Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เอกสารเอกสารสรุปผล พอ.62

เอกสารเอกสารสรุปผล พอ.62

Published by Thaksinanan Suebsimma, 2019-07-03 03:41:32

Description: เอกสารเอกสารสรุปผล พอ.62

Keywords: พอ.62

Search

Read the Text Version

ชื่อเอกสาร เอกสารสรุปผลการดาเนนิ งานโครงการฝกึ อบรมบุคลากรกรมการพฒั นาชุมชน เพ่อื ขับเคล่ือนยุทธศาสตร์กรมการพฒั นาชมุ ชนสชู่ มุ ชนพ่งึ ตนเองได้ หลักสตู รเสริมสมรรถนะพัฒนาการอาเภอ ประเภทเอกสาร เอกสารทางวชิ าการ ลกั ษณะเอกสาร เอกสารอดั สาเนาเย็บเล่ม ขนาดเอกสาร เอ 4 หนา 95 หน้า ที่ปรกึ ษา นายวลิ าศ บญุ โต ผอู้ านวยการศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนอบุ ลราชธานี คณะผจู้ ัดทา นางสาวทับทมิ แทง่ คา นักทรัพยากรบคุ คลชานาญการ นางสาวกัลยา โพธิวัฒน์ นกั ทรัพยากรบคุ คล นางสาวชนาทิพย์ สยนานนท์ นกั ทรพั ยากรบคุ คล ผู้วิเคราะห์ข้อมลู /ผู้พมิ พ/์ รวบรวม/เรยี บเรยี ง นกั ทรัพยากรบคุ คลชานาญการ นางสาวทบั ทมิ แท่งคา นกั ทรัพยากรบุคคล นางสาวกลั ยา โพธวิ ัฒน์ ออกแบบปก/รปู เล่ม นางนฤมล ศริ วิ ฒั นสิทธ์ิ เจา้ พนกั งานการเงนิ และบัญชีชานาญงาน นางสาวกลั ยา โพธวิ ัฒน์ นกั ทรพั ยากรบุคคล ปที ี่พิมพ์ 2562 แหล่งเผยแพร่ - สถาบนั การพฒั นาชมุ ชน กรมการพฒั นาชมุ ชน - ศูนย์ศกึ ษาและพัฒนาชมุ ชนอบุ ลราชธานี - สานกั งานพฒั นาชุมชนจงั หวัดอุบลราชธานี นครพนม มกุ ดาหาร ยโสธร ร้อยเอ็ด ศรีสะเกษ อานาจเจรญิ - เว็ปไชต์ศูนย์ศึกษาและพฒั นาชุมชนอบุ ลราชธานี http://training-ubon.cdd.go.th/

(ก) คานา กรมการพัฒนาชุมชน มอบหมายให้ศนู ย์ศกึ ษาและพัฒนาชุมชนอบุ ลราชธานี เป็นหน่วย ดาเนินการโครงการฝึกอบรมบุคลากรกรมการพัฒนาชุมชน เพ่ือขับเคล่ือนยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชมุ ชน สู่ชุมชนพ่ึงตนเองได้ หลักสูตรเสริมสมรรถนะพัฒนาการอาเภอ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 โดยมี วัตถุประสงค์เพ่ือเสริมสร้างทักษะการสร้างพันธมิตรและการบริหารจัดการ การกระตุ้นเศรษฐกิจฐานราก และ เพ่ิมทักษะด้านการเป็นที่ปรึกษา (Consultant) ในการออกแบบโครงการกระตุ้นเศรษฐกิจฐานราก กลุ่มเป้าหมาย จานวน 102 รุ่น จาก 7 จังหวัดในพื้นท่ีให้บริการของศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชน อบุ ลราชธานี โดยแยกดาเนินการ 2 รุ่น รุ่นที่ 1 ดาเนนิ การระหวา่ งวันท่ี 18 – 20 มกราคม 2562 และรุ่น ที่ 2 ดาเนนิ การระหวา่ งวนั ท่ี 26 – 28 มกราคม 2562 ณ ศนู ยศ์ กึ ษาและพัฒนาชุมชนอบุ ลราชธานี ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนอุบลราชธานี ได้สรุปผลการดาเนินงานโครงการฝึกอบรม บุคลากรกรมการพฒั นาชุมชน เพ่ือขบั เคล่อื นยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชนสู่ชุมชนพึ่งตนเองได้ หลกั สตู ร เสริมสมรรถนะพัฒนาการอาเภอ รวมทั้งประเมินผลโครงการ เพื่อทราบผลสัมฤทธิ์ ข้อเสนอแนะต่าง ๆ เพอ่ื เป็นแนวทางในการนาไปปรบั ใชใ้ นการดาเนินงานครงั้ ต่อไป ศนู ย์ศกึ ษาและพัฒนาชมุ ชนอุบลราชธานี กมุ ภาพนั ธ์ 2562

(ข) สารบัญ หน้า (ก) คานา (ข) สารบญั (ค) สารบญั ตาราง (ง) บทสรปุ สาหรับผู้บริหาร สว่ นที่ 1 บทนา 1 1 ความสาคญั 2 วัตถปุ ระสงค์ 2 กลุ่มเป้าหมาย 2 ขั้นตอนและวธิ ีดาเนินงาน 2 งบประมาณดาเนินการ 2 ระยะเวลาดาเนนิ การ 3 ขอบเขตเน้อื หาหลักสตู ร 3 ผลทีค่ าดวา่ จะได้รับ ตวั ชวี้ ดั ความสาเรจ็ 4 ส่วนที่ 2 สรปุ เนอ้ื หาวชิ าการ 5 เนื้อหาวิชา วิชาการวเิ คราะหง์ านพฒั นาชุมชนภายใต้วิสัยทศั นข์ องกรมการพัฒนาชมุ ชนและนโยบาย 17 ของผ้บู รหิ าร 21 วิชาความคาดหวงั ของผู้บริหารที่มตี ่อพฒั นาการอาเภอในการขับเคลอ่ื นภารกิจสู่เปา้ หมาย 27 วิชาวิเคราะหส์ ถานการณ์ความเปลยี่ นแปลงทีส่ าคัญ 32 วิชาการออกแบบงานกรมการพฒั นาชมุ ชน 4 งานหลัก ก้าวสอู่ นาคต วิชาการสร้างองค์กรแห่งความสขุ 36 ส่วนท่ี 3 การประเมินผลโครงการ 38 วธิ ีการประเมิน 38 การวเิ คราะห์ขอ้ มูล 39 เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมนิ 51 ภาคผนวก 87 ภาพกิจกรรมการฝึกอบรม 91 รายชอื่ กลมุ่ เปา้ หมาย รุ่นท่1ี ,2 (Pre-Post test) 92 ตารางการฝึกอบรม แบบประเมนิ โครงการ

สารบัญตาราง (ค) ตารางที่ 39 หนา้ 40 41 1 แสดงขอ้ มลู ท่วั ไป 43 2 แสดงระดับการบรรลวุ ตั ถปุ ระสงค์ 44 3 แสดงระดับความรู้และความเขา้ ใจด้านวิชาการ (กอ่ นและหลงั เข้ารว่ มกจิ กรรม) 45 4 แสดงระดับความม่ันใจในการนาความรู้ทไี่ ด้รบั ไปปรบั ใชใ้ นการปฏบิ ตั งิ าน 46 5 แสดงระดบั ความพึงพอใจต่อการใหบ้ ริการด้านวทิ ยากร 47 6 แสดงระดับความพึงพอใจต่อการใหบ้ ริการของเจา้ หน้าท่ี 7 แสดงระดบั ความพึงพอใจต่อการใหบ้ รกิ ารด้านอาคารและสถานที่ 8 แสดงระดับความพึงพอใจต่อการใหบ้ ริการด้านคุณภาพ

(ง) บทสรปุ สาหรับผ้บู ริหาร รายงานผลการดาเนินโครงการฝึกอบรมบุคลากรกรมการพัฒนาชุมชนเพ่ือขับเคลื่อน ยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชนสู่ชุมชนพ่ึงตนเองได้ หลักสูตรเสริมสมรรถนะพัฒนาการอาเภอ กรมการพัฒนาชุมชน ได้มอบหมายให้ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนอุบลราชธานีเป็นหน่วยดาเนินการ ฝึกอบรม โครงการดังกล่าว ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 กลุ่มเป้าหมาย คือพัฒนาการอาเภอจาก 7 จังหวัดในพ้ืนที่ให้บริการของศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนอุบลราชธานี จานวน 102 คน โดยแยกดาเนินการ 2 รุ่น ๆละ 3 วัน รุ่นท่ี 1 ดาเนินการระหว่างวันท่ี 18 – 20 มกราคม 2562 รุ่นท่ี 2 ดาเนินการระหว่าง วนั ที่ 26 – 28 มกราคม 2562 โดยมีวัตถปุ ระสงคเ์ พ่ือเสริมสร้างทักษะการสร้างพันธมติ รและการบริหาร จัดการ การกระตุ้นเศรษฐกิจฐานราก และเพ่ือเพิ่มทักษะด้านการเป็นท่ีปรึกษา (Consultant) ในการ ออกแบบโครงการกระตุ้นเศรษฐกิจฐานราก รูปแบบการฝึกอบรมใช้กระบวนการแบบมี ส่วนร่วม ยึด ผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง การบรรยายประกอบสื่อ การแลกเปล่ียนเรียนรู้ และการฝึกปฏิบัติ สาหรับการ ประเมินผล กลุ่มเป้าหมายคือผู้เข้ารับการฝึกอบรม จานวน 102 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวม ข้อมูล ใช้แบบสอบถามประเมินผลโครงการภาพรวมในระบบออนไลน์ แล้วนาผลที่ได้มาวิเคราะห์ข้อมูล เรียบเรียงแบบร้อยแกว้ เชิงพรรณนา ใช้ค่าสถติ ริ ้อยละ ค่าเฉลยี่ สรปุ ผลการฝึกอบรมได้ ดังน้ี ผลการฝกึ อบรม 1. ขอ้ มูลทว่ั ไปของกลุ่มเปา้ หมาย พบว่า ผู้เข้ารับการฝึกอบรมส่วนใหญ่เป็นเพศชาย จานวน 49 คน คิดเป็นร้อยละ 52.13 และเพศหญิง จานวน 45 คน คิดเป็นร้อยละ 47.87 ส่วนใหญ่มีอายุระหว่าง 46-50 ปี เท่ากับอายุระหว่าง 51-55 ปี จานวน 30 คน คิดเป็นร้อยละ 31.91 รองลงมาตามลาดับคืออายุระหว่าง 56–60 ปี จานวน 26 คน คิดเป็นร้อยละ 27.66 และอายุระหว่าง 41-45 ปี จานวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ 8.51 ส่วนใหญ่ดารงตาแหน่ง พัฒนาการอาเภอ จานวน 85 คน คิดเป็นร้อยละ 90.43 และตาแหน่งนักวิชาการพัฒนาชุมชนชานาญการ จานวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ 9.57 ส่วนใหญ่จบการศึกษาระดับปริญญาโทจานวน 51 คน คิดเป็นร้อยละ 54.26 รองลงมาตามลาดับคือ จบการศึกษาระดับปริญญาตรี จานวน 41 คน คิดเป็นร้อยละ 43.61 จบ การศกึ ษาระดับปริญญาเอก จานวน 2 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 2.13 2. การบรรลุวตั ถปุ ระสงคข์ องโครงการ พบว่า เข้ารับการฝึกอบรมส่วนใหญ่มีระดับความคิดเห็นเก่ียวกับการบรรลุวัตถุประสงค์ ของโครงการ โดยภาพรวม อยู่ในระดับมาก ค่าเฉล่ีย 4.15 3. ความคิดเห็นตอ่ ความรู้ ความเขา้ ใจและทกั ษะท้ังกอ่ นและหลงั เข้ารว่ มกิจกรรม จานวน 6 วิชา สรปุ ได้ ดังนี้ พบวา่ ผ้เู ข้ารับการฝึกอบรมสว่ นใหญ่มีระดบั ความรู้ ความเขา้ ใจตอ่ เนือ้ หาวิชากอ่ นเข้ารับ การฝึกอบรม โดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง ค่าเฉล่ีย 3.35 และหลังการฝึกอบรมมีระดับความรู้ความ เข้าใจต่อเนื้อหาวิชา โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.36 และเม่ือพิจารณาเรียงลาดับค่าเฉลี่ยเป็น รายวชิ าได้ดังนี้

1. วิชาการวิเคราะห์งานพัฒนาชุมชนภายใต้วิสัยทัศน์กรมฯ และนโยบายผบู้ ริหาร ผู้เข้า รับการฝึกอบรมส่วนใหญ่มีระดับความรู้ความเข้าใจต่อประเด็นเนื้อหาวิชาก่อนเข้ารับการฝึกอบรม อยู่ใน ระดับปานกลาง คา่ เฉลยี่ 3.40 และหลังการฝกึ อบรมมีระดับความรู้ ความเขา้ ใจต่อประเด็นเน้อื วชิ า อยใู่ น ระดับมาก คา่ เฉลี่ย 4.37 2. วิชาความคาดหวังของผู้บริหารท่ีมีต่อการทางานของพัฒนาการอาเภอในการ ขบั เคล่อื นภารกิจสู่เปา้ หมาย ผู้เข้ารบั การฝึกอบรมสว่ นใหญม่ ีระดับความรูค้ วามเข้าใจต่อประเด็นเน้ือหาวิชา ก่อนเขา้ รับการฝึกอบรม อยู่ในระดับปานกลาง คา่ เฉล่ีย 3.41 และหลังการฝึกอบรมมรี ะดับความรู้ ความ เขา้ ใจตอ่ ประเดน็ เน้ือวชิ า อยู่ในระดับมาก คา่ เฉลีย่ 4.38 3. วิชาสถานการณ์ความเปล่ียนแปลงท่ีสาคัญ ผู้เข้ารับการฝึกอบรมส่วนใหญ่มีระดับ ความร้คู วามเข้าใจต่อประเดน็ เนอ้ื หาวชิ าก่อนเข้ารับการฝึกอบรม อยู่ในระดับปานกลาง ค่าเฉล่ีย 3.33 และหลงั การฝึกอบรมมีระดับความรู้ ความเข้าใจต่อประเดน็ เนื้อวิชา อยใู่ นระดบั มาก คา่ เฉลีย่ 4.34 4. วิชาออกแบบงานกรมฯ (4 งานหลัก) ก้าวสู่อนาคต ผู้เข้ารับการฝึกอบรมส่วนใหญ่มี ระดับความรู้ความเข้าใจต่อประเด็นเน้ือหาวิชาก่อนเข้ารับการฝึกอบรมอยู่ในระดับปานกลาง ค่าเฉลี่ย 3.29 และหลงั การฝกึ อบรมมีระดบั ความรู้ ความเขา้ ใจต่อประเดน็ เนือ้ วชิ า อยู่ในระดับมาก คา่ เฉล่ีย 4.31 5. วิชาการสร้างองค์กรแห่งความสุข ผู้เข้ารับการฝึกอบรมส่วนใหญ่มีระดับความรู้ความ เข้าใจต่อประเด็นเน้ือหาวิชาก่อนเข้ารับการฝึกอบรมอยู่ในระดับปานกลาง ค่าเฉลี่ย 3.33 และหลังการ ฝึกอบรมมีระดบั ความรู้ ความเขา้ ใจตอ่ ประเด็นเน้อื วชิ า อย่ใู นระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.45 6. วิชารูปแบบการบริหารงานให้ประสบความสาเร็จ ผู้เข้ารับการฝึกอบรมส่วนใหญ่มี ระดับความรู้ความเข้าใจต่อประเด็นเน้ือหาวิชาก่อนเข้ารับการฝึกอบรมอยู่ในระดับปานกลาง ค่าเฉลี่ย 3.33 และหลังการฝกึ อบรมมีระดบั ความรู้ ความเข้าใจต่อประเด็นเน้ือวชิ า อยใู่ นระดบั มาก ค่าเฉล่ีย 4.33 4. ความคิดเหน็ ต่อการนาความรู้ทไี่ ด้รบั ไปใชป้ ระโยชน์ จานวน 6 ประเด็น สรปุ ได้ดังนี้ พบว่า ผู้เขา้ รับการฝึกอบรมส่วนใหญ่มีความมนั่ ใจต่อการนาความร้ทู ี่ไดร้ ับไปใชป้ ระโยชน์ ในการปฏิบัติงาน โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.43 และเม่ือพิจารณาเรียงลาดับเป็นราย ประเด็นจากมากไปหาน้อย พบวา่ ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความมั่นใจในการนาความรู้ วิชาการสร้างองค์กร แห่งความสุข ไปใช้ประโยชน์ อยู่ในระดับมากท่ีสุด ค่าเฉล่ีย 4.53 รองลงมาตามลาดับคือ ม่ันใจต่อวิชา รูปแบบการบริหารงานให้ประสบความสาเร็จอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ย 4.45 วิชาความคาดหวังของ ผู้บริหารท่ีมีต่อการทางานของพัฒนาการอาเภอในการขับเคลื่อนภารกิจสู่เป้าหมาย อยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.44 วิชาสถานการณ์ความเปล่ียนแปลงที่สาคัญ อยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.41 วิชาออกแบบ งานกรมฯ (4 งานหลัก) ก้าวสู่อนาคต อยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.39 และวิชาการวิเคราะห์งานพัฒนา ชมุ ชนภายใต้วิสยั ทัศนก์ รมฯ และนโยบายผบู้ รหิ าร อยใู่ นระดับมาก มีค่าเฉลีย่ น้อยสุด คอื 4.38 5. ความพึงพอใจต่อการบรหิ ารโครงการภาพรวม 5.1 ความพงึ พอใจต่อการดาเนินการของวิทยากร พบว่า ผู้เขา้ รับการฝกึ อบรมส่วนใหญ่ มีระดับความพึงพอใจต่อการดาเนินการของวิทยากร โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.29 และ เม่ือพจิ ารณาเป็นรายประเด็นพบว่า ผู้เข้ารับการฝึกอบรมส่วนใหญ่มีความพึงพอใจต่อการสร้างบรรยากาศ การเรยี นรู้ อยใู่ นระดับมาก ค่าเฉลย่ี 4.38 รองลงมาตามลาดับคอื พึงพอใจตอ่ การเปดิ โอกาสให้ซักถามแสดง ความคิดเห็น อยู่ในระดับมาก ค่าเฉล่ีย 4.34 ความพึงพอใจต่อความรู้ ความสามารถในการถ่ายทอด/

