(ก) คำนำ คู่มือกระบวนการขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานความรู้สู่ชุมชนภาคเกษตรกรรมตามศาสตร์ พระราชาของสถาบันการอาชีวศึกษาเกษตรภาคกลาง เล่มนี้ ผู้วิจัยจัดทาข้ึนโดยยึดหลักตามวัตถุประสงค์ ของการวิจัยข้อท่ี ๓ คือ นาเสนอกระบวนการขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานความรู้สู่ชุมชนภาคเกษตรกรรมตาม ศาสตร์พระราชาของสถาบันการอาชีวศึกษาเกษตรภาคกลาง ในหัวข้อดุษฎีนิพนธ์ สาขาพุทธบริหาร การศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ในหัวข้อ “กระบวนการขับเคลื่อน เศรษฐกิจฐานความรู้สู่ชุมชนภาคเกษตรกรรมตามศาสตร์พระราชาของสถาบันการอาชีวศึกษาเกษตร ภาคกลาง” ซึ่งผู้วิจัยส่ังสมประสบการณ์มากว่า ๒๕ ปี โดยทบทวนและเก็บรวบรวมข้อมูลท่ีเกี่ยวข้อง กับกระบวนการจัดการเรียนรู้ การถ่ายทอดองค์ความรู้มาโดยต่อเน่ืองตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๓๘ เป็นต้นมา ผู้วิจัยมีความมุ่งมั่นเพ่ือพัฒนาคู่มือกระบวนการขับเคล่ือนเศรษฐกิจฐานความรู้สู่ชุมชนภาคเกษตรกรรม ตามศาสตร์พระราชาของสถาบันการอาชีวศึกษาเกษตรภาคกลาง เพื่อให้ผู้เรียนและผู้อ่านได้มีความรู้ ความเข้าใจ ด้วยเหตุผลท่ีว่า องค์ความรู้ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในระหว่างกระบวนการจัดการเรียนรู้ของผู้เรียน และครูผู้สอน ตลอดจนการบริหารจัดการองค์ความรู้ในสถานศึกษา ส่ิงเหล่าน้ีถือเป็นตัวจักรสาคัญในการ ขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศ โดยเฉพาะการพัฒนาผู้เรียนให้เป็นเยาวชนท่ีมีคุณภาพ และสามารถนา องคค์ วามรไู้ ปพัฒนาตนเอง และชมุ ชนได้เป็นอย่างดี โดยนาองค์ความรู้ไปขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานความรู้สู่ ชมุ ชนภาคเกษตรกรรมในอนาคตต่อไป ท้ังน้ี ผู้วิจัยได้พัฒนาการจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงการเป็นฐาน จนพัฒนาผู้เรียนไปสู่ความ เป็นเลิศทางวิชาชีพ สามารถประกอบชาชีพและเล้ียงตนเองได้โดยอาศัยองค์ความรู้ในกระบวนการ ถ่ายทอดองค์ความรู้ของผู้วิจัย ถือเป็น “ศาสตร์แห่งองค์ความรู้สู่อาชีพ” ที่นาไปสู่ความสาเร็จในการ ประกอบอาชพี เกษตรกรรม จึงเป็นแรงบันดาลใจให้ผู้วิจัยต้องสร้างความลุ่มลึกทางวิชาชีพเพื่อประสงค์ให้ สามารถนาคู่มือฯ ไปใช้ประโยชน์ในการเรียนรู้ เพื่อขับเคล่ือนเศรษฐกิจฐานความรู้สู่ชุมชนภาค เกษตรกรรม และการฝึกอบรมอาชีพด้านการเกษตรกรรมให้แก่เกษตรกรและผู้สนใจท่ัวไปนาความรู้ ทักษะ และประสบการณ์ไปใช้ในการประกอบอาชีพท่ีสอดคล้องกับบริบทของชุมชนตามศาสตร์พระราชา ท้ังน้ีผู้วิจัยได้ทาการศึกษา ค้นคว้า วิจัย โดยได้ริเร่ิมจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการการวิจัยที่สามารถ เชื่อมโยงและสอดคล้องกับโครงการต่าง ๆ ท่เี ปน็ ประโยชน์แกช่ มุ ชน คุณค่าและประโยชน์ทางวิชาการอันพึงมีในการจัดทาคู่มือฯ ฉบับนี้ ผู้วิจัยขอมอบเป็น เครอื่ งบูชาแด่พระคุณบิดา มารดา ครู-อาจารย์ และผู้มพี ระคณุ ทุกท่าน ปิยะพัชร์ สถติ ปรชี าโรจน์ ๒๓ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๖๒
(ข) สารบญั `บทที่ หน้า คานา (ก) สารบัญ (ข) คาชีแ้ จงการใช้คมู่ อื (ค) ๑ บทนา ๑ ๑.๑ ความเปน็ มาและความสาคัญ ๑ ๑.๒ วตั ถุประสงค์ ๓ ๑.๓ ขอบเขตของกระบวนการขบั เคล่ือน ๓ ๑.๔ นิยามศพั ทเ์ ฉพาะท่ีใชใ้ นกระบวนการขบั เคลื่อนเศรษฐกจิ ฐานความรู้ ๔ ๒ นิยามของกระบวนการขบั เคลื่อนเศรษฐกจิ ฐานความรู้สชู่ ุมชนภาค เกษตรกรรม ๘ ๒.๑ แนวคิดของกระบวนการขบั เคล่อื นเศรษฐกิจฐานความรสู้ ู่ชมุ ชนภาค ๘ เกษตรกรรม ๒.๒ เป้าหมายของกระบวนการขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานความรู้สู่ชุมชนภาค ๑๐ เกษตรกรรมตามศาสตรพ์ ระราชา ๒.๓ ลกั ษณะของกระบวนการขบั เคล่ือนเศรษฐกจิ ฐานความรสู้ ู่ชมุ ชนภาค ๑๓ เกษตรกรรมตามศาสตร์พระราชา ๒.๔ กระบวนการขบั เคลอ่ื นเศรษฐกจิ ฐานความรู้ชมุ ชน ๑๔ ๓ ตวั อยา่ งกระบวนการขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานความรูส้ ่ชู ุมชนภาคเกษตรกรรม ๑๕ ตามศาสตรพ์ ระราชา ตวั อย่างโครงการท่ี ๑ โครงการอาชวี ะสรา้ งชาตดิ ้วย“วถิ เี พียงพอ ตามพ่อ ๑๕ สอน” การพฒั นานวัตกรรมปุ๋ยกระบอกสเู่ กษตรกรนาบัวอย่างยั่งยืน ตวั อย่างโครงการที่ ๒ โครงการอาชวี ะสรา้ งชาตดิ ้วย“วิถเี พยี งพอ ตามพ่อ ๒๙ สอน” การพัฒนารูปแบบการเลยี้ งหอยขมเชงิ เกษตรอินทรีย์สูเ่ กษตรกรอย่าง ยั่งยนื ๔ บทสรปุ กระบวนการขับเคลื่อนเศรษฐกจิ ฐานความรสู้ ู่ชุมชนภาคเกษตรกรรม ๓๙ ตามศาสตร์พระราชา
(ค) คำช้แี จงกำรใช้คู่มือ กระบวนการขับเคล่ือนเศรษฐกิจฐานความรู้สู่ชุมชน เป็นหัวใจของการสร้างฐานทางเศรษฐกิจ ที่สาคัญของประเทศ การจัดการเรียนรู้ของครู และผู้เรียนจึงเป็นการจุดประกายความสาเร็จของประเทศ ในการพฒั นาคน ในขณะเดียวกันพ้ืนฐานของประเทศเป็นเกษตรกรรม อุดมด้วยทรัพยากรที่หลากหลายมี เป้าหมายของการพัฒนาท่ีชัดเจน แต่การพัฒนาคนในสายอาชีพภาคเกษตรกรรมกลับสวนทางกับความ จริงของสภาพการปัจจุบัน โดยเฉพาะสถานศึกษาอาชีวะเกษตรท่ีเปิดสอน ประเภทวิชาเกษตรกรรม สาขาวิชาเกษตรศาสตร์ ท้ังท่ีมีจุดประสงค์มุ่งให้ผู้เรียน มีความรู้ ทักษะ และประสบการณ์ด้าน การประกอบอาชีพใหต้ รงตามมาตรฐานวิชาชีพท่ีกาหนด และนาวิชาความรู้ไปฝึกปฏิบัติงานอาชีพได้อย่าง มีประสิทธิภาพ สามารถเลือกประกอบอาชีพได้โดยเหมาะสมกับตนเอง เป็นผู้มีปัญญา มีความคิดริเร่ิม สร้างสรรค์ ใฝ่เรียนรู้ ใฝ่ศึกษา เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตและการประกอบอาชีพ มีทักษะในการจัดการโดย ใช้พ้ืนฐานความรู้พัฒนาอาชีพให้เจริญก้าวหน้าอยู่เสมอ มีความม่ันใจ และภาคภูมิใจในวิชาชีพที่เรียน สามารถทางานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี โดยมีความเคารพใน “สิทธิ” และ “หน้าท่ี” ของตนเองและ ผู้อื่น ตลอดจนเป็นผู้ที่มีบุคลิกภาพที่ดี มีคุณธรรม จริยธรรม และเจตคติที่ดีต่อวิชาชีพ มีวินัยในตนเอง มีสุขภาพอนามยั สมบูรณ์ทั้งร่างกายและจติ ใจเหมาะกับงานอาชีพ หลักการของคู่มือกระบวนการขับเคล่ือนเศรษฐกิจฐานความรู้สู่ชุมชนเล่มน้ี เน้นให้ผู้เรียนมี ความเข้าใจ เข้าถึง และพัฒนา รู้พื้นฐานหลักการเบ้ืองต้น ตลอดจนมีความตระหนัก รู้คุณค่าของ ทรัพยากร มีหลักปฏิบัติในการอนุรักษ์ทรัพยากรให้เกิดความย่ังยืน ยอมรับการเปล่ียนแปลงของ สถานการณ์ต่าง ๆ ที่นาไปสู่อาชีพเกษตรกรรม รู้จักแนวทางในการปฏิบัติ ตลอดจนข้อบังคับและ ทิศทางสอู่ าชีพเกษตรกรรมได้ในอนาคต ท้ังนี้ผู้สนใจสามารถศึกษาหาความรู้ได้ด้วยตนเองจากแนวทางใน การประกอบอาชพี และการเรียนรู้ร่วมกันระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน โดยเน้ือหาของกระบวนการขับเคลื่อน เศรษฐกิจฐานความรู้สู่ชุมชนเล่มน้ี ผู้วิจัยนาเสนอในรูปแบบของเอกสาร (ร่าง) และมีความมุ่งหวังในการ พฒั นาเปน็ แอปพลเิ คชัน่ ต่อไป โดยคู่มือประกอบด้วยวัตถุประสงค์ ประเด็นการพัฒนา และกระบวนการ ขับเคลื่อนเพ่ือการเรียนรู้ไว้เป็นลาดับขั้น โดยเนื้อหาในคู่มือกระบวนการขับเคล่ือนเศรษฐกิจฐานความรู้สู่ ชุมชนประกอบด้วย ๔ บท ได้แก่ ๑) บทนา ๒) คานิยามกระบวนการขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานความรู้สู่ ชุมชน ๓) ตัวอย่างกระบวนการขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานความรู้สู่ชุมชน (ตัวอย่างโครงการ ๒ โครงการ) และ ๔) บทสรุปกระบวนการขับเคล่ือนเศรษฐกิจฐานความรู้สู่ชุมชน ท้ังนี้เพ่ือเป็นประโยชน์ในการ ขบั เคลอ่ื นเศรษฐกิจฐานความรู้สู่ชมุ ชนภาคเกษตรกรรมต่อไป
บทท่ี ๑ บทนา ๑.๑ ความเป็นมาและความสาคัญ นับเป็นบุญของชนทั้งชาติ ต้ังแต่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชเสด็จขึ้น ครองราชสมบัติเป็นประมุขแห่งประเทศไทย จนกระท่ังเสด็จสวรรคต ณ วันที่ ๑๓ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ พระองค์ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ท่ีทรงงานหนักที่สุดพระองค์หนึ่งของโลก พระราชกรณียกิจของพระองค์ มีมากมายเหลือคณานับ ทรงเสด็จพระราชดาเนินเย่ียมเยียนและรับรู้ปัญหาของประชาชน (เข้าใจ) ใน ทอ้ งถ่ินต่าง ๆ ทว่ั ทกุ พน้ื ทขี่ องประเทศด้วยพระองค์เอง (เข้าถึง) ซ่ึงทาให้พระองค์ พบว่า ราษฎรส่วนใหญ่ ท่ีเป็นเกษตรกรน้ัน ล้วนยากจน ผลิตพืชผลทางการเกษตรได้ไม่เพียงพอต่อการยังชีพ อันเน่ืองจากความ แห้งแลง้ ขาดแคลนพ้ืนท่ีทากิน อีกทั้งขาดแคลนความรู้เป็นต้น ด้วยเหตุน้ีเพ่ือช่วยเหลือประชาชนผู้ยากไร้ ให้มีสภาพความเป็นอยู่และคุณภาพชีวิตท่ีดีขึ้น พระองค์จึงได้ทรงริเร่ิมโครงการอันเนื่องมาจาก พระราชดาริมากกว่า ๔,๐๐๐ โครงการ (พัฒนา) ท่ีส่งผลต่อการพัฒนาประเทศให้เจริญก้าวหน้าและ ช่วยเหลือผู้ยากไร้ให้พ้นจากความยากจนอย่างย่ังยืน ซ่ึงสิ่งเหล่านี้ล้วนเป็นประจักษ์พยานให้เห็นถึงพระ อัจฉรยิ ภาพดา้ นเศรษฐกิจของพระองค์อย่างชัดเจน เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ กล่าวไว้ว่า พระองค์ทรงปลดแอกความจน ด้วยการสอนคนให้ จับปลา พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หวั ทรงมีพระบรมราโชบายว่า \"การที่จะแจกส่ิงของหรือเงินแก่ราษฎร นั้น เป็นการช่วยเหลือช่ัวคราว ไม่ย่ังยืน การที่จะให้ประชาชนอยู่รอดได้ก็คือ การให้อาชีพ\" วิธีปลด แอกใหพ้ ้นความจนของพระองค์ จึงเปน็ การสอนคนให้จบั ปลา ไมใ่ ช่การจับปลามาแจกคน การพัฒนาตามแนวพระราชดาริ จึงเร่ิมจากการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าและการวางโครงสร้าง พ้ืนฐานที่จาเป็นในระยะยาว อาทิ การปรับปรุงก่อสร้างถนนเพื่อให้สัญจรไปมาได้สะดวกและทั่วถึง การ ตดิ ตอ่ สอื่ สาร การพัฒนาแหล่งนา้ การปรับปรงุ คณุ ภาพดิน การส่งเสริมราษฎรในท้องถิ่นให้มีความรู้ ความ เข้าใจในการประกอบอาชีพ รวมท้ังให้รู้จักนาเทคโนโลยีใหม่ ๆ มาใช้ควบคู่ไปกับการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เป็นต้น เมื่อราษฎรได้รับโอกาสที่จะดารงชีวิตแบบพ้นจนแล้ว ขั้น ตอ่ ไปจึงพัฒนาให้พวกเขาสามารถ \"พึ่งตนเอง\" ไดใ้ นทีส่ ุด ตัวอย่างโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดาริที่เน้นหลัก \"การพ่ึงตนเอง\" เพื่อพัฒนาแก้ไข ปัญหาความยากจนของราษฎร เช่น โครงการธนาคารข้าว และโครงการพัฒนาท่ีดินตามพระราชประสงค์ \"หุบกระพง\" อาเภอชะอา จังหวัดเพชรบุรี ซ่ึงดาเนินการเพ่ือให้ประชาชนมีท่ีอยู่อาศัยทากิน และรวมตัว กนั ในรูปของกลุ่มสหกรณ์ เพื่อแก้ไขปัญหาของชมุ ชนและการทามาหากินร่วมกนั เปน็ ตน้
๒ เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักด์ิ กล่าวไว้อีกว่า พระองค์ทรงเป็นต้นแบบของเศรษฐกิจ ฐานความรู้ และ เศรษฐกิจฐานปัญญา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเป็นต้นแบบเศรษฐกิจที่ใช้ ความรู้ และ ปัญญาเป็นฐานในการพัฒนา โดยการพัฒนาบนฐานความรู้นั้น พระองค์ทรงศึกษาค้นคว้า ทรงทดลอง ทรงทาวิจัย ทรงนาความรู้ทางสาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในทุกสาขาวิชามาใช้ เพื่อ สามารถแกป้ ัญหาได้อย่างเหมาะสมกับแต่ละพ้ืนท่ี นอกจากนี้ยังทรงคิดค้นเทคนิควิธีหรือเทคโนโลยีใหม่ ๆ อาทิ โครงการ ฝนหลวง แนวพระราชดาริการบริหารจัดการท่ีดินเพ่ือการเกษตรทฤษฏีใหม่ แนว พระราชดาริการแก้ไขปัญหาดินเปร้ียว จัดแกล้งดิน แนวพระราชดาริการป้องกันการเส่ือมโทรมและการ พังทลายของดินโดย หญ้าแฝก แนวพระราชดาริการปลูกป่าแบบไม่ต้องปลูก แนวพระราชดาริ ป่าเปียก เพ่ือความชุ่มชื้นของดินและเป็นแนวป้องกันไฟป่า และแนวพระราชดาริพัฒนาและฟ้ืนฟูป่าไม้ ฝายชะลอ ความชุ่มชนื้ เปน็ ต้น ไม่เพียงแก้ปัญหาความยากจนด้วยการสร้างเศรษฐกิจบนฐานความรู้ แต่พระองค์ยังทรง พัฒนาบนฐานปัญญาด้วย โดยทรงประยุกต์ความรู้ได้อย่างเหมาะสมกับแต่ละบริบท แต่ละพ้ืนที่ ทรงยึด หลัก เขา้ ใจ เข้าถึง และพัฒนา และยึดหลัก ภูมิสังคม คือ ต้องมีความรู้ความเข้าใจในสภาพภูมิสังคมของ คนในพน้ื ที่น้ัน ๆ และดาเนนิ การท่ีสอดคล้องกับความต้องการของประชาชนในพ้ืนที่มากที่สุด ส่งผลให้การ พัฒนาเหมาะสม เป็นองค์รวม โดยบูรณาการท้ังสภาพภูมิศาสตร์ เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมได้อย่าง ครบวงจร โดยสง่ เสริมการมีส่วนร่วมของชุมชน ตัวอย่างเช่น โครงการเศรษฐกิจชุมชนบนพ้ืนที่สูง เป็นโครงการตามพระราชดาริเก่ียวกับการ ผลิตการบริโภคและการกระจายผลผลิต โดยให้คนในชุมชนมีส่วนร่วมแก้ไขปัญหาพื้นฐานของชุมชน มุ่งเน้นให้ร่วมคิด ร่วมทา ร่วมรับผลประโยชน์ โดยใช้ทุนของชุมชนทั้งทุนทางเศรษฐกิจและทุนทางสังคม เป็นฐาน สมาชิกในชุมชนจะเป็นผู้ตัดสินเองว่าจะผลิตอะไรจึงเหมาะสม เพื่อให้พ่ึงตนเองได้ก่อให้เกิดการ พัฒนาเศรษฐกิจ สังคม พร้อมกับการฟ้ืนฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รวมถึงการอนุรักษ์ วฒั นธรรมและภมู ิปัญญาท้องถิ่นได้อย่างเหมาะสมดว้ ย เปน็ ต้น ตลอดพระชนม์ชีพของพระองค์ พระองค์ทรงสละทรัพยากรอันมีค่า ไม่ว่าจะเป็นพระ สติปัญญา เวลา ทรัพย์สินส่วนพระองค์ เพื่อทาสงครามกับความยากจนและช่วยเหลือพสกนิกรของ พระองค์ให้มีความเป็นอยู่ท่ีดี พระองค์ได้ทรงสาแดงพระอัจฉริยภาพให้เห็นเป็นท่ีประจักษ์ ทรงเป็นสอน ประชาชนให้พ่ึงตนเอง และทรงเป็นต้นแบบด้านการแก้ปัญหาเศรษฐกิจของประเทศด้วยการใช้ ความรู้ และ ปัญญา เพ่ือขจัดปัดเป่าความจนและมุ่งนาประเทศสู่การพัฒนาเศรษฐกิจท่ีเจริญก้าวหน้าอย่างสมดุล และย่ังยืน ดังนั้นถึงแม้พระองค์จะเสด็จสู่สวรรคาลัยไปแล้ว แต่พระราชกรณียกิจของพระองค์ยังคงอยู่ใน ใจของคนไทยไปอีกนานแสนนาน การก้าวสู่โลกยุคปัจจุบันท่ีมีการเปลี่ยนแปลงทางวิวัฒนาการด้านต่าง ๆ ไปมากและรวดเร็ว จนทาให้คนในวงการการศึกษา และวงการเศรษฐกิจต้องหันมาจับมือกันให้มากขึ้น และต้องเป็นคนหูตา
๓ กวา้ งไกล โดยเฉพาะในฐานะท่ีผู้วิจัยเป็นนักการศึกษา ซึ่งเป็นผู้นาทางความคิด ผู้นาการเปลี่ยนแปลง ต้อง รับรู้ และปรับเปล่ียนแนวคิด ให้ร่วมสมัยอยู่เสมอ บนพื้นฐานขององค์ความรู้เชิงรุก เพื่อให้ทันกับ เทคโนโลยีสารสนเทศท่ีมีบทบาทต่อเศรษฐกิจและสังคม องค์ความรู้จึงเป็นปัจจัยสาคัญในการพัฒนา สังคม และประเทศชาติให้พร้อมก้าวทันการเปล่ียนแปลงของโลก และก้าวทันเศรษฐกิจฐานความรู้ (Knowledge Based Economy) ปัจจุบัน องค์กรต่าง ๆ ที่เข้มแข็งต้องขับเคล่ือนด้วย “ความรู้” ความรู้ จงึ มีอานาจ และมีพลงั อยู่ในตัวของทุกคน สถานการณ์ความรู้ที่มีอยู่ในสังคมไทย พบว่า ความรู้มีอยู่มากมายในตาราความรู้ในโลก ออนไลน์ และในห้องสมุดแต่กลับนามาใช้ประโยชน์ได้น้อย เพราะตาราเหล่าน้ันอาจจะ ไม่เอ้ือต่อ การนาไปปฏิบัติให้เกิดผลเชิงรูปธรรม หรืออีกด้านหนึ่ง ความรู้ที่มีอยู่ ในตัวบุคคลที่เป็นคนเก่ง คนมี ประสบการณ์ มีความเช่ียวชาญ กลับไม่มีโอกาส ในการถ่ายทอดองค์ความรู้ให้แก่บุคคลอื่น ๆ ได้การท่ีมี ความรู้และใช้ความรู้ให้เป็นประโยชน์ โดยการนาความรู้มาจัดระบบพร้อมขับเคล่ือน โดยวิธีการถ่ายทอด ประยุกต์ พฒั นา ตอ่ ยอดนาไปใช้ประโยชน์ และพัฒนาคุณภาพชีวิต พัฒนาเศรษฐกิจชุมชนให้เข้มแข็งน้ัน เราเรียกว่า “เศรษฐกิจฐานความรู้ชุมชน”จากพระบรมราโชบายว่า \"การท่ีจะแจกสิ่งของหรือเงินแก่ ราษฎรนัน้ เป็นการชว่ ยเหลือช่วั คราว ไม่ยั่งยืน การที่จะให้ประชาชนอยู่รอดได้ก็ คือ การให้อาชีพ\" จึง เป็นมูลเหตุแห่งที่มาของกระบวนการขับเคล่ือนเศรษฐกิจฐานความรู้สู่ชุมชนภาคเกษตรกรรมตามศาสตร์ พระราชาของสถาบันการอาชีวศึกษาภาคกลางนี้ ๑.๒ วัตถปุ ระสงค์ ๑) พัฒนาผู้เรียน ครู ผู้บริหารให้มีกระบวนการขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานความรู้ควบคู่กับ กระบวนการจดั การเรียนรู้รอบด้านตามศาสตร์พระราชา ๒) พัฒนาสถาบันการอาชีวศึกษาเกษตรภาคกลางโดยใช้กระบวนการขับเคล่ือนเศรษฐกิจ ฐานความรู้แบบมสี ว่ นรว่ มตามศาสตร์พระราชา ๓) พัฒนาชุมชนเกษตรกรรมโดยใช้กระบวนการขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานความรู้แบบมีส่วน รว่ มสู่ความย่งั ยนื ตามศาสตร์พระราชา ๑.๓ ขอบเขตของกระบวนการขบั เคลื่อน ผู้วิจัยขอทาความตกลงเบื้องต้นกับท่านผู้ศึกษาก่อนว่า คู่มือกระบวนการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ ฐานความรู้สู่ชุมชนภาคเกษตรกรรมตามศาสตร์พระราชาของสถาบันการอาชีวศึกษาเกษตรภาคกลางเป็น เพียงกระบวนการหน่ึงท่ีได้ผลลัพธ์จากกระบวนการวิจัย เอกสารคู่มือกระบวนการขับเคลื่อนน้ีเป็นแนวคิด การขับเคล่ือนเศรษฐกิจฐานความรู้สู่ชุมชนภาคเกษตรกรรมตามศาสตร์พระราชา มีเน้ือหาสาระเป็น แนวคดิ เบือ้ งต้น ไม่ได้เจาะลกึ ไปในแต่ละหัวข้อ ท่านผู้ศึกษาต้องศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมต่อไป แต่ท่านจะได้
๔ แนวทาง แนวคิด และรูปแบบลักษณะของกระบวนการขับเคลื่อนท่ีเป็นประโยชน์ต่อการจัดกระบวนการ เรียนรู้ของผู้เรียนเพ่ือให้ได้มาซึ่งองค์ความรู้บนพื้นฐานการเรียนรู้ของผู้เรียน (เข้าใจ) โดยครูผู้สอนเป็นผู้ ขับเคลื่อนกระบวนการจัดการเรียนรู้ของผู้เรียน พัฒนาทักษะ ความชานาญเฉพาะทาง ตามหลักการและ กระบวนการของวิธีการจัดการเรียนรู้ (เข้าถึง) เพ่ือให้ผู้เรียนเจริญงอกงามทางปัญญา สามารถนาองค์ ความรู้ไปสืบทอด พัฒนาอาชีพ เลี้ยงตัวเองได้ และสร้างความเจริญทางเศรษฐกิจฐานความรู้แก่ชุมชน เกษตรกรรม (พัฒนา) โดยสามารถนาองค์ความรู้ไปใช้ปรับประยุกต์ได้กบั ทุกกลุ่มงานวิชาชีพต่อไป ๑.๔ นิยามศัพท์เฉพาะทใี่ ช้ในกระบวนการขับเคล่อื นเศรษฐกิจฐานความรู้ เพื่อให้การศึกษาวิจัยคร้ังน้ี เป็นไปตามวัตถุประสงค์ด้วยความถูกต้องและเข้าใจอยู่ใน กรอบของการศกึ ษา ผู้วิจัยจงึ ได้กาหนดนิยามศัพท์เฉพาะทใ่ี ช้ในการวิจัย จนได้มาซึ่งคู่มือกระบวนการ ขับเคล่อื นเศรษฐกจิ ฐานความรูส้ ่ชู ุมชนภาคเกษตรกรรมตามศาสตร์พระราชาน้ี มดี ังนี้ กระบวนการขับเคลื่อน หมายถึง การเสริมสร้างกระบวนการ แนวคิดการบริหารองค์ ความรู้ด้านการเกษตรกรรมของสถานศึกษา และชุมชนให้เข้มแข็ง สามารถพัฒนาได้อย่างม่ันคงและ ย่ังยืนภายใต้กระแสโลกาภิวัตน์ โดยให้ความสาคัญกับการสร้างฐานรากทางเศรษฐกิจและสังคมให้ เข้มแข็ง รักษาความสมดุลของทุนและทรัพยากรในมิติต่าง ๆ ตลอดจนสามารถปรับตัวพร้อมรับต่อ การเปล่ียนแปลงต่าง ๆ ไดอ้ ยา่ งเท่าทัน และเกดิ ความยง่ั ยืน สามารถพึ่งตนเองได้ เศรษฐกจิ ฐานความรู้ หมายถึง กิจกรรมทางเศรษฐกิจ ที่เกี่ยวข้องกับการผลิตการบริโภค และการกระจายผลิตผลหรือการซ้ือขายแลกเปล่ียนผลิตผล กิจกรรมทางเศรษฐกิจที่เกี่ยวข้องกับการ ผลิต การบริโภค และการกระจายผลิตผลของครอบครัวต่าง ๆ ที่อาศัยอยู่ในพ้ืนท่ีเดียวกันซ่ึงจะเป็น เรือ่ งของการประกอบอาชพี โดยใชค้ วามรู้เป็นฐาน การทามาหากนิ การจบั จ่ายใช้สอย และการซ้ือขาย ข้าวของ เคร่อื งใชต้ า่ ง ๆ ของผคู้ นท่อี าศยั อยใู่ นพ้ืนท่ี ตลอดถึงผลิตผลทางด้านการเกษตรกรรมท่ีมีการ แลกเปลี่ยนหรอื การซือ้ ขายทาใหเ้ กิดรายไดข้ องชุมชน การเกษตรกรรม หมายถึง วิธีทาการเกษตร การเพาะปลูกพืช การเลี้ยงสัตว์ การเพาะ หรือปฏิบัติกับทดี่ ินเพื่อให้เกิดผลผลิต ที่อาศัยกระบวนการเจริญเติบโตของพืช กระบวนการผลิตหรือ กิจกรรมที่เกิดข้ึนในพื้นที่ท่ีดิน และผลตอบแทน หรือการใช้ศิลปะและวิทยาศาสตรในการปฏิบัติกับ ท่ดี ินเพือ่ ให้เกดิ การผลิตข้ึนในชมุ ชน ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง หมายถึง ปรัชญาท่ีชี้แนะแนวทางการดารงอยู่ และ ปฏิบัติตนในทางท่ีควรจะเป็น โดยมีพื้นฐานมาจากวิถีชีวิตดั้งเดิมของสังคมไทย สามารถนามา ประยกุ ต์ใช้ไดต้ ลอดเวลา และเป็นการมองโลกเชิงระบบท่ีมีการเปลยี่ นแปลงอยู่ตลอดเวลา มุ่งเน้นการ รอดพน้ จากภยั และวิกฤต เพอื่ ความม่นั คง และความย่ังยืนของการพัฒนา
๕ การจัดการเรยี นรู้ (Learning management) หมายถึง กระบวนการท่บี คุ คลเกดิ การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม การเรียนรู้เกิดขึ้นอยู่ตลอดเวลา จากการดาเนินชีวิตในวันหนึ่ง ๆ มนุษย์ จึงได้เรียนรู้ท่ีจะปรับตัวด้วยการแสดงพฤติกรรมต่าง ๆ กับสถานการณ์ที่ตนประสบอยู่ หรือการ เปล่ยี นพฤติกรรม หรือหมายถึง ลาดบั ขัน้ ตอนที่ทาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรูจากปรากฏการณ์ส่ิงต่าง ๆ ท่ีเกิดขึ้น จึงทาให้เกิดประสบการณ์ตรงมุ่งดาเนินการพัฒนาทางความคิด และความสามารถ โดย อาศยั ประสบการณเ์ ชื่อมโยง และการปฏสิ ัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนและส่ิงแวดล้อม การจัดกิจกรรมนักเรียน นักศึกษา (Activities for students) หมายถึง กิจกรรม องค์กรวชิ าชพี ของสถานศึกษาตามศาสตรพ์ ระราชา โดยปรบั เปลย่ี นกระบวนการจัดกิจกรรมผู้เรียนให้ สามารถพัฒนาการเรยี นรู้ไดต้ รงตามศักยภาพ และความสนใจของผู้เรียนได้โดยมีกระบวนการสอนท่ี หลากหลาย ให้ความสาคัญกับหลักการและวิธีการท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ เล็งเห็นความสาคัญใน ความแตกต่างระหว่างบุคคลท่ีก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด นาไปสู่แนวทางในการพัฒนาสถานศึกษา ตามศาสตร์พระราชาอย่างเป็นระบบ กิจกรรมที่มุ่งเน้นส่งเสริมความรู้ ทักษะและประสบการณ์ให้แก่ ผเู้ รียนนอกเหนอื จากการเรยี นในห้องเรียน เปน็ กจิ กรรมที่จดั อยา่ งเป็นกระบวนการด้วยรปู แบบวิธีการ ท่ีหลากหลาย เพ่ือให้ผู้เรียนพัฒนาตนเองตามศักยภาพ พัฒนาอย่างรอบด้านเพื่อความเป็นมนุษย์ท่ี สมบูรณ์ ท้ังร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ และสังคม เสริมสร้างให้เป็นผู้มีศีลธรรม จริยธรรม ระเบียบ วินัย ปลูกฝัง และสร้างจิตสานึกของการทาประโยชน์เพื่อสังคม สามารถจัดการตนเองได้และอยู่ ร่วมกับผ้อู ื่นอยา่ งมีความสขุ สถานศึกษา (Place of education) หมายถึง วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยี สังกัด สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ผู้บริหารสถานศึกษา (Executive education) หมายถึง ผู้อานวยการ รักษาการ ผู้อานวยการ รองผู้อานวยการ หรือครูทาหน้าท่ีรองผู้อานวยการ ทั้ง ๔ ฝ่าย ของวิทยาลัยเกษตร และเทคโนโลยี สถาบนั การอาชวี ศึกษาเกษตรภาคกลาง สานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา ครู (Teachers) หมายถึง บุคลากรวิชาชีพท่ีทาหน้าท่ีหลักทางด้านการจัดการเรียน การสอน และการส่งเสริมการเรียนรู้ในวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยี สังกัดสานักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นกั เรียน นกั ศกึ ษา (Student) หมายถึง นักเรียนท่ีกาลังศึกษาในระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพ (ปวช.) และหรือนักศึกษาที่กาลังศึกษาในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง (ปวส.) ของ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยี สังกัดสานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ทกั ษะในเร่อื งของการจัดการข้อมูล หมายถึง การจัดการข้อมูลข่าวสาร ของตนเองหรือ ของชุมชนท่ีมีอยู่ เพื่อให้คนอื่นได้รับทราบถึงข้อมูล และการบริหารจัดการให้เป็นระบบลาดับตาม
๖ ความสาคัญของข้อมูลแล้ว สามารถนาเสนอข้อมูลด้านเกษตรกรรมของชุมชนด้วยหลักฐานและ อธิบายเป็นข้ันตอนของความสาคัญในแต่ละข้นั ตอน การตลาด หมายถึง กระบวนการของการส่ือสารคุณค่าของผลิตภัณฑ์ด้านเกษตรกรรม หรือบรกิ ารไปยงั ลูกค้าหรือการสง่ สินคา้ และการจัดการความสัมพันธ์ต่อลูกค้า ในทางท่ีเป็นประโยชน์ แก่องค์การ อย่างมีมโนทัศน์ สามารถเลือกดาเนินการธุรกิจได้แก่ เริ่มต้ังมโนทัศน์เน้นการผลิตใช้ใน ครอบครวั ถ้ามปี ริมาณมากพอถึงจะจาหน่าย เน้นการขาย เน้นการตลาด และเน้นการตลาดองค์รวม กลมุ่ ของภาระหนา้ ท่ที ่สี าคญั ต่อการจดั การการตลาดที่ประสพผลสาเรจ็ ประกอบไปด้วยกนั ช่องทางการส่ือสาร หมายถึง ชอ่ งทางการสือ่ สารทีจ่ ะชว่ ยในการนาส่งสารจากผู้ส่งสารไป ยังผู้รับสารระหว่างผู้ร่วมสื่อสาร ซ่ึงได้แก่ คล่ืนแสง คลื่นเสียง วิทยุ โทรเลข โทรทัศน์ หนังสือพิมพ์ เป็นต้น ช่องทางเหล่าน้ีเน้นหนักในเรื่องสื่อทางเทคโนโลยี ซึ่งเป็นตัวนาคลื่นเสียงไปสู่ประสาทรับ ความร้สู ึกต่าง ๆ หรืออาจจะหมายถงึ การใชว้ ธิ ีพดู การใช้วิธีเขียน ก็เปน็ ชอ่ งทางสอื่ สารเหมอื นกัน การมีส่วนร่วม หมายถึง ความเห็นพ้องกันในเรื่องใดเร่ืองหรือมีกิจกรรมร่วมกัน จึงได้ทา กิจกรรมร่วมกันได้ และมีทิศทางของการเปลี่ยนแปลง ความเห็นพ้องต้องกัน มีความคิดริเริ่มเพื่อการ ปฏิบัติงานร่วมกันได้ในชุมชนที่ทาโดยกลุ่มหรือในนามกลุ่ม ให้บุคคลเข้ามามีส่วนเก่ียวข้องในการ ดาเนนิ งานพฒั นา ร่วมคิด ตดั สินใจ แก้ไขปัญหาร่วมกัน และปฏบิ ตั ิงานร่วมของชมุ ชน T = Technology เทคโนโลยี หมายถึง เทคโนโลยีการศกึ ษาชุมชน นวัตกรรมการศึกษา ชุมชน และเป็นการผสมผสานทรัพยากรบุคคล ภูมิปัญญา และทุนศักยภาพของชุมชนเข้ากับ วิทยาการและเทคโนโลยี ทั้งในระดับท้องถ่ินและระดับประเทศ เพื่อการพัฒนาระบบปฏิบัติการของ ชุมชน ให้ชุมชนและสมาชิกในชุมชน การรวมกลุ่มแบบต่าง ๆ รวมตัวเป็นชุมชนความสนใจด้วย ประเด็นท่ีมีร่วมกัน ให้มีความ สามารถทางการปฏิบัติและเรียนรู้ เพื่อดาเนินการส่ิงต่าง ๆ อัน ก่อให้เกิดความสมดุลยกับสขุ ภาวะของชุมชนเอง E = Economic สนิ คา้ ทดแทน หมายถึง การประกอบธุรกิจสีเขียว ส่ิงแวดล้อม สุขภาพ และสิทธิมนุษยชน และเศรษฐกิจ ไม่ส่งผลกระทบทางลบ แต่ส่งผลกระทบทางบวกต่อสภาพแวดล้อม ของทอ้ งถ่นิ หรือโลก รวมท้ังตอ่ ประชาชน ชุมชน สังคม และเศรษฐกิจการผลิตผลิตภัณฑ์และบริการท่ี เปน็ มิตรต่อสิ่งแวดลอ้ ม มีกิจกรรมสง่ เสรมิ การรกั ษาส่ิงแวดล้อม R = Resources ทรัพยากร หมายถึง ทรัพยากรธรรมชาติท่ีเป็นต้นทุนหรือวัตถุดิบท่ี มนุษย์นามาใช้เพื่อความเจริญทางเศรษฐกิจหรือการเกษตรกรรม ไม่ว่าจะเป็นดิน น้า พลังงานที่ผลิต จากธรรมชาติ ป่าไม้รวมทั้งสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้นมาทดแทนธรรมชาติ เคร่ืองจักรกล รถยนต์หรือ เคร่ืองบนิ ทม่ี นษุ ยส์ รา้ งขึน้ มาเพื่ออานวยความสะดวกแกก่ ารดารงชีวิต M = Mental จิตใจ หมายถึง ความรู้สึกนึกคิด สภาวะที่ส่งความรู้สู่สมองหรือภาวะที่ เป็นนามธรรมท่ีรับรู้ความรู้สึก มีทั้งสุขและทุกข์ที่เกิดข้ึน รวมทั้งเชาว์ปัญญา ความสานึก ความมีสติ
๗ ส่วนความคิดเป็นองค์ประกอบสาคัญของจิตใจที่สามารถรู้เห็นได้ สามารถกากับและควบคุมอย่าง ชัดเจน S = Social, Culture วัฒนธรรม หมายถึง เครื่องกาหนดวิถีการดาเนินชีวิตของมนุษย์ ใหม้ นษุ ย์อยู่รว่ มกันอย่างเป็นระเบยี บและยึดถือปฏบิ ัติ ตามจารีตประเพณอี นั ดงี ามการคบหาสมาคม ประกอบอาชีพร่วมกัน ล้วนเป็นผลมาจากวัฒนธรรม วัฒนธรรมเป็นเครื่องกล่อมเกลาจิตใจมนุษย์ ก่อใหเ้ กดิ การอยูร่ ่วมกันอยา่ งสงบสขุ สังคมและวัฒนธรรมจงึ จาเป็นของคู่กัน ศาสตร์พระราชา หมายถึง แนวทางการพัฒนาของในหลวงรัชกาลท่ี ๙ ท่ีมีความลุ่มลึก รอบด้าน มองการณ์ไกลและเน้นความยั่งยืนมายาวนานก่อนที่ประชาคมโลกจะต่ืนตัว ในเร่ืองน้ี เป็น แนวทางการพัฒนาที่มุ่งยกระดับคุณภาพชีวิตของคนไทยทุกหมู่เหล่า องค์ประกอบของศาสตร์ พระราชา คือ การศึกษาและสุขภาพ การเพ่ิมผลิตภาพการผลิต การค้นคว้าวิจัย การบริหารความ เส่ียง การอนุรักษ์ธรรมชาติ และปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง แต่ละองค์ประกอบล้วนมีส่วนช่วย ยกระดับคณุ ภาพชีวิตของทุกผคู้ นโดยเฉพาะคนจนและผยู้ ากไร้
บทที่ ๒ นยิ ามของกระบวนการขบั เคลอ่ื นเศรษฐกิจฐานความรู้ สู่ชมุ ชนภาคเกษตรกรรม ๒.๑ แนวคิดของกระบวนการขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานความรู้ชุมชน โลกในยุคไร้พรมแดนมีการเปล่ียนแปลงทางวิวัฒนาการด้านต่าง ๆ ไปมาก จนทาให้พัฒนากร ต้องเป็นคนท่ีหูตากว้างไกล โดยเฉพาะในฐานะที่ผู้วิจัยเป็นครูวิทยาศาสตร์ดีเด่น ซ่ึงเป็นผู้นาทางความคิด ผู้นาการเปล่ียนแปลง ต้องรู้และเข้าใจ บริบทของผู้เรียน และปรับเปลี่ยนแนวคิดในการจัดการเรียนรู้ ให้ ทันตอ่ การเปลย่ี นแปลงอยู่เสมอ เพ่ือให้ทันกับเทคโนโลยีสารสนเทศท่ีมีบทบาทต่อการเรียนรู้ สังคม องค์ ความรู้จึงเป็นปัจจัยสาคัญในการพัฒนาสังคม และประเทศชาติให้พร้อมก้าวทันโลก และก้าวทันเศรษฐกิจ ฐานความรู้ (Knowledge Based Economy) ปัจจุบันองค์กรต่าง ๆ ท่ีเข้มแข็งต้องขับเคล่ือนเศรษฐกิจ ด้วย “ฐานความรู้” ความรู้จึงมีอานาจ มีฤทธานุภาพ และมีพลังอานาจอยู่ในตัวเรา สถานการณ์ความรู้ที่ มอี ยู่ในสงั คมไทยน้ัน พบว่า ความรู้มีอยู่มากมายในตารา และในห้องสมุดแต่กลับนาความรู้มาใช้ประโยชน์ ได้น้อย เพราะตาราเหล่าน้ันอาจจะ ไม่เอ้ือต่อการนาไปปฏิบัติให้เกิดผลเชิงรูปธรรม หรืออีกด้านหน่ึง ความรู้ที่มีอยู่ ในตัวบุคคลที่เป็นคนเก่ง คนมีประสบการณ์ มีความเชี่ยวชาญ กลับไม่มีโอกาส ในการ ถ่ายทอดองค์ความรู้ให้กับบุคคลอื่น ๆ ได้การท่ีมีความรู้และใช้ความรู้ให้เป็นประโยชน์ โดยการนาความรู้ มาจัดระบบพร้อมท่ีจะถ่ายทอดนาไปใช้ประโยชน์ และพัฒนาคุณภาพชีวิตนั้น เราเรียกว่า “การจัดการ เศรษฐกิจฐานความรู้” ถ้าเป็นความรู้เชิงเกษตรกรรมก็เรียกว่า “การจัดการเศรษฐกิจฐานความรู้เชิง เกษตรกรรม”
๙ ศาสตรพ์ ระราชา เขา้ ใจ เข้าถงึ พฒั นา เศรษฐกิจฐานความรู้ ชุมชนเกษตรกรรม ความศรัทธา บรบิ ทเชิงพืน้ ที่ เขา้ ใจ เข้าถงึ พัฒนา ภาพที่ ๑.๑ แนวคิดของกระบวนการขับเคล่ือนเศรษฐกจิ ฐานความรชู้ ุมชน กระบวนการขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานความรู้ชุมชน หัวใจสาคัญที่ต้องดาเนินการไปพร้อม ๆ กัน ๓ ประเด็น คือ การสร้างความรู้ การนาความรู้ไปเคล่ือนไหวชุมชน ขณะเดียวกันเชื่อมโยงความรู้ และ การเคลื่อนไหวชุมชนเกษตรกรรมไปพร้อมกับการดาเนินการทางการมีส่วนร่วมเพื่อขับเคล่ือนในเชิง ระบบ เชงิ กติกาของชุมชนหรือเชิงโครงสร้างของชุมชนเกษตรกรรมที่มีบริบทแตกต่างจากชุมชนเมือง และ มีความละเอียดผู้บริหารสถานศึกษา ครู นักเรียน นักศึกษาจะต้องเข้าใจ เข้าถึง และพัฒนาตนเอง เพื่อ สร้างความศรัทธา ให้ชุมชนเกษตรกรรมเห็นคุณค่า และพลังท่ีต้องใช้มีท้ังพลังการมีส่วนร่วม ได้แก่ รัฐ สงั คม และความรู้
๑๐ “ในยุคท่ีชุมชนเกษตรกรรมขาดองค์ความรู ้ ท้ัง ๆ ท่ีกลไกต่าง ๆ มีอยู่มากมาย แต่ไม่เป็นระบบ ทางานแบบแยกส่วน เพราะความรู้กระจายเป็นท่อน ๆ ทั้งนี้คนในชุมชนมีความสามารถในการตัดสินใจ วิเคราะห์ สังเคราะห์เหตุและผลได้ จนรู้ว่าชุมชนต้องการทาอะไร เช่น แก้ไขปัญหาความยากจน สิ่งแวดล้อม ต้องการระบบราชการท่ีดีกว่าน้ี เป็นต้น แต่คาถามคือ ทาอย่างไร” หลายท่านคงเห็นด้วยกับ ความคิดท่ีว่า มุมบนสุดของสามเหลี่ยมสาคัญท่ีสุด และเป็นพลังหลัก แต่ดาเนินการยากที่สุด น่ันคือ “การสร้างความรู้” ประเด็นการสร้างความรู้ ยังสอดรับกับสถานการณ์ปัจจุบันของชุมชนเกษตรกรรมท่ีทุกคน เห็น พ้องต้องกันว่า เป็นยุคสังคมเศรษฐกิจฐานความรู้ (Knowledge-Based Society and Economy) มี การแข่งขันกันด้วยพลังความรู้ ไม่ใช่แข่งขันกันด้วย การส่ังสมปัจจัย (Factors Accumulation) เช่น ทรัพยากรธรรมชาติ ทุน หรือ แรงงานเป็นปัจจัยหลัก ก็เพราะว่าปัจจัยย่ิงใช้ย่ิงแปรสภาพหมดไป แต่ ความรู้ยิ่งใช้ย่ิงงอกงาม การพัฒนาสังคมบนฐานความรู้จะย่ังยืน ทุกสังคมจึงต้องมีความสามารถใน การนาความร้มู าสร้างนวตั กรรม มาใช้เปน็ พลัง ขบั เคล่ือนในการพัฒนาชุมชนเกษตรกรรมสู่ความย่ังยืนโดย การนอ้ มนาศาสตร์พระราชามาใชเ้ ป็นแนวทางในการปฏบิ ัติ โดยสรุปแล้ว การจัดการความรขู้ องชุมชนเกษตรกรรม คือ การรวบรวม องค์ความรู้ของชุมชน เกษตรกรรม เพ่ือเป็นคลังแห่งความรู้และปัญญา ในการนาไปถ่ายทอดแก่คนในชุมชน ด้วยองค์วามรู้น้ีเอง จะเป็นพ้ืนฐานสาคัญในการสร้างความยั่งยืน ตง้ั แตร่ ะดับ ครอบครวั ชมุ ชน และประเทศชาตติ ่อไป ๒.๒ เปา้ หมายของกระบวนการขบั เคลอ่ื นเศรษฐกิจฐานความรู้ชุมชนภาคเกษตรกรรม ตามศาสตร์พระราชา เป้าหมายของกระบวนขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานความรู้ ประกอบไปด้วยการพัฒนาในประเด็น ๕ ดา้ น ดงั น้ี ๒.๒.๑ พัฒนาผู้เรียน ด้วยการจัดกระบวนการเรียนรู้ให้พร้อมรับการเปล่ียนแปลง เม่ือ ผู้เรียนมีพลังความรู้ท่ีพร้อม ทาให้เราสามารถนาความรู้และประสบการณ์มาประยุกต์ ให้ความรู้ตกผลึก เปน็ องคค์ วามรู้ท่ีมีพลังพร้อมต่อยอดต่อไป ๒.๒.๒ การพัฒนาครู จัดเป็นพลังขับเคล่ือน เพ่ือถ่ายทอดองค์ความรู้ท่ีสาคัญ การสร้างใด ๆ น้ันต้องอาศัยกระบวนการถ่ายทอด ให้แก่ผู้เรียน ชุมชน และบุคคลทั่วไปบนพ้ืนฐานของความศรัทธา ทา ให้ได้รบั การพัฒนาเจรญิ งอกงามขึ้น มคี วามรู้รอบดา้ น สามารถพัฒนาตนเองและชุมชนได้ ๒.๒.๓ การพัฒนาทักษะความชานาญเฉพาะทาง และองค์ความรู้ ด้วยเหตุท่ีความรู้มี มากมายกระจัดการจายอยู่ท่ัวไป การจัดการความรู้ และทักษะ คือ การนาเอาองค์ความรู้ท่ีอยู่ในตัวของ ผู้เรียน ครู สร้างให้เป็นนวัตกรรม ช้ินงาน โครงการให้สามารถนามาประยุกต์ใช้ เพ่ือแก้ปัญหาที่อาจจะ
๑๑ เกิดขน้ึ หรือสรา้ งสรรคส์ ิ่งตา่ ง ๆ ได้โดยใชท้ ักษะการคิดวิเคราะห์ พัฒนา ต่อยอด เป็นการสร้างพลังอานาจ ในการจัดการความรู้ที่เกิดประสิทธิผลแก่ชุมชน และสังคมอย่างงอกงาม สามารถปฏิบัติภารกิจได้โดยง่าย ไม่เป็นการแกป้ ัญหาซา้ ๆ กจ็ ะเกิดผลลพั ธท์ ี่ดี ๒.๒.๔ การสร้างความเช่ือมโยงแบบมีส่วนร่วม การสร้างความเชื่อมโยงโดยการสร้างและ นวัตกรรม ช้ินงานแบบมีส่วนร่วม จัดเป็นการสร้างสรรค์แนวทางในพัฒนาชุมชนเกษตรกรรมบนฐานคิด แบบมีส่วนร่วม ในสภาพแห่งความเป็นจริงยุคใหม่ ๆ ภายใต้กระบวนการจัดการศึกษาอิงเศรษฐกิจ ฐานความรู้ การส่ือสาร องค์กรภาครัฐ แหล่งทรัพยากร แนวคิดการออกแบบวิธีการของความเชื่อมโยง แบบมีส่วนร่วมให้มีความเป็นนวัตกรรมเชิงกระบวนการทางการศึกษาร่วมกัน เพ่ือส่งเสริมการสร้าง นวัตกร บนฐานการค้นคว้าวิจัยพัฒนานวัตกรรมและส่ิงประดิษฐ์ การถอดบทเรียนจากศูนย์การเรียนรู้ (หอ้ งเรยี น) สู่ชุมชนเกษตรกรรมอย่างแท้จริง และ ๒.๒.๕ ความศรัทธา และบริบทเชิงพื้นที่ การสร้างและพัฒนานวัตกรรมแบบมีส่วนร่วม และ พัฒนาส่งเสริม จัดการถ่ายทอดองค์ความรู้จนเกิดผลสัมฤทธ์ิตามเป้าหมาย ชุมชนเกิดความม่ันใจเล่ือมใส ศรัทธาแล้ว การจัดการความรู้ การถอดบทเรียนร่วมกันถือเป็นกระบวนการที่สาคัญของสถานศึกษา องค์กร และชุมชน หมายถึงการเข้าใจ เข้าถึง และพัฒนาในตัวบริบทเชิงพ้ืนท่ี น่ันหมายถึง ผู้บริหาร สถานศึกษาต้องมีความรู้ และใช้ความรู้เพื่อจัดการศึกษา โดยต้องมีกระบวนการพิสูจน์หลายบริบทว่า ได้ผลดีจริง มีความเที่ยง ส่งผลต่อการกาหนดราคา เพ่ิมมูลค่าขององค์ความรู้ และนวัตกรรม หรือชิ้นงาน น้ัน ๆ ให้เกิดประโยชน์แก่ชุมชน ๆ หรือคนทางานในพ้ืนท่ีซึ่งมีประสบการณ์ และมีการจัดการความรู้ท่ีดี เชิงพื้นท่ี ผ่านกระบวนการวิเคราะห์จนได้บทเรียนท่ีดี จากการทางาน ทั้งบทเรียนจากความสาเร็จ บทเรียนจากความผิดพลาดที่พึงระวัง เมื่อมีการถอดบทเรียนดังกล่าวไว้ และนามาเผยแพร่แบ่งปันความรู้ กจ็ ะเป็น วิทยาทานให้แกช่ ุมชนเจริญงอกงามต่อไป
๑๒ กระบวนการขับเคลอื่ น ๑ การจดั การเรยี นรู้ เศรษฐกจิ ฐานความรู้ ผู้บรหิ าร ครู ผเู้ รียน ศนู ย์การเรยี นรู้ (ระเบิดจากภายใน) กิจกรรมการเรียนรู้ ๒ ผเู้ รยี น รปู แบบการจดั การเรยี นรู้ ศนู ยก์ ลางคลังปัญญา ครู ผู้เรยี น ศูนย์กลางการจัดการองค์ความรู้ สร้างความเขา้ ใจผู้เรยี น ครู และ บุคลากรทางการศกึ ษา ๓ ศนู ยก์ ลางการจดั การองค์ความรู้ของสถานศึกษา บริบทการเรยี นรชู้ ุมชน (การทาตามลาดบั ขั้น) ครู ผเู้ รยี น - การทาโครงการเกษตรของผู้เรียน ศูนย์กลางความเช่อื มโยง - การแลกเปลีย่ นเรยี นรโู้ ดยการฝกึ ปฏบิ ัติ ฝึกงาน การจัดการองคค์ วามรู้ - การผลิตสินคา้ และบรกิ าร/การจัดจาหนา่ ย สรา้ งความเขา้ ใจชุมชน รับรู้ - การพัฒนาองคค์ วามรู้ การสมั มนาผลงานทาง ความตอ้ งการชุมชน ภมู สิ ังคม วิชาการของผูเ้ รยี น ระดับหนว่ ย ภาค ชาติ ๕ ศูนย์กลางองคค์ วามรู้สอู่ าชีพ ๔ ตามศาสตร์พระราชา เครอื ขา่ ยความรว่ มมือ การพึง่ ตนเอง การมสี ่วนร่วม ความยง่ั ยนื เขา้ ใจ เขา้ ถงึ พัฒนา (รูปแบบองคร์ วม) ความย่ังยนื กระบวนการเศรษฐกิจฐานความรู้ ตามศาสตรพ์ ระราชา ภาพที่ ๒.๑ กระบวนการขบั เคลอ่ื นเศรษฐกิจฐานความรู้สู่ชุมชนภาคเกษตรกรรมตามศาสตร์ พระราชาของสถาบนั การอาชวี ศกึ ษาเกษตรภาคกลาง
๑๓ ๒.๓ ลักษณะของกระบวนการขบั เคล่ือนเศรษฐกิจฐานความรูช้ ุมชนภาคเกษตรกรรม ตามศาสตรพ์ ระราชา ลักษณะของกระบวนการขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานความรู้ชุมชนภาคเกษตรกรรมตาม ศาสตร์พระราชา สถานศึกษามีการจัดลงนามความร่วมมือเพ่ือขับเคลื่อนการจัดการศึกษาของ สถานศึกษาท่ีชัดเจน โดยยึดหลักการมีส่วนร่วมตามระดับความพร้อม และการมีการพัฒนาร่วมกัน อย่างต่อเนื่องด้วยความสมัครใจ โดยสถาบันการอาชีวศึกษาเกษตรภาคกลางมีการจัดกระบวนการ ขบั เคลอ่ื นในรูปของกลุ่มจงั หวัด มกี ารจัดทาทะเบียนภาคคี วามร่วมมอื ภาคเกษตรกรรม แต่ละสถานศึกษา มีรายละเอียดเก่ียวกับองค์กร กลุ่ม หรือชุมชนต่าง ๆ ที่จะเข้าร่วมเป็นภาคี ขับเคลื่อน มีรายชื่อแกนนา และเบอร์โทรศัพท์หรืออีเมล์ สาหรับติดต่อ และอาจมีการจัดทาสื่อสาหรับ การแลกเปล่ียนเรียนรู้ข้อมูลข่าวสารกันอย่างต่อเนื่อง ซ่ึงยึดหลักการและกระบวนการของความประหยัด รอบคอบ ความคล่องตวั และความมีประสิทธิภาพเป็นที่ตั้ง การมีเวทีการแลกเปล่ียนเรียนรู้ดังกล่าว ควรมี ทั้งรูปแบบที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ ซ่ึงอาจจะเป็นในรูปเว็บไซต์ของเครือข่ายการขับเคล่ือน หรือ จดหมายข่าวหมุนเวียนตามความเหมาะสม เป้าหมายท่ีเป็นรูปธรรมสาหรับกระบวนการนี้ก็คือ การสร้างเวทีแลกเปล่ียนเรียนรู้ข้อมูล ข่าวสาร ท่ีทาให้เกิดการส่ือสารท่ีมีประสิทธิภาพสูง ระหว่างสมาชิกเครือข่าย เพ่ือให้กระบวนการ ขับเคลื่อนตามพันธกิจของสถาบันการศึกษา มีกระบวนการขับเคล่ือนด้วยข้อมูลข่าวสาร และ ความสมั พันธท์ ี่ดรี ะหว่างการมสี ว่ นร่วมของสมาชกิ โดยสรุป แนวทางการบริหารจัดการโดยเครือข่ายเพื่อบูรณาการอุตสาหกรรมการ ท่องเท่ียวในกลุ่มจังหวัดอันดามันที่มีประสิทธิภาพในอนาคตน้ัน ควรเป็นการต่อยอดการดาเนินการ จากกระบวนการทางานท่ีทาอยู่มากกว่าการสร้างระบบใหม่ขึ้นมา โดยมีเป้าหมาย คือ การสร้าง เอกภาพท่ีระดับเป้าหมายและยุทธศาสตร์ การสร้างเอกภาพและบูรณาการในระดับปฏิบัติการ และ การสร้างเวทีแลกเปล่ียนข้อมูลข่าวสารที่ทาให้เกิดการส่ือสารที่มีประสิ ทธิภาพสูงระหว่างสมาชิก เครอื ขา่ ยการมีส่วนร่วมโดยสมัครใจ และการสนบั สนนุ จากผูน้ าองค์กรแต่ละภาคสว่ น อยา่ งไรกต็ าม การทีจ่ ะดาเนินการตามกลยทุ ธ์ทเี่ สนอมาขา้ งตน้ ได้อย่างมปี ระสิทธิภาพนั้น จาเปน็ อยา่ งย่งิ ทีจ่ ะต้องมีการพัฒนาความร้แู ละทักษะการทางานของบคุ ลากรในระดับต่าง ๆ ของภาคี การพัฒนาอยา่ งจริงจังและสอดคล้องกบั ภารกจิ และหน้าที่ จึงควรมีการจัดอบรมเพื่อพฒั นาบุคลากร เหลา่ น้ีอยา่ งจริงจงั และเหมาะสมดว้ ย
๑๔ ๒.๔ กระบวนการขับเคล่ือนเศรษฐกิจฐานความรู้ชุมชน ผู้นาชุมชนและคนในชุมชนเองควรตระหนักถึงความสาคัญในการพัฒนา หมู่บ้านของตนเอง โดยไม่ต้องยึดติดกับหน่วยงานภาครัฐมากเกินไป ไม่ต้องรอ คอยให้หน่วยงานใดเข้ามาสนับสนุน งบประมาณ หรือกิจกรรม ชุมชนเองต้องมอง ตัวเองเป็นหลัก และพร้อมใจท่ีจะสละเวลาของตนเองเพื่อ พัฒนาหมู่บ้าน โดยการ หม่ันศึกษาหาข้อมูล เรียนรู้ แลกเปล่ียนความรู้ซ่ึงกันและกันและนาความรู้ท่ีได ้ ไปปรับใช้ในการพัฒนาหมู่บ้าน ผู้นาชุมชนและคนในชุมชนสามารถจัดการความรู้ ร่วมกัน นั่นคือ การเอา ความรู้ท่ีได้มาจากการปฏิบัติ และความรู้จากผู้อ่ืนมา แลกเปลี่ยนเรียนรู้กัน การถอดบทเรียนและการ จัดการความรู้จึงเป็นเครื่องมือ ในการพัฒนาคนและชมุ นุม อย่างไรก็ตาม ปัญหาสาคัญในการจัดการความรู้ในชุมชน น่ันคือ เรามัก ปกปิดปัญหา เพราะ มองว่าเป็นเรือ่ งสว่ นตวั ไม่ควรก้าวก่าย หรือมักบิดเบือน เพื่อสร้างภาพว่าชุมชน หรือตัวเราไม่มีปัญหาส่ิง เหล่าน้ี จึงทาให้ไม่มีกระบวนการ แลกเปล่ียนเรียนรู้ และขาดวงจรยกระดับความรู้ สาหรับกระบวนการ จดั การความรู้ในชุมชนควรมีข้นั ตอน ดงั น้ี ๑. การไดส้ รปุ บทเรยี นเศรษฐกิจฐานความรู้ดว้ ยตนเอง ๒. การจัดเวทีสัมมนาเศรษฐกจิ ฐานความรู้เพ่ือการแลกเปล่ียนเรียนรู้ ๓. การสงั เคราะห์บทเรยี นเศรษฐกิจฐานความรู้เป็นองค์ความรู้ ๔. การนาบทเรียนไปปรับปรงุ กระบวนการของเศรษฐกิจฐานความรู้เพื่อการปฏิบัติงานของตน ขน้ั ตอนนเี้ ปน็ สิง่ ทส่ี าคัญมาก เพราะถ้าเราไม่เอาความรู้ท่ีได้ไปปฏิบตั ิย่อมไม่เกิดประโยชน์ใด ๆ เลย และ ๕. เมอื่ นาไปปฏิบัติแล้ว พบเจอขอ้ มลู ใดควรเสนอแนะสถานศึกษาทเี่ กย่ี วข้องต่อไป ดังกล่าวไปข้างต้นว่า การจัดการความรู้ในระดับชาวบ้านอาจจะมีปัญหา ในการถอดบทเรียนหรือสรุป บทเรียน เนื่องจากไม่สามารถมองเห็นประเด็นท่ีเป็น ความรู้ หรือปกปิดปัญหาต่าง ๆ ได้ ดังน้ันเพ่ือให้ การสรปุ บทเรียนเป็นไปอยา่ งมปี ระสิทธิภาพเราจึงควรตระหนักไว้เสมอว่าการถอดบทเรียนเพ่ือสรุปความรู้ น้ี เป็นกระบวนการสกัดความรู้ท่ีฝังลึกอยู่ในตัวเราออกมาให้เป็นรูปธรรมเป็นสิ่งที่ จับต้องได้ จึงไม่ควร ปกปิด บิดเบือนข้อมูลใด ๆ เพ่ือให้ความรู้ท่ีแสดงออกมาน้ัน ครบถ้วนสมบูรณ์ท่ีสุด ดังตัวอย่างโครงการ ความร่วมมือโดยอาศัยกระบวนการขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานความรู้สู่ชุมชนภาคเกษตรกรรมตามศาสตร์ พระราชา ในบทที่ ๓
บทที่ ๓ ตวั อยา่ งกระบวนการขบั เคลื่อนเศรษฐกิจฐานความรู้สู่ชุมชน ตามศาสตร์พระราชา (ตวั อย่างโครงการที่ ๑) ใบสมัคร โครงการอาชีวะสรา้ งชาติดว้ ย “วถิ เี พยี งพอ ตามพ่อสอน” ความร่วมมอื ระหว่างสานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา กับ มลู นธิ บิ ๊ิกซี ๑. ช่อื โครงการ การพฒั นานวตั กรรมป๋ยุ กระบอกสู่เกษตรกรนาบัวอย่างย่ังยืน ๒. ช่อื สถานศึกษา วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีฉะเชงิ เทรา ทีต่ ัง้ ของสถานศึกษา เลขที่ ๒๘๔ หมู่ ๒ ตาบลเขาหินซ้อน อาเภอพนมสารคาม จังหวัด ฉะเชิงเทรา ๒๔๑๒๐ (พ้ืนทสี่ ่วนหน่ึงภายใน ศนู ย์ศึกษาการพัฒนาเขาหินซ้อน อันเนื่องมาจาก พระราชดาริ) ๓. ช่ือกลุ่ม / ชมรม ผู้เสนอโครงการ กลุ่มไอควิ ทะลุฟา้ เพ่ือเกษตรนาบวั ผู้ประสานงานหลัก นางสาวฐติ าพร ชุ่มปรชี า นางสาวจฑุ ามาศ โฉมศรี นายพงษ์อนันต์ สิงห์แขก นักเรยี น / นักศึกษา ระดับ ปวช. ช้นั ปที ่ี ๓ สาขา พชื ศาสตร์ หมายเลขโทรศัพท์สามารถตดิ ต่อได้ มอื ถือ ๐๘ – ๐๘๓๕ – ๙๐๗๑ อีเมล์ Lukmoo๑๘๑๔@gmail.com ครผู ู้ดูแลหรือให้คาปรึกษาในโครงการ ผปู้ ระสานงานหลัก นายปิยะพชั ร์ สถิตปรีชาโรจน์ นางสาวณัฐนรี ต้ังตระกูล นางอุไรวรรณ สร้อยหิน หมายเลขโทรศัพท์สามารถติดต่อได้ มือถือ ๐๘ – ๗๙๙๙ – ๙๒๑๐ อีเมล์ Sakrawee๒๐๐๐@hotmail.com ๔. หลกั การและเหตุผล บวั หลวงสตั ตบษุ ย์ (Nelumbo nucifera) หรือบัวฉัตรขาว มีถิ่นกาเนิดแถบเอเชีย ได้แก่ จีน อินเดีย และไทย มีลาต้นใต้ดินแบบเหง้า และไหล เม่ือใบยังอ่อนจะลอยปริ่มน้า ส่วนใบแก่จะโผล่พ้น เหนือน้า ก้านใบ และก้านดอกมีหนาม ดอกเป็นดอกเดี่ยวขนาดใหญ่ชูสูงพ้นผิวน้า มีทั้งดอกทรงป้อม และดอกแหลม กลีบดอกมีทั้งชนิดซ้อนและไม่ซ้อน สีขาว ชมพู หรือเหลือง แล้วแต่ชนิดพันธุ์ บัวในสกุลน้ี
๑๖ เป็นบัวที่รู้จักกันดี เพราะเป็นบัวท่ีมีดอกใหญ่นิยมนามาบูชาพระ และใช้ในพิธีทางศาสนาของไทยท่ีแสดง ถึงความบริสุทธ์ิ เพราะมีความโดดเด่น สวยงาม และคงทน ประกอบกับทุกส่วนของบัวหลวงสัตตบุษย์ สามารถนามาใช้ประโยชน์อย่างหลากหลายมาก โดยเฉพาะการนามาเป็นส่วนผสมของเครื่องยาของไทย เหงา้ หรือท่มี ักเรยี กกันว่ารากบวั และไหลบวั รวมทั้งเมล็ดสามารถนามาทาอาหารได้เพ่ือความย่ังยืน ดังน้ันการใช้ปุ๋ยกระบอก แก่บัวหลวงสัตตบุษย์ นับเป็นองค์ความรู้ใหม่ โดยสามารถนามา ประยุกต์ ในอดีตจนถึงปัจจุบัน บัวหลวงสัตตบุษย์ยังคงเป็นไม้ตัดดอกท่ีมีความสาคัญทางเศรษฐกิจของ ไทย โดยเฉพาะในเขตภาคกลาง และภาคเหนือตอนล่าง ได้แก่ จังหวัดนนทบุรี นครปฐม สุพรรณบุรี พิจิตร พะเยา นครสวรรค์ และพิษณุโลก โดยมีปริมาณการส่งออกในปี พ.ศ. ๒๕๕๑ สูงถึง ๙๕,๔๒๖ ชิ้น คิดเป็นมูลค่า ๗๔๒,๒๒๓ บาท แต่กว่าจะเป็นบัวหลวงสัตตบุษย์ที่ชูดอกสวยงาม การใช้ปุ๋ยนับเป็น องค์ความรู้ที่สาคัญมาก เพราะยังไม่ปรากฏงานวิจัยเกี่ยวกับการใช้ปุ๋ย และอัตราการดูดซึมของบัวหลวง สัตตบุษย์ท่ีสัมพันธ์กับการเจริญเติบโต เน่ืองจากอัตราการใช้ปุ๋ย และอัตราการดูดซึมมีความสาคัญต่อ การลดต้นทุนของเกษตรกร ทั้งน้ีการพัฒนาปุ๋ยสามารถลดการสูญเสียการใช้ปุ๋ยโดยใช่เหตุของเกษตรกร เป็นการสร้างอาชีพของเกษตรกรสู่ความย่ังยืน ที่สาคัญเกษตรกรยังสามารถกาหนดช่วงเวลาท่ีเหมาะสม ต่อการเจริญเติบโตซ่ึงหมายถึงปริมาณดอกของบัวหลวง และพัฒนาให้สอดคล้องกับปัจจัยที่มีผลต่อการ เจรญิ เติบโตของพืชชนิดอื่นได้เชน่ เดยี วกนั ปัญหาที่สาคัญในช่วงฤดูหนาว บัวหลวงสัตตบุษย์ให้ดอกน้อย ขาดตลาด และมีราคาสูง มาก ประกอบกับในธรรมชาติหอยเชอรี่ซึ่งถือเป็นสัตว์ศัตรูพืชท่ีสาคัญ และมีการนามาใช้เป็นส่วนผสม ของปุ๋ยให้แก่พืชได้ เป็นการนาทรัพยากรในท้องถิ่นมาใช้ประโยชน์ ซึ่งการให้ปุ๋ยนับเป็นปัจจัยท่ีสาคัญ และป้องกันการสูญเสียปุ๋ยไปโดยใช่เหตุแล้ว จึงเป็นแนวทางสร้างภูมิคุ้มกันของเกษตรกรนาบัวอย่างยั่งยืน ดังน้นั ทางกลมุ่ เกษตรนาบัว วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีฉะเชิงเทรา จึงได้พัฒนานวัตกรรมปุ๋ยกระบอกสู่ เกษตรกรนาบัวอย่างยั่งยืน โดยการพัฒนานวัตกรรมดังกล่าวมีผลต่อการเจริญเติบโตของบัวหลวง สัตตบุษย์ตัดดอกนอกฤดู เพ่ือแก้ปัญหาการให้ปุ๋ยที่ไม่สัมพันธ์ต่อการเจริญเติบโตของบัวหลวง เพื่อ ประโยชน์และเป็นแนวทางในการแก้ปัญหาของเกษตรกรอย่างยั่งยืน ตามหลักคิดปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพยี ง ภายใต้ โครงการ “วิถีเพียงพอตามพ่อสอน” เพ่อื การอยู่กนิ ดีของเกษตรกรนาบัวในอนาคตต่อไป ๕. วัตถปุ ระสงค์ การพฒั นานวตั กรรมปุ๋ยกระบอกสู่เกษตรกรนาบัวอย่างยั่งยนื มวี ัตถปุ ระสงค์ : เพ่ือ ๕.๑ พัฒนานวตั กรรมป๋ยุ กระบอกสู่เกษตรกรนาบัวอย่างยั่งยืน ๕.๒ พฒั นาเทคนิค วธิ ีการใช้ปุ๋ยกระบอกเพื่อลดตน้ ทุนการทานาบวั อย่างยั่งยืน ๕.๓ สร้างอาชีพ (มีภูมิคมุ้ กัน) ใหแ้ กเ่ กษตรกรนาบวั โดยใช้ทรัพยากรท้องถิ่นอย่างย่ังยืน
๑๗ ๖. เปา้ หมายโครงการ การพัฒนานวัตกรรมปุ๋ยกระบอกสู่เกษตรกรที่ทานาบัวในเขตอาเภอพนมสารคาม จังหวัด ฉะเชิงเทรา ให้สามารถลดต้นทุนในการใช้ปยุ๋ ได้ร้อยละ ๘๐ ๗. ประมาณการคา่ ใช้จ่ายโดยละเอยี ด รายการ จานวน / บาท จานวนเงนิ (บาท) ๑. วงบอ่ ซเี มนต์ ๑๒ วง / ๒๐๐ บาท ๒,๔๐๐ ๒. พันธบุ์ วั หลวงสตั ตบุษย์ ๔๐ ต้น / ๖๐ บาท ๒,๔๐๐ ๓. ปุ๋ยคอก (มลู โค) ๒ กระสอบ / ๕๐ บาท ๑๐๐ ๔. เปลอื กหอยเชอร่ี ๒๐ กก. / ๒ บาท ๔๐ ๕. ไมไ้ ผ่ ๒๐ ลา / ๒๐ บาท ๔๐๐ ๖. จุลินทรยี ์ EM ๑๐ ลิตร / ๑๐ บาท ๑๐๐ ๗. ดนิ จอมปลวก ๑ กระสอบ ๑๐๐ ๕,๕๔๐ รวม ๘. วธิ ีดาเนนิ การ / กิจกรรม วิธีดาเนินการ ๑. ขน้ั ตอนการทาลูกกลอนและการใสป่ ุย๋ ลูกกลอน (ข้นั กอ่ นการพัฒนาเป็นปุ๋ยกระบอก) ๑.๑ นาสว่ นผสมของปุ๋ยลูกกลอนสาหรับห่อหุ้ม ได้แก่ ดินจอมปลวก มูลโค และจุลินทรีย์ ท่ีมปี ระสิทธภิ าพ (EM) ทใี่ ชใ้ นการทดลองมาผสมรวมกันในอัตราส่วน ๑:๑:๑ ๑.๒ คลุกเคล้าส่วนผสมรวมกันแล้วนาดินจอมปลวก ๒๐๐ กรัม ห่อด้วยส่ิงทดลองทั้ง ๓ ส่ิงทดลอง ได้แก่ ปุ๋ยสูตร ๑๕-๑๕-๑๕ อัตรา ๔๐ กรัม, เปลือกหอยเชอรี่เผา อัตรา ๔๐ กรัม และ เปลอื กหอยแมลงภเู่ ผา อตั รา ๔๐ กรมั ผ่ึงใหแ้ ห้งประมาณ ๗ วนั ๑.๓ นาลูกกลอนท่ีได้ ฝังในแนวระนาบของต้นอ่อนของบัวหลวงสัตตบุษย์ ในแต่ละสิ่ง ทดลองตามทก่ี าหนดไว้ทุก ๑๕ วนั รวมระยะเวลา ๓ เดือน ๑.๔ ดูแลรกั ษาโดยการฉีดพ่นสารชวี ภาพเพื่อกาจัดแมลงศตั รูพชื เดือนละครั้ง ๒. วางแผนการทดลองวจิ ัยเพื่อพัฒนาสู่ปุ๋ยกระบอก การเปรียบเทียบปุ๋ยกระบอกต่อการเจริญเติบโตของบัวหลวงสัตตบุษย์ตัดดอกนอกฤดู โดยแบง่ เป็น ๔ สิ่งทดลอง ๆ ละ ๓ ซา้ ประกอบด้วยปุ๋ยกระบอกสูตรต่าง ๆ ดงั น้ี
๑๘ ส่ิงทดลองท่ี ๑ ไม่ใสป่ ุ๋ย (ชุดควบคุม) สิ่งทดลองที่ ๒ ปยุ๋ กระบอกสูตร ๑๕-๑๕-๑๕ อัตรา ๕๐ กรมั สง่ิ ทดลองท่ี ๓ ปุ๋ยกระบอกสตู รเปลือกหอยเชอรี่เผา อัตรา ๕๐ กรัม สิ่งทดลองท่ี ๔ ป๋ยุ กระบอกสตู รเปลือกหอยแมลงภู่เผา อตั รา ๕๐ กรมั ๓. ข้ันตอนการดาเนินงาน แบ่งเป็น ๒ ขัน้ ตอน ดงั น้ี ๓.๑ ขั้นตอนการปลูกบัวหลวงสัตตบุษย์ตัดดอก ๓.๑.๑. เตรียมวงบ่อซีเมนต์ ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง ๘๐ เซนติเมตร ความสูง ๕๐ เซนตเิ มตร ๓.๑.๒. นาดนิ ก้นบอ่ ใสล่ งในวงบ่อซีเมนต์ระดบั ความสงู ๓๐ เซนตเิ มตร ๓.๑.๓. นาต้นอ่อนของบัวหลวงสัตตบุษย์ โดยต้นอ่อนของบัวหลวงสัตตบุษย์ ที่ใช้ใน การทดลองมีความสูงของลาต้นเฉลีย่ ๓๐ เซนตเิ มตร ๓.๑.๔. นาบัวหลวงสตั ตบุษย์ตัดดอกปลูกลงในแต่ละส่ิงทดลอง ๆ ละ ๓ ซ้า ๆ ละ ๓ ต้น โดยใช้วิธีการจับฉลากเพื่อให้เกิดความสม่าเสมอในการวางแผนการทดลอง ๓.๑.๕. เติมน้าให้เตม็ วงบ่อซีเมนต์ (ควบคมุ ระดับน้า) ๓.๒ ขน้ั ตอนการทาปุย๋ กระบอก ๓.๒.๑ นาส่วนผสมของปุ๋ยกระบอกมาผสมรวมกัน ได้แก่ ดินจอมปลวก มูลโค และ จุลนิ ทรีย์ทมี่ ีประสทิ ธิภาพ (EM) ในอตั ราส่วน ๑:๑:๑ สาหรับเปลือกหอยเชอร่ีเผา และเปลือกหอยแมลงภู่ เผาใชใ้ นอตั รา ๕๐ กรมั ตามทว่ี างแผนการทดลองไวน้ ามาผสมรวมกนั ๓.๒.๒ คลุกเคล้าส่วนผสมรวมกันแล้วนามาช่ังน้าหนักในแต่ละส่ิงทดลอง ๆ ละ ๓๐๐ กรัม บรรจุใส่ในกระบอกไม้ไผ่ที่มีมาตรวัด (Scale) ๒๐ เซนติเมตร พร้อมเจาะรูเพ่ือเปิดทางน้าเข้า แล้วนาไปผง่ึ ให้แห้งประมาณ ๓ วนั ๓.๒.๓ นาปุ๋ยกระบอกท่ีได้ ปักในแต่ละส่ิงทดลองตามที่กาหนดไว้ทุก ๗ วัน รวม ระยะเวลา ๓ เดือน ๓.๒.๔ ดูแลรักษาโดยการฉดี พน่ สารชวี ภาพเพ่ือกาจดั แมลงศัตรูพืชเดือนละคร้ัง ๓.๓ การเกบ็ ข้อมูล ทาการเกบ็ ขอ้ มลู ทกุ ๆ ๗ วัน รวมระยะเวลา ๓ เดือน บันทึกความแตกต่างของความ สงู ของลาต้น จานวนดอก ความกว้าง ความสูง และอัตราการดูดซึมปุ๋ยของบัวหลวงสัตตบุษย์เฉลี่ยในแต่ ละสงิ่ ทดลอง (การเก็บข้อมลู อัตราการดูดซึมโดยสังเกตจากมาตรวัด ด้านข้างของกระบอกปุ๋ย ส่วนที่เหลือ นามาชัง่ เพือ่ คานวณหาอัตราการดูดซมึ )
๑๙ ๓.๔ การวเิ คราะห์ข้อมูล นาข้อมูลมาเปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉล่ียของการเจริญเติบโต จานวนดอก และอตั ราการดูดซึมปุ๋ยในแตล่ ะส่ิงทดลอง ๓.๕ สถานทที่ าการทดลอง ณ วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยฉี ะเชงิ เทรา ๓.๖ ระยะเวลาทาการทดลอง ระหว่างวันที่ ๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๖ – ๓๑ มกราคม ๒๕๕๗ ๙. ระยะเวลาดาเนินโครงการ (โปรดระบุเวลาเร่ิมและเสร็จส้ินโครงการโดยต้องดาเนินการให้เสร็จส้ิน ภายในเดอื นตุลาคม ๒๕๕๗) การพัฒนานวตั กรรมปยุ๋ กระบอกสู่เกษตรกรนาบวั อย่างยั่งยนื แบ่งเป็น - ชว่ ง ๆ ดงั นี้ ชว่ งที่ ๑ การผลิตเป็นปุ๋ยลูกกลอน ระหว่างวนั ท่ี ๑ ธนั วาคม ๒๕๕๕ – ๒๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๖ ช่วงท่ี ๒ การพฒั นาเป็นนวัตกรรมปุ๋ยกระบอก ระหว่างวันที่ ๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๖ – ๓๑ มกราคม ๒๕๕๗ และ ช่วงท่ี ๓ การพัฒนาเป็นป๋ยุ กระบอกสู่เกษตรกรนาบวั อย่างยั่งยนื ระหวา่ งวนั ที่ ๑ มิถนุ ายน - ๓๑ กรกฎาคม ๒๕๕๗ ๑๐. ผลท่ีคาดว่าจะไดร้ ับ ๑๐.๑ เกษตรกรนาบวั ไดน้ าแนวทางการพฒั นาปุ๋ยกระบอกไปใช้สู่อาชพี อย่างย่ังยืน ๑๐.๒ เกษตรกรมเี ทคนิค วิธกี ารใชป้ ุ๋ยกระบอกสามารถชว่ ยลดต้นทุนการทานาบัวอยา่ งย่ังยนื ๑๐.๓ เกษตรกรสามารถสร้างอาชีพ (มีภูมิคุ้มกัน) การทานาบัวโดยใช้ทรัพยากรท้องถ่ินอย่าง ยั่งยืน โดยการพัฒนานวัตกรรมปุ๋ยกระบอกสู่เกษตรกรท่ีทานาบัวในเขตอาเภอพนมสารคาม จังหวัด ฉะเชิงเทรา สามารถลดต้นทนุ ในการใช้ปุย๋ ได้ร้อยละ ๘๐ ๑๑. แผนงานการขยายองค์ความรู้ หรือการต่อยอดของโครงการนี้ เพ่ือประโยชน์แก่นักศึกษา หรือ วทิ ยาลยั หรอื ชมุ ชน เพื่อไดร้ บั เงินทุนสนับสนนุ โครงการและข้อเสนอแนะ ๑๑.๑ จัดนิทรรศการ เรื่อง นวัตกรรม : สัตตบุษย์ชีวอินทรีย์ ในงานประชุมวิชาการ องค์การเกษตรกรในอนาคตแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรม ราชกุมารี ระดับภาคกลาง ระหว่างวันท่ี ๒๕ – ๒๙ พฤศจิกายน ๒๕๕๖ ณ วิทยาลัยเกษตรและ เทคโนโลยฉี ะเชิงเทรา
๒๐ ๑๑.๒ จัดนิทรรศการ เรื่อง บัวสัตตบุษย์ ราชินีแห่งไม้น้า ในงานวันแม่แห่งชาติ ระหว่าง วนั ท่ี ๘ – ๑๒ สงิ หาคม ๒๕๕๖ ณ ศูนยศ์ กึ ษาการพัฒนาเขาหนิ ซ้อน อนั เน่ืองมาจากพระราชดาริ ๑๑.๓ นาผลงานวิจัย เร่อื ง ผลการใช้เปลือกหอยเผาต่อการเจริญเติบโตของบัวหลวงสัตตบุษย์ ตัดดอกนอกฤดู เผยแพรใ่ นระดบั อาชวี ศึกษาจังหวัดฉะเชิงเทรา ระดับภาค วันที่ ๘ – ๑๐ กรกฎาคม ๒๕๕๖ ณ วิทยาลัยสารพดั ชา่ งปราจีนบรุ ี ระดับชาติ วันที่ ๑๔ – ๑๖ สิงหาคม ๒๕๕๖ ณ ศูนย์นิทรรศการและการประชุม ไบเทคบางนา กรงุ เทพมหานคร ๑๑.๔ นาผลงานวิจัย เร่ือง ผลการใช้ปุ๋ยกระบอกต่อการเจริญเติบโตของบัวหลวงสัตตบุษย์ตัด ดอกนอกฤดู เผยแพรใ่ นระดับ อาชวี ศึกษาจงั หวัดฉะเชิงเทรา วนั ที่ ๒๔ – ๒๕ มิถุนายน ๒๕๕๗ ระดบั ภาค วันที่ ๒๘ – ๓๐ กรกฎาคม ๒๕๕๗ ณ วทิ ยาลยั เทคนิคตราด ระดับชาติ วันที่ ๑๘ – ๒๐ สิงหาคม ๒๕๕๗ ณ ศูนย์การประชุมนานาชาติเฉลิม พระเกียรติ ๗ รอบ จงั หวัดเชียงใหม่ ๑๑.๕ นวัตกรรม การใช้ปุ๋ยกระบอกต่อการเจริญเติบโตของบัวหลวงสัตตบุษย์ตัดดอกนอกฤดู ได้รับการเผยแพร่ในคอลัมส์ ไอคิวทะลุฟ้า หัวข้อ ฝังปุ๋ยกระบอกช่วยเกษตรนาบัว ไอเดีย นักศึกษา วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีฉะเชิงเทรา ของหนังสือพิมพ์ข่าวสด ปีที่ ๒๔ ฉบับที่ ๘,๖๘๐ วันที่ ๓ กันยายน ๒๕๕๗ ๑๒. ภาพประกอบ (โปรดแนบภาพถ่ายของสถานที่ / องค์กร / ชุมชน / เป้าหมายท่ีจะดาเนินโครงการ หรือ ภาพอ่ืน ๆ ที่เก่ียวข้องกับการนาเสนอโครงการ อาทิ ภาพถ่ายสถานท่ี / องค์กร / ชุมชน / ที่ได้ ร่วมกันดาเนนิ การตามโครงการท่ีนาเสนอมาก่อนหน้านี้ ภาพท่ี 1 จุดประกายความคดิ พัฒนาปยุ๋ ลกู กลอน ภาพท่ี 2 ข้นั การทดลองเพ่ือพฒั นาสู่การทานาบวั
๒๑ ภาพที่ ๓ การพัฒนาองคค์ วามร้สู ู่ชุมชนภาคเกษตรกรรม ภาพที่ ๔ การเก็บขอ้ มูลเพื่อวดั การเจรญิ เตบิ โตของบัวหลวงสัตตบุษย์ตัดดอก
๒๒ แนวทางการพัฒนาปยุ๋ ลูกกลอน และการเผยแพร่ข้อมลู จากการพฒั นาศกึ ษาคน้ คว้าของผเู้ รยี น ความมุ่งมน่ั ในการพฒั นาองคค์ วามรู้สชู่ ุมชนของผู้เรียน การพัฒนาองคค์ วามรู้แสดงถึงความเจรญิ งอกงามของภาคเกษตร (การทานาบวั หลวงสตั ตบุษย์) การเผยแพร่องค์ความรู้สชู่ มุ ชนทอ้ งถ่นิ
๒๓ การผลิตป๋ยุ ชีวอินทรยี ์ (ปยุ๋ ลกู กลอน) สู่เกษตรกร
๒๔ การพัฒนาองค์ความรสู้ ู่เกษตรกรนาบวั ใน อาเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชงิ เทรา จดุ ประกายการพัฒนาปยุ๋ กระบอกสู่เกษตรกรนาบัวในอาเภอพนมสารคาม จงั หวดั ฉะเชิงเทรา การเผยแพร่สู่ชมุ ชน องคก์ รทอ้ งถนิ่ ปี พ.ศ. ๒๕๕๖
๒๕ จดั นิทรรศการงานวนั แม่ แห่งชาติ ๘-๑๒ สิงหาคม ๒๕๕๖ ศูนยศ์ ึกษาการ พฒั นาเขาหินซอ้ น อนั เน่ืองมาจากพระราชดาริ จดั นิทรรศการระดบั ภาค วนั ที่ ๘ – ๑๐ กรกฎาคม ๒๕๕๖ ณ วทิ ยาลยั สารพดั ช่างปราจีนบุรี จดั นิทรรศการระดบั ชาติ วนั ท่ี ๑๔ – ๑๖ สิงหาคม ๒๕๕๖ ณ ศูนยน์ ิทรรศการ และการประชุมแห่งชาติ ไบเทคบางนา กรุงเทพมหานคร การเผยแพร่สชู่ ุมชนองค์กรท้องถ่นิ และสาธารณชน ในปี พ.ศ . ๒๕๕๗
๒๖ ได้รับการเผยแพร่ในคอลัมส์ ไอคิวทะลุฟ้า หัวข้อ ฝังปุ๋ยกระบอกช่วยเกษตรนาบัว ไอเดีย นักศึกษาวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีฉะเชิงเทรา ของหนังสือพิมพ์ข่าวสด ปีท่ี ๒๔ ฉบับท่ี ๘,๖๘๐ วนั ท่ี ๓ กันยายน ๒๕๕๗ ผลของการเผยแพรแ่ ละพัฒนานวตั กรรมปุย๋ กระบอกสูช่ ุมชนองคก์ รทอ้ งถนิ่ และสาธารณชน ในปี พ.ศ . ๒๕๕๗
๒๗ ผลลพั ธข์ องกระบวนการขับเคล่ือนเศรษฐกิจฐานความรู้ รางวลั ชนะเลิศ ระดับประเทศ
๒๘ เส้นทางการพัฒนานวตั กรรมปุ๋ยกระบอกสเู่ กษตรกรนาบวั อย่างย่งั ยนื ตาบลเขาหนิ ซ้อน อาเภอพนมสารคาม จงั หวดั ฉะเชิงเทรา กระบวนการขบั เคล่ือนเศรษฐกจิ ฐานความรู้สชู่ ุมชนภาคเกษตรกรรม (ชุมชนเกษตรกรนาบวั )
๒๙ ตัวอย่างโครงการท่ี ๒ ใบสมัคร โครงการอาชวี ะสรา้ งชาตดิ ว้ ย “วถิ ีเพียงพอตามพ่อสอน” ความร่วมมือระหวา่ งสานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา กบั มลู นธิ ิบ๊ิกซีไทย ๑. ชื่อโครงการ การพฒั นารูปแบบการเลีย้ งหอยขมเชิงเกษตรอนิ ทรียส์ เู่ กษตรกรอยา่ งย่ังยืน ๒. ชือ่ สถานศกึ ษา วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยศี นู ยศ์ ลิ ปาชพี บางไทร ทีต่ งั้ ของสถานศกึ ษา เลขท่ี ๕๙ หมู่ ๑ ตาบลโพธิ์แตง อาเภอบางไทร จงั หวัด พระนครศรอี ยธุ ยา 24120 (พืน้ ทสี่ ่วนหนงึ่ ภายใน ศนู ยศ์ ิลปาชพี บางไทร จงั หวัด พระนครศรอี ยุธยา ) ๓. ชือ่ กลุ่ม / ชมรม ผ้เู สนอโครงการ กลุม่ ไอควิ ทะลุฟ้าเพ่อื สัตว์น้าอินทรยี ์ ผูป้ ระสานงานหลกั นางสาวปตญิ ญา พิทักยานนท์ นายชมภูศกั ด์ิ ปินะกาเส นายเอกภัทร อิ่มเจริญ นกั เรียน / นกั ศกึ ษา ระดบั ปวช. ช้นั ปที ี่ ๑ สาขาวชิ าเกษตรศาสตร์ หมายเลขโทรศัพท์สามารถตดิ ต่อได้ มอื ถอื ๐๘ – ๐๘๑๒ – ๓๔๖๕ อีเมล์ Path ๐.๑@hotmail.com ครผู ู้ดแู ลหรือใหค้ าปรกึ ษาในโครงการ ผู้ประสานงานหลัก นายปยิ ะพัชร์ สถติ ปรีชาโรจน์ นายรกั สี่ เตชะผลประสิทธ์ิ นายมงคล สบื ศรี หมายเลขโทรศัพทส์ ามารถติดต่อได้ มือถือ ๐๘ – ๗๙๙๙ – ๙๒๑๐ อเี มล์ [email protected] ๔. หลักการและเหตผุ ล ปัจจุบันการพัฒนาด้านการเกษตรเพ่ือมุ่งให้ประเทศไทยเป็น “ ครัวของโลก ” จาเป็นต้องเร่งให้ มกี ารเพมิ่ ผลผลติ เพือ่ ยกระดับสัตว์เศรษฐกิจตัวใหม่ ๆ ให้มากข้ึน เนื่องจากประชากรของประเทศเพิ่มมาก ข้ึน ปริมาณความต้องการอาหารจึงเพ่ิมมากข้ึนเป็นเงาตามตัว ในบรรดาสัตว์น้าทุกชนิดนั้น หอยขม (Vivipara sp.) ซ่ึงถือว่ามีความน่าสนใจ และกาลังได้รับความนิยมในหมู่เกษตรกร และผู้ที่สนใจท่ัวไป แต่ในปัจจุบันยังไม่มีการเล้ียงท่ีหลากหลาย เน่ืองจากยังขาดองค์ความรู้ และรูปแบบ การเล้ียงที่เป็น ระบบ ปลอดภัยต่อการนามาบริโภค เนื่องจากปัจจุบันผลิตผลของหอยขมส่วนใหญ่ได้มาจากธรรมชาติ
๓๐ เพียงอย่างเดียว กอปรกับในธรรมชาติมีปริมาณสารพิษตกค้างอยู่มาก เกษตรกรส่วนใหญ่ยังมีการใช้ สารเคมีป้องกันกาจัดศัตรูพืช ถึงแม้จะได้ผลผลิตปริมาณมากและมีคุณภาพดีในระยะแรก แต่จะก่อให้เกิด ปัญหาดินและคุณภาพน้าเสื่อมโทรม นอกจากนี้ยังมีการตกค้างของสารพิษในระยะยาว และส่งผลต่อ สิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ในน้า ได้แก่ กุ้ง ปลา ปู และหอย โดยเฉพาะสัตว์น้าจาพวกหอย ท่ีสาคัญคือ หอยขม ซ่ึงเป็นส่ิงมีชีวิตท่ีเคลื่อนที่ช้า จึงมีโอกาสได้รับสารพิษมาก ท่ีสาดังนั้นจึงจาเป็นต้องให้ ความสาคัญกับรูปแบบการเล้ียงเชิงการเกษตรอินทรีย์ เกษตรธรรมชาติ และเกษตรปลอดสารพิษ เพื่อ ความเป็นอยู่ที่พอเพียงและย่ังยืนในอนาคต สอดคล้องกับ “หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” ซ่ึงเป็น ปรชั ญาท่ีพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงมีพระราชดารัสช้ีแนวทางการดาเนินชีวิตแก่พสกนิกรชาวไทย “การพัฒนารูปแบบการเล้ียงหอยขมเชิงเกษตรอินทรีย์สู่เกษตรกรอย่างยั่งยืน” จึงเป็นอีกแนวทางหนึ่งที่ สามารถพัฒนาด้านการเกษตรแบบธรรมชาติ หรือเกษตรอินทรีย์ เนื่องจากหอยขมสามารถเจริญเติบโต ได้รวดเร็ว กินอาหารโดยการดูดซึม ชอบอยู่ในท่ีท่ีมีสารอินทรีย์สูง ๆ ที่สาคัญปัจจุบันยังไม่มีการเลี้ยง หอยขมเป็นการค้า ผลผลิตส่วนใหญ่ได้จากธรรมชาติและผลพลอยได้จากการเล้ียงปลาเท่านั้น หอยขม เป็นสัตว์ที่เล้ียงง่าย มีความอดทนต่อสภาพแวดล้อม สามารถขยายพันธุ์และเจริญเติบโตได้อย่างรวดเร็ว นอกจากนี้หอยขมยังมีคุณค่าทางอาหาร ซึ่งประกอบด้วย โปรตีน 12 เปอร์เซ็นต์ คาร์โบไฮเดรต 4 เปอร์เซ็นต์ ไขมัน 2 เปอร์เซ็นต์ และความชื้น 78 เปอร์เซ็นต์ ดังน้ันในอนาคตหอยขมน่าจะเป็นสัตว์ เศรษฐกิจตัวใหม่ อกี ชนิดหนง่ึ ที่สามารถนามาเล้ียงในระบบฟาร์มแบบผสมผสาน ซึ่งเป็นอีกทางเลือกหนึ่ง ท่ีสามารถส่งเสริมให้เกษตรกรมีรายได้เพ่ิมขึ้นด้วยวิธีการง่าย ๆ และลงทุนต่า โดยยึดหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง โดยในการศึกษาคร้ังนี้ได้หาแนวทางในการเลี้ยงหอยขมโดยการใช้วิธีการลงหลักปัก การเลย้ี งในกระชัง การเลย้ี งโดยใชก้ ระเป๋าแขวน ซึ่งนับเป็นอีกทางเลือกหนึ่งในการเพ่ิมผลผลิตหอยขมให้ เป็นสตั ว์น้าเศรษฐกิจตวั ใหม่ ดังนั้น จึงเห็นสมควรที่ “สมาชิกกลุ่มไอคิวทะลุฟ้าเพื่อสัตว์น้าอินทรีย์” ดาเนินการจัดทา โครงการการพัฒนารูปแบบการเล้ียงหอยขมเชิงเกษตรอินทรีย์สู่เกษตรกรอย่างย่ังยืน เน่ืองจากต้นทุนการ ผลิตต่า และให้ผลตอบแทนทางด้านการเกษตรทย่ี ่ังยืนในอนาคต ๕. วตั ถปุ ระสงค์ การพัฒนารูปแบบการเลย้ี งหอยขมเชิงเกษตรอนิ ทรยี ส์ ู่เกษตรกรอยา่ งยั่งยืน มีวัตถุประสงค์ : เพอ่ื ๑. พฒั นารูปแบบการเลี้ยงหอยขมเชิงเกษตรอนิ ทรียส์ เู่ กษตรกรอย่างย่ังยืน ๒. ยกระดับหอยขมให้เป็นสัตว์นา้ เศรษฐกิจตัวใหม่ โดยการพฒั นาเทคนิค วธิ กี ารเลีย้ งเพ่ือลด ความเสย่ี ง ปลอดภัยต่อผ้บู รโิ ภคอยา่ งย่ังยืน
๓๑ ๓. พัฒนาการเลีย้ งหอยขมสู่อาชีพ (มีภมู คิ ุ้มกนั ) ให้แก่เกษตรกรผูเ้ ลี้ยงหอยขมโดยใช้ ทรัพยากรท้องถ่นิ อย่างยัง่ ยืน ๖. เป้าหมายโครงการ การพัฒนารูปแบบการเลี้ยงหอยขมเชิงเกษตรอินทรีย์สู่เกษตรกรอย่างย่ังยืน ในเขต อาเภอบางไทร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา อาเภอลาดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานี ให้สามารถลด ตน้ ทุนในการเลี้ยงหอยขมไดร้ อ้ ยละ ๑๐๐ ๗. ประมาณการค่าใช้จา่ ยโดยละเอียด รายการ จานวน / บาท จานวนเงิน (บาท) ๔,๒๐๐ ๑. กระชงั ปลา ๑๒ ใบ / ๓๕๐ บาท ๔๐๐ ๑๐๐ ๒. พอ่ – แม่พันธ์ุหอยขม ๕๐ กก. / ๘ บาท ๔๐ ๓๐๐ ๓. ปุย๋ คอก (มลู โค) ๒ กระสอบ / ๕๐ บาท ๑๐๐ ๒๐๐ ๔. ไม้ไผส่ าหรับลงหลกั ปกั ๒๐ กก. / ๒ บาท ๕,๓๔๐ ๕. ไม้ไผ่รวก ๕ มดั / ๖๐ บาท ๖. จลุ นิ ทรีย์ EM ๑๐ ลิตร / ๑๐ บาท ๗. ราละเอียด ๑ กระสอบ รวม ๘. วิธดี าเนนิ การ / กิจกรรม วิธีดาเนินการ ๑. ข้ันตอนการดาเนินงาน ๑.๑ เสนอโครงการเพอ่ื ขออนมุ ตั จิ ดั ทาโครงการการพัฒนารปู แบบการเลย้ี งหอยขมเชิงเกษตร อินทรีย์ส่เู กษตรกรอยา่ งยง่ั ยนื โดยผา่ นครูทีป่ รึกษาโครงการ ๑.๒ จัดเตรยี มสถานที่ และวัสดอุ ุปกรณท์ ใ่ี ช้ในการดาเนนิ โครงการ ๑.๓ รวบรวมหอยขมจากแหล่งนา้ ธรรมชาติและในบ่อเล้ยี งปลา ๑.๔ นาหอยขมทีร่ วบรวมไดล้ ้างทาความสะอาดและขังเพื่อให้หอยคายตะกอนออกมา ๑.๕ นาไม้ไผ่ขนาดเส้นผา่ ศนู ยก์ ลาง ๑.๕ นิ้ว ปกั ลงในบ่อเพ่อื ใชเ้ ป็นวสั ดุเกาะของหอยขม
๓๒ ๑.๖ ติดต้ังกระชังขนาด ๒ X ๓ X ๑.๕ เมตร พร้อมทั้งนาทางมะพร้าวใส่ลงในกระชัง สาหรบั ใช้เปน็ วสั ดเุ กาะ ๑.๗ นาหอยที่รวบรวมได้ปล่อยลงเล้ียง โดยบ่อท่ีใช้ไม้ลงหลักปักมีพื้นที่ขนาด ๕๐ ตาราง เมตร ปล่อยในอัตรา ๕๐ กิโลกรมั สาหรบั การเลย้ี งในกระชงั ปลอ่ ยในอัตรา ๑๐ กิโลกรัมต่อกระชัง และ การเล้ียงในบ่อดินพื้นท่ีขนาด ๑๐ ตารางเมตรโดยไม่ใช้วัสดุเกาะปล่อยในอัตรา ๕๐ กิโลกรมั ๑.๘ ในระหว่างการเล้ียงให้ราละเอียดเป็นอาหารสาหรับการเลี้ยงในกระชัง ส่วนการเล้ียง โดยวิธีลงหลักปักในบ่อดินและการเลี้ยงในบ่อดินโดยไม่ใช้วัสดุเกาะให้อาหารปลาตามปกติหอยจะหา อาหารและดูดซึมตะกอนอินทรีย์ต่าง ๆ ตามพ้ืนบ่อเป็นอาหาร และให้ราละเอียดเป็นอาหารสัปดาห์ ละ ๑ คร้ัง นอกจากนจ้ี ะใสป่ ุ๋ยคอกลงในบ่อเลี้ยงเดอื นละ ๒ ครงั้ เพือ่ เพม่ิ ธาตุอาหารในบ่อเล้ียง ๑.๙ ใส่จุลินทรีย์ท่ีมีประสิทธิภาพสูง (EM) ลงในบ่อเลี้ยงสัปดาห์ละ ๑ คร้ัง ๆ ละ ๑ ลิตร ลงในบอ่ เล้ียงเพ่ือรกั ษาคณุ ภาพนา้ ในระหวา่ งการเล้ยี ง ๒. วางแผนการทดลองวิจยั เพอื่ พัฒนารูปแบบการเล้ียงหอยขมอยา่ งยั่งยืน การศกึ ษาอทิ ธพิ ลของระดับน้าตอ่ การเจรญิ เติบโตและจานวนตัวอ่อนของหอยขมโดย ใช้ กระเปา๋ แขวนในชว่ งขา้ งข้นึ ข้างแรม แบ่งเป็น ๔ สงิ่ ทดลอง ๆ ละ ๓ ซ้า ประกอบด้วยรูปแบบ การเลยี้ งหอยขมทรี่ ะดับนา้ ดังน้ี ส่ิงทดลองที่ ๑ การเลี้ยงหอยขมท่ีระดับน้า ๐.๐๐ เมตร (ชุดควบคุม) ส่ิงทดลองที่ ๒ การเลย้ี งหอยขมท่ีระดับน้า ๐๕๐ เมตร ส่งิ ทดลองท่ี ๓ การเลี้ยงหอยขมท่รี ะดบั น้า ๑.๐๐ เมตร สิ่งทดลองท่ี ๔ การเลี้ยงหอยขมทร่ี ะดับน้า ๑.๕๐ เมตร ๒.๑. ขั้นตอนการดาเนินงาน มดี ังนี้ ๒.๑.๑ เตรียมกระเป๋าใส่หอยโดยใช้ลี่เขียวขนาด ๓๐ x ๓๐ เซนติเมตร เย็บเป็น กระเปา๋ ใสห่ อยขนาด ๓๐ x ๓๐ x ๓๐ เซนตเิ มตร จานวน ๑๒ ใบ ๒.๑.๒ รวบรวมลูกหอยขมจากธรรมชาติ ๒.๑.๓ เกบ็ ข้อมูลเบ้อื งตน้ โดยคดั เลอื กลกู หอยทมี่ ขี นาดความกวา้ ง ความยาว และ น้าหนักเฉลี่ยใกล้เคียงกัน โดยมีความกว้าง ๐.๗๕ เซนติเมตร และความยาว ๑.๐๕ เซนติเมตร และน้าหนกั เฉล่ยี ๐.๖๕ กรัม จานวน ๖๐๐ ตวั ๒.๑.๔ นาลูกหอยใส่ในกระเป๋า ๆ ละ ๕๐ ตัว พร้อมใส่วัสดุเกาะคือทางมะพร้าว ตัดเป็นชิน้ เล็ก ๆ ใสก่ ระเปา๋ ละ ๒ ชิน้
๓๓ ๒.๑.๕ นาหลักไม้ไผป่ ักลงในแหล่งนา้ ทใ่ี ช้ในการทดลอง ๒.๑.๖ นากระเปา๋ หอยที่เตรียมไว้ไปแขวนในแตล่ ะส่ิงทดลองตามทไ่ี ด้วางแผนไว้ ๒.๒. การเกบ็ ขอ้ มูล เก็บข้อมูลทุก ๆ ๑๕ วัน รวมระยะเวลา ๒ เดือน บันทึกความแตกต่างของ ความ กว้าง ความ ยาว น้าหนกั และจานวนตัวอ่อนของหอยขมเฉลย่ี ในแต่ละสง่ิ ทดลอง ๒.๓ การวิเคราะห์ข้อมลู นาข้อมูลมาเปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยของการเจริญเติบโตและจานวนตัว อ่อนในแต่ละสง่ิ ทดลอง ๒.๔. สถานทท่ี าการทดลอง ณ บ่อเลยี้ งสตั ว์นา้ อาคารแผนกวิชาประมง วิทยาลัยเกษตร และเทคโนโลยีศูนย์ศลิ ปาชพี บางไทร ๒.๕. ระยะเวลาทาการทดลอง ระหว่างวันที่ ๑๕ พฤษภาคม – ๑๕ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ ผลการศกึ ษาคน้ ควา้ การศึกษาอิทธิพลของระดับน้าต่อการเจริญเติบโตและจานวนตัวอ่อนของหอยขมโดยใช้ กระเป๋าแขวน ผลการศึกษาพบว่า การเลี้ยงหอยขมท่ีระดับน้า ๑.๐๐ เมตร มีการเจริญเติบโตดี ที่สุด โดยมีความกว้าง ความยาว และน้าหนักเฉล่ียเท่ากับ ๑.๘๙, ๒๔๘ เซนติเมตร ๒๘๙ กรัม และจานวนตัวอ่อนเท่ากับ ๑๖๘ ตัว ตามลาดับ รองลงมาคือ การเล้ียงหอยขมท่ีระดับน้า ๒.๕๐ เมตร มีค่าเฉล่ยี เท่ากับ ๑.๖๙, ๒๐๕ เซนติเมตร ๒๗๕ กรมั และจานวนตวั ออ่ นเทา่ กับ ๑๓๖ ตัว ตามลาดับ สาหรับการเลี้ยงหอยขมท่ีระดับน้า ๐.๐๐ เมตร มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ ๑๓๔, ๑๙๕ เซนติเมตร และ ๑๘๕ กรัม และจานวนตัวอ่อนเท่ากับ ๑๒๕ ตัว ตามลาดับ และการเลี้ยงหอย ขมทรี่ ะดับ ๑๕๐ เมตร มีผลต่อการเจริญเติบโตต่าสุด โดยมีความกว้าง ความยาว และน้าหนักเฉลี่ย เทา่ กบั ๑.๗๙, ๑.๙๘ เซนตเิ มตร ๒.๕๓ กรมั และจานวนตัวอ่อนเท่ากบั ๒.๔๒ ตวั ตามลาดับ
๓๔ ๙. ระยะเวลาดาเนินโครงการ (โปรดระบุเวลาเริ่มและเสรจ็ ส้ินโครงการโดยต้องดาเนนิ การให้เสรจ็ ส้ิน ภายในเดือนตุลาคม ๒๕๕๘) การพัฒนารูปแบบการเล้ียงหอยขมเชงิ เกษตรอินทรยี ์สู่เกษตรกรอยา่ งยั่งยนื แบ่งเปน็ ชว่ ง ๆ ดงั น้ี ชว่ งท่ี ๑ การเลยี้ งหอยขมโดยวิธลี งหลักปัก ระหว่างวนั ท่ี ๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ – ๒๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘ ช่วงท่ี ๒ การพัฒนารูปแบบการเลยี้ งในกระชังรว่ มกับปลา ระหวา่ งวนั ที่ ๑ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๗ – ๓๑ มกราคม ๒๕๕๘ และ ช่วงท่ี ๓ การพฒั นารูปแบบการเลีย้ งหอยขมโดยใช้กระเป๋าแขวน ระหวา่ งวันท่ี ๑๕ พฤษภาคม - ๑๕ กรกฎาคม ๒๕๕๘ ๑๐. ผลที่คาดว่าจะไดร้ ับ ๑๐.๑ เกษตรกรผู้เลี้ยงหอยขมได้นาแนวทางการพัฒนารูปแบบการเล้ียงหอยขมไปใช้สู่อาชีพ อยา่ งยั่งยืน ๑๐.๒ เกษตรกรมีเทคนิค วิธีการเล้ียงหอยขม สามารถเพ่ิมรายได้ในการเลี้ยงหอยขม และลด ความเส่ียง ปลอดภยั ต่อการบริโภคอย่างยั่งยืน ๑๐.๓ เกษตรกรสามารถสร้างอาชีพ (มีภูมิคุ้มกัน) การเลี้ยงหอยขมโดยใช้ทรัพยากรท้องถ่ินอย่าง ยั่งยืน พัฒนารูปแบบการเลี้ยงหอยขมเชิงเกษตรในเขตอาเภอบางไทร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา และ อาเภอลาดหลุมแก้ว จังหวดั ปทมุ ธานี สามารถเพ่ิมรายไดเ้ ป็นอาชีพเสริมได้ร้อยละ ๓๐ ๑๑. แผนงานการขยายองค์ความรู้ หรือการต่อยอดของโครงการน้ี เพื่อประโยชนแ์ กน่ ักศึกษา หรือ วิทยาลัย หรือชุมชน เพ่ือได้รับเงินทนุ สนับสนนุ โครงการและข้อเสนอแนะ ๑๑.๑จัดนิทรรศการ เรื่อง หอยขม ชว่ ยชาวบ้าน ในงานประชุมวชิ าการ องค์การเกษตรกรใน อนาคตแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภส์ มเด็จพระเทพรตั นราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ระดับ ภาค กลาง ๑๑.๒ จดั นิทรรศการ และเข้ารว่ มการสัมมนา เรื่อง การเลี้ยงหอยขมแบบพัฒนาสู่อาชีพที่ย่ังยืน ในงานประชุมวิชาการ องค์การเกษตรกรในอนาคตแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพ รตั นราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ระดบั ชาติ
๓๕ ๑๑.๓ นาผลงานวจิ ยั เร่ือง ผลการใช้วัสดุเกาะชนิดต่าง ๆ ต่อการเจริญเติบโตและจานวนตัว ออ่ นในช่วงข้างขึ้นข้างแรมของหอยขม เผยแพรใ่ นระดับจังหวดั ระดบั ภาค และระดบั ชาติ ๑๑.๔ นาผลงานวิจัย เร่อื ง อิทธิพลของระดับน้าต่อการเจรญิ เตบิ โตและจานวนตัวอ่อนในช่วง ขา้ งขึน้ ข้างแรมของหอยขมโดยใชก้ ระเป๋าแขวน เผยแพรใ่ นระดบั จังหวัด ระดบั ภาค และระดบั ชาติ ๑๒. ภาพประกอบ (โปรดแนบภาพถ่ายของสถานท่ี / องคก์ ร / ชมุ ชน / เป้าหมายท่จี ะดาเนนิ โครงการ หรอื ภาพอ่ืน ๆ ทเี่ กี่ยวข้องกบั การนาเสนอโครงการ อาทิ ภาพถา่ ยสถานท่ี / องค์กร / ชมุ ชน / ท่ีไดร้ ่วมกันดาเนนิ การตามโครงการทนี่ าเสนอมากอ่ นหนา้ น้ี ภาพท่ี ๑ จุดประกายความคิดโดยการรวบรวมพอ่ -แม่พนั ธุ์ ตามธรรมชาติ ภาพท่ี ๒ ผลการจัดการเรยี นรู้โดยใช้ Project based learning
๓๖ ภาพท่ี ๓ ปริมาณหอยขมทร่ี วบรวมได้เลยี้ ง ภาพที่ ๔ พฒั นาการเลี้ยงในกระชัง รว่ มกบั จากธรรมชาติ การ แบบผสมผสานรว่ มกบั การ เลี้ยงปลาดุก ภาพที่ ๕ พัฒนาการเลย้ี งหอยขมโดย ภาพท่ี ๖ พฒั นาการเล้ียงหอยขมในกระชงั วิธีการลงหลักปกั
๓๗ การถา่ ยทอดองคค์ วามรู้ในการเลี้ยงหอยขมสชู่ มุ ชนท้องถ่นิ ภาพท่ี ๗ พฒั นาการเลี้ยงหอยขมโดยการใชร้ าละเอียดผสมจลุ ินทรีย์ EM เพอื่ การเจรญิ เติบโตของหอยขม และควบคุมคุณภาพนา้ ในบ่อเลย้ี ง ภาพที่ ๘ นารูปแบบการเล้ียงหอยขมในกระชงั ของเกษตรกรโดยใช้ทางมะพร้าวเปน็ วัสดเุ กาะ
๓๘ ภาพที่ ๙ ผลิตผลหอยขมท่ไี ด้จากการเลย้ี งในรปู แบบตา่ ง ๆ ภาพที่ ๑๐ “หอยขม” สตั ว์น้าอนิ ทรยี ์ตัวใหมส่ ู่เสน้ ทางการตลาด เพอื่ การหารายได้ระหวา่ งเรยี น
บทท่ี ๔ บทสรุปกระบวนการขับเคล่ือนเศรษฐกจิ ฐานความรูส้ ู่ชมุ ชน ภาคเกษตรกรรมตามศาสตรพ์ ระราชา เป้าหมายของกระบวนการขับเคลือ่ นเศรษฐกจิ ฐานความรูส้ ชู่ ุมชนภาคเกษตรกรรม ตามศาสตร์พระราชา มุ่งพัฒนาผู้เรียนในกระบวนการเรียนรู้ รู้จัดคิด วิเคราะห์ เพ่ือสร้างช้ินงาน นวัตกรรมที่สามารถนาไปใช้ประโยชน์บนฐานความรู้สู่การพัฒนาอาชีพ สร้างฐานเศรษฐกิจท่ีมั่นคง เร่ิมต้นจากห้องเรียนที่เป็นศูนย์การเรียนรู้อย่างแท้จริง ผู้เรียนได้แสดงศักยภาพท่ีหลากหลายบนฐาน การเรียนรู้คิด รู้วิเคราะห์ รู้ปฏิบัติ รู้คุณค่าความชานาญ โดยท้ังน้ีเป้าหมายของกระบวนขับเคล่ือน เศรษฐกิจฐานความรู้ ประกอบไปด้วยการมงุ่ พฒั นาในประเด็น ๕ ด้าน ดงั น้ี ๑. พฒั นาผเู้ รยี น ดว้ ยการจัดกระบวนการเรียนรู้ให้พร้อมรับการเปลี่ยนแปลง บนฐาน การ เรียนรู้คดิ รู้วเิ คราะห์ รู้ปฏิบตั ิ รคู้ ุณคา่ ความชานาญ เม่ือผู้เรียนมีพลังความรู้ท่ีพร้อม ทาให้เราสามารถนา ความรู้และประสบการณ์มาประยุกต์ ให้ความร้ตู กผลึกเป็นองค์ความรูท้ ี่มีพลังพร้อมต่อยอดต่อไป ๒. การพัฒนาครู จัดเป็นพลังขับเคลื่อน เพ่ือถ่ายทอดองค์ความรู้ท่ีสาคัญ การพัฒนาใด ๆ น้ันต้องอาศัยกระบวนการถ่ายทอดความรู้บนพื้นฐานความมีจรรยาบรรณท่ีมุ่งมั่น ต้ังใจ ทุ่มเท เสียสละ อทุ ศิ ตนให้แก่ผเู้ รยี น ชุมชน และบคุ คลท่ัวไปบนพนื้ ฐานของความรักและศรัทธาในวิชาชีพ ทาให้ได้รับการ พัฒนาเจริญงอกงาม เพียบพร้อมด้วยคุณธรรมนาความรู้ ความคิด มีความรู้รอบด้าน สามารถพัฒนา ตนเองและชุมชนได้ ๓. การพัฒนาทักษะความชานาญเฉพาะทาง และองค์ความรู้ ด้วยเหตุท่ีความรู้มีมากมาย กระจัดการจายอยู่ทั่วไป การจัดการความรู้ และทักษะ คือ การนาเอาองค์ความรู้ท่ีอยู่ในตัวของผู้เรียน ครู สร้างให้เป็นนวัตกรรม ชิ้นงาน โครงการ ในลักษณะของศูนย์การเรียนรู้ของสถานศึกษา ศูนย์การเรียนรู้ ชุมชน และศูนย์กลางความเช่ือมโยง (เครือข่ายความร่วมมือ) ให้สามารถนามาประยุกต์ใช้ เพื่อแก้ปัญหา ท่ีอาจจะเกิดข้ึน (การสร้างภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี) หรือสร้างสรรค์สิ่งต่าง ๆ ได้โดยใช้ทักษะการคิดวิเคราะห์ พัฒนา ต่อยอด เป็นการสร้างพลังอานาจในการจัดการความรู้ท่ีเกิดประสิทธิผลแก่ชุมชน และสังคมอย่าง งอกงาม สามารถปฏิบัตภิ ารกิจได้โดยง่าย ไม่เป็นการแกป้ ัญหาซ้า ๆ นามาซึ่งผลลพั ธ์ทีด่ ี ๔. การสร้างความเช่ือมโยงแบบมีส่วนร่วม การสร้างความเชื่อมโยงโดยการสร้างและ นวัตกรรม ช้ินงานแบบมีส่วนร่วม จัดเป็นการสร้างสรรค์แนวทางในพัฒนาชุมชนเกษตรกรรมบนฐานคิด แบบมีส่วนร่วม ในสภาพแห่งความเป็นจริงยุคใหม่ ๆ ภายใต้กระบวนการจัดการศึกษาอิงเศรษฐกิจ ฐานความรู้ การสื่อสาร องค์กรภาครัฐ แหล่งทรัพยากร แนวคิดการออกแบบวิธีการของความเช่ือมโยง แบบมีส่วนร่วมให้มีความเป็นนวัตกรรมเชิงกระบวนการทางการศึกษาร่วมกัน เพื่อส่งเสริมการสร้าง
๔๐ นวัตกร บนฐานการค้นคว้าวิจัยพัฒนานวัตกรรมและส่ิงประดิษฐ์ การถอดบทเรียนจากศูนย์การเรียนรู้ (ห้องเรียน) สู่ชมุ ชนเกษตรกรรมอย่างแทจ้ ริง และ ๕. ความศรัทธา และบริบทเชิงพื้นท่ี การสร้างและพัฒนานวัตกรรมแบบมีส่วนร่วม และ พัฒนาส่งเสริม จัดการถ่ายทอดองค์ความรู้จนเกิดผลสัมฤทธ์ิตามเป้าหมาย ชุมชนเกิดความมั่นใจเล่ือมใส ศรัทธาแล้ว การจัดการความรู้ การถอดบทเรียนร่วมกันถือเป็นกระบวนการที่สาคัญของสถานศึกษา องค์กร และชุมชน หมายถึงการเข้าใจ เข้าถึง และพัฒนาในตัวบริบทเชิงพื้นที่ นั่นหมายถึง ผู้บริหาร สถานศึกษาต้องมีความรู้ และใช้ความรู้เพ่ือจัดการศึกษา โดยต้องมีกระบวนการพิสูจน์หลายบริบทว่า ได้ผลดีจริง มีความเที่ยง ส่งผลต่อการกาหนดราคา เพิ่มมูลค่าขององค์ความรู้ และนวัตกรรม หรือชิ้นงาน นั้น ๆ ให้เกิดประโยชน์แก่ชุมชน ๆ หรือคนทางานในพื้นท่ีซึ่งมีประสบการณ์ และมีการจัดการความรู้ที่ดี เชิงพ้ืนท่ี ผ่านกระบวนการวิเคราะห์จนได้บทเรียนท่ีดี จากการทางาน ทั้งบทเรียนจากความสาเร็จ บทเรียนจากความผิดพลาดที่พึงระวัง เม่ือมีการถอดบทเรียนดังกล่าวไว้ และนามาเผยแพร่แบ่งปันองค์ ความรู้ องคค์ วามคิดเป็นวทิ ยาทานให้แก่ชุมชนเจริญงอกงามอย่างยั่งยืนต่อไป บรรณานุกรม เกรยี งศักด์ิ เจรญิ วงศ์ศักดิ์. พระอัจฉรยิ ภาพดา้ นเศรษฐกิจ : เศรษฐกจิ การพฒั นาประเทศ. ใน เกรยี งศักด์ิ เจรญิ วงศ์ศักด.์ิ (บ.ก.). (๒๕๕๕). ตามรอยพระเจ้าอยหู่ วั (น.๑๓-๑๘). กรงุ เทพมหานคร : บริษัทซคั เซส มีเดยี จากัด.
๔๒ ชว่ งที่ ๓ การพฒั นารูปแบบการเล้ียงหอยขมโดยใช้กระเป๋าแขวน ระหว่างวันท่ี ๑๕ พฤษภาคม - ๑๕ กรกฎาคม ๒๕๕๘ ๑๐. ผลที่คาดว่าจะได้รับ ๑๐.๑ เกษตรกรผู้เลี้ยงหอยขมได้นาแนวทางการพัฒนารูปแบบการเลี้ยงหอยขมไปใช้สู่อาชีพ อยา่ งยง่ั ยนื ๑๐.๒ เกษตรกรมีเทคนิค วิธีการเล้ียงหอยขม สามารถเพิ่มรายได้ในการเล้ียงหอยขม และลด ความเสย่ี ง ปลอดภัยตอ่ การบรโิ ภคอย่างยง่ั ยืน ๑๐.๓ เกษตรกรสามารถสร้างอาชีพ (มีภูมิคุ้มกัน) การเลี้ยงหอยขมโดยใช้ทรัพยากรท้องถ่ินอย่าง ย่ังยืน พัฒนารูปแบบการเลี้ยงหอยขมเชิงเกษตรในเขตอาเภอบางไทร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา และ อาเภอลาดหลุมแกว้ จงั หวัดปทุมธานี สามารถเพ่ิมรายได้เป็นอาชีพเสริมได้ร้อยละ ๓๐ ๑๑. แผนงานการขยายองค์ความรู้ หรือการต่อยอดของโครงการน้ี เพื่อประโยชน์แกน่ ักศึกษา หรือ วทิ ยาลัย หรือชุมชน เพ่ือได้รับเงินทนุ สนับสนนุ โครงการและข้อเสนอแนะ ๑๑.๑ จัดนิทรรศการ เร่ือง หอยขม ช่วยชาวบ้าน ในงานประชุมวชิ าการ องค์การเกษตรกรใน อนาคตแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภส์ มเด็จพระเทพรัตนราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกุมารี ระดบั ภาค กลาง ๑๑.๒ จัดนทิ รรศการ และเข้ารว่ มการสัมมนา เรื่อง การเล้ียงหอยขมแบบพัฒนาสู่อาชีพที่ย่ังยืน ในงานประชุมวิชาการ องค์การเกษตรกรในอนาคตแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ระดับชาติ ๑๑.๓ นาผลงานวจิ ยั เร่ือง ผลการใช้วัสดุเกาะชนิดต่าง ๆ ต่อการเจริญเติบโตและจานวนตัว ออ่ นในช่วงข้างขน้ึ ขา้ งแรมของหอยขม เผยแพร่ในระดบั จังหวัด ระดับภาค และระดับชาติ ๑๑.๔ นาผลงานวิจัย เรอ่ื ง อิทธพิ ลของระดับนา้ ตอ่ การเจรญิ เตบิ โตและจานวนตัวอ่อนในช่วง ข้างข้นึ ขา้ งแรมของหอยขมโดยใช้กระเปา๋ แขวน เผยแพรใ่ นระดบั จังหวัด ระดบั ภาค และระดบั ชาติ
๔๓ ๑๒. ภาพประกอบ (โปรดแนบภาพถ่ายของสถานท่ี / องค์กร / ชุมชน / เปา้ หมายท่ีจะดาเนนิ โครงการ หรอื ภาพอ่ืน ๆ ทเี่ กี่ยวข้องกบั การนาเสนอโครงการ อาทิ ภาพถา่ ยสถานท่ี / องค์กร / ชุมชน / ทไี่ ด้ร่วมกันดาเนินการตามโครงการทนี่ าเสนอมากอ่ นหน้าน้ี ภาพที่ ๑ จดุ ประกายความคิดโดยการรวบรวมพอ่ -แม่พันธ์ุ ตามธรรมชาติ ภาพท่ี ๒ ผลการจัดการเรียนรโู้ ดยใช้ Project based learning
๔๔ ภาพท่ี ๓ ปริมาณหอยขมทร่ี วบรวมได้เลยี้ ง ภาพที่ ๔ พฒั นาการเลี้ยงในกระชัง รว่ มกบั จากธรรมชาติ การ แบบผสมผสานรว่ มกบั การ เลี้ยงปลาดุก ภาพที่ ๕ พัฒนาการเลย้ี งหอยขมโดย ภาพท่ี ๖ พฒั นาการเล้ียงหอยขมในกระชงั วิธีการลงหลักปกั
๔๕ การถา่ ยทอดองคค์ วามร้ใู นการเลย้ี งหอยขมส่ชู ุมชนท้องถิ่น ภาพท่ี ๗ พัฒนาการเลย้ี งหอยขมโดยการใชร้ าละเอยี ดผสมจลุ นิ ทรีย์ EM เพ่ือการเจริญเติบโตของหอยขม และควบคุมคุณภาพนา้ ในบ่อเล้ยี ง ภาพที่ ๘ นารูปแบบการเลีย้ งหอยขมในกระชงั ของเกษตรกรโดยใช้ทางมะพรา้ วเปน็ วสั ดเุ กาะ
๔๖ ภาพท่ี ๙ ผลิตผลหอยขมท่ไี ด้จากการเลี้ยงในรูปแบบต่าง ๆ ภาพที่ ๑๐ “หอยขม” สัตวน์ ้าอนิ ทรียต์ ัวใหม่ส่เู สน้ ทางการตลาด เพ่อื การหารายได้ระหว่างเรยี น
Search