Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ใบความรู้เรื่องการคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา

ใบความรู้เรื่องการคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา

Published by changwong2520.p, 2021-05-28 14:24:11

Description: ใบความรู้เรื่องการคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา

Search

Read the Text Version

1 ใบความรู้ หน่วยที่ 3 วธิ ีคานวณภาษเี งนิ ได้บคุ คลธรรมดาและการกรอกแบบแสดงรายการ 1. วิธีการคานวณภาษีเงนิ ได้บุคคลธรรมดาส้นิ ปีจะตอ้ งทาอยา่ งไร? โดยท่ัวไปผู้มีเงินได้ต้องนำเงินได้พึงประเมินทุกประเภทของตน ตลอดปีภำษี (ไม่รวมเงินได้ที่กฎหมำยยกเว้น ภำษี หรือทีไ่ ม่ต้องเสยี ภำษ)ี ไปคำนวณภำษเี งินได้บคุ คลธรรมดำสิน้ ปี เพื่อยื่นแบบแสดงรำยกำรและชำระภำษี ภำยในเดอื นมีนำคมของปถี ดั จำกปที ่มี ีเงนิ ได้ กำรคำนวณภำษีใหท้ ำเป็น 3 ขน้ั คือ ข้ันทห่ี นง่ึ คำนวณหำจำนวนภำษีตำม วธิ ที ี่ 1 กำรคำนวณภำษีตำมวธิ ที ่ี 1 เงินไดพ้ งึ ประเมินทุกประเภทรวมกันตลอดปภี ำษี xxxx (1) หกั คำ่ ใช้จำ่ ยตำมทก่ี ฎหมำยกำหนด xxxx (2) (1)-(2) เหลือเงินไดห้ ลงั จำกหักค่ำใชจ้ ำ่ ย xxxx (3) หัก คำ่ ลดหย่อนต่ำง ๆ (ไม่รวมคำ่ ลดหยอ่ นเงนิ บรจิ ำค) ตำมทกี่ ฎหมำยกำหนด xxxx (4) (3)-(4) เหลือเงินได้หลังจำกหกั ค่ำลดหยอ่ นต่ำง ๆ xxxx (5) หัก คำ่ ลดหยอ่ นเงนิ บริจำค ไม่เกนิ จำนวนที่กฎหมำยกำหนด xxxx (6) (5-6) เหลอื เงินไดส้ ทุ ธิ xxxx (7) นำเงนิ ได้สทุ ธติ ำม (7) ไปคำนวณภำษตี ำมอตั รำภำษีเงนิ ไดบ้ คุ คลธรรมดำ จำนวนภำษตี ำมกำรคำนวณภำษีวธิ ที ี่ 1 xxxx (8) ขั้นทส่ี อง ให้พจิ ำรณำว่ำจะตอ้ งคำนวณภำษตี ำม วิธีท่ี 2หรอื ไม่ ถ้ำเขำ้ เงื่อนไขทีจ่ ะต้องคำนวณภำษีตำมวิธีท่ี 2 จงึ คำนวณภำษตี ำมวิธีที่ 2 อกี วิธีหนึ่ง กรณีที่ต้องคำนวณภำษีตำมวิธีที่ 2 ได้แก่ กรณีท่ีเงินได้พึงประเมินทุกประเภทในปีภำษี แต่ไม่รวม เงินได้พึง ประเมินตำมประเภทที่ 1 มจี ำนวนรวมกนั ตั้งแต่ 60,000 บำทขึ้นไป กำรคำนวณภำษตี ำมวิธที ่ี 2 นี้ ให้คำนวณ ในอตั รำร้อยละ 0.5 ของยอดเงินไดพ้ งึ ประเมนิ (= เงินได้พงึ ประเมินทุกประเภทลบเงินได้พึงประเมนิ ประเภทท่ี 1 คูณดว้ ย 0.005) ดังกลำ่ วนั้น (9) สรุปภำษีทค่ี ำนวณไดต้ ำมวิธที ี่ 2 xxxx (10) ข้ันทีส่ ำม สรปุ จำนวนภำษที ต่ี อ้ งเสยี ภำษี กำหนดให้ (10) คือ จำนวนภำษที ่ีคำนวณได้ตำมวธิ ีท่ี 2 กำรคำนวณภำษี จำนวนภำษีเงนิ ได้สิน้ ปีทตี่ ้องเสีย เทยี บ (8) และ (10) จำนวนทส่ี งู กวำ่ xxxx (11) หัก ภำษีที่ถูกหัก ณ ที่จำ่ ยแลว้ xx ภำษเี งนิ ไดค้ รึ่งปีทชี่ ำระไวแ้ ล้ว xx ภำษีเงินไดช้ ำระล่วงหนำ้ xx เครดิตภำษเี งินปนั ผล xx xxxx (12) (11-12) เหลือ ภำษเี งินไดท้ ตี่ ้องเสยี (หรือทเ่ี สยี ไว้เกินขอคืนได)้ xxxx

2 2. เงินไดพ้ งึ ประเมนิ แต่ละกรณีจะคานวณหกั ค่าใชจ้ ่ายไดเ้ ท่าใด? 1. เงนิ ได้พึงประเมินประเภทที่ 1 และ 2 ในกำรคำนวณภำษีเงินได้บคุ คลธรรมดำกฎหมำยให้หัก คำ่ ใชจ้ ำ่ ย เป็นกำรเหมำ ได้ตำมเง่ือนไขท่ีกำหนด ดังนี้ (1) ผู้มีเงินได้สำมำรถหักค่ำใช้จ่ำยเป็นกำรเหมำได้ร้อยละ 40 ของเงินได้แต่รวมกันแล้วต้อง ไม่เกิน 60,000 บำท (2) ในกรณีสำมีภริยำ ต่ำงฝ่ำยต่ำงมเี งินได้ และควำมเปน็ สำมีภรยิ ำไดม้ ีอยู่ตลอดปีภำษี ให้ต่ำงฝำ่ ยตำ่ ง หกั คำ่ ใช้จำ่ ยไดร้ อ้ ยละ 40 แตไ่ มเ่ กนิ ฝ่ำยละ 60,000 บำท 2.เงนิ ท่ีนำยจ้ำงจ่ำยใหค้ รัง้ เดียวเพรำะเหตุออกจำกงำน ตำมหลักเกณฑว์ ิธีกำรและเงอ่ื นไขท่อี ธิบดกี ำหนด ในประกำศอธบิ ดีฯ (ฉบับที่ 45) ให้คำนวณภำษีตำมเกณฑ์ในมำตรำ 48(5) แห่งประมวลรัษฎำกร เป็น เงินภำษี ท้ังส้ินเท่ำใด ให้หักภำษี ณ ที่จ่ำยไว้เท่ำน้ัน กำรคำนวณตำมเกณฑ์ในมำตรำ 48(5) แห่งประมวลรัษฎำกร มี หลกั เกณฑด์ ังนี้ 3. เงนิ ไดพ้ ึงประเมินประเภทที่ 3 ในกำรคำนวณภำษีเงินได้บุคคลธรรมดำกฎหมำยยอมให้หักค่ำ ใชจ้ ่ำยได้ เฉพำะเงินไดท้ ่ีเป็นคำ่ แห่งลขิ สิทธ์ิ โดยให้หักเปน็ กำรเหมำไดร้ ้อยละ 40 ของค่ำแห่งลิขสิทธิ์แต่ไม่เกิน 60,000 บำท สำหรับค่ำแห่งกู๊ดวิลล์ หรือสิทธิอย่ำงอื่น เงินปี หรือเงินได้ที่มีลักษณะเป็นเงินรำยปีอันได้มำจำก พินัยกรรม นิติกรรมอย่ำงอื่น หรือคำพิพำกษำของศำล ไม่ยอมให้หักค่ำใช้จ่ำยใด ๆ ทั้งส้ินในกรณีสำมีและ ภริยำตำ่ งฝ่ำยต่ำงมเี งินไดป้ ระเภทนี้ และควำมเป็นสำมีภริยำไดม้ อี ยู่ตลอดปภี ำษี ใหต้ ่ำงฝ่ำยต่ำงหักค่ำใช้จ่ำยได้ ตำมเกณฑเ์ ดยี วกนั 4. เงินได้พึงประเมินประเภทที่ 4 ในกำรคำนวณภำษีเงินได้บุคคลธรรมดำ กฎหมำยไม่ยอมให้หัก ค่าใชจ้ ่ายใดๆ ทงั้ สน้ิ 5. เงนิ ไดพ้ ึงประเมินประเภทท่ี 5 ในกำรคำนวณภำษีเงินได้บคุ คลธรรมดำ กฎหมำยใหห้ ักค่ำใช้จ่ำยได้ ดงั นี้ คือ (5.1) กำรให้เชำ่ ทรพั ยส์ ิน ผูม้ ีเงินไดม้ สี ทิ ธเิ ลือกหกั คำ่ ใช้จำ่ ยวธิ ใี ดวธิ ีหนึ่งดังน้ี ก. หกั ตำมควำมจำเปน็ และสมควรหรอื ข. หักเป็นกำรเหมำในอตั รำทกี่ ำหนด 1) ถ้ำเป็นบ้ำน โรงเรือน สิ่งปลูกสร้ำงอย่ำงอื่น หรือแพ ในกรณีเจ้ำของเป็นผู้ให้เช่ำ ให้หัก ค่ำใช้จ่ำยได้ร้อยละ 30 ยกเว้นในกรณีให้เช่ำช่วงให้หักค่ำใช้จ่ำยเฉพำะค่ำเช่ำที่เสียให้แก่ผู้ให้เช่ำเดิม หรอื ผใู้ ห้ เช่ำช่วง แลว้ แต่กรณี 2) ทีด่ ินท่ีใช้ในกำรเกษตรกรรม ในกรณเี จ้ำของเป็นผใู้ ห้เช่ำ ให้หักค่ำใช้จ่ำยได้ร้อยละ 20 ใน กรณใี ห้เช่ำชว่ งให้หกั ค่ำใชจ้ ำ่ ยเฉพำะค่ำเช่ำท่ีเสียให้แก่ผใู้ หเ้ ช่ำเดิม หรอื ผู้ใหเ้ ช่ำชว่ งแล้วแต่กรณี 3) ท่ีดินท่ีมิได้ใช้ในกำรเกษตรกรรม ในกรณีที่เจ้ำของเป็นผู้ใหเ้ ช่ำหักค่ำใช้จ่ำยได้ร้อยละ 15 ในกรณีให้เชำ่ ชว่ งให้หกั คำ่ ใช้จ่ำยไดเ้ ฉพำะคำ่ เช่ำทเี่ สียให้ แกผ่ ู้ใหเ้ ชำ่ เดมิ หรอื ผ้ใู หเ้ ชำ่ ชว่ งแลว้ แตก่ รณี 4) ยำนพำหนะ ในกรณีเจ้ำของเป็นผู้ให้เช่ำให้หักค่ำใช้จ่ำยได้ร้อยละ 30 ในกรณี ให้เช่ำช่วง ใหห้ ักค่ำใชจ้ ่ำยเฉพำะคำ่ เชำ่ ท่เี สยี ใหแ้ กผ่ ู้ใหเ้ ช่ำเดิม หรือผใู้ ห้เชำ่ ชว่ งแลว้ แต่กรณี 5) ทรัพย์สนิ อยำ่ งอ่ืน ในกรณีเจ้ำของเป็นผู้ให้เช่ำให้หักคำ่ ใช้จ่ำยได้ร้อยละ 10 ในกรณใี ห้เช่ำ ชว่ งให้หกั ค่ำใช้จำ่ ยเฉพำะคำ่ เชำ่ ท่เี สยี ใหแ้ กผ่ ู้ให้เช่ำเดิม หรือผู้ใหเ้ ชำ่ ช่วงแล้วแต่กรณี กรณีผูใ้ ห้เช่ำทรัพย์สิน เรียกเก็บเงนิ กินเปลำ่ เงินแป๊ะเจี๊ยะ เงินค่ำปลูกสร้ำง หรือเงินคำ่ ซ่อมแซม อีก สว่ นหน่ึงนอกเหนือจำกค่ำเช่ำ หรือไดร้ ับประโยชน์อื่น เช่น ได้กรรมสิทธิ์ในอำคำรหรือโรงเรือนท่ีผู้เช่ำทำกำร