บรรยาย อยู่ในระดับมาก คา่ เฉลี่ย 4.27 และความพึงพอใจต่อเทคนคิ และวิธกี ารทใ่ี ช้ในการถ่ายทอดความรู้ อยูใ่ นระดบั มาก คา่ เฉล่ีย 4.18 5.2 ความพึงพอใจต่อด้านการให้บริการของเจ้าหนาที่ พบว่า ผู้เข้ารับการฝึกอบรมส่วน ใหญ่มีระดับความพึงพอใจต่อการให้บรกิ ารของเจ้าหน้าท่ี โดยภาพรวมอยใู่ นระดับมาก ค่าเฉล่ีย 4.14 และ เมื่อพิจารณาเป็นรายประเด็นพบว่า ผู้เข้ารับการฝึกอบรมส่วนใหญ่มีความพึงพอใจต่อเจ้าหน้าท่ีมีกิริยา มารยาท และการแต่งกายเหมาะสม อยู่ในระดับมากที่สุด ค่าเฉล่ีย 4.53 รองลงมาตามลาดับคือพึงพอใจ ตอ่ เจ้าหน้าท่ีกระตือรือร้นในการให้บริการ อยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.47 ความพึงพอใจต่อโสตทัศนูปกรณ์ (ชุดโปรเจคเตอร์ เคร่ืองเสียง ฯลฯ) เหมาะสม อยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.30 ความพึงพอใจต่อ ห้องฝึกอบรม หอ้ งพัก ห้องนา้ โรงอาหาร และบรเิ วณโดยรอบมีความสะอาด อยู่ในระดับมาก คา่ เฉล่ีย 4.17 ความพงึ พอใจต่ออาหาร/อาหารว่าง/เครื่องดื่ม มีคุณภาพเหมาะสม อยใู่ นระดบั มาก ค่าเฉลี่ย 4.01 ความพึง พอใจต่อสัญญาณ wifi ในห้องฝึกอบรม อยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 3.91 และท่ีมีความพึงพอใจน้อยท่ีสุดคือ สัญญาณ wifi ในห้องพัก อยู่ในระดบั มาก ค่าเฉล่ยี 3.59 5.3 ความพึงพอใจต่อด้านอาคาร/สถานที่ พบว่า ผู้เข้ารับการฝึกอบรมส่วนใหญ่มีระดับ ความพึงพอใจต่อการให้บริการด้านอาคารและสถานที่ โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก ค่าเฉล่ีย 4.44 และ เมื่อพิจารณาเป็นรายประเด็นพบว่า ผู้เข้ารับการฝึกอบรมส่วนใหญ่มีความพึงพอใจต่อประเด็นขนาด ห้องฝึกอบรม มีความเหมาะสมกับจานวนผู้เข้าอบรม อยู่ในระดับมากที่สุด ค่าเฉล่ีย 4.51 รองลงมา ตามลาดับคือพึงพอใจต่อห้องพัก มีความเหมาะสม อยู่ในระดับมาก ค่าเฉล่ีย 4.46 ความพึงพอใจต่อ ห้องอาหาร มีความเหมาะสม ถูกสุขลักษณะ อยู่ในระดับมาก ค่าเฉล่ีย 4.43 และความพึงพอใจต่อห้องน้า อาคารฝกึ อบรมมคี วามสะอาด อยใู่ นระดับมาก คา่ เฉลีย่ 4.35 5.4 ความพึงพอใจด้านคุณภาพ พบว่า ผู้เข้ารับการฝึกอบรมส่วนใหญ่มีระดับความ พึงพอใจต่อการให้บริการด้านคุณภาพ โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก ค่าเฉล่ีย 4.20 และเม่ือพิจารณาเป็น รายประเด็น พบว่า ผู้เข้ารบั การฝึกอบรมส่วนใหญ่มีความพึงพอใจต่อประเด็นความรู้ท่ีได้รบั สามารถนาไป ปรับใช้ในการปฏิบัติงานได้ อยู่ในระดับมาก ค่าเฉล่ีย 4.26 รองลงมาตามลาดับคือพึงพอใจต่อเน้ือหา หลักสูตรเป็นปัจจุบันทันต่อการเปลี่ยนแปลง อยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.24 ความพึงพอใจต่อความ สอดคล้องของเน้ือหาหลกั สูตรกบั ความตอ้ งการ อยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.17 และความพึงพอใจต่อความ ค้มุ ค่าของการฝึกอบรม อยใู่ นระดับมาก คา่ เฉล่ีย 4.13 6. กรมการพัฒนาชุมชนควรเพม่ิ เติมความร้เู ร่ืองใด หรือฝกึ ทักษะด้านใดใหแ้ ก่ทา่ น เพื่อประโยชน์ใน การปฏิบัตงิ าน นอกเหนอื จากท่ที า่ นไดร้ บั จากการฝกึ อบรมหลักสูตรนี้ 1. คอมพวิ เตอรแ์ ละอิเลก็ ทรอนกิ ส์ 2. เรอื่ งการศึกษาดูงานท่เี ป็นเลศิ เพื่อสร้างแรงจูงใจในการทางาน 3. การบริหารงานมปี ระสิทธิภาพ 4. กฎหมายเกีย่ วกบั กองทนุ พัฒนาบทบาทสตรี 5. ข้อกฎหมายทเี่ กีย่ วข้องในการปฏบิ ตั งิ าน 6. ภาษาอังกฤษ พื้นฐาน 7. การบริหารผบู้ งั คับบัญชา 8. การบรหิ ารการพฒั นายุคใหม่ 9. การบรหิ ารงานพัฒนาชุมชนในพ้ืนท่ใี หบ้ รรลเุ ป้าหมาย ภายใต้สถานการณ์ปัจจุบนั

10. การบริหารความเส่ียง 11. การใช้ดจิ ทิ ลั ในการทางาน 12. การทางานเชิงรุกแบบบูรณาการ 13. อยากฟังนักบรหิ ารภาคเอกชนในเร่ืองการผลติ การตลาด การประชาสมั พนั ธ์ 14. ระเบยี บการเงินตา่ ง ๆ 7. ขอ้ เสนแนะ 7.1 การพัฒนาหลกั สูตร ควรจดั ทาหลักสตู รให้ตรงกับความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย โดยใชข้ ้อมูลจากการสารวจความตอ้ งการ 7.2 ควรนาขอ้ มูลท่ีได้จากการตดิ ตามประเมินผลกลุ่มเปา้ หมายในพื้นที่ไปพัฒนาหลักสตู ร ใหต้ รงกับความตอ้ งการของกลมุ่ เป้าหมาย 7.3 ควรดาเนินการพฒั นาศกั ยภาพพฒั นาการอาเภออยา่ งตอ่ เน่อื งทุกปี

1 ส่วนท่ี 1 บทนา ความสาคัญ กรมการพัฒนาชุมชน ประกาศขับเคลื่อนยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน ปี พ.ศ. 2560 – 2564 โดยมีเป้าหมายเศรษฐกิจฐานรากมั่นคงและชุมชนพ่ึงตนเองไดภ้ ายในปี 2564 และการขบั เคล่ือน นโยบายสานพลังประชารัฐในการพฒั นาเศรษฐกิจฐานราก แนวคดิ การดาเนนิ งานหนึ่งตาบล หน่ึงผลิตภัณฑ์ (One Tambon One Product : OTOP) ชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี วิสาหกิจเพ่ือสังคม (Social Enterprise : SE) และส่งเสริมการจัดต้ังบริษัทประชารัฐรักสามัคคีจังหวัด (วิสาหกิจเพ่ือสังคม จากัด กรมการพัฒนาชุมชน จึงให้ความสาคัญกับการพัฒนาขีดสมรรถนะบุคลากรในทุกตาแหน่งให้มีความพร้อม ด้านองค์ความรู้ มีทักษะการทางานท้ังเชิงบริหาร และปฏิบัติการ รวมท้ังปลูกฝังทัศนคติท่ีดีในการทางาน ตามแนวทางและยุทธศาสตร์ของรัฐบาล ร่วมกับพ่ีน้องประชาชนทั้งประเทศ ทั้งน้ี พัฒนาการอาเภอเป็น แนวหน้าการบริหารจัดการประสานงานระดับพ้ืนท่ี เป็นผู้นานโยบายสู่การปฏิบัติ จึงเป็นกลไกสาคัญของ กรมการพัฒนาชมุ ชนในการขับเคล่ือนเศรษฐกิจฐานรากของชุมชนให้มีความมง่ั คงและสามารถพึ่งตนเองได้ กรมการพัฒนาชุมชน โดยสถาบันการพัฒนาชุมชนกาหนดกิจกรรมฝึกอบรมเสริม สมรรถนะทางการบริหารให้ข้าราชการตาแหน่ง “พัฒนาการอาเภอ” เพ่ือเสริมสมรรถนะเชิงการบริหาร ปรบั ระบบคิดในการเสรมิ สรา้ งและพัฒนากระบวนการทางานตามแนวทางยทุ ธศาสตร์ของรฐั บาล การสร้าง พันธมิตรในการทางาน การบริหารจัดการเครือข่ายภาคีการพัฒนาในทุกมิติ รวมท้ังการส่งเสริมและ สนับสนุนพัฒนากรในการเป็น “ผู้จัดการตาบล” ในการขับเคล่ือนเศรษฐกิจฐานราก ซ่ึงเชื่อมโยง 4 งาน หลัก ได้แก่ สัมมาชีพชุมชน หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง ชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี และทุนชุมชน ให้ บรรลุเปา้ หมายและยุทธศาสตรข์ องกรมการพัฒนาชุมชนต่อไป ศูนยศ์ ึกษาและพัฒนาชุมชนอบุ ลราชธานี ได้รับมอบหมายจากสถาบันการพฒั นาชมุ ชน ให้ เป็นหน่วยดาเนินการฝึกอบรมบุคลากรกรมการพัฒนาชุมชน เพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์กรมการพัฒนา ชุมชนสู่ชุมชนพ่ึงตนเองได้ หลกั สูตรเสริมสมรรถนะพัฒนาการอาเภอ เพ่ือพัฒนาศกั ยภาพพัฒนาการอาเภอ ด้วยการสร้าง Empowerment ทีมการ Coaching and Mentoring ในการสรา้ งทมี และยกระดับการเป็น “ที่ปรึกษา (Consultant) ในการขับเคล่ือนงานพัฒนาเศรษฐกิจฐานราก” เตรียมความพร้อมในการ ขับเคลื่อนยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชนให้บรรลุเป้าหมาย ในปี 2564 จึงจัดทาโครงการฝึกอบรม บุคลากรกรมการพัฒนาชุมชนเพื่อขับเคล่ือนยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชนสู่ชุมชนพ่ึงตนเองได้ หลักสูตร เสรมิ สมรรถนะพฒั นาการอาเภอขนึ้ วัตถปุ ระสงค์ 1. เพื่อเสริมสร้างทักษะการสร้างพันธมิตรและการบริหารจัดการ การกระตุ้นเศรษฐกิจ ฐานราก 2. เพื่อเพิ่มทักษะด้านการเป็นท่ีปรึกษา (Consultant) ในการออกแบบโครงการกระตุ้น เศรษฐกจิ ฐานราก

2 กลุ่มเปา้ หมาย พัฒนาการอาเภอจาก 7 จังหวัด ในพื้นที่ให้บริการของศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชน อุบลราชธานี จานวน 102 คน แยกดาเนนิ การ 2 รุน่ ข้ันตอนและวิธีดาเนินงาน 1. รับมอบหลกั สูตรจากสถาบันการพัฒนาชุมชน 2. ประชมุ เจา้ หน้าที่ของศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนอุบลราชธานี เพือ่ เตรียมความพรอ้ ม ในการฝกึ อบรม 3. เสนอโครงการเพ่ืออนมุ ตั ใิ ช้งบประมาณ 4. จดั ทาคาสัง่ แต่งต้ังคณะทางาน 5. ประสานจงั หวดั กลมุ่ เป้าหมาย 6. ประสานวทิ ยากร 7. จดั เตรยี มสถานท่พี ัก/หอ้ งฝกึ อบรม/วสั ดุอปุ กรณ์/โสตทัศนปู กรณ/์ เครื่องเสียง 8. ดาเนนิ งานตามโครงการ 9. ประเมินผล/สรปุ ผลการดาเนนิ งาน/รายงานต่อกรมการพฒั นาชุมชน งบประมาณดาเนนิ การ งบประมาณดาเนินการ จานวนท้ังส้ิน 387,164 บาท (สามแสนแปดหม่ืนเจ็ดพันหน่ึง รอ้ ยหกสบิ สบ่ี าทถ้วน) ระยะเวลาดาเนินการ แยกดาเนินการ 2 รุ่น ๆ ละ 3 วัน รุ่นท่ี 1 ระหว่างวันที่ 18 – 20 มกราคม 2562 และรุ่นที่ 2 ระหวา่ งวันท่ี 26 – 28 มกราคม 2562 ณ ศนู ยศ์ กึ ษาและพัฒนาชุมชนอุบลราชธานี ขอบเขตเน้ือหาหลกั สูตร และกจิ กรรม วิชาหลกั 1. การวิเคราะหง์ านพัฒนาชมุ ชนภายใต้วสิ ยั ทศั นก์ รมการพัฒนาชุมชน และนโยบาย ผู้บรหิ าร 2. ความคาดหวังของผบู้ ริหารท่มี ีต่อการทางานของพัฒนาการอาเภอ ในการขับเคล่ือน ภารกจิ สเู่ ปา้ หมาย 3. สถานการณ์ความเปล่ยี นแปลงท่ีสาคัญ 4. ออกแบบงานกรมการพัฒนาชุมชน (4 งานหลกั ) ก้าวสู่อนาคต 5. การสรา้ งองค์กรแห่งความสุข 6. รปู แบบการบริหารงานให้ประสบความสาเร็จ กิจกรรมเสรมิ 1. กจิ กรรมสุขภาพดี ชีวีมสี ุข 2. กิจกรรมเสรมิ ทักษะตุ้มโฮมด้วยนา้ ใจและไมตรจี ิต 3. กจิ กรรมทบทวนบทเรยี น

3 ผลทีค่ าดวา่ จะได้รบั กลุ่มเป้าหมาย พัฒนาการอาเภอ สามารถสร้างพันธมิตรและบริหารจัดการเครือข่ายใน การขับเคล่ือนงานพัฒนาเศรษฐกิจฐานราก และสามารถเป็นที่ปรึกษา (Consultant) การออกแบบ ก ร ะ บ ว น ง า น ขั บ เค ล่ื อ น เศ ร ษ ฐ กิ จ ฐ าน รา ก ให้ กั บ พั ฒ น า ก ร ผู้ ป ร ะ ส าน งา น ป ระ จ าต า บ ล ที่ จ ะ ก า ห น ด Positioning “พฒั นากร One Stop Service” ไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ ตวั ชีว้ ดั ผลผลิต รอ้ ยละ 90 ของผู้ที่ผ่านการฝกึ อบรมมีความรู้ ความเข้าใจในเนือ้ หาตามหลักสูตร ตัวชีว้ ัดผลลพั ธ์ ร้อยละ 90 ของผู้ที่ผ่านการฝึกอบรมมีรูปแบบ (Model) การขับเคล่ือนงานพัฒนา เศรษฐกจิ ฐานราก

4 ส่วนท่ี 2 สรุปเน้ือหาวชิ าการ กรมการพัฒนาชมุ ชน มอบหมายให้ศนู ย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนอุบลราชธานี เป็นหน่วย ดาเนินงานโครงการฝกึ อบรมบุคลากรกรมการพัฒนาชมุ ชนเพ่ือขับเคลือ่ นยุทธศาสตร์กรมการพฒั นาชุมชนสู่ ชุมชนพึ่งตนเองได้ หลักสูตรเสริมสมรรถนะพัฒนาการอาเภอ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 โดยมี วัตถุประสงค์เพื่อเสริมสร้างทักษะการสร้างพันธมิตรและการบริหารจัดการ การกระตุ้นเศรษฐกิจฐานราก และเพ่ือเพิ่มทักษะดา้ นการเป็นที่ปรึกษา (Consultant) ในการออกแบบโครงการกระตนุ้ เศรษฐกจิ ฐานราก กลุ่มเป้าหมายคือพัฒนาการอาเภอจาก 7 จังหวัดในพ้ืนท่ีให้บริการของศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนอุบลราชธานี จานวน 102 คน แยกดาเนินการ 2 รุ่น รุ่นท่ี 1 ดาเนินการระหว่างวันท่ี 18 – 20 มกราคม 2562 และรุ่นที่ 2 ระหว่างวันที่ 26 – 28 มกราคม 2562 ณ ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนอุบลราชธานี การดาเนินงานตาม โครงการดังกล่าว ได้กาหนดประเด็นเน้ือหาวิชาหลักตามหลักสูตร จานวน 6 หัวข้อวิชาหลัก 3 กจิ กรรมเสริมหลกั สูตร ดงั นี้ เน้ือหาวิชาหลัก จานวน 6 วชิ า ดังน้ี 1. การวิเคราะหง์ านพฒั นาชมุ ชนภายใต้วสิ ยั ทศั นก์ รมการพัฒนาชุมชน และนโยบาย ผูบ้ ริหาร 2. ความคาดหวงั ของผูบ้ รหิ ารท่มี ตี อ่ การทางานของพฒั นาการอาเภอในการขับเคลื่อน ภารกจิ สเู่ ป้าหมาย 3. สถานการณค์ วามเปลย่ี นแปลงที่สาคัญ 4. ออกแบบงานกรมการพัฒนาชมุ ชน (4 งานหลัก) กา้ วสู่อนาคต 5. การสร้างองค์กรแห่งความสุข 6. รปู แบบการบรหิ ารงานให้ประสบความสาเร็จ กิจกรรมเสริม 1. กจิ กรรมสุขภาพดี ชีวีมสี ขุ 2. กิจกรรมเสริมทักษะตมุ้ โฮมด้วยนา้ ใจและไมตรจี ิต 3. ทบทวนบทเรยี น การเรียนรู้ในแต่ละวชิ ายึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ ด้วยรูปแบบ วิธีการ เทคนิค ที่หลากหลายมุ่งเน้นให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ จากประสบการณ์ตรง และการฝึกปฏิบัติจริงโดยใช้ กระบวนการแบบมีส่วนร่วมท่ีสามารถนาไปปรับใช้ในการปฏิบัติงานได้จริง โดยใช้กระบวนการฝึกอบรม ดังน้ี 1. การบรรยายประกอบส่ือ Power Point 2. ชมวดี ที ัศน/์ ภาพยนตร/์ ภาพประกอบการฝกึ อบรม 3. เวทแี ลกเปล่ยี นเรยี นรู้ 4. การฝกึ ปฏิบตั ิ

5 สรปุ สาระสาคัญของเนอ้ื หาวชิ าได้ ดงั น้ี วิชา การวิเคราะห์งานพัฒนาชุมชนภายใต้วิสัยทัศน์ของกรมการพัฒนาชุมชนและนโยบาย ของ ผู้บริหาร วัตถุประสงค์ 1. เพ่ือให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมได้วิเคราะห์และทบทวนการดาเนินงาน 4 งานหลัก ของ กรมการพัฒนาชุมชน ประจาปี 2561 ในบทบาทของพัฒนาการอาเภอในอบปที ี่ผ่านมา ได้แก่ งานสัมมาชีพ ชุมชน งานหมบู่ ้านเศรษฐกจิ พอเพียง งานชุมชนท่องเทย่ี ว OTOP นวตั วิถี และงานทนุ ชมุ ชน 2. เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ และแลกเปล่ียนประสบการณ์จาก การบริหารงานในรอบปีที่ผ่านมา ระยะเวลา 2 ช่ัวโมง ขอบเขตเน้ือหาวชิ า 1. งานหลัก 4 งานของกรมการพัฒนาชุมชน ประจาปี พ.ศ. 2561 (งานสัมมาชีพชุมชน งานหมูบ่ ้านเศรษฐกิจพอเพียง งานชมุ ชนท่องเท่ยี ว OTOP นวตั วถิ ี และงานทนุ ชุมชน) 2. วิเคราะหก์ ระบวนงาน ตน้ น้า กลางน้า และปลายนา้ 3. วิเคราะห์การทางานในประเด็น - อะไรคือความสาเร็จ – ทาอย่างไรถงึ สาเรจ็ - อะไรที่ยงั ไม่บรรลเุ ปา้ หมายความสาเร็จ- เพราะอะไร - ปจั จัยทม่ี ผี ลตอ่ ความสาเรจ็ และความเส่ียงคืออะไร - เครือข่าย/กลไกการทางานมอี ะไรบา้ ง 4. เปา้ หมายของการพฒั นาชุมชนเขม้ แขง็ เทคนคิ /วธิ กี าร ทีมวิทยากรแนะนาตวั เองและเกริน่ นาถึงวัตถุประสงคข์ องวิชา และการเรยี นรู้จากการเข้า เรียนรู้ตามฐาน Happiness Social Lab แล้วเชื่อมโยงสู่การวิเคราะห์งานพัฒนาชุมชนภายใต้วิสัยทัศน์ และนโยบายผู้บริหาร (การเหลียวหลัง) โดยแบ่งกลุ่มผู้เข้ารับการฝึกอบรมออกเป็น 4 กลุ่ม และแยก รับผิดชอบกลุ่มละ 1 งาน ซ่ึงผู้เข้ารับการฝึกอบรมต้องเข้ากลุ่มงานที่ตนเองรับผิดชอบตลอดหลักสูตรการ เรียนรู้ ดงั นี้ กลุ่มท่ี 1 รบั ผิดชอบงานสมั มาชีพชุมชน กลมุ่ ที่ 2 รบั ผดิ ชอบงานหมบู่ ้านเศรษฐกจิ พอเพียง กลมุ่ ที่ 3 รับผิดชอบงานชุมชนท่องเท่ยี ว OTOP นวัตวถิ ี กลมุ่ ที่ 4 รบั ผิดชอบงานทุนชมุ ชน ให้แต่ละกลุ่มระดมความคิดเห็นกล่มุ ละ 50 นาที ตามใบงาน โดยการจาแนกกระบวนงาน (ต้นน้า กลาง นา้ ปลายน้า) เสร็จแลว้ วเิ คราะหค์ วามสาเร็จคืออะไร ทาอยา่ งไร อะไรที่ยังไม่สาเร็จ เพราะอะไร ปัจจยั ท่ีมี

6 ผลต่อความสาเร็จ และปัจจัยเสี่ยงท่ีจะทาให้งานไม่สาเร็จคืออะไร กลไกการทางาน/เครือข่ายใดในพ้ืนท่ีมี ส่วนร่วมบ้าง และมีส่วนร่วมอย่างไร สุดท้ายคือวิเคราะห์กระบวนงานทั้ง 4 งาน เสร็จแล้วส่งตัวแทน นาเสนอกลมุ่ ละ 10 นาที ปรากฏผล ดังน้ี 1. วิเคราะห์กระบวนงาน (Value Chain) สมั มาชพี ชุมชน ตน้ นา้ กลางน้า ปลายนา้ -คัดเลือกหมู่บา้ นทม่ี ีครัวเรือนตกเกณฑ์ -การวางแผนให้แต่ละขั้นตอนยึด -พฒั นาการอาเภอต้องมีการกากับ ติดตาม จปฐ. มาก-น้อย ตามจานวนหมูบ่ ้าน หยนุ่ แต่ใหท้ นั กาหนดเวลา ดูแล และประเมินผลเชิงคุณภาพและเชิง เป้าหมายท่ีไดร้ บั -สร้างความรู้ความเข้าใจครัวเรือน ปริมาณ -กรณที ่ไี มม่ ีครวั เรือนตกเกณฑ์คัดเลอื ก เป้าหมาย/กลไกการขับเคล่ือน -ครัวเรอื นเป้าหมายมีอาชพี มีรายได้ หมูบ่ ้านทม่ี ีความพร้อม -เสนอเมนูอาชีพเพื่อให้ครัวเรือน -ถอดบทเรียนครัวเรือนต้นแบบ ยกย่อง -ศกึ ษาแนวทางข้นั ตอน เป้าหมายเลอื ก ช ม เช ย ก รณี ค รัว เรือ น ที่ ไม่ ป ระส บ -เตรยี มความพร้อมด้าน ปราชญช์ ุมชน -ฝึกอาชีพครัวเรือนสัมมาชีพชมุ ชน ความสาเรจ็ ตอ้ งแกไ้ ข ครัวเรือนเป้าหมาย กลไกในการขบั เคลอื่ น/ -สร้างอาชีพจากความต้องการของ -ครัวเรือนเป้าหมายรวมกลุ่มประกอบ ภาคีการพฒั นา ประชุมสร้างความเขา้ ใจ ประชาชน อาชีพ/จดั ตง้ั กลุ่มอาชพี ส่คู วามย่งั ยนื ให้กับปราชญ์สัมมาชีพและครัวเรือนน้อมนา -บูรณาการการทางานระหว่างภาคี -ครวั เรอื นไม่มหี น้ีนอกระบบ/ปลอดยา หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปปรบั การพฒั นา เสพตดิ ใช้ในการดารงชวี ติ -แสวงหางบประมาณเพ่มิ เติม -ประชาชนมีความสุข -วางแผนการดาเนินงานขับเคลอ่ื นสมั มาชีพ -สรุปรายงานผล ชุมชน ผลการวเิ คราะห์กระบวนงานสัมมาชีพชุมชน ประเด็นจาก อะไรคือ ปัจจยั ทีม่ ผี ลต่อความสาเรจ็ เครอื ข่าย/ กระบวนงาน ความสาเรจ็ ทาอย่างไร ไมส่ าเร็จ เพราะอะไร ความสาเรจ็ ความเสี่ยง กลไกการ ทางาน 1.เตรียมข้อมูล -คัดเลือก -ประชมุ -คดั เลอื ก -คดั เลอื ก -ขอ้ มูลดีชี้ -ระยะเวลา -ศจพอ. -ประชุมสรา้ ง พน้ื ท่ี -สรา้ งสอ่ื พน้ื ทไี่ ม่ กลุ่มเป้าหมาย เป้าถูก จากดั -อปท. ความรู้ความ เปา้ หมายให้ ขบั เคล่ือนการ เหมาะสม -กลมุ่ -พัฒนาการ -จงั หวัด -ภาค/ี เขา้ ใจแก่ ตรงกับตาม สรา้ งสมั มาชพี เป้าหมาย อาเภอ ล่าช้า เครอื ข่าย เจ้าหนา้ ท่ี แนวทางท่ี ชมุ ชน ไม่ให้สาคัญ กากบั ดูแล -ผู้บรหิ าร พฒั นาชมุ ชน กาหนด ควบคุมให้ ระดับตาบล เรื่องการ -เจ้าหนา้ ท่ี เป็นไปตาม ไม่สนับสนุน คดั เลอื กหมบู่ ้าน พัฒนา แผน กิจกรรม เปา้ หมาย ชุมชนมี -มี -คดั เลอื ก ความรคู้ วาม แผนปฏิบตั ิ ปราชญ์ชุมชน เข้าใจในการ การชัดเจน ดาเนินงาน สัมมาชีพ ชมุ ชน

7 ประเดน็ จาก อะไรคือ ทาอย่างไร ไม่สาเรจ็ เพราะอะไร ปจั จัยที่มีผลต่อความสาเร็จ เครอื ข่าย/ กระบวนงาน ความสาเรจ็ -ไมเ่ ป็นไป -ภารกจิ กลไกการ 2.พฒั นา -ประชมุ ช้แี จง ตามบทบาท หนว่ ยงานมาก ความสาเร็จ ความเสีย่ ง ทางาน กลไก -มีกลไก สรา้ งความ หน้าท่ี -ขาดสง่ิ จงู ใจ -ทีม ขบั เคล่อื น สนบั สนุนการ เข้าใจแก่ -ผู้นาเขม้ แข็ง -กลไกทีม ขับเคลอื่ น ขับเคลือ่ น เจ้าหนา้ ท่ี -ปจั จัย -ครวั เรือนไม่มี -ทมี วิทยากร ขับเคลอ่ื น อาเภอ 3.ขับเคลอ่ื น -ปราชญ์ พัฒนาชุมชน สนับสนุนไม่ ความพร้อม มศี กั ยภาพ ติดภารกจิ การ สามารถ -ศึกษาดูงาน ตรงความ -ครวั เรือนมี -ผนู้ า อช. ดาเนินงาน ถา่ ยทอดองค์ ตอ้ งการ ความตั้งใจ -ศอ.บต. ความร้แู ก่ -อบรม -ระยะเวลา ทาจรงิ -อปท. ครวั เรอื น ปราชญ์/ เรง่ รดั -ภาค/ี เปา้ หมายได้ ครัวเรือน เครือข่ายให้ -ครัวเรือน เปา้ หมาย การ เปา้ หมายนา -สร้าง สนบั สนุน องค์ความรูไ้ ป สัมมาชพี / ประกอบอาชีพ/ สนับสนนุ วสั ดุ -ปราชญ์มี -อาชพี ไม่ มรี ายได้ -คัดเลอื ก ความรู้ ต่อเนอ่ื ง -ครวั เรอื นมี ครัวเรือน -แผนปฏบิ ัติ -งบฯนอ้ ย อาชีพ/มีรายได้ สมั มาชพี การดี/แบ่ง -ครัวเรอื น มีงานทา มี ตัวอยา่ ง หน้าทชี่ ดั เจน ไม่ ความสขุ -ลงทะเบียน -มกี ลุ่มอาชีพ/ OTOP ดาเนินการ กล่มุ OTOP -สรา้ ง อย่าง -ทันเวลา/ทนั เครือข่าย จรงิ จัง เบิกจา่ ย ปราชญช์ มุ ชน -ขาด -บรรลตุ วั ชว้ี ดั ทกั ษะดา้ น อาชพี

8 ประเดน็ จาก อะไรคือ ปจั จยั ทม่ี ผี ลตอ่ ความสาเร็จ เครือข่าย/ กระบวนงาน ความสาเรจ็ ทาอย่างไร ไม่สาเร็จ เพราะอะไร ความสาเร็จ ความเสย่ี ง กลไกการ -ภารกิจมาก ทางาน -ติดตาม -ขาดความ 4.ติดตาม/ -ครวั เรอื น กากับให้ ตอ่ เนื่อง -ตดิ ตาม -บางอาชพี -เจา้ หน้าที่ ประเมนิ ผล ตัวอย่าง กาลังใจ -ทราบ กลมุ่ เปา้ หมาย สนบั สนุน ไมส่ ามารถ พัฒนาชุมชน ความก้าวหนา้ และทมี งาน ทุกระยะ -ลงพื้นที่เยี่ยม อย่าง พัฒนาสู่ -สรปุ รายงาน เยอื น ผลเป็นรูปเล่ม -แบบรายงาน ต่อเน่ือง OTOP ได้ ในการ ติดตาม/ -บูรณาการ -ยงั ไม่เปน็ สงั เกต/ สอบถาม งาน วาระ -ประชุม เจ้าหน้าที่ อาเภอ พฒั นาชมุ ชน 2. วิเคราะหก์ ระบวนงาน (Value Chain) หม่บู ้านเศรษฐกจิ พอเพียง ต้นนา้ กลางน้า ปลายนา้ -กาหนดหมบู่ า้ นเปา้ หมาย -สรา้ งกลไกการขบั เคล่ือน -ส ร้ า ง ค ว า ม ยั่ ง ยื น โ ด ย ก า ร พัฒนาตอ่ ยอดกิจกรรม -คดั เลือกหมบู่ า้ นเศรษฐกจิ พอเพยี ง -แต่งต้ังคณะทางานระดับอาเภอ/ตาบล -ตดิ ตาม/ประเมนิ ผล -ป ระ ช าสั ม พั น ธ์ก ารรับ รู้ ตน้ แบบทมี่ ีความพร้อม -จัดทีมงาน/วางเป้าหมาย/มอบภารกิจ ยกยอ่ งชมเชย/เชิดชูเกียรติ -เศรษฐกิจฐานรากมั่นคงและ -คัดเลือกครัวเรือนเปา้ หมายที่มคี วาม -เตรยี มความพร้อมสร้างการเรียนรู้แก่ ชุมชนพึ่งตนเองได้ภายในปี 2564 พร้อมรว่ มดาเนินการ กลุ่มเป้าหมาย -ประชาชนกนิ อ่ิม นอนอนุ่ ทุน มี หนี้หมด -คัดเลอื กแกนนา/ผู้นาชุมชนท่ีมคี วามร/ู้ -ดาเนนิ การตามกจิ กรรมท่ีกาหนดไว้ในเกณฑ์ชวี้ ัด ประสบการณ์ มีภาวะผู้นาสงู -ปรับทัศนคติ -สร้างความเข้าใจแก่แกนนาหมูบ่ า้ น -สรา้ งความรคู้ วามเข้าใจหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจ เปา้ หมาย พอเพียง -ประเมินจัดลาดบั หมู่บ้าน -ศึกษาดูงานโดยแกนนา/ครัวเรอื นเปา้ หมายบา้ นพี่ -จดั ทาหลกั สตู รคมู่ ือ/เอกสาร -ถา่ ยทอดองค์ความรู้ -พฒั นาทีมงาน -ทาแผนชีวติ -ใหค้ าแนะนา -สรา้ งความตระหนักถึงความสาคัญของการนา ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งไปปรับใชใ้ น ชวี ติ ประจาวนั

9 ผลการวเิ คราะหก์ ระบวนงานหมบู่ ้านเศรษฐกจิ พอเพียง ประเด็นจาก อะไรคือ ปจั จยั ที่มีผลต่อความสาเร็จ เครอื ข่าย/ กระบวนงาน ความสาเร็จ ทาอยา่ งไร ไมส่ าเรจ็ เพราะอะไร ความสาเร็จ ความเสี่ยง กลไกการ ทางาน 1.คัดเลือก -คนในชุมชนมี -วางแผน ข้อจากัดของ ผู้นาตดิ -มีการ -เปา้ หมาย -แกนนา หมู่บ้านแกนนา ความพร้อม กาหนดงาน ห้วงเวลา ภารกจิ ขับเคลอ่ื น ไม่ตรง หมู่บ้าน -อบรมแกนนา -เป็นหมู่บา้ น -มอบหมาย -ครัวเรอื น -ครัวเรอื น ตามแผนงาน -คณะ -สรา้ งเครื่องมือ สัมมาชพี ในปีท่ี งาน เป้าหมาย เป้าหมายมี ทกี่ าหนดไว้ ทางาน และหลกั สตู ร ผ่านมา -ประสานงาน เปลีย่ นแปลง การ -บรหิ าร ขบั เคลอ่ื น -ปรบั ทัศนคติ -ผนู้ าเข้มแขง็ -ตดิ ตาม หมนุ เวยี น จดั การตาม ระดับ -การมสี ว่ นร่วม -การ เปลย่ี นคน ห้วงเวลา ตาบล/ -มกี องทุน บูรณาการกบั อบรม -ภาคมี ีส่วน หมูบ่ ้าน ชุมชน/กลุม่ / ภาคี ร่วมในการ -คณะทา องค์กรที่ ทางานอย่าง งานระดับ เขม้ แข็ง ต่อเนอ่ื ง หมู่บา้ น -การบูรณาการ -ประชารฐั ทกุ ภาคส่วน 2.พัฒนาตาม -สรา้ งความรู้ -มหี มู่บา้ น -พัฒนาตาม -ครัวเรือน -นโยบาย -ครวั เรือน -สนับสนนุ แผนงาน ความเขา้ ใจ ตวั อยา่ ง แผน เปา้ หมายไม่ รัฐบาล/ เป้าหมายไม่ ให้กาลงั ใจ อบรม/สัมมนา/ ตน้ แบบ -เกณฑ์ เขา้ รว่ ม กรมการ เห็น และบรู ณา ศกึ ษาดงู าน -ผนู้ าเข้มแข็ง ตวั ชว้ี ัด อย่าง พัฒนาชมุ ชน ความสาคญั การการ -สาธิตอาชพี -ครวั เรือน ตอ่ เนอ่ื ง -ขั้นตอน/ ในระยะยาว ทางาน -ทาแผนชวี ิต ตน้ แบบ -งบ กระบวนงาน รว่ มกันอยา่ ง -การนาไปใช้ ประมาณ มคี วาม ตอ่ เน่ือง ใน น้อย ชัดเจน ชีวิตประจาวนั -การมีสว่ น รว่ มทุกภาค สว่ น 3.ตดิ ตาม/ -กลไกสามารถ -สรุปบทเรยี น -ไมส่ ามารถ -ขาดการ -เข้าใจ -GVH ไม่ -สามารถ ประเมนิ ผล ขับเคล่อื นได้ -ประเมินผล ทาไดต้ าม บรู ณาการ โครงการ ตรงกับความ ขยายผลเป็น -เชิดชูเกียรติ อย่างมี การพฒั นา แผน การทางาน ถูกต้อง เปน็ จริง จุดเรยี นรู้ ประสิทธิภาพ คร้งั ที่ 2 -ไม่สามารถ -กลไกการ -การบริหาร หมบู่ ้าน -มีงบประมาณ -รายงานผล เป็นหมู่บา้ น ทางานไม่ งบประมาณ ตน้ แบบได้ เพยี งพอ -เผยแพร่ ตน้ แบบได้ เขม้ แข็ง ภายใต้เวลา -วัสด/ุ อปุ กรณม์ ี ความสาเรจ็ อันจากัด คณุ ภาพ -ยกย่องเชดิ ชู -ประชาชนอยู่ เกยี รติ เย็นเป็นสุข

10 3. วเิ คราะห์กระบวนงาน (Value Chain) ชมุ ชนท่องเทยี่ ว OTOP นวัตวถิ ี ต้นนา้ กลางน้า ปลายนา้ -คัดเลือกหม่บู า้ น/ชุมชนทมี่ ีความ -การพฒั นาผลติ ภัณฑ์ OTOP /ของฝาก -การส่งเสรมิ การตลาด พร้อม ของที่ระลึก -ประชาสัมพันธเ์ ปดิ ตัวชุมชน -เตรียมความพร้อมชมุ ชนดา้ น -การพฒั นาแหลง่ ท่องเทีย่ ว -ส่ือสารการตลาด ผลติ ภัณฑช์ ุมชนทโ่ี ดดเดน่ เป็น -การใหบ้ ริการการท่องเทยี่ ว -เช่อื มโยงการทอ่ งเท่ียวกระแสหลกั เอกลกั ษณ์ - ชุมชนต้องมีความเขม้ แข็ง -ฝึกอบรมเตรียมความพรอ้ มองคก์ ร -พัฒนาสินค้า OTOP ที่มีคุณภาพผ่าน - คัดเลอื กคณะกรรมการท่องเท่ยี ว -สรา้ งและพัฒนาเครือ่ งมอื สร้างการรบั รู้ มาตรฐาน ชมุ ชน -การบริหารจัดการชุมชนท่องเที่ยว -รายได้จากการจาหนา่ ย OTOP -ประชุมสร้างความเขา้ ใจกบั คนใน -ค้นหาเสนห่ ช์ มุ ชน/อตั ลกั ษณ์ชุมชน -คนในชมุ ชนมรี ายได้จากนกั ทอ่ งเทย่ี ว ชมุ ชน เช่น การเตรยี มคน การเตรียม -พัฒนาต่อยอดภมู ปญั ญาใหช้ ัดเจน -ชมุ ชนเขม้ แขง็ ยัง่ ยนื ชุมชนและพฒั นาศักยภาพคนในชุมชน -พัฒนาศักยภาพคณะกรรมการ -ลดความเหลอื่ มลา้ -งบประมาณ/สารวจทุน -สรา้ งและพัฒนานักเล่าเรอื่ ง -มีอาหารพน้ื ถน่ิ /มีหม่บู ้านทอ่ งเที่ยว -เกดิ ความรัก/สามคั คใี นชุมชน -ประชาชนมคี วามสุข -สรุปบทเรียนชุมชน ผลการวิเคราะหก์ ระบวนงานชมุ ชนท่องเทย่ี ว OTOP นวตั วถิ ี ประเดน็ จาก อะไรคือ ทาอย่างไร ไม่สาเร็จ เพราะอะไร ปจั จัยทมี่ ีผลต่อ เครอื ข่าย/กลไก กระบวนงาน ความสาเรจ็ ความสาเร็จ การทางาน 1.พฒั นา -มีนกั เล่าเร่ือง -มี -บุคลากรที่ -กล่มุ ความสาเรจ็ ความเสี่ยง บคุ ลากรดา้ น -มนี ักบริหาร คณะกรรม เข้าอบรมยงั เปา้ หมายไมม่ ี -กฎ กตกิ า -ไม่มคี นไป -กรรมการ การท่องเทีย่ ว จดั การด้าน การบรหิ าร ไม่สามารถ พน้ื ฐานการ ของชมุ ชน เที่ยว บริหารจดั การ ท่องเทยี่ ว จดั การ บรหิ าร พฒั นาด้าน -การบริหาร -ขาดการ OTOP นวตั วถิ ี ประเดน็ จาก หมู่บา้ น จดั การ การท่องเท่ยี ว จดั การท่ี รบั ผดิ ชอบ -สถาบนั อะไรคือ ท่องเทย่ี ว ท่องเที่ยว -กรรมการมี โปร่งใส การศกึ ษา -พัฒนา อย่างมือ ภารกิจมาก ตรวจสอบได้ -อปท. ศกั ยภาพ อาชพี -ระยะเวลา -ภาคเอกชน/รัฐ คณะ -การบรหิ าร การฝึกอบรม ปจั จยั ที่มผี ลตอ่ -หอการคา้ กรรมการ จัดการไม่ เรง่ รัด -สภา ท่องเทยี่ ว เป็นระบบ -บคุ ลากร/ อุตสาหกรรม กรรมการแบง่ -สมาคมธรุ กจิ แบบแผน หนา้ ท่ไี ม่ ท่องเทยี่ ว ชัดเจน -ชมรมมัคคุเทศก์ ทาอยา่ งไร ไมส่ าเรจ็ -ท.ท.ท. เพราะอะไร -บริษัทประชารฐั เครือข่าย/กลไก

11 กระบวนงาน ความสาเร็จ ความสาเรจ็ การทางาน 2.พัฒนาแหล่ง -มสี ถานที่ ความสาเรจ็ ความเสี่ยง ทอ่ งเท่ยี ว ทอ่ งเทย่ี ว -พฒั นา -ระเบยี บ/ -เงอ่ื นไข -ความมี -การดแู ล -กรรมการ ปลอดภัย/มี ภมู ทิ ัศน์ กฎหมาย กฎระเบียบ/ คนมาเทีย่ ว -ภูมิรขู้ องผู้ วิธกี ารบริหาร เสนห่ ์ของ รกั ษาจุด บรหิ ารจัดการ -แลนดม์ ารก์ / -พัฒนา ปฏิบัติ งบประมาณ จุดเช็ดอนิ ผลิตภณั ฑ์ ชมุ ชน เชด็ อิน/ OTOP นวตั วถิ ี สนิ คา้ / -พฒั นา -บคุ ลากรด้าน 3.พฒั นา -ผลิตภณั ฑ์ บริการ ผลติ ภัณฑ์ การเงนิ ไมม่ ี -การประชา แลนด์ -สถาบนั สนิ คา้ /บริการ เพม่ิ ข้ึน มี เหมือน/ ประสบการณ์ คลา้ ยกนั กบั -โครงการมี สัมพนั ธ์ มาร์ก การศกึ ษา มาตรฐาน/ ท่ีอน่ื งบประมาณ ขายได้ -ผลิตภณั ฑ์ มากแตเ่ ร่งรัด -เสียงบ่น -อปท. -มอี าหารพ้ืน บางชนดิ การเบกิ จ่าย ถน่ิ จาหน่าย ผลิตไม่ ตาม จาก -ภาคเอกชน/รัฐ -มโี ลโก้ ตอ่ เนอ่ื ง ปงี บประมาณ มาตรฐาน -การ ชุมชน/ -หอการคา้ -การผลิต เบิกจา่ ย ตอ่ เน่อื ง งบประมาณ หมูบ่ ้าน -สภา ไมท่ นั อตุ สาหกรรม -สมาคมธรุ กจิ ท่องเท่ียว -ชมรมมคั คเุ ทศก์ -ท.ท.ท. -บริษทั ประชารฐั -Trader -ทุนชมุ ชน -การ -กรรมการ และกองทนุ บริหาร บริหารจดั การ ชมุ ชน จัดการที่ไม่ OTOP นวัตวิถี -เบิก โปรง่ ใส -สถาบัน งบประมาณ ของชุมชน การศกึ ษา ไดต้ าม -อปท. เปา้ หมาย -ภาคเอกชน/รัฐ -ความอดทน -หอการคา้ เสียสละ -สภา สามัคคขี อง อุตสาหกรรม คนในชุมชน -สมาคมธรุ กิจ -ลดความ ท่องเทีย่ ว เหล่ือมล้า -ชมรมมคั คุเทศก์ -ท.ท.ท. -บรษิ ทั ประชารัฐ -Trader

12 ประเด็นจาก อะไรคือ ทาอยา่ งไร ไม่สาเร็จ เพราะอะไร ปจั จยั ท่มี ีผลต่อ เครอื ข่าย/กลไก กระบวนงาน ความสาเรจ็ -นักทอ่ งเทย่ี ว ความสาเร็จ การทางาน 4.เช่ือมโยง ยังไมใ่ ห้ความ แหล่ง -การคมนาคม สนใจเพราะ ความสาเรจ็ ความเส่ยี ง ทอ่ งเท่ียว สะดวก ขาดจุดขายที่ ตา่ งๆ -แหล่ง -ทดสอบ -นัก ตรงใจ -เช่อื มโยงกับ -ขาดการ -กรรมการ ทอ่ งเทย่ี ว โปรแกรม ท่องเทย่ี วไม่ 5.สง่ เสรมิ หลากหลาย การ เข้าไปเทีย่ ว -นกั ท่องเท่ยี ว เครือข่าย เชอ่ื มโยง บรหิ ารจดั การ การตลาด -นกั ทอ่ งเท่ยี ว ทอ่ งเทย่ี ว ยังไมใ่ ห้ความ เพิม่ ขึ้น สนใจเพราะ ดา้ นการ และ OTOP นวตั วิถี -บรษิ ท้ ทัวร์/ ขาดจดุ ขายที่ ทรปิ ตรงใจ ทอ่ งเทีย่ ว ตอ่ เนื่อง -สถาบนั -ประชา และสื่อตา่ งๆ การศึกษา สมั พันธ์ ผลติ ภณั ฑ/์ ในและนอก -อปท. สถานที่ ทอ่ งเท่ียวทาง พื้นทจี่ ังหวัด -ภาคเอกชน/รฐั เว็บไซต์ -ส่ือ Online -เครือขา่ ย -หอการค้า -รายได้ กระจาย ภาคี/ -สภา -รถทวั ร/์ นักทอ่ งเทีย่ ว หนว่ ยงาน อุตสาหกรรม ลงพน้ื ที่ สนับสนุน -สมาคมธรุ กิจ อยา่ ง ท่องเท่ียว ตอ่ เนือ่ ง -ชมรมมัคคเุ ทศก์ -กระจาย -ท.ท.ท. รายได้ -บรษิ ทั ประชารฐั -Trader -พัฒนา -นัก -สนิ คา้ ได้ -ค่แู ขง่ -กรรมการ การตลาด ทอ่ งเที่ยว -ประชา ไมไ่ ด้เขา้ ไป มาตรฐาน บริหารจดั การ สัมพนั ธ์ เทย่ี วตาม ความ -ชมุ ชน OTOP นวตั วถิ ี คาดหวงั -ขาด ตื่นตวั เกดิ -สถาบนั บคุ ลากรใน การทาสอ่ื รายได้ การศึกษา -แหล่ง -อปท. ท่องเทย่ี ว -ภาคเอกชน/รฐั ไดร้ ับการ -หอการค้า พฒั นา -สภา อุตสาหกรรม -สมาคมธุรกิจ ท่องเทีย่ ว -ชมรมมคั คุเทศก์ -ท.ท.ท. -บริษัทประชารัฐ -Trader

13 4. วเิ คราะห์กระบวนงาน (Value Chain) ทุนชุมชน 4.1 โครงการแก้ไขปญั หาความยากจน (กข.คจ.) ตน้ นา้ กลางนา้ ปลายน้า 1.การจดั เวทคี ดั เลือกครวั เรือน -การคัดเลอื กอาชีพ -ติดตามผลการดาเนินงานครัวเรือน เปา้ หมายทตี่ กเกณฑ์ จปฐ. 2.ทมี ขับเคลื่อนสร้างความรูค้ วาม -การจดั ทาโครงการ เป้าหมาย เขา้ ใจแกเ่ จ้าหน้าที่พัฒนาชมุ ชน/ คณะกรรมการในเรื่องระเบยี บปฏิบัติ -ครวั เรอื นตกเกณฑ์ จปฐ. จัดทาโครงการ -รายไดเ้ พิม่ ขนึ้ ผา่ นเกณฑค์ วามยากจน ขอยืมเงนิ ไปประกอบอาชีพ - มอี าชพี /มรี ายได้ -เมนูอาช/ี วิเคราะห์อาชีพ -การชาระคืนเงินยืมครบถ้วนตรงเวลาท่ี -การพิจารณาโครงการ กาหนด -สนบั สนุน/ตดิ ตามการดาเนินงานกจิ กรรม ครวั เรือนเปา้ หมายเป็นระยะ -การเบิกจา่ ยตามระเบียบ ผลการวเิ คราะห์กระบวนงานทนุ ชมุ ชน โครงการแกไ้ ขปัญหาความยากจน (กข.คจ.) ประเด็นจาก อะไรคือ ทาอย่างไร ไม่สาเรจ็ เพราะอะไร ปจั จยั ที่มผี ลตอ่ เครอื ข่าย/กลไก กระบวนงาน ความสาเรจ็ ความสาเรจ็ การทางาน 1.กลไก -ไม่มแี ผนการ การขบั เคลื่อน ดาเนินงาน ความสาเร็จ ความเสี่ยง -ขาดความเอา 2.การบริหาร -ความรคู้ วาม -อบรมให้ -ทีม ใจใสข่ อง -ความ -การ -จนท.พช. จดั การ เข้าใจของทีม ความร/ู้ ขับเคลอ่ื น เจา้ หนา้ ที่ ขับเคลอื่ น ประชุม/ ขาดองค์ พฒั นาชมุ ชน ร่วมมอื ของ ปรบั เปล่ีย -คณะกรรมการ 3.การ (เจ้าหนา้ ท่ี วดั เวที ความรู้ ประเมินผล พัฒนาชมุ ชน/ SWOT -ครวั เรอื นไม่ เครือข่าย/ น/โยกยา้ ย กข.คจ. คณะกรรมการ เพ่ือสร้าง -ไมพ่ น้ ปฏบิ ัติตาม /ภาคี การรับรู้ เกณฑ์ความ โครงการ ทีม ของ -ภาคีเครอื ข่าย เครอื ข่าย) รว่ มกัน ยากจน -๕ระ กรรมการไม่ เจ้าหนา้ ที่ -ศจพอ. -เกดิ อาชพี / -ปฏิบัติ ปฏบิ ตั ติ าม เกิดรายได้ ตาม ระเบียบ พฒั นา -ไม่มีแผนการ ระเบียบ ตดิ ตาม ชุมชน -โปรง่ ใส -ปฏบิ ัตติ าม -การทุจรติ -จนท.พช. หลัก ไมโ่ ปร่งใส -กรมฯ ธรรมาภิบาล -ครัวเรือน เปา้ หมาย -พ้นเกณฑ์ -มีการ -ขาดการ -แผนและ -ปกปิด -จนท.พช. ความยากจน รายงานผล ตดิ ตาม เครือ่ งมือ ขอ้ เทจ็ จรงิ - คนื เงินยืม ตดิ ตาม ตามกาหนด ประเมินผล

14 4. วิเคราะหก์ ระบวนงาน (Value Chain) ทนุ ชมุ ชน 4.2 กลมุ่ ออมทรัพย์เพ่ือการผลติ ต้นนา้ กลางน้า ปลายนา้ 1.กระบวนการดาเนินการกลุ่มออม -ทบทวนระเบยี บตา่ งๆ -มที นุ ทรพั ยเ์ พอ่ื การผลิต 2.คณะกรรมการ/เจ้าหน้าที่พัฒนา -สร้างความรคู้ วามเข้าใจแก่คณะกรรมการ -มอี าชพี /มีรายได้ ชมุ ชน/ภาคีทเ่ี กี่ยวข้อง 3.กฎ กติกา และสมาชิก -สวสั ดิการชุมชน 4.สมาชกิ กลุม่ 5.กจิ กรรมกลุ่ม -จัดทาแผนพฒั นา -ลดหน้ไี ม่มีหนนี้ อกระบบ -จดั กจิ กรรมส่งเสรมิ การออม -หน่งึ ครัวเรือนหน่งึ สญั ญา -ศกึ ษาดูงานกล่มุ ที่ประสบผลสาเร็จ -มีทนุ ธรรมาภิบาล -ประเมินตนเองตามแบบกรมฯ -ตรวจสขุ ภาพ -ตดิ ตามอย่างต่อเนื่อง -สร้างเครือข่ายกองทนุ อาชีพ -ประสานภาคี สถาบันการเงิน/ท้องถิน่ ผลการวเิ คราะหก์ ระบวนงานทนุ ชมุ ชน กลมุ่ ออมทรัพย์เพื่อการผลติ ประเด็นจาก อะไรคือ ปจั จัยทม่ี ผี ลตอ่ ความสาเรจ็ เครือข่าย/ กระบวนงาน ความสาเร็จ กลไกการ ทาอย่างไร ไม่สาเรจ็ เพราะอะไร ความสาเรจ็ ความเสีย่ ง ทางาน 1.สรา้ ง -คณะ -ศกึ ษาดูงาน -ขาดความ -คณะ -การมีส่วน -การบริหาร -คาส่ัง รว่ ม ไมโ่ ปร่งใส แตง่ ต้งั กระบวนการ กรรมการและ ร่วมมือ กรรมการ -ความเป็น -อพยพไป เจ้าของทุน ทางานตา่ ง รับรู้ สมาชิกมี ภารกจิ มาก รว่ มกัน ถิ่น -การส่อื สาร ความรู้ความ เข้าใจ -มเี ป้าหมาย รว่ มกนั 2.พัฒนากลไก -มีกฎระเบยี บ -ตรวจ -คณะ -ภารกิจมาก -บรู ณาการ -ภารกจิ มาก -ระเบยี บ ทมี /แผนฯ -เวลาน้อย กลุ่มออม -คณะ สขุ ภาพ กรรมการ -เครื่องมือ ชัดเจน ทรพั ย์ฯ กรรมการ -จัดการ บางสว่ นขาด เขม้ แข็ง ความรู้ ความรคู้ วาม -มี เขา้ ใจ แผนพฒั นา -ไมป่ ฏิบัติตาม แผน 3.ส่งเสริมการ -หนุ้ /ออม -สง่ เสริมการ -ครวั เรอื นมี -ขาดการ -ประชา -ไมป่ ฏบิ ตั ิ -ระเบยี บ สมั พันธ์ ตามแนวทาง แนวทางการ ขับเคล่อื น เพ่มิ ขน้ึ ออก หนซ้ี ้าซอ้ น วเิ คราะห์ -สร้าง กลุ่มออม ขับเคลื่อน จติ สานึก ทรัพยฯ์ กจิ กรรม -สวสั ดิการ -หนี้เสีย อาชพี / ชุมชน การตลาด

15 ประเด็นจาก อะไรคือ ทาอย่างไร ไมส่ าเร็จ เพราะอะไร ปัจจัยทม่ี ีผลตอ่ ความสาเร็จ เครือข่าย/ กระบวนงาน ความสาเรจ็ กลไกการ -สร้าง -ขาดการ ภารกจิ ของ ความสาเรจ็ ความเส่ยี ง ทางาน 4.ตดิ ตาม -กล่มุ เข้มแข็ง แรงจงู ใจ ติดตามอย่าง แต่ละ ประเมนิ ผล -ดาเนนิ งาน -เชดิ ชูเกยี รติ ตอ่ เนอ่ื ง หนว่ ยงาน -กลุ่มให้ -ไมแ่ สวงหา -คณะติดตาม ตามระเบียบ -ติดตามโดย ความรว่ มมอื ภาคี -มีอาชีพ บคุ คล/ -มีตลาด เอกสาร/ -มรี ายได้ ระบบ เทคโนโลยี -ติดตามอย่าง ตอ่ เน่อื ง 4. วเิ คราะหก์ ระบวนงาน (Value Chain) ทุนชุมชน 4.3 กองทนุ พฒั นาบทบาทสตรี ตน้ นา้ กลางนา้ ปลายนา้ 1.วางแผนการดาเนินงาน -เอกสารสรุป/รวบยอดสาระสาคญั เช่น -รู้เขา้ ใจระเบียบ/กฎหมายสตรี 2.ศึกษาระเบยี บ/กฎหมายแนวทางที่ ระเบียบ/กฎหมาย -ปฏิบัติถูกต้องตามระเบียบแนวทางท่ี เกีย่ วขอ้ ง -สตรีไดร้ บั การพัฒนาศกั ยภาพ กาหนด 3.สรา้ งกลไกขบั เคลื่อน -อาสาสมัครกองทุนระดบั หมู่บา้ น -สตรีมอี าชพี มรี ายได้ -ประชุมช้แี จงสร้างความรู้ความเข้าใจ -คณะทางานระดับตาบล -สตรไี ด้รับการพฒั นาศักยภาพ เจ้าหน้าท่ีพฒั นาชุมชน -หนว่ ยงานภาครฐั /องคก์ รสตรี -จ่ายหนคี้ รบผา่ นตัวชีว้ ดั 4.รับสมคั รสมาชิก -อนกุ ลน่ั กรองระดบั อาเภอ -ตดิ ตาม/เร่งรัดหนคี้ รบตามกาหนด -บคุ คลธรรมดา -คณะอนุกรรมการบรหิ ารระดับจงั หวดั -ประกวด/เชิดชูเกียรติกองทุนพัฒนา -กลุม่ /องค์กร -มีแหล่งเงินทนุ ดอกเบ้ยี ต่า บทบาทสตรีดเี ด่น 5.กาหนดตัวช้ีวดั -การเขยี นโครงการชดั เจน -เกดิ กระบวนการบรหิ ารจัดการโครงการ เงินทนุ หมนุ เวียน/เงนิ อุดหนุน

16 ผลการวิเคราะห์กระบวนงานทนุ ชุมชน กองทุนพฒั นาบทบาทสตรี ประเด็นจาก อะไรคือ ปจั จัยที่มผี ลตอ่ ความสาเรจ็ เครอื ข่าย/ กระบวนงาน ความสาเรจ็ ทาอยา่ งไร ไม่สาเร็จ เพราะอะไร ความสาเร็จ ความเสยี่ ง กลไกการ ทางาน 1.กาหนด -มแี ผนท่ี -ประชุมจดั -ไม่นาแผน -ไมเ่ หน็ -ขอ้ มูล -ติดภารกิจ -คณะ แผนการ ชดั เจน เวที ไปสกู่ ารปฏิบตั ิ ความสาคญั แม่นยา อนื่ กรรมการทกุ ขับเคลือ่ น ครอบคลุมทุก วเิ คราะห์ -ปจั จยั อืน่ ของแผน ถูกต้อง -ไม่เปน็ ไป ระดับ ดา้ น SWOT แทรก -เปา้ หมาย ตามแผน -อาสาฯ -อบรมให้ ชัดเจน ระดับ ความรู้ -หว้ งเวลาที่ หมู่บา้ น เหมาะสม 2.สรา้ งกลไก -คณะทางาน -ศึกษาดูงาน -ไม่ปฏิบัติตาม -ไมป่ ฏบิ ัตติ าม -ยอมรับ/ -ขาดการ -คณะ - หนา้ ที่ บทบาทหนา้ ที่ เต็มใจ/ ยอมรับ กรรมการทุก คณะกรรมการ -สวมหมวก เสียสละ -สวมหมวก ระดบั ร้บู ทบาท หลายใบ หลายใบ -อาสาฯ หนา้ ทีแ่ ละ ระดบั ปฏบิ ัติตาม หมบู่ ้าน บทบาทหน้าที่ 3.ขับเคลื่อน -มรี ะบบการ -การส่อื สาร -ไมป่ ฏบิ ัตติ าม -ใชจ้ า่ ยผดิ -นาเงินกู้ยืม -.ใช้จา่ ยเงิน -คณะ การ บรหิ ารจดั การ สร้างการ โครงการที่ วตั ถุประสงค์ ไปใชต้ าม ไม่เป็นไป กรรมการทุก ดาเนินงาน โครงการ/ รบั ร/ู้ เหน็ เสนอขอกูย้ ืม วัตถปุ ระสงค์ ตาม ระดบั กิจกรรม ความสาคญั -สรา้ งงาน/ โครงการ -อาสาฯ -สมาชิก/ สร้างรายได้ ระดบั กลมุ่ เขียน -เกิดกลมุ่ หมูบ่ า้ น เสนอ OTOP โครงการ ชัดเจน -เกดิ ผลผลิต ท่สี ร้าง ประโยชน์ 4.ติดตาม -มีผลการ - -ระบบตดิ ตาม -ไมม่ เี วลา -เจ้าหนา้ ท่ี -เจ้าหา้ ที่ท่ี -เจา้ หนา้ ท่ี ประเมินผล ดาเนินงาน ไม่ชัดเจน -ตดิ ภารกจิ อืน่ ผู้รับผิดชอบ รบั ผิดชอบ ผ้รู บั ผิดชอบ -ประกวด/เชิด เป็นไปตาม -มีภารกิจอนื่ ติดตามอย่าง ละเลย ไม่ -เครอื ขา่ ย/ ชเู กียรติ แผน/บรรลุ แทรก สม่าเสมอ ตดิ ตามอย่าง ภาคกี าร วตั ถปุ ระสงค์ -แบบประเมนิ ตอ่ เนอื่ ง พฒั นา ไม่ชดั เจน

17 ผลจากการเรยี นรู้ พบว่า ผเู้ ขา้ รับการฝึกอบรมมีความรู้ ความเขา้ ใจ เก่ียวกบั การวิเคราะหง์ านพัฒนาชมุ ชน ภายใต้วิสัยทัศน์และนโยบายผู้บริหารเป็นอย่างดี สังเกตจากการมีส่วนร่วมในการพูดคุยแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และผลทไ่ี ด้จากการระดมความคดิ ตามทป่ี รากฏ วิชา ความคาดหวังของผ้บู รหิ ารที่มีต่อพัฒนาการอาเภอในการขับเคลอ่ื นภารกจิ สู่เป้าหมาย (แลหน้า) วัตถุประสงค์ 1. เพ่ือให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมได้รับทราบถึงความคาดหวังของผู้บริหาร/กรมการพัฒนา ชมุ ชนทีม่ ตี ่อการทางานของพัฒนาการอาเภอในการขบั เคลื่อนภารกิจสู่เปา้ หมาย 2. เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมได้ตระหนักและเห็นถึงความสาคัญของการทางานท่ี บคุ ลากรทกุ คนจะตอ้ งมองเห็นเป้าหมายและทิศทางขององคก์ รไปในทิศทางเดยี วกนั ระยะเวลา 1.30 ชว่ั โมง ขอบเขตเนื้อหาวชิ า 1. ความสาคัญของคากล่าวที่ว่า “ทิศทางสาคัญกว่าความเร็ว (Direction more important than Speed)” เชื่อมโยงการเรียนรู้ไปสู่ยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชนและความคาดหวัง ของผบู้ ริหาร 2. ยุทธศาสตรก์ รมการพัฒนาชุมชน ประจาปี พ.ศ. 2562 (Happiness Strategy 2018) และความคาดหวงั ของผู้บรหิ ารทีม่ ตี อ่ พฒั นาการอาเภอ 3. ความคาดหวงั ของผู้บรหิ าร และเป้าหมายในการทางาน 4 งานหลกั ใน ปี พ.ศ. 2562 เทคนิค/วิธกี าร วิทยากรทบทวนผลการวิเคราะห์งานพัฒนาชุมชนภายใต้วิสัยทัศน์ และนโยบายของ ผู้บริหารเช่ือมโยงสู่ความคาดหวังของผู้บริหารท่ีมีต่อพัฒนาการอาเภอในการขับเคลื่อนภาร กิจสู่เป้าหมาย น่ันคือ การแลหน้า วิทยากรมอบหมายใบงานที่ 2 โดยให้แต่ละกลุ่มศึกษาข้อมูลรายละเอียดและ วิเคราะหย์ ุทธศาสตร์กรมการพฒั นาชมุ ชน ประจาปี 2562 และสงั เคราะหอ์ อกมาให้ได้ว่า 1. งานของกลุ่มอยใู่ นประเด็นยุทธศาสตรใ์ ด 2. อะไรคือเป้าหมายหรือสิ่งท่ีกรมการพัฒนาชุมชน/ผู้บริหารองค์กรต้องการหรืออยากให้ เกิดขน้ึ ให้ทกุ กลุม่ ศึกษาข้อมูล 20 นาที ระดมความคดิ เห็นแลกเปลย่ี นเรยี นรู้รว่ มกนั 30 นาที เสร็จแล้วส่งผู้แทนนาเสนอกลุ่มละ 5 นาที และจากการระดมความคิดเห็นของแต่ละกลุ่มงาน ปรากฏผล ดังนี้

18 วิเคราะห์ความคาดหวังของผบู้ ริหารท่มี ตี ่อพัฒนาการอาเภอในการขับเคลือ่ นภารกจิ สเู่ ปา้ หมาย สมั มาชพี ชุมชน : ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 ความคาดหวัง เป้าหมาย - เกิดทกั ษะในการฝึกปฏิบตั ิอาชพี - เป้าหมายมีการรวมกลุ่มกันทากิจกรรมอาชีพตาม - มีอาชีพท่ีตรงกับความถนดั /ความสามารถ ศกั ยภาพของชมุ ชน - มอี าชีพเสริม - มีกลุ่มอาชีพที่เข้มแข็ง/มีความยั่งยืนในการ - ประชาชนมีรายได้/มีความสขุ /มีคุณภาพชีวิตทด่ี ี ประกอบอาชพี และมรี ายได้ ข้ึน - ชมุ ชนมศี ักยภาพ - ประชาชนมอี าชีพและรายได้เพิ่มข้นึ - บรู ณาการแผนชมุ ชน - พฒั นากรเข้าใจในกระบวนงานอย่างชัดเจน - แผนชุมชนระดับตาบลได้รับการขับเคลื่อน/ได้รับ - แก้ไขปัญหาความยากจน การสนับสนุนจากองค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถ่ิน - ครัวเรือนยากจนลดลง - เศรษฐกิจฐานรากมั่นคงชุมชนพง่ึ ตนเองได้ “มั่นคง - มสี วัสดกิ ารชมุ ชน มงั่ คง่ั ยัง่ ยืน” - เกดิ การบรู ณาการกับภาคีเครอื ขา่ ย - เขา้ สเู่ ส้นทาง OTOP - การเข้าถึงแหลง่ ทนุ - เกิดกลมุ่ อาชีพจากสมั มาชพี ชมุ ชน - มีการออม - เป็นกลุ่มเป้าหมายของบริษัทประชารัฐรักสามัคคี - สนบั สนุนการตลาด (SE) และเกดิ ตลาดประชารฐั สมั มาชพี ชุมชน หมู่บา้ นเศรษฐกิจพอเพียง : ประเด็นยุทธศาสตร์ท่ี 1 ความคาดหวัง เปา้ หมาย - ชมุ ชนพ่ึงตนเองได้ - ชมุ ชนมศี ักยภาพในการบรหิ ารจัดการ - ประชาชน/ชมุ ชนรเู้ ท่าทันการเปล่ียนแปลง - ชุมชนสามารถพัฒนาตนเองเป็นหมู่บ้านเศรษฐกิจ - ชมุ ชนสามัคคีมคี วามสขุ พึง่ พาตนเองได้ พอเพยี ง - คนในชุมชนน้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ - เปน็ หมบู่ ้านปลอดยาเสพติด พอเพียงไปปรับใช้ในชวี ิตประจาวันจนเป็นวิถี - ชุมชนอยู่เย็นเป็นสุข (กินอ่ิม นอนอุ่น ทุนมี หน้ี - ประชาชนมีอาชีพ/มีรายได้อย่างม่ันคง มั่งคั่ง และ หมด) ย่งั ยนื

19 ชุมชนท่องเท่ียว OTOP นวัตวถิ ี : ประเด็นยุทธศาสตรท์ ่ี 2 ความคาดหวัง เปา้ หมาย - พัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชน/ศูนย์ เก่ง - มีจานวนครัวเรือนได้รับผลประโยชน์จากการ ดา้ นทอ่ งเทย่ี ว กระจายรายได้ รอ้ ยละ 85 - พัฒนาสินค้าและผลิตภัณฑ์ OTOP/สินค้าที่ระลึก - ผลิตภัณฑ์มีคุณภาพ/มีมาตรฐานและจาหน่าย ท่ีมอี ตั ลกั ษณ์ เพม่ิ ข้ึน - มีการบริหารจัดการ คน เงิน แหล่งท่องเท่ียว อาหาร - ยกระดบั มาตรฐานผลิตภัณฑ์ กลมุ่ D ผลติ ภณั ฑท์ ่เี หมาะสม - ชมุ ชนมรี ายได้เพ่ิมข้ึน 10% - เป็นโครงการเสริมสร้างเศรษฐกิจฐานรากชุมชนให้ - ประชาชนมีความสขุ ในระดับ “อยเู่ ย็นเปน็ สขุ ” เข้มแข็งพง่ึ ตนเองได้ - มกี ลมุ่ ผผู้ ลิต/ประกอบการ OTOP รายใหม่เพิ่มข้ึน - 1 หมบู่ ้านทอ่ งเท่ียว 1 พก. - ชมุ ชนเข้มแขง็ พง่ึ ตนเองได้ - หมู่บ้านเป็นแหล่งท่องเที่ยวเรยี นรคู้ นในชุมชนมีรายได้ - อนรุ ักษภ์ มู ิปญั ญาและส่ิงแวดล้อม ทุกคน - มีอาชีพ มร่ี ายได้ มีงานทา - นักเล่าเร่อื งท่ีเป็นมืออาชพี - มนี ักท่องเทย่ี วตลอดเวลา - นาเศรษฐกจิ สรา้ งสรรค์ปรับใช้พัฒนาเศรษฐกิจชุมชน - ประชาชนมีรายได้และมีความสุขจากการ - ชุมชนท่องเทยี่ วทีม่ ีมาตรฐาน ทอ่ งเทีย่ วเพมิ่ ขึ้น - ประชาชนในหมู่บ้าน/ชุมชนให้มีความร่วมมือ - มั่นคง มัง่ ค่งั ยั่งยนื

20 ทุนชมุ ชนธรรมาภบิ าล : ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ท่ี 3 ความคาดหวัง เป้าหมาย กข.คจ - ครัวเรือนตกเกณฑ์ จปฐ.มีเงินทุนในการ - ครัวเรือนเป้ าหมายผ่านเกณ ฑ์ จป ฐ. ประกอบอาชพี (รายได)้ มีรายได้เพ่ิมขึน้ - ประชาชนเข้าถึงแหล่งทุน มีอาชีพ มีรายได้ - มรี ายได้พน้ เกณฑค์ วามยากจน หน้ีนอกระบบลดลง - มธี รรมาภิบาล - เงินทุนไม่สญู หาย - หมู่บ้าน กข.คจ. มีการตรวจสุขภาพทางการ - มีการบรหิ ารจดั การโดยคนในชุมชน เงนิ - ปฏบิ ตั ิตามระเบียบ ออม - จดั สวสั ดิการใหส้ มาชิก/พัฒนาชมุ ชน - มกี ารจดั สวัสดิการชุมชน ทรพั ย์ - มีการออมเงนิ - เกิดความรักความสามัคคี - บรหิ ารโปร่งใส/ระบบบริหารมคี ุณภาพ - กลุ่มมกี ารยกระดบั - มกี ิจกรรมเครือข่าย - มกี ารออมทุนครัวเรอื น - การพัฒนาระบบประชาธิปไตย - ปฏิ บั ติ ตามระเบี ยบและแนวทางการ - ใชเ้ งินเป็นเครอื่ งในการพัฒนาคน ดาเนนิ งานของกรมฯ - เกิดกระบวนการเรยี นรู้ - มีการออมเพ่ิมข้นึ /มีการส่งเสรมิ อาชีพ สตรี - ใชเ้ งนิ ตรงตามวัตถปุ ระสงค์ - สตรีมีอาชีพ มรี ายได้เพ่ิมขึ้น - สรา้ งโอกาสการเขา้ ถงึ แหลง่ ทุน/ดอกเบี้ยตา่ - แกป้ ญั หาใหก้ บั สตรีทกุ ระดับ - เป็นแหลง่ ทุนแก้ไขปัญหาสงั คม/สตร/ี เดก็ - สตรี/เด็ก/ผู้ด้อยโอกาสได้รบั การดูแล - สตรมี ีทุนในการประกอบอาชพี - ลดความเหลื่อมล้า/กระจายรายได้ - พฒั นาศักยภาพสตรใี หเ้ กิดภาวะผ้นู า - สตรีมศี กั ยภาพในการบรหิ ารจดั การตนเอง - สร้างกระบวนการเรียนรู้/มีส่วนร่วมการ บริหารจดั การ ผลจากการเรยี นรู้ พบว่า ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความรู้ ความเข้าใจ และให้ความสนใจเป็นอย่างดีในการ ร่วมกิจกรรมการแลกเปล่ียนเรียนรู้ สังเกตจากการมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น การแลกเปล่ียน เรียนรไู้ ด้อยา่ งชัดเจน

21 วิชา วเิ คราะหส์ ถานการณค์ วามเปล่ียนแปลงท่สี าคัญ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมได้รับทราบและเขา้ ใจถึงสถานการณ์ความเปลีย่ นแปลงที่มี ผลต่อการทางานของพัฒนากร โดยเฉพาะ 4 เร่ือง สาคัญ ได้แก่ 1)ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี 2) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 3) Thailand 4.0 4) สังคมยุคดจิ ิทลั /ข้าราชการในยคุ ดจิ ทิ ลั 2. เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมสามารถวิเคราะห์ผลกระทบทางบวกและทางลบจาก สถานการณ์ความเปล่ียนแปลง 4 เร่ืองหลัก และแสวงหาโอกาสจากสถานการณ์ความเปล่ียนแปลงดังกล่าว ได้ ระยะเวลา 2.00 ช่ัวโมง ขอบเขตเน้อื หาวิชา 1. ยุทธศาสตรช์ าติ 20 ปี 2. แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบับท่ี 12 3. Thailand 4.0 4. สงั คมยุคดจิ ิทลั ขา้ ราชการในยุคดิจิทลั เทคนิค/วธิ ีการ เทคนิค/วธิ กี าร ทีมวิทยากรให้แต่ละกลุ่มศึกษาค้นคว้าและสืบค้นข้อมูลตามภารกิจท่ีได้รับมอบหมาย โดย ใหแ้ ต่ละกลุ่มดาเนนิ การ ดงั น้ี 1. นาเสนอเร่ืองท่ีได้รบั มอบหมาย เพื่อให้ผู้ท่ีเข้ารบั การฝกึ อบรมท้ังหมดเกิดความร้คู วาม เขา้ ใจในเรอื่ งนั้นๆ 2. แสดงหรือช้ีให้เห็นว่าเรื่องดังกล่าวมีผลกระทบทางบวก หรือทางลบต่องานพัฒนา ชมุ ชน 4 งานหลักอย่างไร โอกาสทจี่ ะไดร้ บั คืออะไร 3. ให้แต่ละกลุ่มเขียนสิ่งท่ีไดเ้ รียนรู้จากวิทยากร โดยการเขยี นข้อความสิ่งทไ่ี ด้เรียนรู้ลงใน Post it 1 ความคิด/1 ใบ ระดมความคิดกลุ่มละ 30 นาที นาเสนอกลุ่มละ 7 นาที เสร็จแล้วเติมเต็มโดย ผู้เชี่ยวชาญ (นางสายพิรุณ น้อยศิริ) ท่ีปรึกษากรรมการอานวยการใหญ่ บจม.เบฟเวอเรจ จากัด (มหาชน) ปรากฏผล ดงั น้ี

22 สัมมาชีพชุมชน ยทุ ธศาสตรช์ าติ 20 ปี แผนฯ 12 ผลกระทบ โอกาส ผลกระทบ โอกาส +- +- - ลดความเหลือ่ มล้า - บคุ ลากรของกรมฯ - พช.ไดร้ ับการ - ผูน้ ้า/ครัวเรอื น - สนิ ค้าลน้ เกนิ - เพ่มิ ช่องทางการ - มีงบสนบั สนุนใน ปรับตวั ไมท่ ันการ สนับสนนุ ให้เปน็ เป้าหมายไดร้ ับการ ความต้องการ เข้าถงึ บรกิ ารของรัฐ การท้างานมากขนึ เปลีย่ นแปลง หนว่ ยงานในการ พฒั นาศกั ยภาพ - การปรับตัวของ - เพมิ่ โอกาส - ไดอ้ ตั ราก้าลังเพม่ิ - มีความเส่ยี งในการ สร้างรายไดใ้ น - การเสรมิ สร้าง ผูน้ า้ กล่มุ /องค์กร กลมุ่ เปา้ หมายมี - มสี ัมมาชีพตามความ พสั ดมุ ากขึน ชุมชน ศกั ยภาพชุมชนให้ - สังคมผู้สูงอายุ รายไดเ้ พ่ิมขนึ ถนดั ของแตล่ ะคน -Supply> Demand - เป็นผปู้ ระกอบการ เขม้ แข็ง - การมสี ว่ นรว่ ม - ผู้น้า/ครวั เรือน - พัฒนาทรัพยากร - ผลผลิต > ความ - สร้างงาน/อาชพี / - ครัวเรอื นมอี าชพี /มี นอ้ ย เป้าหมายไดร้ บั การ มนุษย์ ตอ้ งการสนิ คา้ รายได้ใหป้ ระชาชน รายไดล้ ดความ พฒั นาศกั ยภาพ - เปา้ หมายเพ่อื ล้นตลาด มคี วามสขุ เหล่อื มล้า - การสร้างสมั มาชีพให้ ประชาชน อยดู่ ี - สินคา้ ไม่มีคณุ ภาพ - ตอ่ ยอด - พนื ฟู - สนิ ค้าชมุ ชนได้รบั การ เป็นวาระของประเทศ กนิ ดี และมคี วามสุข ภมู ิปญั ญา พัฒนาเป็นมิตรกบั - กรมฯได้รับโอกาสเปน็ - ประชาชนไดร้ บั - การเสรมิ สรา้ งให้ ส่งิ แวดล้อม หน่วยงานหลักใน ผลประโยชน์จาก ครัวเรอื นมคี วาม - มีกลมุ่ OTOP สรา้ ง เรอื่ งเศรษฐกจิ พอเพยี ง การพฒั นาอย่าง พร้อมในการแกไ้ ข ความเขม้ แข็ง ได้รบั งบมากขึน เท่าเทยี ม ปัญหาความยากจน เศรษฐกจิ สามารถ - การบูรณาการความ แขง่ ขนั ได้ รว่ มมอื จากทุกภาค - ประชาชนฐานรากมี ส่วน อาชพี ไทยแลนด์ 4.0 สังคมยคุ ดจิ ิทลั /ข้าราชการยคุ ดจิ ทิ ัล ผลกระทบ โอกาส ผลกระทบ โอกาส +- +- - มอี งค์ความร้/ู - ปรบั ตัวไม่ทัน - สมั มาชีพเปน็ - การติดต่อสื่อสาร - การมีสว่ นร่วม - กรมมี Big Data นวตั กรรมดา้ นอาชพี - แรงงานคนจะลดลง วธิ ีการขจดั ความ รวดเร็ว ลดลง ข้อมูลสมั มาชพี - น้าระบบ IT มาใช้ - ไมเ่ หน็ ความสา้ คญั ยากจน - ประชาสัมพนั ธ/์ สอ่ื / - ขาดการไตร่ตรอง - ลดรายจา่ ยเพิ่ม ขายของทาง - เกดิ นวัตกรรม ข้อมลู รวดเรว็ วเิ คราะห์ รายได้/มีความสุข On Line ด้านอาชพี - การตรวจสอบ - ความสัมพันธก์ บั - รวดเร็วทันใจ - พฒั นาสินคา้ อย่าง - การตลาด Platform รวดเร็วขึน ชุมชนลดลง - มีช่องทางการตลาด สรา้ งสรรคม์ ี - คนรนุ่ ใหมเ่ ขา้ มา - ปลอดคอรัปชัน่ - ปรับตัวไมท่ ัน - ปฏิรปู ตนเอง/ปฏริ ูป นวตั กรรม พฒั นาภูมปิ ญั ญา - รวดเรว็ ทั่วถงึ ทนั ใจ - กองทนุ ชุมชน ความคิดในการพฒั นา - ประสานความ - น้าเทคโนโลยมี า ปรับตัวยาก สมั มาชีพ รว่ มมือเป็นหน่ึงเดยี ว ผลติ สนิ คา้ ท้าน้อย - มีการทุจรติ มาก - การเรยี นรู้/การสรา้ ง - แรงงานมที กั ษะ ไดม้ าก ขนึ เครอื ขา่ ย และทางเลือกใน การประกอบอาชพี มากขึน - ลดต้นทนุ การผลติ - การคมนาคมขนสง่ สินค้าสะดวกรวดเรว็

23 หมู่บา้ นเศรษฐกจิ พอเพียง ยุทธศาสตรช์ าติ 20 ปี แผนฯ 12 ผลกระทบ โอกาส ผลกระทบ โอกาส +- +- - ขบั เคล่ือนการ - เกิดการแขง่ ขันสูง - ประชาชนมีสว่ น - เสรมิ สรา้ งศักยภาพ - เกดิ ปัญหามลพิษ - เน้นการพฒั นา พฒั นาประเทศด้วย - คนทพ่ี รอ้ มจะ รว่ มในการ ชุมชน ฝุ่นละออง เศรษฐกจิ ฐานราก การพฒั นาตาม ไดเ้ ปรยี บ กา้ หนดวิถีชีวิต - ลดความเหลอ่ื มลา้ - วถิ ชี ีวติ ของชมุ ชน - ประชาชนเขา้ ถงึ หลกั ปรชั ญาของ - อพยพแรงงานเขา้ ด้วยตนเองได้มาก ทางสังคม เปลี่ยนไป ระบบดจิ ิทลั เศรษฐกิจพอเพียง เมือง ขึน - คนมสี ว่ นร่วมมากขึน - ประชาชนรอรับ - เกดิ การเรียนร้ทู ี่ - เกดิ ความมัน่ คงของ - เกิดสงั คมเดยี ว - มีเป้าหมายในการ - พัฒนาศักยภาพคน การช่วยเหลือจาก หลากหลาย เศรษฐกิจฐานราก พัฒนา ให้มีความรู้ ทักษะ ภาครัฐอยา่ งเดยี ว - สรา้ งฐานข้อมูล Big - คน/ผูน้ ้ามศี กั ยภาพ - สรา้ งโครงขา่ ย อาชีพ และการ - วัยแรงงานเขา้ สู่ Data ได้ง่าย สงู ขึน ส่อื สารรวดเรว็ ด้ารงชีวติ อย่างมี เมอื ง - การเขา้ ถงึ ข้อมูล - เข้าถงึ แหล่งทนุ กระชับ คุณคา่ - ผสู้ ูงวยั มากขนึ รวดเรว็ (ประชาชน) - รวยกระจกุ จน - เกดิ ชอ่ งวา่ งคน - การเข้าถงึ บริการท่ีมี - เกดิ เครือข่าย กระจายเหมอื นเดมิ จนคนรวยหา่ งกนั คุณภาพของภาครัฐ อาชพี หลากหลาย - คนดอ้ ยโอกาสก้าวไม่ มาก - การสร้างความเปน็ เขา้ ถึงไดง้ ่าย ทันเทคโนโลยดี จิ ิทลั ธรรมและลดความ - การปรบั ตัวท่ี เหล่ือมลา้ ในสังคม ค้านงึ ถึงส่ิงแวดล้อม และสุขภาพ - ประชาชนมีอาชีพ รายไดค้ ณุ ภาพชีวติ ดี ไทยแลนด์ 4.0 สงั คมยคุ ดจิ ทิ ัล/ข้าราชการยคุ ดจิ ทิ ลั ผลกระทบ โอกาส ผลกระทบ โอกาส +- +- - การสรา้ งความ - การปรับตัวของคน - สามารถใช้ - สอ่ื สารได้รวดเร็ว - เกดิ การหยา่ รา้ ง - เข้าถงึ งา่ ย เขม้ แข็งจากภายใน ในชมุ ชน นวตั กรรมในการ - เจาะกล่มุ เปา้ หมายได้ มากขึน - การขยายตัวทาง - การจัดการองค์ - กา้ วข้ามวิถีชีวิต เพม่ิ มูลคา่ แก่ เจาะจง - เกิดสภาวะสงั คม การตลาด ความรู้ - อาชีพในชุมชนต้อง ทรพั ยากร - รวดเรว็ /กว้าง/ ก้มหน้า - สร้างอาชพี /เพม่ิ - เข้าถึงขอ้ มูล ปรบั ใหม่ 4.0 - การมสี ่วนร่วม สะดวก - ตกยุค รายได้ ข่าวสารไดง้ ่ายและ ประชารฐั - มแี หลง่ สบื คน้ ข้อมลู - ความสัมพันธ์ - เพ่ิมชอ่ งทางขอ้ มลู รวดเรว็ - ลดระยะเวลา/ ขา่ วสารมากมาย ระหวา่ งบุคคล/ ขา่ วสาร - สร้างความเติบโต แรงงาน ครอบครัวลดลง บนคุณภาพชวี ติ ที่ - ควบคมุ ยากถูก เปน็ มติ รกบั หลอกได้ง่าย ส่ิงแวดลอ้ ม - ปัญหาสงั คม - คนรายได้น้อย - เดก็ สมาธสิ ัน คนดอ้ ยโอกาสได้รับ - ขอ้ มูลเท็จ การชว่ ยเหลอื มากขนึ กระจายได้งา่ ย - เกิดนวตั กรรมใน และเร็ว ชุมชน

24 ชุมชนท่องเท่ียว OTOP นวัตวิถี ยทุ ธศาสตรช์ าติ 20 ปี แผนฯ 12 ผลกระทบ โอกาส ผลกระทบ โอกาส +- +- - ชุมชนเกิดตระหนัก - การแข่งขนั สงู - เกดิ นวัตกรรมใหม่ - การสร้างความ - ชมุ ชนขาดการ - เป็นการพฒั นา ในการส่วนความ เกินไป ขึนมากมาย เข้มแขง็ ชุมชน เตรียมความพร้อม เศรษฐกิจชุมชน ม่ันคง มั่งคั่ง ยั่งยืน - สงิ่ แวดล้อมถกู - ชุมชนเขา้ ถงึ แหลง่ - เกดิ การพฒั นาแบบ ดา้ นตวั บคุ คลทา้ ให้ เพ่ือตอบโจทย์ ควบค่ไู ปกบั การ ทา้ ลาย ทุนในการสรา้ ง บูรณาการทุกภาค ตามไมท่ ันการ สรา้ งความเปน็ ท่องเท่ียว - สังคมเมือง อาชีพ/รายได้ ส่วน เปล่ียนแปลง ธรรมและลดความ - ชุมชนเกิดการ - ผลกระทบมคี วาม - การพัฒนามี - การส่ือสารไร้ - เกดิ การแข่งขันกนั เหลอื่ มลา้ ในสังคม ออกแบบสรา้ ง รุนแรงต่อชุมชน เป้าหมายชัดเจน พรมแดน ทกุ ดา้ นจนขาด - ชุมชนมีเปา้ หมาย นวัตกรรมด้าน - ทรพั ยากรฯ ถูก และต่อเนอ่ื ง - กจิ กรรรมสนบั สนนุ ความสามัคคี ในการพัฒนาที่ สินค้าและบริการ น้ามาใช้มาก (พรบ. ภารกจิ พฒั นาชมุ ชน ปรองดอง สอดคลอ้ งกับ - พฒั นาทรพั ยากร - การเปลี่ยนรัฐบาล ยุทธศาสตร)์ การลดความเหล่อื ม แผนพัฒนาส่วน มนษุ ย์ ใหมง่ านจะไม่ - ชมุ ชนทอ่ งเทีย่ ว ล้า/ยากจน ตา่ งๆ ชดั เจน - การบริหารจดั การ ตอ่ เนอ่ื ง สังคมพัฒนาสู่ - การพฒั นาเศรษฐกิจ - เกดิ นวัตกรรมขึน ชมุ ชน เศรษฐกิจพอเพยี ง ฐานรากยง่ั ยนื ใหม่ทห่ี ลากหลาย - เพิ่มช่องทาง - ชมุ ชนตอ้ งมกี าร ประชาสมั พนั ธข์ อง ปรบั ตัวใหท้ ันกับการ หมบู่ า้ น/ชมุ ชน เปลี่ยนแปลงมกี าร ทอ่ งเทีย่ ว OTOP ทบทวนแผนพัฒนา - การพฒั นาบคุ ลากร รองรบั ยทุ ธศาสตร์ ให้มคี วามร้ใู นการ ระยะยาว พัฒนาเศรษฐกิจ ฐานราก - เกิดการพัฒนา แข่งขันในชมุ ชน - มีนโยบายใน ก า ร ส ร้ า ง ร า ย ไ ด้ มีอาชีพ มีงาน ไทยแลนด์ 4.0 สังคมยุคดจิ ทิ ัล/ข้าราชการยุคดจิ ิทัล ผลกระทบ โอกาส ผลกระทบ โอกาส +- +- - ชอ่ งทางการตลาด - เป็นจุดแหง่ การ - พัฒนาผลิตภณั ฑ์ - พัฒนาด้านไอที -ขาดความสัมพันธ์ - เรียนรู้ เทา่ ทนั เพิ่ม ทจุ ริต - มีนโยบาย/ เทคโนโลยี - ห่างชุมชน พร้อมกัน - ลดโลกรอ้ น - เกิดอาชญากรรม เป้าหมายชัดเจน - มกี ารใชไ้ อทีท่ี - เปล่ียนแปลงเรว็ - E-Market - คนรู้เท่าทันกัน ทางระบบสอื่ สาร - ทกุ ภาคสว่ นให้ แพรห่ ลาย ปรบั ตวั ไมท่ ัน - การแข่งขันที่ - ลดความเหลือ่ มล้า โซเซียลที่ควบคุม การสนับสนุน - คิดนอกกรอบได้ ยุตธิ รรม/เทา่ เทยี ม ทางรายได้ในชมุ ชน ลา้ บาก (รฐั /เอกชน/ พฒั นางาน เป็นธรรม - การปรบั ตวั ของคน - ปัญหาสงั คม อบต.) ไทยดา้ นเทคโนโลยี ต้องพัฒนาคนมากขึน

25 ไทยแลนด์ 4.0 สังคมยคุ ดิจทิ ลั /ข้าราชการยุคดิจิทลั ผลกระทบ โอกาส ผลกระทบ โอกาส +- +- - ประชาสัมพนั ธ์ - วัยแรงงานย้าย ถนิ่ - เศรษฐกิจเตบิ โต - ชุมชนสรา้ งงานสร้าง -ลดแรงงานภาค - นา้ มาปรับใช้กบั หมบู่ า้ นผา่ นส่ือ ฐาน - ปรบั เปลี่ยนการ รายไดเ้ กิดความ ราชการและเอกชน งานได้ ดิจทิ ลั - อตั ลักษณช์ ุมชน ทา้ งาน เขม้ แข็ง - คนวา่ งงาน - เทคโนโลยีแทนคน - ผปู้ ระกอบการ ขาดหายไป - มนี โยบายใหมๆ่ - ทา้ ให้ข้าราชการ - ประชาสมั พนั ธ์ เพ่ิมขึน - บคุ ลากรพฒั นา ใหพ้ ฒั นาชุมชน เรยี นรพู้ ฒั นาตนเอง ขาย/ผลติ ภณั ฑ์ - IT เป็นเครื่องมือ ชุมชนรนุ่ ก่อนไม่ ทดลอง ตลอดเวลา รายได้เพ่มิ การพฒั นา รู้เทา่ ทนั ดจิ ทิ ัล - การเกดิ ใหมข่ อง - ได้รับขา่ วสารท่ี - มคี นรุ่นใหมเ่ ขา้ มา ผลติ ภณั ฑ์สง่ เสรมิ ขาดทกั ษะ/ไม่ใฝร่ ู้ ผปู้ ระกอบการ ทนั สมัยทันกาล ท้างานในชุมชน การตลาด E- - พัฒนาถน่ิ ทอ่ี ยู่ - เกดิ นวตั กรรม - นักท่องเที่ยวเข้า Commerce - มีจดุ เดน่ - งานรวดเรว็ ทนั เวลา มาในชุมชน - เกดิ นวัตกรรมใหม่ - มีรายได้ - การเขา้ ถึงข้อมลู ที่ - ตลาด กวา้ งขึน E-Commerce - การสอ่ื สารดีมาก - ถา่ ยทอดความรใู้ น ชมุ ชนจากร่นุ สรู่ ุ่น - ลดตน้ ทุนการผลติ - การแข่งขนั ดา้ น อตุ สาหกรรม

26 ทุนธรรมาภิบาล ยุทธศาสตรช์ าติ 20 ปี แผนฯ 12 ผลกระทบ โอกาส ผลกระทบ โอกาส +- +- - การสรา้ งโอกาสทาง - เสยี่ งผิดพรบ. - นโยบายรฐั - เขา้ ถึงแหล่งทนุ ได้ - การช่วยเหลอื - เป็นแผนชาตทิ ่ีต้อง สังคม - ประชาชนชอบ สอดคล้องกับ งา่ ยขนึ ตนเองลดลง ดา้ เนินการ - เปิดโอกาสในการ คอ่ ยใหร้ ัฐบาล ภารกิจกรม - การพัฒนาใชค้ นเป็น - ชมุ ชนจะมถี ือเอือ - กระจายอ้านาจ แข่งขัน ช่วยเหลือ - กระจายอ้านาจสู่ ศนู ยก์ ลาง อาทรน้อยมีการ สร้างโอกาสในการ - การบรู ณาการงาน/ - ระยะเวลายาวนาน ทอ้ งถน่ิ /ชุมชน - มนี วตั กรรมเกดิ ขึน แขง่ ขนั กันสงู เข้าถงึ แหลง่ ทนุ คน/เงิน (20 ป)ี อาจท้าให้ - ทา้ งานแบบ - สร้างงานสรา้ งอาชพี - พฒั นาเศรษฐกิจ - แก้ไขปญั หาความ สถานการณ์เปลีย่ น ประชารัฐ กอ่ ใหเ้ กิดรายได้ ชมุ ชน ยากจน - คาดเดายากโลก - ความสมดลุ ของ - เป็นการรกั ษา - กระจายรายได้ - มีโอกาสเข้าถึง เปลีย่ นไปมาก ธรรมชาต/ิ ส่ิงแวดล้อม - เพม่ิ ความสามารถใน แหลง่ ทุน สิง่ แวดลอ้ ม - น้าเทคโนโลยีมาใช้ การแขง่ ขนั - มงี บประมาณ กับการท้างาน - กระตุ้นเศรษฐกจิ ทา้ งานมากขึน รวดเรว็ ฐานราก - ผู้นา้ ได้รบั การ - สอื่ สารเสียววนิ าที พัฒนาศกั ยภาพ รวดเรว็ ทกุ ท/่ี สามารถบรหิ าร ทกุ เวลาก้าวไกล จัดการชมุ ชนได้ 24 ชั่วโมงท่ัวโลก ไทยแลนด์ 4.0 สงั คมยคุ ดิจิทัล/ข้าราชการยคุ ดจิ ทิ ลั ผลกระทบ โอกาส ผลกระทบ โอกาส +- +- - เสริมสรา้ งความ - รูปแบบทุนชุมชน - เปน็ นโยบายของ - สงั คมออนไลน์ - เกดิ ปัญหาสงั คม - การรับรูข้ ้อมลู เขม้ แขง็ ภายใน ดา้ นการออมไม่ รฐั บาล เกิดขนึ - ทา้ ลายธรุ กจิ ขา่ วสารรวดเรว็ - พฒั นาบคุ ลากร ชดั เจน - สรา้ งเครือข่าย - ขอ้ มลู ข่าวสาร บางอย่าง เช่น - มเี ครื่องส่ือสารท่ี - ไดร้ ับความเปน็ - การใช้สกุลเงินสด การทา้ งาน รวดเร็วทนั ใจ นิตยสาร ทนั สมยั ธรรมในการเขา้ ถึง ลดน้อยลง - เพ่ิมช่องทางการ - รเู้ ท่าทนั สถานการณ์ หนังสอื พมิ พ์ - นโยบายรฐั บาล การรบั บริการของ - เกดิ สถานการณ์ พฒั นาด้านต่างๆ ของโลก - การเรยี นแบบกนั Internet ตา้ บล/ รฐั “ปลาใหญก่ ินปลา - ทุกภาคส่วนต้อง - เกิดอาชพี ที่ - เกิดความขดั แย้ง หมบู่ ้าน - เกดิ ขา้ ราชการ เล็ก” ขับเคลอ่ื น หลากหลาย ระหวา่ งคนรนุ่ ใหม่ - OTOP พนั ธุ์ใหม่เชีย่ วชาญ - เกดิ โครงการ - เข้าถงึ ข้อมลู ไดง้ า่ ย กบั คนรุน่ เก่า E-commerce เทคโนโลยี ประชานิยม - สงั คมไลน์กระจาย - สังคมก้มหนา้ สอดคล้องกับ สารสนเทศ - เกดิ นวัตกรรม - ขาดกระบวนการ นโยบายรฐั บาล - นา้ เทคโนโลยี - ลดขันตอนการผลิต พฒั นาชุมชน ดิจทิ ลั สารสนเทศมา - One Stop Service - ขาดการตรวจสอบ - เปน็ เครอ่ื งมือใน พัฒนาการผลิต ข่าวสาร การสรา้ งเครอื ข่าย การตลาด - ความสมั พนั ธฉ์ ันท์ - การใช้ขอ้ มูล - มรี ะบบตรวจสอบ พนี่ อ้ งลดลง รว่ มกนั Big Data ทรี่ วดเรว็

27 ผลจากการเรียนรู้ พบว่า ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความรู้ ความเข้าใจ และให้ความสนใจเป็นอย่างดีในการ ร่วมกิจกรรม สงั เกตจากการมีสว่ นรว่ มในการเข้ารว่ มกจิ กรรม โดยการแสดงความคิดเห็น การแลกเปลีย่ น เรยี นรู้อยา่ งชดั เจน วชิ า การออกแบบงานกรมการพฒั นาชุมชน 4 งานหลัก ก้าวสูอ่ นาคต วตั ถุประสงค์ เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมสามารถนาข้อมูลจากการวิเคราะห์ทบทวนการดาเนินงาน 4 งานหลัก ในปี 2561 ข้อมูลผลการวิเคราะห์ความคาดหวังของผู้บริหาร และข้อมูลผลการวิเคราะห์ สถานการณ์ความเปลี่ยนแปลง 4 เรื่องสาคัญ มาออกแบบงานพัฒนาชุมชน 4 งานหลักก้าวสู่อนาคต และ รูปแบบการบริหารงาน 4 งานหลกั ใหป้ ระสบความสาเรจ็ ได้ ระยะเวลา 2.00 ชวั่ โมง ขอบเขตเนอื้ หาวิชา 1. ข้อมูลจากการวิเคราะห์ทบทวนการดาเนินงาน 4 งานหลัก ในปี 2561 ข้อมูลผลการ วิเคราะห์ความคาดหวังของผู้บริหาร และข้อมูลผลการวิเคราะห์สถานการณ์ความเปล่ียนแปลง 4 เรื่อง สาคัญ 2. แนวคดิ เรอื่ งพันธมิตร และการสร้างพันธมิตร 3. แนวคดิ /ความรูเ้ กยี่ วกับการสือ่ สารในยคุ ดิจิทัล 4. ตวั อยา่ งองคก์ รที่ประสบความสาเรจ็ จากการออกแบบ Platform เทคนคิ /วิธีการ ทมี วิทยากรใหแ้ ต่ละกลุ่มนากระดาษฟลิปชารท์ “เหลียวหลัง แลหน้า สถานการณ์ความ เปลี่ยนแปลง” ติดบอร์ดเรียงลาดับก่อน-หลัง แล้วช่วยกันระดมความคิด “ออกแบบงานมุ่งสู่อนาคต” ให้ ชดั เจน โดยมีเง่อื นไขว่างานทอี่ อกแบบน้ันจะตอ้ ง 1. ไม่เพ่มิ ภาระการทางาน แตเ่ ปน็ งานทลี่ ดภาระงาน และเป็นงานท่เี พิ่มประสิทธิภาพการ ขับเคลื่อนงาน 2. ไมใ่ ช้งบประมาณหรือใช้งบประมาณน้อย 3. เปน็ การดาเนนิ การในระดบั อาเภอหรือจดุ นารอ่ งในระดบั อาเภอ ส่งผลกระทบทางบวก ตอ่ การทางานของพัฒนากรทุกคน 4. ตอบโจทย์แก้จน และลดความเหลอ่ื มล้า 5. พันธมิตรไดป้ ระโยชน์ (Win Win) การออกแบบงานต้องระบุให้ไดว้ ่าใช้ขอ้ มูลจากจุดไหนบ้างพรอ้ มทาเคร่ืองหมายหรือสัญลักษณ์ใหช้ ัดเจน ใช้ เวลาระดมความคดิ เหน็ กลมุ่ ละ 40 นาที ส่งผูแ้ ทนนาเสนอกลุม่ ละ 5 นาที ปรากฏผล ดงั นี้

28 สรา้ งสัมมาชพี ชุมชนยกระดับส่คู วามยงั่ ยืน กระบวนการ 1. กลุ่มเขม้ แข็ง 2. ปัจจยั สนับสนนุ 3. พฒั นาคณุ ภาพสนิ ค้า 4. ตลาดออนไลน์ 5. สรา้ งเครอื ข่ายสัมมาชพี กลไก 1. ทมี สนบั สนนุ เชน่ กพสต. อช/ผนู้ า อช. ศอชต. กลมุ่ ออมทรพั ยเ์ พือ่ การผลิต กทบ. 2. ศจพอ. 3. หนว่ ยงานภาคี หมู่บา้ นเศรษฐกจิ พอเพียงต้นแบบดา้ นสวสั ดิการชมุ ชน สถานการณ์ การจัดสวสั ดิการชุมชน กระบวนงาน เปา้ หมาย - ลดความเหล่ือมล้า - ครัวเรือนยากจน - คัดเลือกหมบู่ า้ นนาร่อง - ครวั เรือนมสี วัสดิการ - แกไ้ ขความยากจน - ผู้มีรายได้นอ้ ย - สร้างทีม - สร้างอาชีพใหค้ รัวเรือน - วางแผน - มอบหมายภารกจิ - ดาเนินการตามขัน้ ตอน สู่ ประชาชนมีความสุข/มรี ายไดเ้ พม่ิ ขนึ้ ชุมชนทอ่ งเท่ยี ว OTOP นวตั วถิ ี เหลียวหลัง (แลหนา้ )SMART แนวทาง KPI -ความเป็นเจา้ ของ S:Sustainable + -วเิ คราะหถ์ อด -รายได้เพิ่ม หมู่บ้านท่องเที่ยว Satisfaction บทเรยี น 1 วนั -ผลิตภณั ฑ์ -ขาดการ -กาหนดเปา้ หมาย -จานวน ประชาสมั พนั ธ์ที่ดี M:Management + รว่ มกัน 1 วนั นักท่องเที่ยวเพ่ิม -คน Measure -แสวงหาภาคี 1 วนั -ชุมชนมคี วามสขุ -การบริหาร -ดาเนินการ 3 วนั (รับผลประโยชน์ -ผู้แสดง A:Analysis+Arable -ตดิ ตาม+ประเมินผล รว่ มกนั ) -ไมม่ ีคนไปเที่ยว R:Rethink+Renovate 1 วัน -ไม่มีเมนู การทอ่ งเที่ยว -สนิ ค้าไม่ หลากหลาย

29 ทนุ ชมุ ชน D1 เป้าหมาย : ทนุ มัน่ คง ชมุ ชนมง่ั คงั่ หนุนเสรมิ ศกั ยภาพชมุ ชนเขม้ แขง็ D2 สร้างกระบวนการ พฒั นากลไก ส่งเสริมการ ตดิ ตาม ชมุ ชนบริหารจดั การได้ เรียนรู้ ขับเคล่ือน ประเมนิ ผล ด้วยหลกั ธรรมาภิบาล D3 -ประชุม/จัดเวทสี รา้ ง -สรา้ งทมี /สรา้ ง -สง่ เสรมิ การออม -ใชแ้ ผนพัฒนาในการติดตาม เชน่ บคุ คล/เอกสาร/ระบบเทคโนโลยี การรบั รรู้ ว่ มกนั เครือข่าย -ส่งเสริมอาชีพ สารสนเทศ -ถอดบทเรยี น -ศึกษาดูงาน -ทบทวน/แตง่ ตง้ั -ระบบตรวจ -สร้างแรงจงู ใจ -เชดิ ชูเกียรติ -อบรมใหค้ วามรู้ คณะกรรมการทกุ สุขภาพ เกี่ยวกับทนุ ชุมชน ระดบั -ประเมินสุขภาพ -ประชาสัมพนั ธท์ กุ -มแี ผนการ กองทนุ ด้วยตนเอง ช่องทาง ขับเคลือ่ น -พฒั นาระบบบัญชี -MOU ระหวา่ ง -พฒั นาเครอื ขา่ ย หน่วยงาน -ส่งเสริมชอ่ งทาง -มีคู่มือการทางาน การตลาดออนไลน์ -ฐานขอ้ มูล -ส่งเสรมิ การทาส่อื -เทคโนโลยี -ส่งเสริมการจัด สารสนเทศ สวัสดกิ าร ผลจากการเรียนรู้ พบว่า ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความรู้ ความเข้าใจ และให้ความสนใจเป็นอย่างดีในการ ร่วมกิจกรรมกลุ่ม สังเกตจากการมีส่วนร่วมในการเข้าร่วมกิจกรรมของกลุ่ม การแสดงความคิดเห็น การ แลกเปลี่ยนเรียนรไู้ ด้อย่างชัดเจน ตลอดจนช้ินงานการออกแบบงาน วิทยากรให้กลุ่มที่ 1 และกลุ่มที่ 2 ศึกษาค้นคว้า/สืบค้นข้อมูลหัวข้อ “พัฒนาการอาเภอ นกั สร้างพันธมติ รในการบริหารงานในพ้ืนที่มุ่งสู่ความสขุ ประชาชน (Happiness of Thai People)” โดยให้ นาเสนอข้อมูลในด้าน 1) ความสาคัญ และแนวคิดเก่ียวกับการสร้างพันธมิตร 2) คุณลักษณะ/ทักษะนัก สร้างพันธมิตร และรูปแบบวิธีการสร้างพันธมิตร 3) ออกแบบรูปแบบ/วิธีการในการสร้างพันธมิตรการ ทางานท่มี ุ่งสคู่ วามสขุ ของประชาชน (Happiness of Thai People) กลุ่มที่ 3 และกลุ่มที่ 4 ศึกษาค้นคว้า/สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับ “ทักษะการสื่อสารในยุค ดิจิทัล (Winning Communication)” โดยให้นาเสนอข้อมูลในด้าน 1) สถานการณ์/ความสาคัญของการ ส่อื สารในยุคดิจิทัล 2) รูปแบบ/วิธีการสื่อสารที่โดนใจ 3) ทาไมต้องส่ือสารงานพัฒนาชุมชนสู่สาธารณชน และ 4) ออกแบบรูปแบบ/วิธีการสอ่ื สารงานพัฒนาชมุ ชนในยคุ ดิจทิ ัล ใหท้ กุ กล่มุ ระดมความคิด กลุ่มละ 20 นาที และผลจาการระดมความคิด สรุปได้ ดังนี้

30 พัฒนาการอาเภอนกั สรา้ งพันธมิตรในการบริหารงานในพ้ืนทม่ี ุ่งสคู่ วามสขุ ประชาชน (Happiness of Thai People) ความสาคญั และแนวคิดเกี่ยวกบั การสรา้ งพนั ธมติ ร - บรู ณาการการทางาน - เป้าหมายเดียวกนั - สรา้ งทีมงาน/พัฒนาทมี - เกดิ ความรว่ มมอื - ความสาเร็จ - ความย่งั ยืน - Win Win คุณลักษณะ/ทักษะนักสร้างพันธมติ ร - SMILE - การสือ่ สาร - นักประสานงาน - มนษุ ย์สัมพันธ์ - มีน้าใจ/ช่วยเหลอื - ให้เกยี รติ - คณุ ธรรม/เห็นอกเหน็ ใจ - ประชาสมั พนั ธ์ รปู แบบ/วธิ ีการสรา้ งพนั ธมิตร - สรา้ งสัมพนั ธ์ท่ดี อี ยา่ งต่อเน่ือง - MOU/ประชมุ - สร้างเครือขา่ ย - เจา้ ภาพหลัก - คาสง่ั แต่งต้งั /มอบงาน - ดาเนนิ การตามกิจกรรมรว่ มกนั - สร้างความผาสกุ - สนบั สนุนชว่ ยเหลอื การทางาน

31 ทกั ษะการส่ือสารในยุคดจิ ทิ ลั (Winning Communication) สอ่ื สารไรพ้ รมแดน : งา่ ยแค่ปลายนว้ิ สถานการณ์ ICT ทนั สมยั : สอ่ื สารรวดเรว็ /ก้าวไกล/ทกุ ท่ี/ทกุ เวลาทวั่ โลก รปู แบบทโ่ี ดนใจ SEVEN 7 : สะดวกตลอด 24 ช่ัวโมง สู่ APP Why ? - สรา้ งภาพลักษณอ์ งค์กร - ประชาสมั พันธ์งานพัฒนาชมุ ชน - สร้างความเชื่อถอื ศรทั ธา - สร้างเครือข่ายการทางาน รปู แบบ - App , Mobile , Website , Line , Facebook - E – Commerce/ TV online/Youtube รปู แบบการบรหิ ารงานของพฒั นาการอาเภอ เพื่อใหก้ ารขับเคล่ือนงานมปี ระสทิ ธภิ าพ เป้าหมาย องคก์ รแหง่ ความสุข สถานการณ์ - ภารกิจมาก - เวลาจากัด - บุลากร จากดั - ชวี ติ การทางาน/ครอบครวั ไม่สมดลุ กระบวนงาน เตรยี มความพรอ้ ม ดาเนนิ งาน สรปุ ผล/ประเมิน ตัวชว้ี ดั - ทาความเข้าใจกับทีมงาน - ประชุมสร้างความรู้/ - ประเมินผล - งานสาเร็จคนมี (ทบทวน/สรปุ บทเรียน ความเข้าใจ (ที มงาน / - ถอดบทเรยี น ความสุข วเิ คราะห)์ ผู้นา/องค์กร/เครือข่าย/ - เผยแพร่ - กาหนดเปา้ หมายรว่ มกนั กลไก) - มอบรางวัล (ทมี /ผนู้ า/องค์กรชมุ ชน) - ขับเคลื่อนกิจกรรมตาม สรา้ งขวญั กาลังใจ - จัดทาแผน/มอบหมาย แผนฯ งาน - สรปุ ผล/วิเคราะห์ข้อมลู - จดั ทาคมู่ อื /งบประมาณ/ - พเี่ ล้ียง/สอนงาน วัสดุ - กลไกการทางาน/ภาคี

32 Positioning : นักบรหิ ารจัดการชุมชนเชิงกลยุทธ์ กรอบงาน : บรหิ ารคน งาน เงนิ ชมุ ชน “ระเบยี บ กฎหมาย” บทบาท : - การบูรณาการมหภาคกี ารพฒั นา - สร้างคน สร้างทีม สรา้ งงาน สร้างชมุ ชน - ตดิ ตามประเมนิ ผลการบริหารจดั การชมุ ชน Monitor Conceptual กรอบภารกิจ : 3 ก้าวยา่ ง - พน้ื ฐาน - พฒั นา - ยัง่ ยนื เปา้ หมายสุดทา้ ย : - ประชาชนมคี วามสุข เราพฒั นาชุมชนจึงมคี วามสุข คนเกง่ ดี มีคณุ ธรรม มีความสขุ ผลจากการเรียนรู้ พบว่า ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความรู้ ความเข้าใจ และให้ความสนใจเป็นอย่างดีในการ ร่วมกิจกรรมกลุ่ม สังเกตจากการมีส่วนร่วมในการเข้าร่วมกิจกรรมของกลุ่ม การแสดงความคิดเห็น การแลกเปล่ียน เรียนรไู้ ดอ้ ย่างชัดเจน วิชา การสรา้ งองค์กรแหง่ ความสุข วัตถุประสงค์ เพ่ือให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมเรียนรู้แนวคิดการสร้างองค์กรแห่งความสุข และสามารถนา ความรู้/แนวคดิ ไปออกแบบรปู แบบ/วธิ ีการสร้างองค์กรแห่งความสุข ระยะเวลา 3.00 ช่วั โมง ขอบเขตเน้ือหาวชิ า 1. แนวคิด/หลักการ การสร้างองค์กรแหง่ ความสขุ ของหน่วยงาน/องค์กรอืน่ 2. ประเมินความสุขด้วย IP Matrix ค้นหาปัจจัยที่ส่งผลต่อความสุข- ไม่มีความสุขของ องคก์ ร 3. กาหนดแนวทางแก้ไข และพัฒนาองคก์ รใหเ้ ป็นองค์กรแหง่ ความสุข 4. จดั ทาแผนปฏบิ ัติการ 1 อาเภอ 1 ภารกจิ สรา้ งความสุขในองคก์ ร เทคนิค/วิธีการ วิทยากรเกร่ินนาถึงวัตถุประสงค์ของหัวข้อวิชา แล้วเชื่อมโยงสู่การบรรยายประกอบส่ือ Power Point จากน้ันให้แต่ละกลุ่มสรุปให้ได้ว่า จากการประเมินโดยรวม ระดับความสุขและผลการ ปฏิบัติงานในรอบปีที่ผ่านมาอยู่ใน Quadrant ใด” และอะไรคือปัจจัยที่ทาให้เรามีความสุข หรือไม่มี ความสขุ บา้ ง สรปุ ได้ ดงั น้ี

33 ปจั จยั แห่งความสุข ปจั จัยท่ีทาใหไ้ ม่มีความสุข 1. การออกแบบกระบวนงาน 1. วันหยดุ ตอ้ งไปปฏบิ ตั ิหน้าที/่ ฝกึ อบรม 2. การจดั การความรู้ในองค์กร 2. โครงการ OTOP นวัตวิถี 3. การติดตามประเมนิ ผลเป็นระบบ 3. การบริหารจดั การเวลา 4. การทางานเป็นทีม 4. การจดั ลาดับความสาคัญของงานภายใต้ข้อจากดั 5. วันหยุดได้พกั ผ่อน เที่ยวตามอัธยาศัย ของคน/เวลา 6. บรหิ ารเงิน/บรหิ ารงาน 5. งานไม่เป็นระบบ 7. สภาพแวดลอ้ มในการทางาน 6. บริหารจัดการตนเองไม่ทันกบั งาน 8. กาลังใจ ใสใ่ จ เอาใจใส่ 7. ภาระงานมาก / การเรง่ รัดงาน 9. ครอบครวั ดี 8. ตัวชว้ี ัดงานทาใหเ้ ครยี ด เช่น รายได้ OTOP 10. ความร่วมมือของคนในองค์กร 9. ทมี เฉื่อยชา 11. ผู้บังคบั บัญชาดี 10. งานเชงิ รกุ / งานเชงิ รบั ปริมาณงานมาก 12. พหุภาคดี ี จากน้ัน วิทยากรใหท้ ุกกลุ่มออกแบบรปู แบบ/วธิ กี ารในการสร้างความสุขขององค์กร โดยนาปจั จัย ท่ีได้มาวิเคราะหร์ ากเหงา้ ของสาเหตุ และกาหนดแนวทางแก้ไข เพ่ือนาไปส่เู ป้าหมาย “คนสาราญ งาน สาเรจ็ ” เสร็จแลว้ ให้ผ้เู ขา้ รับการฝกึ อบรมทุกคนเขยี นชื่อ อาเภอ จงั หวดั ลงใน Post It แลว้ นาไปติดใน Model องค์กรแหง่ ความสขุ ที่ตนเองสนใจ เพื่อนาไปขับเคลื่อนในอาเภอของตวั เองต่อไป Model 1 : องคก์ รแหง่ ความสขุ ปัญหา แนวทางแก้ไข - คนนอ้ ย - สร้างเครอื ขา่ ย ทีมงาน - ขาดองค์ความรู้ (ระเบียบ) - ฝกึ อบรมให้ความร้ตู อ่ เน่ือง - ขาดขวญั กาลังใจ - สรา้ งบรรยากาศการทางานพัฒนาชุมชน - สรา้ งระบบพ่ีเลีย้ ง - ส่งเสริมคา่ นยิ มองคก์ ร ABCDEF - งานมาก - ทบทวน/สรุปบทเรียน การบริหารจดั การ - เวลาจากดั - มอบหมายงานตามความสามารถ เชน่ ทกั ษะ ความถนัด - เร่งรัด - โคช้ /สอนแนะงาน/ตดิ ตามสม่าเสมอ - ทีม/ภาคี/เครือขา่ ย - เรง่ รัดการเบกิ จา่ ย - วางแผนการเบิกจา่ ย งบประมาณ - บางกจิ กรรมงบประมาณมาก- - มอบหมายผ้รู ับผดิ ชอบ บางกิจกรรมงบประมาณน้อย - ดาเนินการ - อนมุ ัติงบประมาณช้า - ควบคุม กากบั ทกุ ขัน้ ตอน - วัสดุบริหารสานักงานไม่ - สร้างความตระหนกั ในการใช้วัสดอุ ย่างประหยดั ค้มุ คา่ วสั ดุ เพยี งพอ - สารวจวสั ด/ุ ครุภณั ฑ์ - เครอื่ งมือไม่ทนั สมยั - ชารดุ ส่งคนื จงั หวัดซ่อมบารุง

34 Model 2 : องคก์ รแหง่ ความสขุ : ใจ กาย เก่ง ดี มีอดุ มการณ์ เก่ง - ระเบียบ / กฎหมาย - ยทุ ธศาสตร์ - กระบวนงาน - ทมี งาน - กลไก : ชว่ ยสนบั สนนุ งาน - บรรยากาศ : 5 ส. - เสรมิ สร้างขวญั กาลงั ใจ - ประชาสมั พันธ์ส่โู ลกกวา้ ง ดี - จริยธรรมองคก์ ร - วัฒนธรรมสุจริต - บริการดี อดุ มการณ์พัฒนาชมุ ชน - รักประชาชน - อดทนเสยี สละ - จิตอาสา กาย : พอเพียง ใจ : - ชน่ื ชม ยนิ ดี - รางวัล - พบปะสงั สรรค์

35 Model 3 : ตน้ ไม้แหง่ ความสุขของคนพฒั นาชมุ ชน ประชาชนมคี วามสขุ เราพฒั นาชุมชนจงึ มคี วามสขุ - สุขภาพดี มีนา้ ใจ สงั คมดี - มคี วามรู้ ปลอดหนี้ ครอบครวั อบอุ่น - สรา้ งภาคี/ความรว่ มมอื แบบประชารฐั การบรหิ ารองคก์ รแห่งความผาสกุ บริหารเงนิ /คน/ - บรู ณาการการทางาน งาน - สรา้ งทมี งานคุณภาพ - ศึกษาชมุ ชน - บริหารธรรมาภิบาล - ใหก้ ารศึกษา - กระบวนการมีสว่ นร่วม - วางแผน - สรา้ งแรงจูงใจ - ปฏบิ ัติตามแผน - สรา้ งบรรยากาศในการทางาน - ติดตามประเมนิ ผล - รางวลั เชดิ ชูเกยี รติ - ประชาชนมีรายได้เพิ่มข้นึ ผลจากการเรยี นรู้ พบว่า ผู้เข้ารับการฝึกอบรมให้ความใจเป็นอย่างดี สังเกตจากการมีส่วนร่วมในการเข้า ร่วมกิจกรรมของกลุ่ม การแสดงความคิดเห็น การแลกเปลี่ยนเรียนรู้อย่างหลากหลาย และผู้เข้ารับการ ฝึกอบรมให้ความสนใจในการเลือก Shopping Idea Model 1 มากท่ีสุด รองลงมาตามลาดับ คือ Model 2 และ Model 3 เพ่อื นาไปขบั เคล่อื นในอาเภอของตนเองต่อไป .

36 สว่ นที่ 3 การประเมินผลโครงการ การประเมินผลโครงการฝึกอบรมบคุ ลากรกรมการพัฒนาชุมชน เพื่อขบั เคลื่อนยุทธศาสตร์ กรมการพัฒนาชุมชนสู่ชุมชนพ่ึงตนเองได้ หลักสูตรเสริมสมรรถนะพัฒนาการอาเภอ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ผู้ประเมินได้ดาเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลจากผู้เข้ารับการฝึกอบรม โดยใช้แบบประเมิน ออนไลน์สาหรับกล่มุ เปา้ หมาย จานวน 102 คน โดยแยกดาเนินการ 2 รุน่ วธิ ีการประเมิน 1. กลุ่มเปา้ หมายท่ีใช้ในการประเมนิ คือ ผู้เข้ารบั การฝึกอบรม จานวน 102 คน โดยแยก ดาเนนิ การ จานวน 2 รนุ่ 2. เคร่ืองมือที่ใช้ในการจดั เก็บรวบรวมข้อมูล ใช้แบบประเมินออนไลน์ทั้ง 2 รุ่น โดยแยก การประเมิน ดงั นี้ การประเมินผลโครงการภาพรวม จานวน 5 ตอน ประกอบด้วย ตอนท่ี 1 ข้อมูลทัว่ ไป แยกเปน็ 1.1 เพศ 1.2 อายุ 1.3 ตาแหน่งปัจจบุ นั 1.4 การศกึ ษา ตอนที่ 2 ความคิดเห็นตอ่ โครงการ 2.1 การบรรลวุ ัตถปุ ระสงค์ของโครงการ 2.2 การประเมินผลระดับความรู้ความเข้าใจและทักษะด้านวิชาการ (ก่อนและหลัง เข้า ร่วมกจิ กรรม) การฝกึ อบรม จานวน 6 ประเดน็ ดังนี้ 1) การวิเคราะหง์ านพัฒนาชุมชนภายใต้วิสยั ทัศน์กรมฯ และนโยบายผบู้ ริหาร 2) ความคาดหวังของผู้บริหารที่มีต่อการทางานของพัฒนาการอาเภอในการ ขับเคลอ่ื นภารกิจสูเ่ ป้าหมาย 3) สถานการณค์ วามเปลี่ยนแปลงทสี่ าคัญ 4) ออกแบบงานกรมฯ (4 งานหลัก) กา้ วสู่อนาคต 5) การสรา้ งองคก์ รแหง่ ความสุข 6) รปู แบบการบรหิ ารงานใหป้ ระสบความสาเร็จ 2.3 การประเมินผลระดับความคิดเห็นต่อการนาความรู้ไปปรับใช้ในการปฏิบัติงาน จานวน 6 ประเด็น ดงั นี้ 1) การวเิ คราะหง์ านพัฒนาชุมชนภายใต้วสิ ยั ทัศน์กรมฯ และนโยบายผบู้ รหิ าร

37 2) ความคาดหวังของผู้บริหารที่มีต่อการทางานของพัฒนาการอาเภอในการ ขับเคลอ่ื นภารกิจส่เู ปา้ หมาย 3) สถานการณค์ วามเปล่ยี นแปลงท่ีสาคัญ 4) ออกแบบงานกรมฯ (4 งานหลกั ) ก้าวสู่อนาคต 5) การสร้างองค์กรแหง่ ความสขุ 6) รูปแบบการบริหารงานใหป้ ระสบความสาเร็จ ความสะอาด 2.4 การประเมนิ ผลระดบั ความพึงพอใจตอ่ ภาพรวมของโครงการ จานวน 3 ดา้ น ดังน้ี 1) ดา้ นวทิ ยากร (1) ความรู้ ความสามารถในการถ่ายทอด/บรรยาย (2) เทคนคิ และวธิ กี ารท่ใี ช้ในการถา่ ยทอดความรู้ (3) การเปิดโอกาสให้ซักถามแสดงความคดิ เหน็ (4) การสรา้ งบรรยากาศการเรยี นรู้ 2) ด้านการใหบ้ รกิ าร (1) เจ้าหน้าทม่ี กี ิรยิ า มารยาท และการแตง่ กายเหมาะสม (2) เจ้าหนา้ ท่กี ระตอื รอื ร้นในการใหบ้ ริการ (3) สญั ญาณ wifi ในหอ้ งฝกึ อบรม (4) สัญญาณ wifi ในหอ้ งพกั (5) โสตทศั นปู กรณ์ (ชดุ โปรเจคเตอร์ เครือ่ งเสียง ฯลฯ) เหมาะสม (6) ห้องฝึกอบรม ห้องพัก ห้องน้า โรงอาหาร และบริเวณโดยรอบมี (7) อาหาร/อาหารวา่ ง/เครอ่ื งดมื่ มีคุณภาพเหมาะสม 3) ดา้ นอาคาร และสถานท่ี (1) ขนาดห้องฝึกอบรม มคี วามเหมาะสมกบั จานวนผู้เขา้ อบรม (2) ห้องอาหาร มคี วามเหมาะสม ถูกสขุ ลักษณะ (3) หอ้ งพกั มีความเหมาะสม (4) ห้องนา้ อาคารฝึกอบรม มคี วามสะอาด 4) ดา้ นคณุ ภาพ (1) ความสอดคล้องของเน้ือหาหลักสูตรกบั ความต้องการ (2) เนือ้ หาหลกั สตู รเป็นปัจจบุ ันทันต่อการเปลยี่ นแปลง (3) ความรทู้ ไี่ ดร้ ับสามารถนาไปปรบั ใช้ในการปฏบิ ตั ิงานได้ (4) ความคุ้มคา่ ของการฝึกอบรม 2.5 กรมการพัฒนาชุมชนควรเพ่ิมเตมิ ความรู้เรอื่ งใด หรือฝึกทักษะดา้ นใดใหแ้ ก่ทา่ น เพ่ือ ประโยชนใ์ นการปฏิบตั ิงาน นอกเหนือจากทที่ า่ นได้รบั จากการฝึกอบรมหลกั สตู รน้ี

38 ตอนที่ 3 ความคิดเหน็ และข้อเสนอแนะอน่ื ๆ การวิเคราะห์ขอ้ มูล 1. การวิเคราะห์ขอ้ มลู ท่ัวไปของกลุม่ เปา้ หมายใชค้ า่ ร้อยละ 2. การวเิ คราะห์ความคดิ เห็นทีไ่ ด้จากแบบสอบถาม ใชค้ ่าเฉลีย่ x ซง่ึ เปน็ คาถาม เชิงนิมาน (เชิงบวก) คือ มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยที่สุด โดยการกาหนดเกณฑ์ให้คะแนน ดังนี้ มากทีส่ ดุ มีค่าเท่ากับ 5 มาก มคี า่ เทา่ กบั 4 ปานกลาง มีค่าเท่ากับ 3 น้อย มคี า่ เทา่ กบั 2 นอ้ ยท่สี ดุ มีค่าเท่ากบั 1 เกณฑ์การประเมนิ การแปลความหมายระดับความคิดเห็นของผเู้ ข้ารับการฝึกอบรมโครงการสร้างและพัฒนา ผูน้ าสัมมาชพี ชุมชน จานวน 2,187 คน โดยพิจารณาจากคะแนนท่ไี ด้จากแบบสอบถามนามาหาค่าเฉล่ีย x แล้วใชแ้ ปลความหมายตามเกณฑก์ ารประเมนิ ค่าความคิดเหน็ ดังนี้ - คา่ เฉล่ยี ทีไ่ ดร้ บั จากการวเิ คราะหร์ ะหวา่ ง 4.50-5.00 มคี า่ เท่ากับ มากที่สดุ - ค่าเฉลี่ยท่ไี ดร้ ับจากการวิเคราะหร์ ะหว่าง 3.50-4.49 มคี า่ เทา่ กับ มาก - ค่าเฉลยี่ ทไ่ี ดร้ บั จากการวิเคราะหร์ ะหว่าง 2.50-3.49 มีค่าเท่ากบั ปานกลาง - คา่ เฉลย่ี ทีไ่ ด้รบั จากการวิเคราะห์ระหว่าง 1.50-2.49 มคี า่ เทา่ กับ น้อย - ค่าเฉล่ียทีไ่ ดร้ ับจากการวิเคราะหร์ ะหว่าง 1.00-1.49 มีค่าเท่ากับ น้อยท่ีสุด เกณฑก์ ารประเมนิ ทถ่ี ือว่าผา่ นเกณฑ์จะต้องมีค่าเฉลีย่ ไมน่ ้อยกวา่ 2.50

39 การประเมนิ ผลภาพรวมของโครงการฝกึ อบรมบุคลากรกรมการพฒั นาชุมชนเพ่อื ขับเคลือ่ นยทุ ธศาสตร์ กรมการพัฒนาชุมชนสู่ชุมชนพง่ึ ตนเองได้ หลกั สตู รเสริมสมรรถนะพัฒนาการอาเภอ (ผู้ตอบแบบสอบถามจานวน 94 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 92.16) ส่วนท่ี 1 ข้อมูลทวั่ ไป ตารางที่ 1 แสดงข้อมลู ทวั่ ไป ประเด็น จานวน ร้อยละ 1) เพศ - ชาย 45 47.87 - หญงิ 49 52.13 2) อายุ - 41–45 ปี 8 8.51 - 46–50 ปี 30 31.91 - 51–55 ปี 30 31.91 - 56–60 ปี 26 27.66 3) ตาแหนง่ ปัจจุบนั - พฒั นาการอาเภอ 85 90.43 - นักวชิ าการพัฒนาชุมชนชานาญการ 9 9.57 4) การศึกษา - ปริญญาตรี 41 43.61 - ปรญิ ญาโท 51 54.26 2 2.13 - ปริญญาเอก จากตารางที่ 1 พบวา่ ผู้เข้ารับการฝึกอบรมส่วนใหญ่เป็นเพศชาย จานวน 49 คน คิดเป็นร้อยละ 52.13 และเพศหญิง จานวน 45 คน คิดเป็นร้อยละ 47.87 ส่วนใหญ่มีอายุระหว่าง 46-50 ปี เท่ากับอายุระหว่าง 51-55 ปี จานวน 30 คน คิดเป็นร้อยละ 31.91 รองลงมาตามลาดบั คืออายรุ ะหว่าง 56–60 ปี จานวน 26 คน คิดเป็นร้อย ละ 27.66 และอายุระหว่าง 41-45 ปี จานวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ 8.51 ส่วนใหญ่ดารงตาแหน่งพัฒนาการ อาเภอ จานวน 85 คน คิดเป็นร้อยละ 90.43 และตาแหน่งนักวิชาการพัฒนาชุมชนชานาญการ จานวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ 9.57 ส่วนใหญ่จบการศึกษาระดับปริญญาโทจานวน 51 คน คิดเป็นร้อยละ 54.26 รองลงมา ตามลาดับคือ จบการศึกษาระดับปริญญาตรี จานวน 41 คน คิดเป็นร้อยละ 43.61 จบการศึกษาระดับ ปรญิ ญาเอก จานวน 2 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 2.13

40 ตอนท่ี 2 ความคดิ เห็นต่อโครงการ ตารางที่ 2 แสดงระดับการบรรลวุ ัตถปุ ระสงคข์ องโครงการ สว่ นท่ี 2.1 การบรรลุวตั ถปุ ระสงค์ ระดับการบรรลุวัตถุประสงค์ ของโครงการ ระดบั คะแนน คา่ การ วตั ถุประสงค์ มาก มาก ปาน น้อย นอ้ ย เฉลย่ี แปรผล ท่สี ุด กลาง ท่ีสดุ เพ่ือเสรมิ สรา้ งทกั ษะการสรา้ ง พนั ธมิตรและการบริหารจัดการ 31 48 14 0 1 ระดบั การกระตุน้ เศรษฐกจิ ฐานราก มาก และเพ่ิมทักษะการเป็นที่ปรกึ ษา (32.98) (51.06) (14.89) (0.00) (1.06) 4.15 (Consultant) ในการออกแบบ โครงการกระตุน้ เศรษฐกจิ ฐานราก ภาพรวม 4.15 ระดบั มาก จากตารางท่ี 2 พบวา่ ผู้เข้ารับการฝึกอบรมส่วนใหญ่มีระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับการบรรลุวัตถุประสงค์ของโครงการ โดยภาพรวม อยใู่ นระดับมาก คา่ เฉล่ีย 4.15

2.2 ความรคู้ วามเขา้ ใจและทกั ษะก่อนและหลังฝึกอบรม ตารางที่ 3 แสดงระดับความรแู้ ละความเขา้ ใจด้านวิชาการ (ก่อนและหลงั เข้าร่วม ส่วนที่ 2.2 ความรคู้ วามเข้าใจ 2.2.1 ก่อนเขา้ ร่วมโครงการ และทักษะก่อนและหลัง ระดับคะแนน ฝึกอบรม หวั ข้อวิชา มาก มาก ปาน น้อย นอ้ ย ทีส่ ุด กลาง ท่ีสุด 1. การวเิ คราะห์งานพัฒนา 4 35 52 2 0 ชุมชนภายใต้วิสัยทศั น์กรมฯ และนโยบายผบู้ ริหาร (4.26) (37.23) (55.32) (2.13) (0.00) 2. ความคาดหวงั ของผู้บริหารที่ 2 39 49 4 0 มตี อ่ การทางานของพัฒนาการ อาเภอในการขับเคลื่อนภารกิจสู่ เป้าหมาย (2.13) (41.49) (52.13) (4.26) (0.00) 3. สถานการณ์ความ 1 34 54 5 0 เปลย่ี นแปลงที่สาคญั (1.06) (36.17) (57.45) (5.32) (0.00) 4. ออกแบบงานกรมฯ (4 งาน 1 33 53 6 1 หลัก) กา้ วสอู่ นาคต (1.06) (35.11) (56.38) (6.38) (1.06) 5. การสรา้ งองค์กรแห่งความสขุ 3 31 55 4 1 (3.19) (32.98) (58.51) (4.26) (1.06) 6. รูปแบบการบรหิ ารงานให้ 2 33 54 4 1 ประสบความสาเร็จ (2.13) (35.11) (57.45) (4.26) (1.06) ภาพรวม


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook