยจะสญู (Doubtful Accounts) ตามมาตรฐานการบัญชี ฉบับท่ี 101 เรื่อง หน้ีสงสัยจะสูญและหน้ีสูญ ได้ให้คานิยาม เกี่ยวกบั หนส้ี งสยั จะสญู ไว้ดังนี้ หน้ีสูญ (Bad Debt) หมายถึง ลูกหนี้ท่ีได้ติดตามทวงถามจนถึงท่ีสุดแล้ว แต่ไมได้รับ ชาระหนแ้ี ละได้ตดั จาหน่ายออกจากบัญชี หน้ีสงสัยจะสูญ (Doubtful Accounts) หมายถึง ลูกหนี้ท่ีคาดว่าจะเรียกเก็บเงินไม่ได้ และถือเปน็ ค่าใช้จ่ายของรอบระยะเวลาบญั ชีนั้น ค่าเผ่ือหน้ีสูญ หรือค่าเผื่อหน้ีสงสัยจะสูญ (Allowance for Doubtful Accounts) หมายถงึ จานวนเงนิ ที่กนั ไว้สาหรบั ลูกหนี้ที่คาดว่าจะเรียกเก็บไม่ได้ และถือเป็นบัญชีปรับมูลค่าท่ี ต้ังข้ึนเพื่อแสดงเป็นรายการหักจากบัญชีลูกหน้ีในงบการเงินเพื่อให้คงเหลือเป็นมูลค่าสุทธิของ ลกู หน้ีทีค่ าดหมายวา่ จะเก็บได้

ค่าเส่ือมราคา/หนว่ ย = ราคาทุนของสินทรัพย์ – มลู คา่ คงเหลอื ปริมาณผลผลิตท่ีคาดวา่ จะผลิตได้ทั้งหมด = 110,000 - 10,000 200,000 = 100,000 200,000 = 0.50 บาท คา่ เสอ่ื มราคาต่อปี = ปรมิ าณผลผลิตในแต่ละงวดบญั ชี X ค่าเสอ่ื มราคา/หนว่ ย คา่ เสื่อมราคาปี 25X1 = 40,000 X 0.50 = 20,000 บาท 25X1 ธ.ค. 31 เดบิต คา่ เสอ่ื มราคา-เครื่องจักร 20,000 เครดิต คา่ เสื่อมราคาสะสม-เครอื่ งจักร 20,000

การบันทึกลกู หนี้ที่เกบ็ เงนิ ไม่ไดม้ ีวิธีปฏิบัติ 2 วิธี คอื 1. วิธีตดั จาหน่ายโดยตรง (Direct Write - Off Method) วิธีนีจ้ ะบนั ทึกรายการเมือ่ เกดิ หน้ีสูญจรงิ โดย เดบิต หน้สี ูญ XX (ถือเป็นคา่ ใชจ้ ่าย) เครดติ ลูกหน้ี XX วิธีน้ีเป็นวิธีง่ายและสะดวกแต่ไม่เป็นที่ยอมรับเน่ืองจากไม่เป็นไปตามหลักทฤษฎีว่าด้วยการ เปรียบเทียบค่าใช้จา่ ยกับรายได้ของรอบระยะเวลาบญั ชี รวมทั้งมลู ค่าลูกหนท้ี ีแ่ สดงในงบแสดงฐานะการเงนิ มิได้ อยูใ่ นมลู ค่าทค่ี าดว่าจะได้รบั จริง 2. วิธีต้ังค่าเผื่อ (Allowance Method) วิธีนี้จะประมาณจานวนหน้ีที่คาดว่าจะเก็บไม่ได้โดยคานวณจาก ยอดขายหรอื ยอดลูกหนี้ โดย เดบิต หนส้ี งสยั จะสญู XX (ถอื เปน็ คา่ ใช้จา่ ย) เครดิต ค่าเผื่อหน้สี งสัยจะสูญ XX (ถอื เปน็ บัญชีปรบั มลู ค่าลกู หน)้ี วิธีนี้เป็นวิธีที่ถูกต้องตามหลักทฤษฎีว่าด้วยการเปรียบเทียบค่าใช้จ่ายกับรายได้ของรอบระยะเวลา บัญชี และบัญชีลูกหนี้ ณ วันส้ินรอบระยะเวลาบัญชี จะแสดงในงบแสดงฐานะการเงินในมูลค่าท่ีใกล้เคียงกับ ความเป็นจรงิ

วิธีการต้ังคา่ เผอ่ื หรือการประมาณหน้ีสงสัยจะสญู ท่นี ิยมใช้มีดงั น้ี 1. คานวณเป็นรอ้ ยละของยอดขาย วธิ ีนีก้ ิจการจะต้องวิเคราะหจ์ ากประสบการณท์ ผ่ี ่านมาเกยี่ วกบั จานวนลกู หนท้ี ีเ่ กบ็ ไม่ได้ เทยี บเป็นอตั ราส่วนกับยอดขาย คอื 1.1 คานวณเป็นรอ้ ยละของยอดขายรวม โดยถือว่าการขายเปน็ รายการทกี่ ่อใหเ้ กิดลูกหน้ี และอตั ราสว่ นของการขายสมั พนั ธ์กับจานวนหนี้ทเี่ ก็บไม่ได้ 1.2 คานวณเปน็ รอ้ ยละของยอดขายเชอ่ื โดยถอื ว่าการขายเชอ่ื สัมพนั ธ์โดยตรงกบั ลูกหนี้ สว่ นการขายเงนิ สดไม่ได้ก่อให้เกิดลกู หนี้แตอ่ ย่างใด 2. คานวณเป็นร้อยละของยอดลกู หนี้ โดยการวเิ คราะหจ์ ากประสบการณท์ ี่ผา่ น ๆ มา กิจการจะ สามารถประมาณอตั รารอ้ ยละของลูกหนท้ี ่ีคาดว่าจะเกบ็ ไมไ่ ด้ตอ่ ยอดลกู หนที้ คี่ งคา้ งอยู่ได้ดังน้ี 2.1 คานวณเป็นรอ้ ยละของยอดลูกหนโี้ ดยถือวา่ อัตราส่วนของจานวนหนส้ี งสัยจะสูญ สาหรับลูกหนท้ี ัง้ หมดจะคงที่

2. คานวณเป็นรอ้ ยละของยอดลกู หน้ี โดยการวิเคราะห์จากประสบการณท์ ่ผี า่ น ๆ มา กจิ การจะ สามารถประมาณอัตรารอ้ ยละของลูกหนี้ที่คาดว่าจะเกบ็ ไม่ไดต้ ่อยอดลูกหน้ีทีค่ งคา้ งอยู่ไดด้ งั นี้ 2.1 คานวณเป็นร้อยละของยอดลูกหนโ้ี ดยถือว่าอตั ราสว่ นของจานวนหนสี้ งสัยจะสูญ สาหรับลูกหน้ีทัง้ หมดจะคงที่ 2.2 คานวณโดยการจัดกล่มุ ลูกหนีจ้ าแนกตามอายุของหนที้ ค่ี ้างชาระ ลูกหนก้ี ลุ่มทคี่ ้าง ชาระนานจะนามาคานวณหาจานวนหน้สี งสัยจะสูญด้วยอตั ราร้อยละท่สี งู กว่าลูกหนี้ท่เี ริ่มค้างชาระเกนิ กาหนด โดยถอื ว่าลูกหนี้ทค่ี ้างชาระนานจะมโี อกาสไม่ชาระหนีม้ ากกว่าลกู หนี้ท่เี ร่มิ เกิดขึ้น 3. คานวณโดยพจิ ารณาลกู หนแี้ ตล่ ะราย และจะรวมเฉพาะรายทค่ี าดวา่ จะเรยี กเกบ็ ไมไ่ ด้เท่านั้นเป็น หน้สี งสยั จะสูญ วธิ ีนีอ้ าจจะกระทาไดย้ ากในทางธรุ กจิ ท่ีมลี ูกหน้จี านวนมากราย

ใหท้ า บนั ทกึ รายการปรับปรุงในสมุดรายวันท่ัวไป 3,500 เดบิต หนส้ี งสยั จะสูญ (350,000 X 1%) 3,500 เครดิต คา่ เผือ่ หน้ีสงสัยจะสูญ

ให้ทา บันทกึ รายการปรับปรุงในสมุดรายวนั ทัว่ ไป 3,225 เดบิต หนี้สงสยั จะสูญ 13,225 เครดิต ค่าเผื่อหนสี้ งสยั จะสูญ *มาจาก 88,500 X 5 % = 4,425 บาท หัก ค่าเผือ่ หนีส้ งสัยจะสูญคงเหลอื = 1,200 บาท 3,225 บาท

การแกไ้ ขขอ้ ผดิ พลาดทางบญั ชี การแกไ้ ขข้อผดิ พลาดทางบัญชี (Correction of Errors) ขอ้ ผิดพลาดทางบัญชี คือ ข้อผิดพลาดท่ีเกิดจากพนักงานบัญชีบันทึกบัญชีไม่ถูกต้อง ไม่ สมบูรณ์หรือลืมบันทึกบัญชี ทาให้ยอดคงเหลือในบัญชีแยกประเภททั่วไปแสดงยอดไม่ ถูกต้อง อันส่งผลให้งบการเงินแสดงยอดไม่ถูกต้องตรงกับความเป็นจริง ข้อผิดพลาดมี หลายประเภท ไดแ้ ก่

1. ขอ้ ผิดพลาดทถ่ี ูกบนั ทึกบัญชไี ว้แล้ว : - ข้อผิดพลาดทเี่ กิดจากการบนั ทกึ จานวนเงนิ ไม่ถกู ต้อง เช่น ซ้ือวตั ถดุ บิ 21,350 บาท เปน็ เงนิ สด บนั ทกึ บัญชีเป็น 21,530 บาท รับค่าขายวสั ดุโรงงานท่ีชารดุ 1,185 บาท บนั ทกึ บญั ชีเปน็ 1,158 บาท - ข้อผดิ พลาดท่ีเกดิ จากการบันทกึ บัญชผี ิด เช่น จา่ ยคา่ ขนสง่ วตั ถดุ ิบ บันทกึ บัญชีเปน็ จ่ายคา่ ขนสง่ ออก จ่ายเงินเดอื นหวั หนา้ คนงาน บนั ทกึ บัญชเี ป็นจ่ายเงนิ เดือนหัวหน้าพนกั งาน ขายสนิ คา้ เป็นเงนิ เช่ือ บันทึกบัญชเี ปน็ ขายสินค้าเปน็ เงินสด

2. ขอ้ ผิดพลาดทีย่ งั ไม่ไดบ้ นั ทกึ บัญชี : - ขอ้ ผดิ พลาดที่เกิดจากพนกั งานบญั ชลี ืมบันทึกบัญชี เชน่ หกั เงนิ สมทบกองทุนประกนั สังคมพนกั งานและคนงานจากเงนิ เดอื นไว้ ไมไ่ ดบ้ ันทึกบญั ชี ไดร้ ับใบแจ้งหน้ีคา่ ประกนั อคั คีภยั โรงงาน ยังไมไ่ ดบ้ ันทึกบัญชี ฝา่ ยผลติ เบกิ วตั ถุดบิ ทางอ้อมไปใช้ในการผลติ สนิ คา้ จดบนั ทกึ ความจาไว้ แตย่ ังไม่ไดบ้ นั ทกึ บัญชี - ข้อผดิ พลาดอืน่ ๆ หายอดคงเหลอื ในบญั ชีแยกประเภทท่วั ไปผิด ผ่านรายการจากสมดุ บนั ทึกรายการขนั้ ต้นไปบญั ชแี ยกประเภทไมค่ รบถว้ น นารายการจากบัญชีแยกประเภททัว่ ไป ไปแสดงในรายงานหรอื งบการเงนิ ไม่ครบถว้ น

การบันทึกรายการแกไ้ ขข้อผิดพลาด การบันทกึ รายการในสมุดรายวนั ทว่ั ไป แยกพิจารณาได้ดงั น้ี 1. กรณคี ้นพบข้อผดิ พลาดเมือ่ กิจการยงั ไม่ปิดบัญชี กรณนี ี้ใหบ้ นั ทกึ รายการแก้ไขขอ้ ผิดพลาดโดยบันทึก บัญชีทเ่ี ก่ียวข้องตามปกติ เชน่ ก. ซือ้ วตั ถุดิบราคา 20,000 บาท เปน็ เงนิ สด ผขู้ ายใหส้ ว่ นลดการค้า 5% บันทกึ จานวนเงนิ เปน็ 20,000 บาท (กจิ การใชว้ ธิ ี Perpetual Inventory Method) เดบติ เงินสด (20,000 X 5%) 1,000 เครดติ วัตถดุ บิ 1,000 ข. จา่ ยชาระหน้ใี ห้เจ้าหนก้ี ารค้าคา่ วตั ถดุ ิบจานวน 30,000 บาท เปน็ เชค็ บนั ทกึ รายการโดยมีสว่ นลดรับ 10% เนอ่ื งจากนับวันผดิ พลาด (กจิ การใช้วิธี Periodic Inventory Method) เดบติ ส่วนลดรับ (30,000 X 10%) 3,000 เครดติ เงินฝากธนาคาร 3,000

2. กรณคี น้ พบข้อผิดพลาดเม่อื กจิ การปิดบัญชีแลว้ กรณนี ้ใี ห้บนั ทกึ รายการแกไ้ ขขอ้ ผดิ พลาด โดยบนั ทกึ บัญชหี มวด 1 หมวด 2 และหมวด 3 (เฉพาะส่วนของเจา้ ของ) ตามปกติ แต่บัญชีหมวด 3 (เฉพาะถอนใช้ส่วนตัว) บญั ชีหมวด 4 และ หมวด 5 ซึง่ เปน็ บญั ชชี ว่ั คราว ให้บันทึกในบัญชีส่วนของเจา้ ของ/ บัญชกี าไรสะสม ดังน้ี ถ้าเปน็ กิจการเจา้ ของคนเดียว ให้บันทึกในบญั ชีทนุ -เจ้าของกจิ การ ถา้ เปน็ กจิ การห้างห้นุ สว่ น ให้บันทึกในบญั ชที ุน-ผเู้ ปน็ หุน้ สว่ นทกุ คนตามอตั ราสว่ นแบ่ง กาไรขาดทนุ หรือบัญชีกาไรสะสมทยี่ งั ไมไ่ ดแ้ บง่ ถ้าเป็นกิจการบรษิ ทั จากัด ให้บันทึกในบัญชกี าไรสะสม ก. กจิ การเจ้าของคนเดียวแห่งหนึ่งไดร้ ับแจ้งจากธนาคารวา่ ธนาคารหักคา่ ธรรมเนยี มจานวน 450 บาท และได้ หกั บญั ชีเงินฝากธนาคารเรยี บร้อยแลว้ กจิ การบันทกึ รายการเป็นจานวน 540 บาท เดบิต เงินฝากธนาคาร (540-450) 90 เครดิต ทุน-เจา้ ของกจิ การ 90

ข. หา้ งห้นุ ส่วน เอ บี จา่ ยค่าเช่าอาคารโรงงาน เปน็ เงนิ 35,000 บาท แตบ่ ันทึกรายการเปน็ ซ้ืออาคารโรงงาน เอ และ บี แบ่งกาไรขาดทุนกันในอตั รา 4 : 3 เดบิต ทุน-เอ (35,000 X 4/7) 20,000 ทุน-บี (35,000 X 3/7) 15,000 เครดติ อาคารโรงงาน 35,000 ค. บรษิ ัท สามสหาย จากัด จดทะเบยี นเข้าสูภ่ าษมี ูลคา่ เพ่ิม รบั ค่าขายสินค้าเป็นเงนิ 7,200 บาท ภาษมี ูลคา่ เพ่ิม 7% บนั ทึกรายการเป็นซ้อื วตั ถดุ บิ (กิจการโอนปิดบญั ชีภาษีซอ้ื และภาษีขายไปบัญชีภาษีมูลคา่ เพ่ิมแลว้ ) เดบิต เงินสด (7,704 + 7,704) 15,408 เครดติ กาไรสะสม (7,200 + 7,200) 14,400 ภาษมี ูลค่าเพิ่ม (504 + 504) 1,008