3 ก่อสร้ำงลงบนท่ีดินของผู้ให้เช่ำแล้วยกให้ เงินหรือกรรมสิทธิ์ในอำคำรหรือโรงเรือนเป็นเงินได้พึงประเมิน เน่ืองจำกกำรใหเ้ ช่ำทรพั ยส์ นิ ของผูใ้ ห้เชำ่ กรณีที่เจ้ำของท่ีดินทำสัญญำให้ผู้อื่นทำกำรปลูกสร้ำงอำคำรหรือโรงเรือนท่ีดินของตน โดย ผู้ปลูก สร้ำงยกกรรมสิทธ์ิในอำคำรหรือโรงเรือนทป่ี ลูกสร้ำงนั้นใหแ้ ก่เจ้ำของทดี่ ินเม่ือสร้ำงเสร็จ และเจำ้ ของท่ีดินตก ลงให้ผูป้ ลูกสร้ำงเช่ำหรือใหเ้ ช่ำชว่ งอำคำรหรือโรงเรอื น หรือตกลงให้ผู้สร้ำงจดั หำผ้เู ชำ่ อำคำรหรือโรงเรือนน้ัน โดยตรงจำกเจำ้ ของที่ดินเป็นกำรตอบแทนภำยในระยะเวลำที่กำหนด ให้คำนวณคำ่ แห่งอำคำรหรือโรงเรอื นน้ัน เป็นเงินได้พึงประเมินของเจ้ำของท่ีดินตำม จำนวนปีแห่งอำยุกำรเช่ำใน อัตรำร้อยละของมูลค่ำอำคำร หรือ โรงเรอื นในวนั ที่ได้รับกรรมสิทธ์ิ (5.2) กำรผิดสัญญำเช่ำซ้ือทรัพย์สิน กฎหมำยยอมให้ผู้มีเงินได้หักค่ำใช้จ่ำยเป็นกำรเหมำ ได้ร้อยละ 20 วธิ เี ดียว (5.3) กำรผิดสัญญำซื้อขำยเงินผ่อน ซ่ึงผู้ขำยได้รับคืนทรัพย์สินที่ซ้ือขำยน้ันโดยไม่ต้องคืนเงินหรือ ประโยชนท์ ่ีไดร้ บั ไวแ้ ล้ว กฎหมำยยอมใหห้ กั คำ่ ใช้จำ่ ยเป็นกำรเหมำไดร้ อ้ ยละ 20 วิธีเดยี ว 6. เงินได้พึงประเมินประเภทท่ี 6 ในกำรคำนวณภำษีเงินได้บุคคลธรรมดำ กฎหมำยยอมให้เลือกหัก ค่ำใช้จำ่ ยวิธใี ดวิธีหน่งึ ดังน้ี - ให้หกั ตำมควำมจำเป็นและสมควรหรือ - ใหห้ ักเปน็ กำรเหมำดงั ตอ่ ไปน้ี - เงนิ ไดจ้ ำกกำรประกอบวิชำชีพอิสระ กำรประกอบโรคศลิ ป ใหห้ กั ค่ำใชจ้ ำ่ ยร้อยละ 60 - เงินได้จำกกำรประกอบวชิ ำชีพอสิ ระนอกจำก 1) หกั คำ่ ใช้จำ่ ยได้รอ้ ยละ 30 7. เงินได้พึงประเมินประเภทท่ี 7 ในกำรคำนวณภำษีเงินได้บุคคลธรรมดำ กฎหมำยยอมให้หักค่ำ ใชจ้ ่ำย วิธีใดวิธหี นึง่ ดงั น้ี - หกั ตำมควำมจำเปน็ และสมควร หรอื - หักเป็นกำรเหมำในอัตรำรอ้ ยละ 70 8. เงินได้พึงประเมินประเภทที่ 8 ในกำรคำนวณภำษีเงินได้บุคคลธรรมดำ กฎหมำยยอมให้เลือกหัก ค่ำใชจ้ ่ำยวิธีใดวิธหี นึง่ ดังนี้ - หกั ตำมควำมจำเป็นและสมควร หรอื - หกั เป็นกำรเหมำในอัตรำรอ้ ยละตำมทกี่ ฎหมำยกำหนด 10. ผูม้ ีเงินไดม้ สี ิทธิหักลดหยอ่ นอะไรไดบ้ ำ้ ง? กำรหักลดหย่อน หมำยถึง รำยกำรตำ่ งๆ ที่กฎหมำยไดก้ ำหนดใหห้ กั ได้เพมิ่ ขึ้นหลังจำกไดห้ ักค่ำใช้จ่ำยแล้ว เพ่ือ เป็นกำรบรรเทำภำระภำษใี ห้แก่ผู้เสยี ภำษีก่อนนำเงินได้ท่ีเหลือซ่ึงเรียกว่ำเงินได้สุทธิไปคำนวณภำษีตำมบัญชี อตั รำภำษเี งนิ ได้บุคคลธรรมดำ รำยกำรหกั ลดหยอ่ นกรณตี ่ำง ๆ มีดงั ตอ่ ไปน้ี 1. กำรหกั ลดหย่อนบุคคลธรรมดำ (1) ผ้มู เี งินได้ 30,000 บำท (ไม่วำ่ จะอยใู่ นประเทศไทยถงึ 180 วัน หรือไมก่ ต็ ำม) (2) สำมีหรือภรยิ ำของผู้มเี งินได้ 30,000 บำท (2.1) สำมีหรือภริยำของผู้มีเงินได้ท่ีมีสิทธิหักลดหย่อน จะต้องเป็นสำมีหรือภริยำชอบด้วย กฎหมำย กำรสมรสไม่ครบปีภำษีก็มีสิทธิหักลดหย่อนได้ เช่น จดทะเบียนสมรสระหว่ำงปีภำษี หรือตำยใน ระหว่ำงปภี ำษีก็มสี ทิ ธิหกั ลดหย่อนได้ 30,000 บำท (2.2) สำมีหรือภรยิ ำของผู้มีเงินไดท้ ่ีจะนำมำหกั ลดหย่อนจะต้องไม่มีเงินไดพ้ ึงประเมินหรือมี แต่ไม่ได้แยกคำนวณภำษี ตัวอย่ำง สำมีภริยำแต่งงำนครบปีภำษีและต่ำงฝ่ำยต่ำงมีเงินได้ประเภทท่ี 1 กรณี

4 ดงั กล่ำว ภรยิ ำสำมำรถแยกคำนวณภำษีตำ่ งหำกจำกสำมไี ด้โดยชอบ ทั้งสำมีภริยำจึงไม่มีสิทธนิ ำคู่สมรสมำหัก ลดหย่อนได้ แตห่ ำกสำมีหรอื ภริยำเลือกนำเงินไดท้ ั้งหมดของคสู่ มรสอีกฝ่ำยหนงึ่ มำรวมคำนวณ สำมหี รอื ภรยิ ำ ย่อมมีสิทธนิ ำค่สู มรสนนั้ มำหักลดหย่อนได้ (3) บุตรให้หักสำหรับบุตรชอบด้วยกฎหมำยหรือบุตรบุญธรรมของผู้มีเงินได้ รวมทั้งบุตรชอบด้วย กฎหมำยของสำมหี รอื ภรยิ ำของผ้มู ีเงนิ ได้ด้วย โดยมเี ง่อื นไขวำ่ (ก) บุตรท่ีเกิดก่อนหรือใน พ.ศ. 2522 หรอื ทีไ่ ด้รบั เปน็ บตุ รบุญธรรม กอ่ น พ.ศ. 2522 คนละ 15,000 บำท (หักลดหยอ่ นได้ โดยไมจ่ ำกดั จำนวน) (ข) บุตรท่เี กิดหลัง พ.ศ. 2522 หรอื ท่ีได้รับเปน็ บุตรบุญธรรมในหรือหลัง พ.ศ. 2522 คนละ 15,000 บำท กรณีบตุ รตำม (ก) ไมถ่ ึง 3 คน ใหน้ ำบตุ รตำม (ข) มำหักได้อกี แตร่ วมกนั แลว้ ตอ้ งไม่เกนิ 3 คน กำรนับจำนวนบุตรให้นับเฉพำะบุตรทม่ี ีชีวิตอยตู่ ำมลำดบั อำยสุ ูงสุดของบุตร โดยให้นบั รวมท้ังบุตร ที่ ไมอ่ ย่ใู นเกณฑไ์ ดร้ ับกำรหักลดหยอ่ นดว้ ย กำรหักลดหย่อนสำหรับบุตรให้หักได้เฉพำะบุตรซ่ึงมีอำยุไม่เกิน 25 ปี และยังศึกษำอยู่ใน มหำวิทยำลัยหรือช้ันอุดมศึกษำเฉพำะภำยในประเทศให้ลดหย่อนเพื่อกำรศึกษำได้อกี คนละ 2,000 บำท หรือ เปน็ ผเู้ ยำว์ หรือศำลสั่งให้เป็นคนไรค้ วำมสำมำรถ หรอื เสมือนไร้ควำมสำมำรถอันอยู่ในควำมอุปกำระเลย้ี งดู แต่ มิให้หกั ลดหยอ่ นสำหรับบุตรดังกล่ำวท่ีมเี งนิ ไดพ้ ึงประเมินในปภี ำษีทล่ี ว่ งมำแลว้ ตัง้ แต่ 15,000 บำทข้ึนไป โดย เงินไดด้ งั กลำ่ วตอ้ งไมใ่ ชเ่ งินไดท้ ี่ได้รบั ยกเว้นภำษเี งินได้ กำรหักลดหย่อนสำหรับบุตรดงั กล่ำว ใหห้ ักได้ ตลอดปีภำษี ไมว่ ำ่ กรณจี ะหักได้นน้ั จะมอี ยู่ตลอดปภี ำษี หรือไม่ และในกรณบี ตุ รบญุ ธรรมนน้ั ให้หกั ลดหยอ่ นในฐำนะบุตรบุญธรรมไดใ้ นฐำนะเดียว (4) ค่ำอุปกำระเลี้ยงดูบิดำมำรดำของผู้มีเงินได้ สำมำรถหกั ลดหย่อนไดค้ นละ 30,000 บำท และหัก ลดหย่อนบิดำมำรดำของคู่สมรสท่ีไม่มีเงินได้อีกคนละ 30,000 บำท โดยบิดำมำรดำต้องมีอำยุ 60 ปีข้ึนไปมี รำยได้ในปีภำษีท่ีขอหักลดหย่อนไม่เกิน 30,000 บำทต่อปี อยู่ในควำมอุปกำระเลี้ยงดูของผู้มีเงินได้และบิดำ มำรดำของผู้มีเงินได้หรือคู่สมรสจะต้องออกหนงั สือรับรองว่ำบุตรคนใดคนหนึ่งเป็นผู้อุปกำระเลี้ยงดูเพียงคน เดยี ว (บตุ รบุญธรรมไมม่ ีสทิ ธิหักลดหย่อน) (5) ค่ำอุปกำระเลี้ยงดูคนพิกำรหรือคนทุพพลภำพ สำมำรถนำมำหักลดหย่อนได้คนละ 60,000 บำท โดยคนพิกำรหรอื คนทุพพลภำพนนั้ ต้องไม่มเี งินได้พึงประเมินในปีภำษีท่ีใช้สิทธหิ ักลดหย่อนเกิน 30,000 บำท และเงนิ ไดด้ ังกล่ำวตอ้ งไมใ่ ช่เงนิ ได้ที่ได้รับยกเว้นภำษเี งินได้ (5.1) ผู้มีเงินได้ต้องเป็นผู้ดูแลตำมกฎหมำยว่ำด้วยกำรส่งเสริมและพัฒนำคุณภำพชีวิตคน พกิ ำร โดยมีชอื่ เป็นผดู้ ูแลคนพกิ ำรในบัตรประจำตัวคนพิกำร หรือ (5.2) ผู้มีเงินได้ต้องมีเอกสำรมำแสดงเพือ่ ขอใช้สิทธหิ ักลดหยอ่ นคนทุพพลภำพ คอื ใบรับรอง แพทย์และหนงั สอื รบั รองกำรเป็นผูอ้ ุปกำระเลยี้ งดคู นทพุ พลภำพ (6) คำ่ เบ้ียประกันสุขภำพบิดำมำรดำของผู้มีเงินได้และค่สู มรส สำมำรถหกั ลดหย่อนได้ตำมที่จ่ำยจริง แต่ไมเ่ กิน 15,000 บำท บิดำมำรดำต้องไมม่ ีเงินได้พึงประเมินในปีภำษีท่ีขอหักลดหย่อนเกิน 30,000 บำทข้ึน ไป (7) คำ่ เบี้ยประกนั ชีวติ (7.1) ค่ำเบ้ียประกันชีวิต สำมำรถหักลดหย่อนและยกเว้นได้ตำมท่ีจ่ำยจริง แต่ไม่เกิน 100,000 บำท และของคู่สมรสทีไ่ มม่ ีเงนิ ได้ สำมำรถหกั ลดหย่อนไดต้ ำมท่ีจ่ำยจริง แต่ไมเ่ กิน 10,000 บำท (ค่ำ

5 เบย้ี ประกนั ชีวติ ต้องมีควำมคมุ้ ครองตัง้ แต่ 10 ปขี นึ้ ไป และผลประโยชนต์ อบแทนคืนไม่เกนิ รอ้ ยละ 20 ของเบ้ีย ประกนั ชีวิตรำยปี แต่ค่ำเบ้ียประกนั ควำมคมุ้ ครองอ่ืน เชน่ คมุ้ ครองสุขภำพ หรือคุ้มครองอุบัติเหตุไม่สำมำรถ หักลดหย่อนได)้ (7.2) คำ่ เบย้ี ประกันชีวติ แบบบำนำญของผมู้ เี งนิ ได้หกั ลดหยอ่ นได้ในอัตรำร้อยละ 15 ของเงิน ได้ท่ีนำมำเสียภำษีเงินได้ในแต่ละปี แต่ไม่เกิน 200,000 บำท (เป็นค่ำเบ้ียประกันชีวิตแบบบำนำญ ควำม คมุ้ ครองตั้งแต่ 10 ปีขึ้นไป และจ่ำยผลประโยชน์เงินบำนำญเมื่อผู้มีเงินได้อำยุตั้งแต่ 55 ปีขน้ึ ไปถึงอำยุ 85 ปี หรือกว่ำนั้น และเมื่อรวมกับเงินสะสมเข้ำกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ + เงินสะสมเข้ำกองทุนบำเหน็จบำนำญ ข้ำรำชกำร + เงินสะสมเข้ำกองทุนสงเครำะห์ตำมกฎหมำยว่ำด้วยโรงเรียนเอกชน + เงินที่ซื้อหน่วยลงทุนใน กองทุนรวมเพ่ือกำรเลย้ี งชีพ + เงินสะสมเขำ้ กองทนุ กำรออมแห่งชำติ ตอ้ งไมเ่ กิน 500,000 บำท) (8) เงินสะสมท่ีจ่ำยเข้ำกองทุนสำรองเล้ียงชีพ สำมำรถหักลดหย่อนได้ตำมที่จ่ำยจริง แต่ไม่เกิน 10,000 บำท (ส่วนที่เกิน 10,000 บำท แต่ไม่เกิน 490,000 บำท ซึ่งไม่เกินร้อยละ 15 ของค่ำจ้ำง ให้หักจำก เงินได)้ (9) เงนิ สะสมทจ่ี ่ำยเข้ำกองทนุ บำเหนจ็ บำนำญข้ำรำชกำรหรือกองทุนสงเครำะห์ ตำมกฎหมำยว่ำดว้ ย โรงเรียนเอกชน สมำชิกที่จ่ำยเงินสมทบเข้ำกองทุนสำมำรถนำไปหักลดหย่อนได้ตำมที่จ่ำยจริง แต่ไม่เกิน 500,000 บำท (ใหน้ ำไปหกั จำกเงินได้) (10) คำ่ ซื้อหน่วยลงทุนในกองทุนรวมเพ่ือกำรเล้ียงชีพ (RMF) สำมำรถหักลดหย่อนได้ตำมท่ีจ่ำยจริง แต่ไม่เกินร้อยละ 15 ของเงินได้พึงประเมินท่ีได้รับซึ่งต้องเสียภำษีเงินได้ในปีภำษีนั้น (และเมื่อรวมกับเบี้ย ประกันชีวิตแบบบำนำญ + เงินสะสมเข้ำกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ + เงินสะสมเข้ำกองทุนบำเหน็จบำนำญ ข้ำรำชกำร + เงินสะสมเข้ำกองทุนสงเครำะห์ตำมกฎหมำยว่ำด้วยโรงเรยี นเอกชน + เงินสะสมเข้ำกองทนุ กำร ออมแหง่ ชำติแลว้ ต้องไมเ่ กิน 500,000 บำท) (11) ค่ำซื้อหน่วยลงทุนในกองทุนรวมหุ้นระยะยำว (LTF) ตำมกฎหมำยว่ำด้วยหลักทรัพย์และตลำด หลักทรัพย์ ระหวำ่ งวนั ที่ 1 มกรำคม พ.ศ. 2559 ถงึ วนั ท่ี 31 ธนั วำคม พ.ศ. 2562 ไมเ่ กนิ ร้อยละ 15 ของเงนิ ได้ พึงประเมินที่ได้รบั ซ่ึงต้องเสียภำษเี งินได้ในปีนั้น แต่ไม่เกนิ 500,000 บำท และต้องถือหน่วยลงทุนในกองทุน รวมระยะยำวต่อเน่ืองกันไม่น้อยกว่ำ 7 ปีปฏิทิน แต่ไมร่ วมถึงกรณีผู้มีเงินได้ไถ่ถอนหน่วยลงทนุ รวมหุ้นระยะ ยำว เพรำะทุพพลภำพหรือตำย (ดูประกำศอธบิ ดีกรมสรรพำกร เกีย่ วกับภำษีเงินได้ (ฉบบั ท่ี 276) ) (12) ค่ำดอกเบี้ยเงินกู้ยืมเพ่ือท่ีอยู่อำศัย ให้ได้รับลดหย่อนและยกเว้นได้ตำมท่ีจ่ำยจริง แต่รวมกันไม่ เกนิ 100,000 บำท (13) เงินสมทบกองทุนประกันสังคม หักลดหย่อนได้ตำมที่จ่ำยจริง ตำมกฎหมำยว่ำด้วยกำร ประกนั สังคม (14) เงินสะสมท่ีสมำชิกจ่ำยเข้ำกองทุนกำรออมแห่งชำติ ตำมกฎหมำยว่ำด้วยกองทุนกำรออม แห่งชำติ สำมำรถนำไปหักลดหย่อนได้ตำมจำนวนท่ีจ่ำยจริง แต่ไม่เกิน 500,000 บำท (และเมื่อรวมกับเบ้ีย ประกันชีวิตแบบบำนำญ + เงินสะสมเข้ำกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ + เงินสะสมเข้ำกองทุนบำเหน็จบำนำญ ขำ้ รำชกำร + เงินสะสมเข้ำกองทุนสงเครำะห์ตำมกฎหมำยวำ่ ด้วยโรงเรียนเอกชน + เงินที่ซ้ือหน่วยลงทุนใน กองทนุ รวมเพือ่ กำรเลีย้ งชีพแล้วตอ้ งไม่เกนิ 500,000 บำท) (15) คำ่ เดินทำงทอ่ งเท่ยี วภำยในประเทศ

6 (15.1) คำ่ เดินทำงท่องเที่ยวภำยในประเทศ สำหรับค่ำบริกำรหรือค่ำที่พัก ในกำรท่องเที่ยว ภำยในประเทศ ตั้งแต่วันที่ 1 มกรำคม พ.ศ. 2559 ถึงวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559 (ดูประกำศอธิบดี กรมสรรพำกร เกี่ยวกบั เงินได้ (ฉบับที่ 273)) ดงั น้ี - ค่ำบริกำรนำเที่ยว และมัคคเุ ทศก์ (ค่ำแพก็ เกจทัวร์) ให้กบั ผู้ประกอบกำรธุรกิจนำ เทย่ี วตำมกฎหมำย วำ่ ดว้ ยธุรกจิ นำเท่ยี วและมัคคเุ ทศก์ - ค่ำท่พี ักในโรงแรมใหก้ บั ผู้ประกอบธรุ กจิ โรงแรมตำมกฎหมำยวำ่ ดว้ ยโรงแรม (15.2) คำ่ ใช้จำ่ ยกนิ เท่ียวชว่ งเทศกำลสงกรำนต์ ระหว่ำงวันท่ี 9 เมษำยน พ.ศ. 2559 ถึงวันที่ 17 เมษำยน พ.ศ.2559 สำมำรถหักลดหย่อนได้ตำมท่ีจ่ำยจรงิ แต่ไม่เกิน 15,000 บำท ท้ังนี้ ต้องเป็นกำรจ่ำย ให้แก่ผู้ประกอบกำรภำษีมูลค่ำเพ่ิมและได้รับใบกำกับภำษีในช่วงระยะเวลำดังกล่ำว (ดูประกำศอธิบดี กรมสรรพำกร เกยี่ วกับเงนิ ได้ (ฉบบั ท่ี 268)) ดังนี้ - ค่ำอำหำรและเคร่ืองด่ืม (ไม่รวมเคร่อื งดมื่ แอลกอฮอล)์ จำกร้ำนอำหำร ภตั ตำคำร หรอื ผปู้ ระกอบกำรธรุ กจิ โรงแรมท่ไี ดร้ ับใบอนุญำตตำมกฎหมำยวำ่ ดว้ ยโรงแรม - ค่ำบริกำรธุรกิจนำเท่ียว และมัคคุเทศก์ (ค่ำแพ็คเกจทัวร์) ให้กับผู้ประกอบกำร ธรุ กจิ นำเที่ยวทไ่ี ด้รบั อนุญำตตำมกฎหมำยว่ำดว้ ยธุรกจิ นำเทีย่ วและมัคคเุ ทศก์ - ค่ำที่พักโรงแรม ให้กับผู้ประกอบกำรโรงแรมตำมกฎหมำย ว่ำด้วยโรงแรม พระรำชบัญญตั ิโรงแรมกระทรวงมหำดไทย (15.3) ค่ำท่องเทยี่ วภำยในประเทศ ระหว่ำงวันที่ 1 ธนั วำคม พ.ศ. 2559 ถึงวนั ที่ 31 ธนั วำคม พ.ศ. 2559 สำมำรถหักลดหย่อนได้ตำมท่ีจ่ำยจริง แต่ไม่เกิน 15,000 บำท สำหรับกำรเดินทำงท่องเท่ียว ภำยในประเทศ (ตำมกฎกระทรวง ฉบับที่ 322 (พ.ศ.2559)) ดังน้ี - ค่ำบริกำรธุรกิจนำเที่ยว และมัคคุเทศก์ (ค่ำแพ็คเกจทัวร์) ให้กับผู้ประกอบกำรธุรกิจนำ เท่ยี วทีไ่ ดร้ บั อนญุ ำตตำมกฎหมำยวำ่ ดว้ ยธุรกจิ นำเทย่ี วและมคั คุเทศก์ - ค่ำท่ีพักโรงแรม ให้กับผู้ประกอบกำรโรงแรมตำมกฎหมำยว่ำด้วยโรงแรม พระรำชบญั ญัติ โรงแรมกระทรวงมหำดไทย (15.4) ค่ำซ้ือสินค้ำหรือค่ำบริกำรในประเทศ ให้แก่ผู้ประกอบกำรจดทะเบียนภำษีมูลคำ่ เพ่ิม ระหว่ำงวันท่ี 14 ธันวำคม 2559 ถึงวันที่ 31 ธันวำคม 2559 ตำมจำนวนที่จ่ำยจริง แต่ไม่เกิน 15,000 บำท ทัง้ นี้ไม่รวมถึงคำ่ ซื้อสินคำ้ หรือค่ำบรกิ ำร (ตำมกฎกระทรวง ฉบบั ที่ 323 (พ.ศ.2559)) ดังนี้ - ค่ำซอ้ื สุรำ เบียร์ และไวน์ - คำ่ ซือ้ ยำสูบ - คำ่ ซอื้ นำ้ มันและกำ๊ ชสำหรับเตมิ ยำนพำหนะ - คำ่ ซอ้ื รถยนต์ รถจกั รยำนยนต์ และเรือ - ค่ำบริกำรจัดนำเท่ยี วท่ีจ่ำยให้แก่ผปู้ ระกอบกำรธุรกิจนำเที่ยวตำมกฎหมำย ว่ำดว้ ยธุรกิจนำ เทย่ี วและมัคคเุ ทศก์ - ค่ำบริกำรทไี่ ด้จ่ำยเปน็ คำ่ ที่พกั ในโรงแรมให้แก่ผู้ประกอบธรุ กิจตำมกฎหมำยวำ่ ดว้ ยโรงแรม (16) ค่ำซื้ อสิน ค้ำ หน่ึง ตำ บลห นึ่ง ผลิต ภัณ ฑ์ ( OTOP : One Tambon One Product) จำ ก ผู้ประกอบกำรจดทะเบียนภำษีมูลค่ำเพิ่ม ระหว่ำงวันที่ 1 สิงหำคม พ.ศ. 2559 ถึงวันท่ี 31 สิงหำคม พ.ศ. 2559 สำมำรถหักลดหย่อนได้ตำมที่จ่ำยจริง แต่ไม่เกิน 15,000 บำท ต้องเป็นกำรซ้ือสินค้ำท่ีเรียกเก็บ ภำษมี ลู ค่ำเพิ่ม และตอ้ งไดร้ บั ใบกำกบั ภำษีท่รี ะบุขอ้ ควำมสนิ คำ้ ทกุ รำยกำรเปน็ สินค้ำหนงึ่ ตำบลหน่ึงผลติ ภัณฑ์ (ดปู ระกำศอธิบดกี รมสรรพำกร เกีย่ วกับภำษเี งนิ ได้ (ฉบบั ที่ 272) )

7 (17) เงินได้ท่ีจ่ำยไปเพ่ือซ้ืออสังหำริมทรัพย์ ท่ีเป็นอำคำรพร้อมที่ดิน หรือห้องชุดในอำคำรชุด ต้องมี มูลค่ำไม่เกิน 3 ล้ำนบำท เพ่ือใช้เป็นท่ีอยู่อำศัยของตนเอง โดยมีกำรจดทะเบียนโอนกรรมสิทธ์ิใน อสังหำรมิ ทรพั ย์น้นั ให้แล้วเสรจ็ ในระหว่ำงวนั ท่ี 13 ตุลำคม พ.ศ. 2558 ถงึ วนั ที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559 ใหใ้ ช้ สิทธิหักลดหย่อนได้ไม่เกินร้อยละ 20 ของมูลค่ำอสังหำริมทรัพย์ โดยหักลดหย่อนต้ังแต่ปีท่ีมีกำรจดทะเบียน โอนกรรมสทิ ธ์ิในอสังหำริมทรพั ย์ และให้หักลดหย่อนต่อเนอื่ งกัน 5 ปี ๆ ละเท่ำ ๆ กนั ซึง่ ตอ้ งปฏบิ ตั ิ ดงั นี้ (17.1) ผ้มู ีเงินไดต้ ้องมีชอื่ เปน็ เจำ้ ของกรรมสิทธ์ิในอสังหำรมิ ทรัพยท์ ่ีซื้อเป็นเวลำติดตอ่ กันไม่ น้อยกว่ำ 5 ปีนับตั้งแต่วันท่ีจดทะเบียนโอนกรรมสิทธ์ิในอสังหำริมทรัพย์ หรือมีช่ือเป็นคู่สัญญำกับสถำบัน กำรเงนิ ทใ่ี ห้กู้เพื่อซอ้ื อสังหำริมทรัพย์เป็นเวลำตดิ ต่อกันไมน่ ้อยกว่ำ 5 ปี แตไ่ ม่รวมถึงกรณีผู้มีเงนิ ได้ถึงแกค่ วำม ตำย หรอื กรณเี กิดเหตสุ ดุ วสิ ัย (17.2) ผ้มู เี งนิ ได้ต้องไม่เคยมีกรรมสิทธใ์ิ นอสังหำรมิ ทรัพยม์ ำกอ่ น และตอ้ งไม่เคยเปน็ - ผู้ใช้สิทธิหักลดหย่อนดอกเบ้ียเงินกู้ยืมเพ่ือที่อยู่อำศัย สำหรับกำรกู้ยืมเงินเพ่ือซื้อ เช่ำซ้ือ หรอื สรำ้ งอำคำรทีอ่ ยู่อำศยั (ตำมทจ่ี ำ่ ยจรงิ แต่รวมกนั ไมเ่ กิน 100,000 บำท) - ผู้ใช้สิทธิยกเว้นภำษีเงินได้จำกกำรขำยอสังหำริมทรัพย์ที่เป็นที่อยู่อำศัยเดิมและซ้ือ อสงั หำรมิ ทรัพย์เพือ่ เปน็ ที่อยู่อำศัยใหม่ (ได้รับยกเว้นเท่ำกับจำนวนมูลคำ่ ของอสังหำริมทรพั ย์ แตไ่ ม่เกนิ จำนวน มลู คำ่ ของอสงั หำรมิ ทรพั ย์แห่งใหม่) - ผใู้ ช้สิทธิยกเวน้ ภำษีเงินไดจ้ ำกกำรซ้อื อสงั หำรมิ ทรัพย์ที่เป็นอำคำร อำคำรพร้อมที่ดิน หรือ หอ้ งชุดในอำคำรชดุ เพอ่ื เปน็ ทอ่ี ยอู่ ำศยั (ตำมทจ่ี ่ำยจริง แตร่ วมกนั ไมเ่ กิน 300,000 บำท) - ผู้ใช้สิทธิยกเว้นภำษีเงินได้บุคคลธรรมดำ สำหรบั กำรซ้อื อสังหำรมิ ทรัพย์ทเี่ ปน็ อำคำรพรอ้ ม ท่ีดิน หรือห้องชุดในอำคำรชุด (มำตรกำรบ้ำนหลังแรกที่ยกเว้นมูลค่ำอสังหำริมทรัพย์ไม่เกิน 5 ล้ำนบำท ใช้ สิทธิหักลดหย่อนได้ไม่เกินร้อยละ 10 ของมูลค่ำอสังหำริมทรัพย์ โดยใช้สิทธิหักลดหย่อนได้ต่อเน่ืองกัน 5 ปี ภำษี ให้เป็นจำนวนเท่ำๆ กันในแตล่ ะปภี ำษ)ี (18) เงินบริจำค เป็นรำยกำรลดหย่อนสุดท้ำยก่อนนำเงินได้ไปคำนวณภำษีตำมอัตรำก้ำวหน้ำ โดย สำมำรถหักเงินบริจำคได้ไม่เกินร้อยละ 10 ของเงินได้หลังหักค่ำใช้จ่ำยและค่ำลดหย่อน (หักลดหย่อนได้ เฉพำะที่บริจำคเป็นเงินเทำ่ น้ัน) ได้แก่ กำรบริจำคเงินให้แก่วัดวำอำรำม สภำกำชำดไทย สถำนพยำบำล และ สถำนศึกษำของทำงรำชกำร หรือองค์กำรของรัฐบำล สถำนศึกษำเอกชน สถำนสำธำรณกุศล และกองทุน สวสั ดกิ ำรภำยในสว่ นรำชกำร (ต้องเป็นองค์กำรสถำนสำธำรณกุศลตำมท่ีรฐั มนตรีประกำศกำหนดในรำชกิจจำ นเุ บกษำ) (18.1) เงินสนับสนุนเพ่ือกำรศกึ ษำ ไดแ้ ก่ เงินท่ีจ่ำยเป็นค่ำใช้จำ่ ยเพื่อสนับสนุนกำรศึกษำ มี สิทธิหักลดหย่อนได้ 2 เท่ำของจำนวนเงินที่ได้จ่ำยไปจริง แต่ไม่เกินร้อยละ 10 ของเงินคงเหลือหลังจำกหัก คำ่ ใช้จ่ำยและค่ำลดหยอ่ นอ่ืน ๆ แล้ว กำรบริจำคให้แก่สถำนศึกษำของรัฐ โรงเรียนเอกชนตำมกฎหมำยวำ่ ดว้ ยโรงเรียนเอกชน แต่ ไม่รวมถึงโรงเรียนนอกระบบตำมกฎหมำยว่ำดว้ ยโรงเรียนเอกชน หรือสถำบนั อุดมศกึ ษำเอกชนตำมกฎหมำย วำ่ ด้วยสถำบันอดุ มศึกษำเอกชน (ดูพระรำชกฤษฎีกำออกตำมควำมในประมวลรษั ฎำกรว่ำดว้ ยกำรยกเวน้ รษั ฎำกร (ฉบับที่ 558) พ.ศ. 2556) (18.2) เงินสนับสนุนกำรกีฬำ ได้แก่ เงินทจี่ ่ำยเป็นค่ำใชจ้ ่ำยเพื่อสนบั สนนุ กำรกฬี ำ มีสิทธิหัก ลดหย่อนได้ 2 เท่ำของจำนวนเงินท่ีได้จ่ำยไปจรงิ แต่ไม่เกินร้อยละ 10 ของเงินคงเหลือหลังจำกหักค่ำใช้จ่ำย และค่ำลดหย่อนอน่ื ๆ แลว้

8 เงินที่บริจำคให้แก่กำรกีฬำแห่งประเทศไทย คณะกรรมกำรกีฬำ จังหวัดท่ีจัดต้ังข้ึนตำม กฎหมำยว่ำด้วยกำรกฬี ำแห่งประเทศไทย สมำคมกีฬำจังหวัดหรือสมำคมกฬี ำแห่งประเทศไทยท่ีจัดตั้งขึ้นโดย ได้รบั อนุญำตจำกกำรกีฬำแห่งประเทศไทย กรมพลศึกษำ หรือกองทุนพัฒนำกำรกีฬำแห่งชำติทจี่ ัดตั้งขึ้นตำม มติคณะรัฐมนตรีเม่ือวันที่ 16 กุมภำพันธ์ พ.ศ. 2542 เพ่ือนำไปใช้ในกำรจัดหำอุปกรณ์กีฬำ กำรฝึกซ้อมหรือ กำรแข่งขัน กำรจัดสร้ำงและพัฒนำสนำมกีฬำหรือศูนย์ฝึกกีฬำแห่งชำติ กำรส่งเสริมสนับสนุนกำรจัดกำร แข่งขนั กีฬำ หรอื กำรพัฒนำนกั กฬี ำและบุคลำกรด้ำนกีฬำ (ดูพระรำชกฤษฎกี ำออกตำมควำมในประมวลรษั ฎำกรว่ำดว้ ยกำรยกเว้นรษั ฎำกร (ฉบบั ท่ี 559) พ.ศ. 2556) (18.3) กำรบริจำคเงินให้แก่กองทุนพัฒนำครู คณำจำรย์ และบุคลำกรทำงกำรศึกษำท่ี กระทรวงศึกษำธิกำรจัดต้ังข้ึน ให้ยกเว้นภำษีสำหรับเงินได้พึงประเมินหลังจำกหักค่ำใช้จ่ำยและหักลดหย่อน เป็นจำนวน 2 เท่ำของจำนวนเงินที่บริจำค แตเ่ มอ่ื รวมกับเงินไดท้ ีไ่ ด้รบั ยกเว้นสำหรับกำรจำ่ ยเป็นคำ่ ใช้จ่ำยเพ่ือ สนับสนุนกำรศึกษำ สำหรบั โครงกำรท่ีกระทรวงศึกษำธิกำรให้ควำมเห็นชอบแล้ว ต้องไม่เกนิ ร้อยละ 10 ของ เงินได้พึงประเมินหลังจำกหกั ค่ำใชจ้ ำ่ ยและหักลดหย่อนแลว้ ท้ังน้ีท่เี กดิ ขึ้นต้ังแตว่ นั ท่ี 1 มกรำคม 2554 เป็นต้น ไป และใหเ้ ปน็ ไปตำมหลกั เกณฑ์ วธิ กี ำร และเง่ือนไขท่อี ธิบดกี ำหนด (ดปู ระกำศอธบิ ดีกรมสรรพำกร เกี่ยวกบั ภำษเี งินได้ (ฉบับที่ 217) (18.4) เงินได้ท่ีจ่ำยเป็นค่ำใช้จ่ำยในกำรจัดให้คนพิกำรได้รับสิทธเิ ข้ำถึงและใช้ประโยชน์จำก สิ่งอำนวยควำมสะดวก เป็นจำนวนร้อยละ 100 ของเงินที่จ่ำยเป็นค่ำใช้จ่ำยในกำรจัดให้คนพิกำรได้รับสิทธิ ประโยชน์ แต่เมื่อรวมกับเงินได้ที่ได้รับยกเว้นสำหรับกำรจ่ำยเป็นค่ำใช้จ่ำยเพื่อสนับสนุนกำรศึกษำ สำหรับ โครงกำรท่ีกระทรวงศึกษำธิกำรให้ควำมเห็นชอบแล้ว ตอ้ งไมเ่ กินร้อยละ 10 ของเงนิ ได้พึงประเมินหลังจำกหัก คำ่ ใช้จ่ำยและหกั ลดหย่อนแล้ว ประกำศน้ีให้ใช้บังคับตง้ั แต่วนั ที่ 12 พฤษภำคม พ.ศ. 2554 เปน็ ต้นไป และให้ เป็นไปตำมหลกั เกณฑ์ วธิ ีกำร และเงื่อนไขทอ่ี ธิบดกี ำหนด (ดูประกำศอธบิ ดีกรมสรรพำกร เกี่ยวกับภำษเี งินได้ (ฉบบั ที่ 214) (18.5) เงินได้ท่ีจ่ำยให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินในกำรจัดต้ังศูนย์พัฒนำเด็กเล็กหรือ สนบั สนุนกำรดำเนินงำนของศูนยพ์ ัฒนำเด็กเล็กในสงั กัดองคก์ รปกครองสว่ นท้องถิน่ ให้ยกเวน้ ภำษีสำหรับเงิน ไดพ้ งึ ประเมนิ หลงั จำกหกั คำ่ ใช้จำ่ ยและหักลดหยอ่ น เป็นจำนวน 2 เทำ่ ของเงินท่ีไดจ้ ำ่ ย แตเ่ มื่อรวมกบั เงินได้ที่ ได้รับยกเว้นสำหรับกำรจ่ำยเป็นค่ำใช้จ่ำยเพ่ือสนับสนุนกำรศึกษำ สำหรับโครงกำรท่ีกระทรวงศึกษำธิกำรให้ ควำมเห็นชอบแล้ว ต้องไม่เกินร้อยละ 10 ของเงินได้พึงประเมินหลังจำกหักค่ำใช้จ่ำยและหักลดหย่อนแล้ว ประกำศนีใ้ หใ้ ช้บังคับตง้ั แตว่ ันที่ 10 มถิ ุนำยน พ.ศ. 2554 เปน็ ตน้ ไป และใหเ้ ป็นไปตำมหลักเกณฑ์ วิธกี ำร และ เงือ่ นไขทอี่ ธิบดกี ำหนด (ดูประกำศอธบิ ดกี รมสรรพำกร เกย่ี วกับภำษีเงนิ ได้ (ฉบับท่ี 209) (18.6) เงินได้ที่จ่ำยให้แก่โครงกำรฝึกอบรมอำชีพและกำรจัดกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับกำร บำบัด แก้ไข ฟ้ืนฟู และสงเครำะห์เด็กและเยำวชนของสถำนพินิจและคุ้มครองเด็กและเยำวชนหรือศูนย์ฝึก และอบรมเดก็ และเยำวชน ในกรมพินจิ และค้มุ ครองเด็กและเยำวชน กระทรวงยุตธิ รรม ดังน้ี สำหรับบุคคลธรรมดำ ให้ยกเว้นสำหรับเงินได้พึงประเมินหลังจำกหักค่ำใช้จ่ำยและหัก ลดหย่อน เป็นจำนวน 2 เท่ำของจำนวนเงินท่ีบริจำค แต่เม่ือรวมกับเงินได้ท่ีได้รับยกเว้นสำหรับกำรจ่ำยเป็น คำ่ ใช้จ่ำยเพื่อสนบั สนนุ กำรศึกษำสำหรับโครงกำรที่กระทรวงศึกษำธกิ ำรให้ควำมเหน็ ชอบแลว้ ตอ้ งไมเ่ กนิ รอ้ ย ละ 10 ของเงินได้พงึ ประเมนิ หลงั จำกหกั คำ่ ใชจ้ ่ำยและหักลดหยอ่ นนั้น (ดปู ระกำศอธิบดีกรมสรรพำกร เก่ียวกับภำษเี งินได้ (ฉบบั ที่ 222)

9 (18.7) เงินได้ท่ีจ่ำยให้แก่สถำนศึกษำของทำงรำชกำร สถำนศึกษำขององค์กำรของรัฐบำล โรงเรียนเอกชน หรือสถำบันอุดมศึกษำเอกชน เพ่ือใช้ในกำรจัดหำหนังสือหรือสื่ออิเล็กทรอนิกส์เพื่อส่งเสริม กำรอำ่ น ไมเ่ กนิ ร้อยละ 10 ของเงินไดพ้ งึ ประเมนิ หลังจำกหักค่ำใชจ้ ำ่ ยและหกั ลดหยอ่ นน้ัน (ดปู ระกำศอธิบดีกรมสรรพำกร เก่ียวกบั ภำษีเงินได้ (ฉบับท่ี 200) (18.8) กำรบริจำคเงินให้แก่กองทุนส่งเสริมและพัฒนำกำรศึกษำสำหรับคนพิกำรตำม กฎหมำยวำ่ ด้วยกำรจัดกำรศึกษำสำหรบั คนพิกำร ใหห้ ักลดหย่อนเท่ำจำนวนเงินทบ่ี ริจำค แต่ไม่เกนิ ร้อยละ 10 ของเงนิ ได้พึงประเมนิ หลงั จำกหกั ค่ำใช้จ่ำยและหกั ลดหย่อนแล้ว (ดูพระรำชกฤษฎีกำออกตำมควำมในประมวลรัษฎำกรวำ่ ด้วยกำรยกเว้นรัษฎำกร (ฉบบั ท่ี 594) พ.ศ. 2558 2. กำรหักลดหย่อนในกรณผี ู้ถึงแก่ควำมตำยในระหว่ำงปีภำษี ให้หักลดหยอ่ นไดเ้ สมอื นผ้ตู ำยมีชีวิตอยู่ ตลอดปภี ำษที ี่ผู้น้นั ถงึ แก่ควำมตำย 3. กำรหกั ลดหยอ่ นในกรณกี องมรดกที่ยังมไิ ดแ้ บ่ง ใหห้ กั ลดหยอ่ นสำหรับผมู้ ีเงนิ ได้ 30,000 บำท 4. กำรหักลดหย่อนห้ำงหุ้นส่วนสำมัญหรือคณะบุคคลท่ีมิใช่นิติบุคคล ให้หักลดหย่อนสำหรับผู้มีเงิน ได้แก่ผู้เป็นหุ้นส่วนหรอื บุคคลในห้ำงหนุ้ ส่วนหรือคณะบุคคลแต่ละคนท่ีอยูใ่ นประเทศไทยคนละ 30,000 บำท แต่รวมกันต้องไม่เกิน 60,000 บำท 5. กำรหักลดหย่อนวิสำหกิจชุมชน ตำมกฎหมำยว่ำด้วยกำรสง่ เสริมวิสำหกิจชุมชน ใหห้ ักลดหย่อนได้ 60,000 บำท 3. ผู้มีเงินไดม้ หี น้าทตี่ อ้ งยื่นแบบแสดงรายการภาษีเงินไดบ้ คุ คลธรรมดาอยา่ งไร และเม่ือใด? แบบแสดงรำยกำรที่ใชม้ ีดงั ต่อไปน้ี ภำพกำหนดระยะเวลำกำรย่นื แบบแสดงรำยกำรภำษีเงินได้บุคคลธรรมดำ ปีภำษี 2560 ที่มำ : https://www.rd.go.th/59595.html

10 กำรยืน่ แบบแสดงรำยกำรภำษีเงนิ ได้บุคคลธรรมดำมี 2 ระยะ คอื 1. \"ภำษีเงินได้บุคคลธรรมดำคร่ึงปี\" เป็นกำรย่ืนแบบแสดงรำยกำรเงินได้เฉพำะเงินได้พึงประเมิน ประเภทที่ 5,6,7 หรือ 8 ที่ได้รับตัง้ แต่เดือนมกรำคมถึงเดือนมิถุนำยนไม่ว่ำจะมีเงินได้ประเภทอื่นรวมอยู่ด้วย หรือไม่ก็ตำม โดยย่ืนภำยในเดือนกันยำยนของปีภำษนี ั้น และภำษีที่เสียนน้ี ำไปเป็นเครดติ หกั ออกจำกภำษีสิ้นปี ได้ 2. \"ภำษีเงินได้บุคคลธรรมดำส้ินปี\" เป็นกำรยื่นแบบแสดงรำยกำรเงินได้พึงประเมินท่ีได้รับแล้ว ใน ระหวำ่ งปีภำษี โดยยนื่ ภำยในเดือนมนี ำคมของปีถัดไป 4. การกรอกแบบแสดงรายการภาษเี งินได้บุคคลธรรมดา ใหเ้ ปน็ ไปตำมวิธีกำรกรอกแบบตำมคำแนะนำกรมสรรพำกรดังน้ี ภ.ง.ด. 91 https://www.rd.go.th/fileadmin/tax_pdf/pit/Ins91_190161.pdf ภ.ง.ด. 90 https://www.rd.go.th/fileadmin/tax_pdf/pit/Ins90_250161.pdf ภ.ง.ด. 94 https://www.rd.go.th/fileadmin/tax_pdf/pit/Ins260660.pdf


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook