Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือเทคโนโลยีดิจิทัลสำหรับการเรียนรู้

คู่มือเทคโนโลยีดิจิทัลสำหรับการเรียนรู้

Published by Master of Education Suandusit, 2022-07-06 02:40:56

Description: คู่มือเทคโนโลยีดิจิทัลสำหรับการเรียนรู้

Search

Read the Text Version

ระบบการจดั การเรียนรู้ WBSC - LMS มหาวิทยาลัยสวนดุสิตพัฒนาระบบการเรียนรู้จากการทำงานแบบผสมผสานและเสริม ศ ั ก ย ภ า พ ด ้ ว ย เ ท ค โ น โ ล ย ี ( WORK- BASED BLENDED LEARNING AND TECHNOLOGICAL SCAFFOLDING SYSTEM: WBSC) สำหรับการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ มีวิธีการเข้าใช้งานใน ระบบตา่ ง ๆ ดงั นี้ ภาพที่ 29 QR Code คู่มือการใชง้ านระบบการจัดการเรยี นรู้ WBSC – LMS สำหรับนักศึกษา 1. เข้าสรู่ ะบบ WBSC-LMS http://wbsc2021.dusit.ac.th/ 2. กรอกช่อื ผ้ใู ช้ รหัสผ่าน (Username Password) และคลิกปุ่ม Log in ภาพท่ี 30 หนา้ จอการ Log in เข้าใชง้ านระบบ WBSC - LMS ชือ่ ผ้ใู ช้ (Username) ขน้ึ ตน้ ด้วย U ตามด้วยรหัสนักศกึ ษา เช่น u6512345678901 เปน็ ตน้ รหสั ผ่าน (Password) ใช้รูปแบบเดยี วกับการใชง้ านอินเทอร์เน็ตของมหาวทิ ยาลัยสวนดสุ ติ ตวั อย่างเชน่ Username : u6512345678901 Password : XXXXXXXX 38

3. เข้าสู่บทเรยี น โดยคลกิ เลือกรายวชิ าทีต่ ้องการ ภาพที่ 31 หน้าจอ Dashboard หลงั จากการ Log in เขา้ ใช้งานระบบ WBSC - LMS 4. เข้าสบู่ ทเรยี นออนไลน์ เพอ่ื เรยี นรแู้ ละทำกิจกรรม ภาพท่ี 32 หนา้ จอบทเรียนเม่ือเขา้ สู่รายวชิ า 39

5. การส่งงาน กิจกรรม/ผลงาน คลิกเลือกกจิ กรรมตามท่ไี ด้รบั มอบหมาย ภาพที่ 33 หวั ข้อกิจกรรมท่ีได้รับมอบหมาย โดยคลิกปุ่ม “Add submission” ภาพที่ 34 ปุ่ม Add submission เพ่อื ส่งกจิ กรรมท่ีได้รบั มอบหมาย 6. เลอื กรูปแบบการส่งงาน 6.1. ถา้ ต้องการส่งไฟล์ขอ้ มูล คลิกเลือกท่ปี ุม่ ลกู ศร เลือกหัวข้อ “Upload a file” > คลกิ “Choose File” เพอ่ื ทำการเลือก File ที่อยู่ ในเครื่อง และคลิกปมุ่ “Upload this file” 40

ภาพที่ 35 หน้าจอการส่งไฟลข์ ้อมลู ในกจิ กรรมท่ไี ด้รบั มอบหมาย 6.2. ถ้าต้องการส่งเป็นข้อความ หรือ URL สามารถคลิกในช่อง Online Text กรอก ขอ้ ความ รปู ภาพ หรือ URL ท่ตี อ้ งการได้ ภาพท่ี 36 หนา้ จอการส่งงานทไ่ี ดร้ บั มอบหมายเป็นข้อความ 7. คลกิ ปุม่ “Save changes” 8. เมื่อส่งงานเรยี บร้อยแล้วจะปรากฎหน้าจอดงั ภาพ 41

ภาพที่ 37 หนา้ จอเมื่อส่งงาน กจิ กรรมท่ีไดร้ ับมอบหมายสำเร็จ 9. ออกจากระบบ คลกิ ท่ีตำแหน่งช่อื เลอื กหัวขอ้ Log out เพ่ือทำการออกจากระบบ ภาพท่ี 38 การออกจากระบบการจัดการเรยี นรู้ WBSC - LMS 42

การเขา้ ทำการสอบในระบบ WBSC - LMS 1. เข้าสรู่ ายวิชาท่ีจะดำเนนิ การสอบ 2. อ่านรายละเอียดของการสอบ เลือกหัวข้อแบบทดสอบ ภาพที่ 39 ภาพตวั อย่างหัวข้อแบบทดสอบ 3. เขา้ สู่การทดสอบ คลิกปุ่ม Attempt quiz now ภาพที่ 40 ภาพตวั อย่างหนา้ จอก่อนคลิกเข้าทำแบบทดสอบ 4. คลิกป่มุ Start attempt ภาพที่ 41 ภาพตวั อยา่ งหน้าจอการคลิกเข้าทำแบบทดสอบ 43

กรณีแบบทดสอบปรนัย แบบ เลือกตอบ Multiple choice 1) เลอื กคำตอบท่ถี กู ต้อง 2) ถา้ ตอ้ งการไปทำขอ้ ต่อไป คลิกปุ่ม Next page 3) ถา้ ตอ้ งการย้อนกลับไปทำขอ้ ที่ผ่านมาแลว้ คลิกปุ่ม Previous page หรอื 4) เลือกหมายเลขข้อที่ต้องการ จาก Quiz Navigation ข้อที่ทำเสร็จแล้วจะปรากฎแถบที่เทาท่ี เลขข้อนน้ั 4 1 32 ภาพที่ 42 ภาพตวั อยา่ งแบบทดสอบ แบบ Multiple Choice 5) เมื่อทำแบบทดสอบครบทกุ ข้อแล้ว คลกิ ปมุ่ Finish attempt 5 ภาพที่ 43 ภาพตัวอย่างการคลกิ สง่ แบบทดสอบ 44

6) กรณี ยังไม่หมดเวลาสอบ นักศึกษาสามารถคลิกปุ่ม “Return to attempt” เพื่อกลับไป แก้ไขคำตอบ หรือตรวจสอบความเรียบรอ้ ยของคำตอบได้ กรณี ยังไม่หมดเวลาสอบ และไม่ตอ้ งการแก้ไขคำตอบ นกั ศกึ ษาคลกิ ปุ่ม “Submit all and Finish” เพ่ือสง่ แบบทดสอบ ภาพที่ 44 ภาพตวั อยา่ งหน้าสรุปการทำแบบทดสอบ 7) ยนื ยนั การส่งแบบทดสอบ คลิกปมุ่ Submit all and finish 7 ภาพท่ี 45 ภาพตวั อยา่ งการคลกิ ยืนยนั การส่งแบบทดสอบ 45

8) ส้นิ สดุ การทำแบบทดสอบจะปรากฎการแสดงผลเวลาทท่ี ำแบบทดสอบ ภาพที่ 46 ภาพตวั อย่างหนา้ แสดงผลเสรจ็ สน้ิ การทำแบบทดสอบ กรณีแบบทดสอบอัตนัย 1) เมื่อเขา้ มาทแ่ี บบทดสอบ นักศึกษาสามารถพมิ พค์ ำตอบในช่องว่างท่ีกำหนดไว้ ทัง้ นี้ นกั ศึกษา ควรพิมพ์คำตอบไว้ใน Microsoft Word หรือ โปรแกรม Note ในโทรศัพท์มือถือ เมื่อพิมพ์ คำตอบเสร็จแล้วจึงทำการคัดลอกคำตอบลงในช่องว่าง เพื่อไม่ให้เกิดปัญหาเครือข่ายไม่ สามารถใชง้ านได้ ในกรณี ไฟดับ หรอื ระบบเครอื ข่ายเกดิ ขดั ข้อง 2) กรณที ่ผี ้สู อนให้สง่ คำตอบแบบ File ให้คลิกเลือกท่ปี มุ่ ลกู ศร 3) ตรวจสอบความเรยี บรอ้ ย คลกิ ป่มุ Finish Attemp เมอื่ ส้ินสดุ การสอบ 1 2 3 ภาพท่ี 47 ภาพตวั อย่างแบบทดสอบ แบบพิมพ์คำตอบ หรือ แนบไฟล์ 46

4) คลกิ ปุ่ม Submit all and Finish เพ่อื สง่ แบบทดสอบ 4 ภาพที่ 48 ภาพตวั อยา่ งหน้าสรปุ การทำแบบทดสอบ 5) ยืนยนั การส่งแบบทดสอบ คลิกปุม่ Submit all and finish 5 ภาพที่ 49 ภาพตวั อยา่ งการคลิกยืนยนั การส่งแบบทดสอบ 6) สิ้นสดุ การทำแบบทดสอบจะปรากฎการแสดงผลเวลาทีท่ ำแบบทดสอบ ดงั ภาพ ภาพท่ี 50 ภาพตวั อย่างหน้าแสดงผลเสรจ็ สิน้ การทำแบบทดสอบ 47

ข้อควรระวังระหว่างการทำแบบทดสอบสำหรบั นักศกึ ษา ตารางท่ี 1 ข้อควรระวังระหว่างการทำแบบทดสอบ สำหรับนกั ศึกษา ขอ้ ควรระวงั แนวปฏิบตั ิ นักศึกษายุติการสอบก่อนเวลา แล้วไม่ นักศึกษาแจ้งปัญหาที่เกิดขึ้นกับผู้สอนผ่านช่องทาง กลบั เข้ามาทำการสอบให้แล้วเสร็จ หรือ ส่อื สารที่ผู้สอนระบุโดยทันที กลับเข้ามาเมื่อหมดเวลาแล้ว ผลคือ นักศกึ ษาไม่มีคะแนนสอบ ระบบเครือข่ายขัดข้องระหว่างทำการ ถ้ายังไม่หมดเวลานักศึกษา สามารถ Log in เข้าระบบ ทดสอบ WBSC ใหม่ และทำการทดสอบต่อได้ แจง้ ปัญหาท่ีเกิด ขึน้ กบั ผสู้ อนผ่านช่องทางสือ่ สารทผ่ี ้สู อนระบุ ระบบเครือขา่ ยลม่ ระหว่างทำการสอบ กรณียังไม่หมดเวลาแต่นักศึกษาไม่สามารถกลับเข้า มายังระบบเพื่อสอบต่อได้ ให้แจ้งผู้สอนผ่านช่อง ทางการสื่อสารอื่นและรอการลงทะเบียนเข้าสอบรอบ พิเศษทีม่ หาวทิ ยาลยั กำหนด สื่อสารผา่ น MS Teams MS Teams หรือ Microsoft Teams เป็นโปรแกรมหนึ่ง ของ Office 365 ซึ่งจะเป็นเครื่องมือที่ ช่วยให้นักศึกษาสามารถสื่อสารกับอาจารย์และเพื่อน เป็นช่องทางในการจัดการเรียนการสอน ใช้ใน การประชุม VDO Conference หรือการจัดงาน/เข้าร่วมงานสัมมนาออนไลน์ (Webinar) ตลอด ระยะเวลาที่ศึกษาอยู่ในมหาวิทยาลัยสวนดุสิต โดยนักศึกษาสามารถใช้งานผ่านระบบเครือข่าย อนิ เทอรเ์ น็ต ภาพที่ 51 ลักษณะการใชง้ าน MS Teams 48

ในการเข้าใชง้ านนกั ศึกษาจะต้องใช้อเี มลท่ีทางมหาวิทยาลัยสวนดสุ ติ กำหนดให้ ในการเขา้ ส่รู ะบบ MS Teams สำหรับการจดั การเรียนการสอนผ่าน MS Teams อาจารยผ์ ู้สอนจะดำเนนิ การสร้างกลุ่ม (Team Class) และเชิญนักศึกษาเข้ากลุ่ม อาจจะเป็นการเชิญด้วยวิธีการใช้อีเมลของนักศึกษา หรือ ใช้รหัส (Teams Code) สำหรับเข้าร่วมกลุ่มในรายวิชาที่ลงทะเบียน เมื่อเข้ากลุ่มเรียบร้อยนักศึกษา จะพบกับเอกสารที่เกี่ยวข้องกับรายวิชา ซึ่งอาจารย์ประจำวิชาได้จัดเตรียมให้ สำหรับเมนูที่เป็น ประโยชน์กับนักศกึ ษาในการใช้ MS Teams มดี งั นี้ 1. Assignments เป็นการมอบหมายงานให้กับนักศึกษา สามารถกำหนดคะแนนให้กับชิ้นงาน แต่ละชนิ้ ใชง้ านรว่ มกบั Microsoft Form 2. Screensharing เป็นการแชร์หน้าจอคอมพิวเตอร์ให้กับอาจารย์และเพื่อนนักศึกษา ใช้ใน กรณีนำเสนอผลงาน 3. Immersive reader เป็นการสนทนาสำหรับพิมพ์ข้อความส่งให้กับอาจารย์และเพื่อน นกั ศึกษา 4. Whiteboard เป็นการเปิด Whiteboard เพื่อให้อาจารย์หรือนักศึกษาสามารถเขียนได้ พรอ้ มกนั 5. Raise Your hand เป็นการยกมอื เมอ่ื มขี ้อสงสัยในระหว่างการจัดการเรยี นการสอน 6. Together mode เปน็ การแสดงภาพผู้เข้าชนั้ เรียนเสมอื นนง่ั อย่ใู นหอ้ งเรียน 7. Custom background เป็นการใส่ภาพพื้นหลังในส่วนภาพวิดีโอ สามารถเลือกรูปภาพท่ี จัดเตรียมไวไ้ ด้ 8. Breakout rooms เป็นการแบ่งกลุ่มการทำงาน ในขณะจัดการเรียนการสอน โดยอาจารย์ สามารถเข้าไปในแต่ละกลุม่ เพ่ือใหค้ ำแนะนำหรือตอบข้อสงสยั ใหก้ บั นักศึกษา ภาพท่ี 52 เมนูสำหรบั ใช้ในการเรยี นผ่าน MS Teams 49

ดังนั้นนักศึกษาจะพบว่า MS Teams เป็นโปรแกรมที่เป็นสื่อกลางระหว่างอาจารย์และ นกั ศึกษา จะสังเกตว่าทาง Microsoft 365 ไดอ้ อกแบบ MS Teams ให้เสมอื นได้เรยี นอยู่ในห้องเรียน ให้มากที่สุดเท่าที่จะทำได้ และอาจารย์สามารถบันทึกการเรียนการสอนเพื่อให้นักศึกษาทบทวน บทเรยี นย้อนหลงั ได้อีกเช่นกัน การใชง้ าน Microsoft Teams Microsoft Teams เป็นบริการแชทแบบกลุ่มรองรับการเชื่อมต่อกับ Microsoft Office และรองรับการพูดคุยด้วยเสียง-วิดีโอภายใน Application หรือใช้เป็นการประชุมผ่านวิดีโอคอนเฟอเรนซ์ (Video Conference) นักศึกษาสามารถใชง้ าน Microsoft Teams บน Smartphone, Tablet หรือ เครอื่ งคอมพวิ เตอร์ โดยมวี ธิ ีการ ดังนี้ 1. ดาวนโ์ หลด Microsoft Teams เพ่อื ติดต้งั ในอปุ กรณ์ Smart Device 1.1 หากเป็นอุปกรณ์ Smart Device ที่ใช้ระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ (Android) ให้ทำ การดาวน์โหลดที่ Google play โดยพิมพค์ ้นหาคำวา่ “Microsoft Teams” หรอื สแกน QR Code ภาพที่ 53 QR Code สำหรบั ดาวน์โหลด Microsoft Teams บนระบบปฏิบตั กิ ารแอนดรอยด์ 1.2 หากเป็นอุปกรณ์โมบายที่ใช้ระบบปฏิบัติการไอโอเอส (iOS) ให้ทำการดาวน์โหลด ท่ี App Store โดยพมิ พค์ ้นหาคำว่า “Microsoft Teams” หรอื สแกน QR Code ภาพที่ 54 QR Code สำหรับดาวน์โหลด Microsoft Teams บนระบบปฏบิ ัตกิ ารไอโอเอส 50

2. ลงชอื่ เขา้ ใชง้ าน Microsoft Teams เมื่อติดตั้ง Microsoft Teams ลงในอุปกรณ์โมบายเรียบร้อยแล้วให้คลิกเปิด Application พรอ้ มกับดำเนินการตามขัน้ ตอนตอ่ ไปนี้ 2.1 คลกิ Sing In เพื่อทำการระบุชื่อผ้ใู ช้งาน ดงั ภาพ 2.1 ภาพที่ 55 การ Sign in เพื่อลงช่อื เข้าใชง้ าน Microsoft Teams 2.2 ช่อง “Sign-in address” ให้ระบุชื่อผู้ใช้งานในรูปแบบอีเมลของมหาวิทยาลัย อาทิเช่น [email protected] จากน้ันคลกิ “Sign in” ดังภาพ [email protected] ภาพที่ 56 ระบชุ ื่อผูใ้ ชง้ านในรูปแบบอีเมลของมหาวทิ ยาลัย 51

2.3 ระบุรหัสผ่าน ใต้ข้อความ “Enter password” เมื่อระบุอีเมลถูกต้อง โดยใช้รหัสผ่าน เดียวกับการเข้าใชง้ านระบบสารสนเทศของมหาวิทยาลยั จากนัน้ คลิกปุ่ม “Sign in” ดังภาพ [email protected] 1 2 ภาพท่ี 57 ระบรุ หสั ผา่ น“Enter password” 2.4 เมอ่ื ระบุรหัสผา่ นถูกต้องระบบจะแสดงการใช้งาน Microsoft Teams ให้ผู้ใช้งานอ่านให้ ครบทกุ หน้า จนถงึ หนา้ สดุ ทา้ ย เมื่ออ่านเรียบรอ้ ยให้ผู้ใชง้ านคลกิ “Got it” ดงั ภาพ 2.4 ภาพที่ 58 หน้าจอแนะนำการใชร้ ะบบ 52

2.5 เมื่อดำเนินตามขั้นตอนเรียบร้อยในขั้นตอนสุดท้ายจะเป็นหน้าจอระบบ Microsoft Teams ทพี่ ร้อมใช้งาน ดังภาพ ภาพท่ี 59 หนา้ จอระบบ Microsoft Teams พรอ้ มใช้งาน 3. ปฏิทนิ (Calendar) Microsoft Team เมนูปฏิทินจะเป็นเมนูสำหรับกำหนดตารางนัดหมาย และสร้างตารางนัดหมายสำหรับการ เรียนออนไลน์ ซ่ึงอาจารย์จะทำการสร้างปฏทิ ินนัดหมายการเรยี นออนไลน์กบั นักศึกษาใน Team เม่ือ นักศึกษาคลกิ ที่เมนู Calendar และคลกิ ทปี่ ุ่ม Join จะสามารถเขา้ เรยี นออนไลน์ใน Team ท่ีอาจารย์ สรา้ งขนึ้ ได้ โดยคลกิ ท่ีเมนู Calendar ภาพท่ี 60 ปฏทิ ิน (Calendar) เพือ่ เขา้ เรยี นออนไลน์ 53

4. เข้าร่วมการเรียนออนไลน์ โดยคลิกปิดไมโครโฟนในระหว่างการเรียนเมื่อต้องการสอบถาม หรือตอบคำถามให้คลกิ เปดิ ไมโครโฟน ภาพที่ 61 การเขา้ เรยี นออนไลนผ์ ่าน Microsoft Teams เสรมิ ทักษะการเรยี นรู้ผ่านระบบ SDU Online Course ซึ่งเป็นบทเรียนออนไลน์ ที่นำมาใช้ในการเรียนการสอนแบบ Online On-Air และ Hybrid ที่รองรับผู้เรียนได้จำนวนมาก ผ่านการถ่ายทอดสดออนไลน์ ผู้เรียนผู้สอนสามารถติดต่อสื่อสารกัน ผ่าน Web browser ภายในระบบจะประกอบไปด้วย บทเรียนออนไลน์ ระบบบันทึกการเข้าเรียน แนวการสอน สื่อการสอน กิจกรรมการเรียนรู้ แบบทดสอบและแบบสำรวจออนไลน์ เพื่อให้ผู้สอน สามารถปรับเปลี่ยนเนื้อหาไปตามบริบทของผู้เรียนได้ ระบบจะทำการบันทึกและจัดเก็บข้อมูลการ ลงทะเบียนเวลาเรียนแบบออนไลน์ และผู้เรียนสามารถดูการเรียนการสอนย้อนหลังได้ รองรับการใช ้งานบนเครื่องคอม พิว เตอร์ Tablet และ Smartphone ผ่านช ่องทาง https://onlinecourse.dusit.ac.th ทั้งนี้ในระบบ SDU Online Course ยังมีคอร์สอบรมทีน่ ่าสนใจ สำหรับให้นักศกึ ษาเขา้ มา Upskill Reskill เพื่อเสรมิ ทกั ษะการเรียนร้ไู ด้ ภาพท่ี 62 QR Code เข้าระบบ SDU Online Course 54

1. เข้าสูร่ ะบบ https://onlinecourse.dusit.ac.th ภาพที่ 63 หน้าจอระบบ SDU Online Course 2. คลกิ เลอื กรายวชิ าที่ตอ้ งการที่ต้องการเข้าเรียน ภาพท่ี 64 หน้าจอแสดงบทเรียนทเ่ี ปดิ ใน ระบบ SDU Online Course 3. กรอกช่ือผใู้ ช้ รหัสผ่าน (Username Password) และคลิกป่มุ Log in ชื่อผู้ใช้ (Username) ข้นึ ต้นดว้ ย U ตามด้วยรหสั นักศึกษา เช่น u6512345678901 รหัสผา่ น (Password) ใชร้ ูปแบบเดยี วกับการใช้งานอินเทอรเ์ นต็ ของมหาวิทยาลัยสวนดุสติ ตัวอยา่ งเชน่ Username : u6512345678901 Password : XXXXXXXX 55

ภาพที่ 65 หน้าจอแสดงการ Log in เข้าใช้งาน ระบบ SDU Online Course 4. เขา้ สู่บทเรยี นออนไลน์ เพื่อเรียนรู้และทำกจิ กรรม ภาพที่ 66 หน้าจอแสดงเนื้อหาบทเรยี น ระบบ SDU Online Course 56

เสรมิ ทกั ษะวิชาชีพผา่ นระบบ SDU MOOC ระบบ SDU MOOC คือ ระบบการเรียนรู้แบบออนไลน์เพื่อการเรียนรู้ตามอัธยาศัย ให้บริการ ไม่จำกัดเฉพาะนักศึกษามหาวิทยาลัยสวนดุสิตปัจจุบัน แต่รวมถึงศิษย์เก่า และผู้สนใจทั่วไป ผ่านหลักสูตรที่เปิดให้บริการที่สามารถประยุกต์การเรียนรู้หลากหลายรูปแบบ สนับสนุนการพัฒนา ทักษะเพ่ือการเรียนรตู้ ลอดชีวติ ภาพที่ 67 QR Code เขา้ ระบบ SDU MOOC 1. เขา้ สู่ระบบ https://mooc.dusit.ac.th 2. คลิกเลือกรายวิชาทตี่ อ้ งการเข้าเรยี น ภาพท่ี 68 หนา้ จอแสดงบทเรียนที่เปิดใน ระบบ SDU MOOC 3. กรอกช่ือผใู้ ช้ รหสั ผา่ น (Username Password) และคลิกป่มุ Log in 57

ภาพท่ี 69 หนา้ จอแสดงการ Log in เขา้ ใช้งาน ระบบ SDU MOOC ชอ่ื ผใู้ ช้ (Username) ขึ้นต้นด้วย U ตามด้วยรหสั นกั ศกึ ษา เชน่ u6512345678901 รหสั ผ่าน (Password) ใช้รปู แบบเดียวกบั การใชง้ านอนิ เทอรเ์ นต็ ของมหาวิทยาลัยสวนดสุ ติ ตวั อยา่ งเชน่ Username : u6512345678901 Password : XXXXXXXX 4. เข้าสู่บทเรยี นออนไลน์ เพื่อเรยี นรู้และทำกจิ กรรม ภาพที่ 70 หนา้ จอบทเรียนเมื่อเข้าสรู่ ายวชิ า 58

ส่วนที่ 3 บริการดจิ ิทลั ในยุคเทคโนโลยีดิจิทัลการเรียนรู้ด้วยตนเองจึงเป็นสิ่งสำคัญสำหรับนักศึกษารุ่นใหม่ มหาวิทยาลัยสวนดุสิตจึงให้ความสำคัญต่อการให้บริการเทคโนโลยีดิจิทัล โครงสร้างพื้นฐาน (Infrastructure) และบริการระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ประกอบด้วย บริการ Wi-Fi Zone บริการ IT Services และ บริการผ่านระบบ Cloud ของ Microsoft 365 รวมถึงการให้บริการพื้นที่จัดเก็บ ข้อมลู สำหรับนักศกึ ษาในรปู แบบ OneDrive 1 TB บรกิ าร Wi-Fi Zone ภายในมหาวทิ ยาลัย วทิ ยาเขตและศูนย์การศึกษานอกที่ต้งั ไดม้ ีจุดกระจายสัญญาณเครือข่าย อินเทอรเ์ นต็ เพ่ือให้บรกิ ารนักศึกษาในรปู แบบ Wi-Fi โดยมีการออกแบบติดตั้งอุปกรณ์เครือข่ายไร้สาย มุ่งเน้นให้บริการในพื้นที่การเรียนรู้ เช่น ห้องเรียน ห้อง Smart Classroom ห้องสมุด SDU Library พื้นที่จัดกิจกรรม (Activity space) และ ร้าน Café Library เป็นต้น เพื่อสนับสนุนการจัดการเรียน การสอนในรูปแบบ Active Learning ตามแผนการให้บริการดิจิทัลของมหาวิทยาลัย โดยติดต้ัง อุปกรณ์ควบคุมและอุปกรณ์กระจายสัญญาณ Access Point มากกว่า 700 จุด สามารถเชื่อมต่อ เข้าใชง้ านโดยใช้ Username และ Password ที่ทางมหาวทิ ยาลยั ฯ กำหนดใหก้ ับนักศึกษา โดยเลือก การเชอ่ื มตอ่ ผ่าน SSID : Dusit-Secure ดังน้ี ภาพที่ 71 ภาพแสดงการเขา้ ใช้งาน Wi-Fi ด้วย SSID Dusit-Secure

u6512345678901 ภาพท่ี 72 ภาพแสดงรปู แบบ Account Internet บรกิ าร Wi-Fi หอพัก การให้บริการ Wi-Fi ในส่วนของหอพักจะจัดให้บริการเฉพาะบริเวณพื้นท่ีสร้างสรรค์ อเนกประสงค์ตามทห่ี อพกั น้ัน ๆ ได้กำหนดไว้ ซง่ึ นกั ศึกษาสามารถใชบ้ ริการระบบสารสนเทศ เพ่อื การ เรียนออนไลน์ สืบค้นข้อมูล และเชื่อมโยงการเรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ ได้ตามอัธยาศัย ผ่าน เครอื ข่ายอินเทอรเ์ น็ตของมหาวทิ ยาลยั 1. หอพัก ศนู ย์วทิ ยาศาสตร์ ถนนสริ ินธร 2. หอพัก วิทยาเขตสุพรรณบรุ ี 60

3. หอพัก ศูนย์การศกึ ษาลำปาง 4. หอพัก ศนู ยก์ ารศึกษานครนายก 5. หอพัก ศูนยก์ ารศกึ ษาหัวหิน 61

6. หอพัก ศูนยก์ ารศึกษาตรงั บริการ eduroam นักศึกษาสามารถใช้งานเครือข่ายอินเทอร์เน็ต eduroam ในสถาบันการศึกษาอื่น ๆ ที่ เป็นสมาชิกกับ eduroam ได้เสมือนอยู่ภายในมหาวิทยาลัยสวนดุสิต เช่น จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช เป็นต้น โดยใช้บัญชี ผู้ใช้งาน และ รหัสผ่าน (Username และ Password) ของมหาวิทยาลัยสวนดุสิต ตัวอย่างการใช้ งานผ่าน SSID ช่ือ \"eduroam\" Username: [email protected] Password: วันเดือนปีเกิด (พ.ศ.) ภาพที่ 73 ภาพการทำงานของบรกิ าร eduroam 62

บรกิ าร IT services การให้บริการ IT ในรูปแบบออนไลน์ เพื่ออำนวยความสะดวกให้กับนักศึกษา เช่น บริการ เครือข่ายไร้สาย บริการ eduroam บริการ Microsoft 365 บริการอีเมล บริการการประชมุ ออนไลน์ บริการจัดเก็บข้อมูลบน One Drive ฟรี 1 TB และบริการดาวน์โหลดโปรแกรม Microsoft Office เปน็ ตน้ สามารถเข้าใช้งานได้ที่ http://arit.dusit.ac.th/2019/it ภาพท่ี 74 QR Code เข้าหน้าบรกิ าร IT Service ภาพที่ 75 ภาพบรกิ าร IT Services 63

การทำงานรว่ มกนั บนระบบ Cloud ของ Microsoft 365 Microsoft 365 หรือเดิมชื่อ Office 365 เป็นระบบ Cloud ของ Microsoft ที่ให้บริการ โปรแกรมสำหรับสร้าง จดั เก็บ นำเสนอช้นิ งาน และสามารถทำงานร่วมกับผู้อนื่ ได้ โดยใช้งานผ่านเว็บ บราวเซอร์ (Web Browser) เช่น Microsoft Edge, Google Chrome และ Firefox เป็นต้น สามารถ เข้าใช้งานได้ท่ี https://office.com หรือติดตั้งโปรแกรมลงบนเครื่องคอมพิวเตอร์ และรองรับใน อปุ กรณ์ประเภทโมบาย (Mobile Devices) ท้ังระบบปฏบิ ตั กิ าร Android และ iOS ภาพท่ี 76 การใช้งาน Microsoft 365 บนอปุ กรณต์ า่ ง ๆ สำหรับการเข้าใช้งาน ให้นักศึกษาใช้อีเมล ที่มหาวิทยาลัยสวนดสุ ิตกำหนดให้ ซึ่งเป็นบริการ หนึ่งของ Office 365 คือ Microsoft Outlook โดยมีรูปแบบอีเมลของนักศึกษาจะเป็น u ตามด้วย รหัสนกั ศึกษา และตามด้วยโดเมนเนม mail.dusit.ac.th เช่น [email protected] ในส่วนของรหสั ผ่านจะเป็นวนั เดอื นปีเกิด เช่น 01022542 ชือ่ ผู้ใช้งาน (Username) : [email protected] รหัสผา่ น (Password) : 01022542 ภาพท่ี 77 รปู แบบอีเมล และ รหสั ผา่ น นักศึกษาสามารถใช้งาน Microsoft Word, Microsoft Excel, Microsoft PowerPoint ในการสร้างผลงาน นำเสนอผลงาน และแชร์งานทำร่วมกับเพื่อนหรือ แชร์ผลงานใหอ้ าจารย์ในแต่ละ รายวิชา ได้ให้คำแนะนำหรือส่งงาน โดยผลงานทุกชิ้นจะถูกจัดเก็บอยู่ใน Microsoft OneDrive มี พ้นื ทีใ่ นการจัดเก็บข้อมูลในแต่ละผู้ใช้งานอยู่ท่ี 1 TB. และเมอ่ื ต้องการนำเสนอผลงานให้กับเพ่ือนและ อาจารย์ประจำวิชาในชนั้ เรยี นผา่ น Microsoft Teams 64

ภาพท่ี 78 การทำงานรว่ มกนั บน Microsoft 365 นอกจากโปรแกรมที่กล่าวมาข้างต้นแล้วนั้น Microsoft 365 ยังมีโปรแกรมอื่น ๆ ที่ให้ นกั ศึกษาสามารถใชง้ าน สำหรับสรา้ งผลงาน หรือสรา้ งชนิ้ งานนำสง่ อาจารยป์ ระจำรายวชิ า ดงั น้ี ตารางที่ 2 เคร่ืองมือสำหรับสร้างช้ินงานการทำงานร่วมกันบน Cloud บรกิ าร คำอธิบาย Outlook คือ บริการ e-mail สำหรับองค์กร พร้อมเชื่อมต่อปฏิทินนัดหมาย รว่ มกัน OneDrive คือ พ้ืนที่เกบ็ ข้อมูลบนระบบ Cloud ซ่งึ สามารถจดั เก็บ แชร์ และ เชื่อมต่อไฟล์การทำงานได้ สามารถปรับปรุงและแชร์ไฟล์จาก อุปกรณ์ใด ๆ ได้ เปน็ พืน้ ที่เก็บขอ้ มลู สว่ นบคุ คลแบบออนไลน์ ความจุ 1 TB. O n e N o t e คือ สมุดบนั ทึกดจิ ทิ ัล สำหรบั การเกบ็ บันทกึ ยอ่ สามารถ คน้ คว้า วางแผน ตดั ปะข้อมลู ทั้งหมด ที่จำเป็นต้องจำไวใ้ นสมดุ บนั ทกึ ดจิ ทิ ัล SharePoint คอื พ้ืนท่ีจัดเก็บเอกสารร่วมกันระดบั องค์กร สามารถใช้พ้ืนท่ีได้ อย่างปลอดภัยเพื่อเก็บเอกสาร จัดระเบียบ แชร์ และเข้าถึงข้อมูลจาก อุปกรณ์ใด ๆ ก็ตาม การเขา้ ถงึ ออนไลน์/ออฟไลน์ บริการออนไลน์ Class OneNote คือ สมุดบันทึกสำหรับชั้นเรียน มีพื้นที่ทำงานส่วนบุคคล สำหรับนักศึกษาในการจัดเก็บ การจัดการเนื้อหา เอกสารประกอบคำ บรรยาย และพน้ื ทท่ี ำงานรว่ มกันสำหรับบทเรยี นและกิจกรรมเชิงสร้างสรรค์ Sway คอื เครอื่ งมอื ในการสรา้ งเวบ็ ไซตอ์ ย่างง่าย (ไมจ่ ำเป็นตอ้ งเขียน code) ผ้ใู ชน้ ำเอกสาร ไฟล์ เนอื้ หาตา่ ง ๆ รวมถงึ embed link มาวางลงในหนา้ ของ SWAY จากนั้นโปรแกรมจะทำการจัดการแปลงให้อยู่ในลักษณะเว็บไซต์โดย อัตโนมัติ ทำให้สามารถประยุกต์สร้างเป็นเว็บไซต์นำเสนอผลงาน Gallery หรือ Portfolio ได้ 65

บรกิ าร คำอธิบาย Microsoft Forms คือ การสรา้ งแบบสอบถาม แบบทดสอบ และแบบ สำรวจ สามารถแสดงผลลัพธ์ได้ Calendar คือ ปฏิทินที่ช่วยในการสร้างและติดตามการนัดหมายและการ ประชุมได้ สามารถสร้างหลายปฏิทินเช่ือมโยงไปยังปฏิทนิ ของบุคคลอน่ื และ แชร์ปฏิทินกับบุคคลอ่ืน ๆ ในองคก์ รได้ Yammer คือ Social media สำหรับองค์กร เหมาะใช้งานในลักษณะการ ตดิ ตอ่ สือ่ สารที่มาพร้อมกบั ฟีเจอร์ในด้านความปลอดภัยของข้อมูลการเข้าถึง การตรวจสอบ ไมม่ ีเกม หรือ โฆษณาตา่ ง ๆ เข้ามารบกวน 66

สว่ นท่ี 4 แหลง่ เรียนรู้ออนไลน์ การเรียนรู้ในยุคดิจิทัลนักศึกษาสามารถสืบค้นข้อมูลได้ด้วยตนเองจากแหล่งเรียนรู้ ที่หลากหลาย มหาวิทยาลัยสวนดุสิตจึงได้จัดเตรียมและรวบรวมแหล่งเรียนรู้ออนไลน์ซึ่งเป็นประโยชน์ ตอ่ การศึกษาเรยี นรู้ประกอบดว้ ยสื่อการเรยี นออนไลน์ เชน่ ฐานขอ้ มลู ออนไลน์ วารสาร งานวจิ ัย หนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ e-Book ระบบ SDU MOOC ระบบ SDU Sharing บริการเรียนภาษาอังกฤษออนไลน์ English Discovery ครอบคลมุ การใช้งานทกุ หลกั สตู ร สาขาวชิ าทเ่ี ปิดการเรยี นการสอน ภาพท่ี 79 QR Code เข้าใช้งานแหล่งเรียนรู้ กับ สอื่ ออนไลน์ ภาพท่ี 80 ภาพแหล่งเรยี นรู้ออนไลนม์ หาวทิ ยาลยั สวนดสุ ิต

อ่านหนังสอื ผ่านระบบ e-Book ภาพท่ี 81 QR Code เข้าใชง้ านระบบหนงั สอื อิเล็กทรอนิกส์ (e-Book) ของมหาวิทยาลัยสวนดสุ ิต ระบบหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-Book) ของมหาวิทยาลัยสวนดุสิต เป็นระบบที่รวบรวม หนังสือที่สร้างขึ้นด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์มีลักษณะเป็นเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ โดยปกติมักจะเป็น แฟ้มข้อมูลคอมพิวเตอร์ท่ีสามารถอ่านเอกสารผ่านทางหน้าจอคอมพิวเตอร์ทั้งในระบบออฟไลน์และ ออนไลน์ คุณลักษณะของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์สามารถเชื่อมโยงจุดไปยังส่วนต่าง ๆ ของหนังสือ เว็บไซต์ต่าง ๆ ตลอดจนมีปฏิสัมพันธ์และโต้ตอบกับผู้เรียนได้ สามารถสั่งพิมพ์เอกสารที่ต้องการ ออกทางเครื่องพิมพ์ได้ อีกประการหนึ่งทีส่ ำคัญกค็ ือ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์สามารถปรับปรงุ ข้อมลู ให้ ทนั สมยั ไดต้ ลอดเวลา ซึ่งคุณสมบัติเหล่านี้จะไม่มใี นหนงั สือธรรมดาทั่วไป โดยในปัจจุบันจะมีหนังสือท่ี ให้บริการในหมวดหมู่ดังนี้ งานวิจัย ดุษฏีนิพนธ์ วิทยานิพนธ์ ภาคนิพนธ์ วิจัยในชั้นเรียน หนังสือ หายาก ราชสดุดีเฉลิมเกียรติคุณ เอกสารประกอบการเรียน การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ และ หนังสืออาหาร โดยสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต จะได้จัดหา หนังสืออิเล็กทรอนกิ ส์ในหมวดหมู่อืน่ ๆ เพิ่มเติมเพื่อให้บริการนักศึกษา บุคลากร และผู้ทีส่ นใจต่อไป ในอนาคต สามารถเข้าใชง้ านไดท้ ี่ https://ebooks.dusit.ac.th 68

ภาพที่ 82 เว็บไซต์ e-Book ของมหาวิทยาลยั สวนดุสิต สบื ค้นงานวิจยั และทรพั ยากรสารสนเทศผ่านฐานข้อมูลออนไลน์ ฐานข้อมูลออนไลน์เป็นการให้บริการการสืบค้นฐานข้อมูลภายในประเทศและต่างประเทศ เพื่อใชท้ รัพยากรตามเกณฑ์มาตรฐานการให้บรกิ ารทรัพยากรของสถาบนั อุดมศึกษา นักศึกษาสามารถ เข้าถงึ ขอ้ มูลสารสนเทศตลอดจนเอกสารฉบบั เต็มได้สะดวก รวดเรว็ ผา่ นเครอื ข่ายสารสนเทศ UniNet ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งได้จัดแบ่งประเภทของฐานข้อมูล ได้แก่ ฐานข้อมูลออนไลน์ หนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ หนังสือพิมพ์ออนไลน์ ฐานข้อมูลวิทยานิพนธ์ วารสารวิจัย และเครื่องมือสำหรับ งานวิจัย ทั้งนี้การเข้าใช้บริการการสืบค้นฐานข้อมูลออนไลน์ สามารถเข้าใช้งานได้ท่ี https://arit.dusit.ac.th/2019/data_service ภาพที่ 83 QR Code เข้าใช้งานระบบฐานข้อมลู ออนไลน์ของมหาวิทยาลยั สวนดุสิต 69

ภาพท่ี 84 ภาพเว็บไซตฐ์ านข้อมูลออนไลน์ของมหาวิทยาลัยสวนดสุ ิต ตารางที่ 3 ฐานข้อมลู ออนไลน์ตามโครงการพัฒนาเครือข่ายห้องสมดุ มหาวิทยาลยั ไทย (ThaiLIS) ชื่อฐานขอ้ มูล รายละเอียดฐานขอ้ มูลออนไลน์ QR code 1. TDC เป็นฐานข้อมูล วิทยานิพนธ์ ภาคนิพนธ์ งานวิจัย บทความวารสาร และหนังสือหายาก (ฉบับภาษาไทย - ภาษาอังกฤษ) ในรูปแบบเต็มฉบับ (Full - Text) เป็น เครือข่ายความร่วมมือระหว่างห้องสมุดมหาวิทยาลัยของ รัฐ เอกชน สถาบันฯ ใช้งานภายนอกเครือข่าย (สมัคร สมาชิกลงทะเบียน) 70

ชอื่ ฐานขอ้ มลู รายละเอยี ดฐานขอ้ มูลออนไลน์ QR code 71 2. ACS : American Chemical Society เปน็ ฐานขอ้ มลู รวมบทความ และ งานวิจัยจากวารสารด้านเคมี และ วิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง วารสารอิเล็กทรอนิกส์ (เปิดอ่าน ได้) มีจำนวนวารสารที่บอกรับ ครอบคลุม และสาขาวิชาท่ี เกี่ยวข้อง โดยสำนักพิมพ์ The American Chemical Society บทความวารสาร ( Full -Text) รปู แบบ PDF และ HTML เฉพาะวารสารที่บอกรับตัวเล่มเท่านั้น ให้ข้อมูล 1996 ถึงปัจจุบัน ไม่จำกัดสิทธิ์จำนวนผู้เข้าใช้ การจัดการ ผลลัพธ์ โดยสั่งพิมพ์ อีเมล บันทึกในรูปแบบไฟล์ อิเล็กทรอนิกส์ จัดเก็บในโปรแกรมจัดการบรรณานุกรมได้ โดยตรง เช่น EndNote, Procite จัดเก็บใน EndNote Web 3. ACM Digital Library เปน็ ฐานข้อมูล วารสาร จดหมาย ข่าว และเอกสารในการประชุมวิชาการ มีสารานุกรม คำศัพท์ ด้านคอมพิวเตอร์ วิดีโอ จัดทำโดย ACM ( Association for Computing Machinery) ท า ง ด ้ า น คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี เอกสารประกอบด้วยรายการ บรรณานุกรม สาระสังเขป article reviews และบทความ ฉบับเต็มให้ข้อมูลย้อนหลังตั้งแต่ปี 1985 ถึงปัจจุบัน การ แสดงผลข้อมูล ในรูปแบบ PDF และ HTML การจัดการ ผลลัพธ์ทำได้โดย สั่งพิมพ์ บันทึกในรูปไฟล์อิเล็กทรอนิกส์ จัดเก็บในโปรแกรมจัดการบรรณานุกรมเช่น EndNote, RefWorks เปน็ ตน้ ถ่ายโอนไปจัดเก็บใน EndNote Web 4 . Academic Search Complete เป ็ น ฐ า น ข ้ อมู ล วารสาร วชิ าการ นิตยสาร สง่ิ พมิ พ์ และ วดี ิโอ เป็นเวอร์ช่ัน อ ั พ เ ก ร ด ข อ ง Academic Search Complete ค ร อบ คลุมสหสาขาวิชา ได้แก่ ศึกษาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ประวัติศาสตร์ สังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ ศิลปศาสตร์ กฏหมาย จิตวิทยา ศาสนา นิติศาสตร์ บริหารธุรกิจ วิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี วิทยาศาสตร์ สขุ ภาพ เภสัชศาสตร์ วทิ ยาศาสตรส์ ิ่งแวดล้อม วิทยาศาสตร์

ช่อื ฐานขอ้ มลู รายละเอยี ดฐานข้อมลู ออนไลน์ QR code ทั่วไป ดาราศาสตร์ฯลฯ ประกอบด้วยวารสารฉบับเต็ม ท่ี ไม่อยู่ในการเข้าถึงแบบเปิด ( non – open access ) มีข้อมูลฉบับเต็มมากกว่า 5,000 ชื่อเรื่อง ให้ข้อมูลตั้งแต่ปี 1887-ปัจจบุ นั 5. Emerald Management วารสารอิเล็กทรอนิกส์ อว. บอกรบั และ สำนกั วทิ ยบรกิ ารฯ ม.สวนดสุ ติ บอกรบั (ทเี่ ปน็ ส่วนต่าง) ครอบคลุมสาขาวิชา การจัดการ การบัญชี การเงินการจัดการธุรกิจ โลจิสติกส์ การตลาด การ ท่องเที่ยวและโรงแรม ทรัพยากรมนุษย์ การจัดการความรู้ สิ่งแวดล้อม เศรษฐศาสตร์ และกลยุทธ์ ด้านธุรกิจ ฯลฯ มี จำนวนวารสารไม่น้อยกว่า 210 รายชื่อ ให้ข้อมูลย้อนหลัง ได้ถึงปี 1994 – ปจั จบุ นั มวี ารสาร จำนวน 7 ชือ่ มี Impact Factor และ อีก 39 ชื่อ มีรายชื่อในฐานข้อมูล Scopus การแสดงผล เป็นวารสารฉบับเต็ม (Full-text) รองรับ การใช้งาน HTML PDF การดาวนโ์ หลดไมจ่ ำกัด การใช้งาน สามารถใช้งานไดท้ งั้ ภายในและภายนอกเครอื ข่าย 6. EBSCO Discovery Service (EDS) เครื่องมือสืบค้น ทรัพยากรสารสนเทศ ได้แก่ หนังสือ/วารสาร/ฐานข้อมูล ออนไลน์/ ใช้การสืบค้นแบบ Google search โดยวิธีการ เชื่อมโยงข้อมูลทรัพยากรสารสนเทศท่ีมีอยู่จากแหล่งขอ้ มูล ต่าง ๆ ของมหาวิทยาลัย จะเป็นประโยชน์กับอาจารย์ นกั ศึกษา และนักวจิ ัย ในหนว่ ยงานตา่ ง ๆ ของมหาวทิ ยาลยั เปน็ อยา่ งยิ่ง 7.EBSCOhost Engineering Source เป็นฐานข้อมูล ด้านวิศวกรรมและนักวิจัยด้านวิศวกรรม โดย Collection ครอบคลุมข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาวิศวกรรมจำนวน มาก เช่น วิศวกรรมการบิน ไฟฟ้า โยธา เครื่องกล สิง่ แวดล้อม ซอฟต์แวร์ 1. สิง่ พิมพฉ์ บบั เต็มไม่น้อยกวา่ 1,600 ช่ือเรื่อง 2. ดรรชนีและบทคัดย่อของนิตยสาร วารสารและ สิ่งตพี ิมพท์ างวชิ าการกว่า 3,000 ช่ือเรื่อง 72

ชอื่ ฐานขอ้ มลู รายละเอยี ดฐานข้อมลู ออนไลน์ QR code 8. IEEE/IET Electronic Library (IEL) วารสาร เอกสาร การประชุมวิชาการ (proceeding) และ Conference จาก สำนักพิมพ์ IEEE และ IET ให้ข้อมูล 1988 ถึงปัจจุบัน ครอบคลุมสาขาวิชา วิศวกรรมไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์ คอมพิวเตอร์ วิศวกรรมโยธา อตุ สาหการ ฯลฯ มี Directory online เป็นเครื่องมือช่วยค้น มี Full Text ให้บริการใน ร ู ป แ บ บ PDF ม ี Multimedia เ อ ก ส า ร ป ร ะ เ ภ ท Proceeding เ ช่ น Presentation ใ น ร ู ป แ บ บ ไ ฟ ล์ PowerPoint การจัดการผลลัพธ์ทำได้โดย สั่งพิมพ์ อีเมล บันทึกในรูปไฟล์อิเล็กทรอนิกส์ จัดเก็บในโปรแกรมจัดการ บรรณานุกรม เช่น EndNote, RefWork จัดเก็บใน EndNote Web การเข้าใช้งานครั้งละ 5 คน การใช้งาน ภายนอกเครือข่าย (ใชร้ ะบบ VPN ของมหาวิทยาลยั ฯ) 9. Science Direct เป็นฐานข้อมูลบรรณานุกรมและ เอกสารฉบับเต็ม (Full-text) ของวารสารไม่น้อยกว่า 700 ชื่อเรื่อง จากวารสารของสำนักพิมพ์ในเครือ Elsevier ครอบคลุม 4 สาขาวิชา Agricultural and Biological Sciences, Engineering, Immunology & Microbiology and Social Sciences สามารถดูข้อมูลย้อนหลังตั้งแต่ปี ค.ศ. 2010 ถึงปจั จุบนั 10. Springerlink – journal เป็นฐานข้อมูล หนังสือ/ วารสาร วารสารอิเล็กทรอนิกส์เอกสารฉบับเต็ม ประมาณ 1,130 ชื่อ และหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ปี 2002 ถึง 2004 เป็นสหสาขาวิชา ครอบคลุมสาขาวิชา วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิทยาศาสตร์สุขภาพ วิศวกรรมศาสตร์ การแพทย์ บรรณารักษ์ฯ กฎหมายและสาขาอนื่ ๆ สามารถ สืบค้นและเรียกดูบทความวารสารฉบับ (Full-Text) รูปแบบ PDF และ HTML ได้ข้อมูลตั้งแต่ปี 1997 ถึง ปัจจุบัน ไม่จำกัดสิทธิ์จำนวนผู้เข้าใช้ การจัดการผลลัพธ์ โดย สั่งพิมพ์ อีเมล บันทึกในรูปแบบไฟล์อิเล็กทรอนิกส์ จัดเก็บในโปรแกรมจัดการบรรณานุกรมได้โดยตรง เช่น EndNote, Procite จัดเก็บใน EndNote Web การใช้งาน ทั้งภายในและภายนอกเครือขา่ ย 73

ตารางที่ 4 ฐานข้อมลู ออนไลน์เพมิ่ เติมของมหาวิทยาลยั สวนดสุ ติ ท่บี อกรับ ช่อื ฐานข้อมูล รายละเอียดฐานข้อมลู ออนไลน์ QR code หนังสืออิเล็กทรอนกิ ส์ 1. หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-Book) (ภาษาไทย) ประกอบด้วย งานวิทยานิพนธ์ ดุษฏีนิพนธ์ งานวิจัย หนังสือหายาก หนังสือ ประกอบการเรียนการสอนของมหาวิทยาลัยฯ ที่ผลิตขึ้นเองและ หนงั สอื อ่านประกอบทว่ั ไป ให้ข้อมลู เอกสารฉบบั เตม็ (Full Text) การใช้งานผา่ นระบบมอื ถือ เช่น iOS หรือ Android เปน็ ตน้ 2. หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-Book) (ภาษาอังกฤษ) หนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ จัดซื้อในนามภาคีเครือข่ายความร่วมมือ สำนัก วิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ กลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฏ ได้ใช้หนังสือร่วมกัน ประกอบด้วยหนังสือ ทุกสาขาวิชา ได้แก่ กฎหมาย นิตศิ าสตร์ รฐั ศาสตร์ รัฐประศาสนศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ ฯ วิศวกรรมศาสตร์ แพทยศาสตร์ พยาบาล ศึกษาศาสตร์ มนษุ ยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ บริการธรุ กจิ ฯลฯ สบื ค้นข้อมูลได้ ที่ ระบบสืบค้นหนังสือ/บน Platform EBSCO eBooks และ ระบบสืบค้น EDS (EBSCO Discovery Service) เข้าใช้งานได้ ครั้งละ 1 คน เท่านั้น 3. หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-Book) (ภาษาอังกฤษ) บน Platform iGLibrary (iG Publishing) หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ จัดซื้อในนามภาคีเครือข่ายความร่วมมือ สำนักวิทยบริการและ เทคโนโลยีสารสนเทศ กลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฏได้ใช้หนังสือ ร่วมกัน ประกอบด้วยหนังสอื ทุกสาขาวิชา ได้แก่ วิทยาศาสตร์ฯ วิศวกรรมศาสตร์ แพทยศาสตร์ พยาบาล ศึกษาศาสตร์ มนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ บริการธุรกิจ ฯลฯ สบื คน้ ขอ้ มลู ได้ ที่ ระบบสืบค้นหนังสือบน Platform iGLibrary (iG Publishing) และ ระบบสืบค้น EDS (EBSCO Discovery Service) 4.eBookLibrary Nursing Cluster เป็นฐานข้อมูลหนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ สาขาพยาบาลศาสตร์ การใช้งานไม่จำกัดจำนวน ผู้ใช้ ดาวน์โหลดหนงั สือเป็น PDF ไฟล์ และสั่งพมิ พ์ทั้งเล่มในครั้ง เดียว สามารถอ่านหนงั สือไดท้ ้งั ออนไลน์ และ ออฟไลน์ 74

ชอื่ ฐานข้อมูล รายละเอียดฐานข้อมลู ออนไลน์ QR code ฐานขอ้ มูลสาขาพยาบาล 5. Cinahl Plus with Fulltext ครอบคลุมในสาขาวิชาการพยาบาล สหเวชศาสตร์ และการสาธารณสุข และงานวจิ ยั สามารถสบื ค้นขอ้ มลู ที่เป็นวารสารฉบับเต็มได้มากกว่า 770 ชื่อเรื่อง มีบทความฉบับเต็ม ไม่น้อยกว่า 600,000 บทความ ข้อมูลย้อนหลัง ปี ค.ศ. 1937 จนถึง ปจั จบุ นั มีหนังสอื อิเล็กทรอนิกส์ จำนวนมากกว่า 275 เล่ม การแสดง รูปแบบ HTML/ PDF File เข้าใช้งานได้ทั้งภายในและภายนอก มหาวทิ ยาลยั (คณะพยาบาลศาสตรบ์ อกรับ) 6. Nursing Reference Plus เป็นฐานข้อมูลทางด้านพยาบาล ศาสตร์และสาธารณสุขศาสตร์ ให้ข้อมูลเกี่ยวกับการตรวจรักษา โรค ทักษะและขั้นตอนการพยาบาลผู้ป่วย ข้อมูลยา การทดลอง ในห้องแล็บ Best practice และอื่น ๆ สืบค้นข้อมูลฉบับเต็ม มากกวา่ 1,000 ชอื่ เร่ือง (คณะพยาบาลศาสตร์บอกรับ) ฐานขอ้ มลู หนงั สอื พิมพอ์ อนไลน์ 7. iQNewsClip สรุปข่าวออนไลน์ จากหนังสือพิม พ์ ภายในประเทศฉบับภาษาไทยและภาษาอังกฤษ กว่า 30 ฉบับ ปี 2560 ได้วารสารเพิ่มเติม 3 ฉบับ ได้แก่ การเงินธนาคาร มันน่ี แอนด์ เวลธ์ และ อีคอนนิวส์ เลือกดูได้ทั้งภาพสีและขาว-ดำ จัดเป็นหมวดหมู่ พร้อมฟังก์ชั่น ในการสืบค้นข้อความฉบับเต็ม (Full Text Search) ค้นหาเฉพาะชิ้นข่าว ที่ต้องการได้อย่างง่าย สะดวก และรวดเร็ว ให้ข้อมลู ปัจจบุ ัน (การใชง้ านเขา้ ได้พร้อมกัน ครง้ั ละ 5 คนเทา่ นนั้ ) (สวนดุสติ โพล) ฐานขอ้ มูลออนไลน์ 8 . Emerald Management PLUS, แ ล ะ Emerald Management วารสารอิเล็กทรอนิกส์ อว.บอกรับ และ สำนัก วิทยบริการฯ ม.สวนดุสิตบอกรับ (ที่เป็นส่วนต่าง) ครอบคลุม สาขาวิชาด้านการจัดการ การจัดการเชิงกลยุทธ์ การบัญชี บริหารธุรกิจ และการเงินธุรกิจ เศรษฐศาสตร์ ทรัพยากรมนุษย์ การจัดการความรู้ ฯลฯ มีวารสารออนไลน์ ประมาณ 200 ช่ือ เร่ือง มีฉบับเต็มมากวา่ 120,000 รายการ ปี 1994-ปจั จุบนั และ มีสาระสังเขป ปี 1989 ปัจจุบัน มีวารสารเด่นๆ ได้แก่ management Decision, EuropeanJournal, Organization Development 75

ช่อื ฐานข้อมูล รายละเอยี ดฐานขอ้ มลู ออนไลน์ QR code เครื่องมือสำหรบั งานวจิ ยั 9. อักขราวิสุทธิ์ โปรแกรม/การตรวจสอบการลอกเลียนงาน วรรณกรรมด้วยระบบอักขราวิสุทธิ์ เป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ สำหรับใช้ในการตรวจสอบการลอกเลียนงานวรรณกรรมผลงาน ต่าง ๆ เช่น วิทยานิพนธ์ สารนิพนธ์ รายงานวิจัย วารสารและ เอกสารอิเล็กทรอนิกส์อื่น ๆ โปรแกรม อักขราวิสุทธิ์น้ี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้พัฒนาขึ้น โดย ภาควิชาวิศวกรรม คอมพิวเตอร์คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับ ศูนย์วิจัยการประมวลผลภาษาและวัจนะ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เพื่อตรวจสอบ การคัดลอกภาษาไทยโดยเฉพาะ และมีการพัฒนาต่อเนื่องให้ สามารถตรวจสอบภาษาอังกฤษได้ด้วย การเข้าใช้งานสามารถ เขา้ ถึงข้อมลู ฐานข้อมูลวทิ ยานิพนธ์จากมหาวทิ ยาลัยที่ร่วมลงนาม ความร่วมมือฯ และฐานข้อมูลวิทยานิพนธ์จากสำนักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา (สำนักวิจัยฯ มหาวิทยาลัยสวน ดุสิตร่วมลงนาม) 10. EndNote โปรแกรม Endnote เป็นโปรแกรมช่วยในการ จัดการเอกสารอา้ งอิง จัดการทางบรรณานุกรม (Biliography or reference) ทั้งการจัดเก็บและการใส่รายการอ้างอิง (citation) สำหรับการทำรายงาน วิทยานิพนธ์/ ดุษฎีนิพนธ์ และต้นฉบับ บทความวิจยั 11. SCOPUS ฐานข้อมูลบรรณานุกรมและสาระสังเขป ครอบคลมุ เนอื้ หาทกุ สาขาวิชา รวมถึงสาขาวทิ ยาศาสตร์กายภาพ และวิทยาศาสตร์การแพทย์ รูปแบบการสืบค้นคล้ายกับ ฐานข้อมูล Science Direct เนื่องจากเป็นฐานข้อมูลของ Elsevier Science เชน่ กนั เพยี งแต่ Scopus จะไม่มีเอกสารฉบบั เต็ม แต่จะมีการเชื่อมโยงให้ หากวารสารที่ค้นพบใน Scopus เป็นวารสารที่สำนักหอสมุด บอกรับในรูปของ E-journal ซึ่งอาจ เป็น Science Direct, Springer Link เป็นต้น เมื่อคลิก Link ดังกล่าวแล้วจะสามารถเรียกดู Full-text ได้ 76

ชอื่ ฐานขอ้ มลู รายละเอยี ดฐานขอ้ มลู ออนไลน์ QR code 12. Turn-it-in เป็นฐานข้อมูลที่ใหบ้ ริการตรวจสอบเพื่อปอ้ งกนั การละเมิดลิขสิทธิ์สิ่งพิมพ์ออนไลน์ (Plagiarism Checking) พร้อมทั้งชี้แหล่งข้อมูล ที่ปรากฏว่าซ้ำ (จากการคัดลอกและ ดัดแปลงจากงานผู้อื่น) โดยแสดงรายการเป็นแถบสี และระดับ เปอร์เซ็นต์การเทยี บซำ้ ซึง่ รายงานตน้ ฉบับ (Originality Report) สามารถทำให้ผู้สอนสามารถติดตาม และแปลผล เพื่อ ประกอบการประเมินผลงานชิ้นนั้นได้อย่างสะดวก (บัณฑิต วิทยาลัยจัดซื้อ) ตดิ ต่อสอบถาม 02-2444146-7 สำหรับนักศึกษาท่ีต้องการใช้บริการฐานข้อมูลจากทบ่ี ้านหรือภายนอกมหาวิทยาลัยท่ีไม่ได้ใช้ ระบบเครอื ข่ายอินเทอรเ์ นต็ ของมหาวทิ ยาลัยสวนดุสติ สามารถเข้าถงึ ฐานข้อมูลไดผ้ า่ นระบบเครือข่าย เสมอื น (VPN) ผา่ นทาง https//vpn.dusit.ac.th ภาพท่ี 85 QR Code เข้าใช้งานระบบเครือขา่ ยเสมือน (VPN) ของมหาวิทยาลัยสวนดสุ ติ ภาพที่ 86 บริการเครือขายเสมือน (VPN) ของมหาวิทยาลัยสวนดสุ ิต 77

สืบคน้ หนงั สอื และทรพั ยากรการเรยี นรดู้ ว้ ย SDU OPAC การสืบค้นหนังสอื ภายในห้องสมุด และทรัพยากรสารสนเทศของมหาวิทยาลยั สวนดสุ ิต โดย สามารถใส่คำค้น เช ่น ช ื่อเรื่อง ช ื่อผู้แต่ง และคำสำคัญที่ต้องการค้นหา ได้ท่ี http://www.dusit.ac.th/learning-resources ภาพท่ี 87 QR Code เข้าใชง้ านการสบื ค้นหนงั สือ และ ทรัพยากรการเรียนรู้ด้วย SDU OPAC กรอกคำค้นทตี่ อ้ งการในช่อง search เชน่ คำว่า “อาหาร” ภาพท่ี 88 ภาพตวั อยา่ งการสืบคน้ ขอ้ มลู 78

ภาพที่ 89 ภาพแสดงรายการหนงั สอื ท่เี กี่ยวข้องกบั คำคน้ ระบบจะแสดงรายละเอยี ดของหนงั สือ และสถานท่ที ่สี ามารถยืมใช้งานได้ ภาพที่ 90 ภาพแสดงสถานะหนงั สอื ท่ีสามารถใหบ้ รกิ าร ยกตวั อย่าง สถานะของหนังสอื เชน่ SDU Library [Call number: TX551 ป461 2563] (2) หมายความว่า สถานะหนังสืออยู่ ณ ห้องสมุดในมหาวิทยาลัยสวนดุสิต หมวด TX551 ป461 2563 จำนวน 2 เล่ม และ ศูนย์วิทยาศาสตร์ [Call number: TX551 ป461 2563] (1). หมายความว่า สถานะหนงั สอื อยู่ ณ ศูนยว์ ิทยาศาสตร์ หมวด TX551 ป461 2563 จำนวน 1 เล่ม 79

ซึ่งนักศึกษาสามารถยืมหนังสอื ตามสถานท่ีดังกล่าวได้ด้วยตนเอง และหากหนังสอื สถานะอยู่ ต่างพื้นที่ของสถานที่เรียน นักศึกษาสามารถยืมคืนหนังสือได้ผ่านบริการ Inter Library Loan โดย ติดต่อผ่านเจ้าหน้าที่ ณ จุดให้บริการ อาคารสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น 2 โทรศพั ท์ 02 244 5319 หากนักศึกษาต้องการสืบค้นหนังสือและฐานข้อมูลสามารถใช้บริการ One search ผ่าน บริการห้องสมุดออนไลน์ผ่านระบบ SDU Discovery Service (EDS) เป็นบริการ One Search ที่เชื่อมโยงฐานข้อมูลห้องสมุดและฐานข้อมูลทรัพยากรสารสนเทศของห้องสมุด เช่น ทรัพยากร หนังสือ ฐานข้อมูลออนไลน์ ประเภท e-Book วารสาร บทความ และงานวิจัย เมื่อใส่คำค้น ระบบจะ ทำการสืบค้นข้อมูลไปยังทรัพยากรสารสนเทศทุกฐาน สามารถเข้าใช้บริการ ได้ท่ี (https://arit.dusit.ac.th/2019) สบื ค้นหนงั สือผา่ น Matrix Application ระบบสืบค้นทรัพยากรห้องสมุด (Matrix Library) เป็น Application สำหรับสืบค้น ทรัพยากรห้องสมุด ศึกษาวิธีการใช้งานได้ที่ https://arit.dusit.ac.th/2019/application ซึ่งมี เนื้อหา ดงั น้ี 1. ค้นหาหนงั สอื และทรัพยากรจากฐานขอ้ มลู ห้องสมดุ 2. เข้าสู่ระบบเพ่อื ดูสรปุ บัญชีและรายละเอยี ดสว่ นตัวของสมาชิก 3. ระงบั / ตอ่ อายุหนังสอื และทรัพยากร 4. ข่าว / ประกาศห้องสมดุ 5. แหลง่ ขอ้ มลู ออนไลน์ ภาพท่ี 91 ภาพการ Login Matrix Application 80

สว่ นที่ 5 พนื้ ท่ีสรา้ งสรรคก์ ารเรยี นรู้ การพัฒนาระบบการเรียนรู้และเทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อสนับสนุนการเรียนรู้ตลอดชีวิตที่ สามารถเข้าถึงได้จากทุกที่ทุกเวลา เป็นบริการพื้นที่การเรียนรู้ออนไลน์ของมหาวิทยาลัยสวนดุสิตใน รูปแบบ Smart Spaces รองรับการเรียนรู้ในยุค Disruption ที่เทคโนโลยีเข้ามามีบทบาททำให้การ เรียนรู้เปลี่ยนแปลงไป อีกทั้งยังเน้นการพัฒนาทักษะ Digital Literacy ของนักศึกษาเพื่อขับเคลื่อน มหาวิทยาลัยสวนดุสิต 5.0 และเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการด้านเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการเรียนรู้ Smart Spaces จึงเป็นพื้นที่การเรียนรู้ออนไลน์ของมหาวิทยาลัยสวนดุสิต เปิดให้บริการทั้งใน มหาวิทยาลัยผ่าน Café Library แบบ Co- Working Spaces โดยเน้นการให้บริการสืบค้นความรู้ จากแหล่งเรียนรู้ออนไลน์ สำหรับผู้ที่ต้องการใช้พื้นที่การเรียนรู้ออนไลน์ Smart Spaces จาก ภายนอกมหาวิทยาลัย สามารถใช้บริการผ่านเว็บไซต์มหาวิทยาลัยสวนดุสิตได้ ยกเว้นบริการ ฐานข้อมูลออนไลน์ และหนังสอื อิเล็กทรอนิกส์ (e-Book) ต้องทำการ VPN ก่อน จึงจะสามารถเข้ามา สืบค้นฐานข้อมลู และอ่านหนังสอื ออนไลนไ์ ด้ ภาพท่ี 92 ภาพ Smart Spaces และ Smart Learning รา้ น Café Library รศ.ดร.ศิโรจน์ ผลพันธิน อธิการบดีมหาวิทยาลยั สวนดุสิต กล่าวถึง ร้าน Café Library ไว้วา่ เดิม 10 ปีก่อน Café Library ของมหาวิทยาลัยสวนดุสิต ตั้งขึ้นเป็นที่แรกในสำนักวิทยบริการและ เทคโนโลยสี ารสนเทศ ทหี่ อ้ งสมดุ บรเิ วณช้นั 2 ชอื่ cafeteria แตไ่ มค่ อ่ ยเป็นที่นิยมหรือยอมรับ เพราะ

คนสว่ นใหญย่ ังยดึ ติดกับภาพห้องสมุดที่ต้องเงยี บไว้อ่านหนงั สือเท่าน้นั จึงไดใ้ หน้ โยบายว่าควรจะเป็น สถานท่ีเรียนรู้ พดู คยุ นัดพบเจอ เพ่อื ใหเ้ กิดการสื่อสารกัน โดยสร้างบรรยากาศให้เป็นรูปแบบการจิบ กาแฟ นัง่ คยุ กันไปจบิ กาแฟและกนิ ขนมอรอ่ ย ๆ กนั ไปแบบผอ่ นคลายไม่เครียด ดงั น้นั จงึ มอบนโยบาย ให้ทุกศูนย์การศึกษาลำปาง ตรัง สุพรรณบุรี นครนายก หัวหิน ให้สร้าง Café Library เพื่อรองรับใน อนาคตด้วย โดยศูนยก์ ารศกึ ษาลำปาง ได้สร้างเสร็จสมบูรณ์ ออกแบบสวยงาม จะเห็นได้ว่า ถึงแม้จะ มี Café มากมายในมหาวิทยาลัย แต่ละ Café ก็มีจุดขายและจุดแข็งในแบบของตัวเอง เพราะ ผู้รับผิดชอบในการดูแลคนละหน่วยงาน ก่อให้เกิดความแตกต่างและมีรูปแบบไม่เหมือนกัน ผู้บริโภค สามารถเลือกได้ตามรสนิยมและความพึงพอใจ แต่ละแบรนด์พยายามทำของตัวเองออกมาให้ดีที่สุด ส่วนในอนาคตจะเกิด Café อีกหรือไม่ ให้เป็นเรื่องของอนาคต แต่การพัฒนาต่อยอดจะได้เห็นอย่าง แน่นอน ดังนั้น ทุก ๆ Café ที่สร้างขึ้นจะมีแนวคิดพื้นฐานมาจาก Café By Home ที่ได้ปรับปรุง สำนักงานอธิการบดีเก่าให้เป็น Café Library ในรูปใหม่ มีความทันสมัย ตกแต่งสไตล์โมเดิร์น มีโต๊ะ เก้าอี้ ปลั๊กไฟ และอินเทอร์เน็ต Wi-Fi ไว้บริการ พร้อมจำหน่ายขนมเบเกอรี่ เครื่องดื่ม อาหาร ไอศกรีม ให้แก่บุคลากร นักศึกษา และบุคคลภายนอกที่ได้มีโอกาสมาเยือนมหาวิทยาลัยในราคา มิตรภาพและย่อมเยา เพราะจุดประสงค์หลักไม่ได้แสวงหาผลกำไรในเชิงธุรกิจ เพียงแต่สร้างไว้เป็น สถานทแ่ี ลกเปลย่ี นความรู้ และส่อื สารกนั สำหรบั Café Library ซึ่งผทู้ ่ีเข้ามาในสถาบันการศึกษาแห่ง นส้ี ามารถเลอื กใชบ้ รกิ ารได้ตามความพอใจ โดย Café Library มีให้บรกิ ารตามสถานที่ต่าง ๆ ดงั น้ี 1) 189 café บริเวณตึกศนู ย์พัฒนาทนุ มนษุ ย์ 82

2) HOME Bakery ขา้ งสำนกั งานอธิการบดีเดิม 3) Café by HOME สำนักงานอธิการบดีเดมิ 83

4) B Connect ฝ่งั ตรงข้าม Café Amazon 5) Café Amazon ขา้ งธนาคารกรงุ เทพ 6) Poll Café ชนั้ 1 บรเิ วณสำนกั งานมหาวิทยาลยั 84

7) Dusit Bistro อาคาร 2 ชั้น 3 8) ภายในโรงอาหาร (ครวั 12) อาคาร 12 85

9) 295 Meeting Point ลานสวนดุสติ โพล 10) ภายในโรงอาหาร (ครัว 11) อาคาร 11 11) La-or Snack บรเิ วณโรงเรียนสาธติ ละอออทุ ศิ 86

12) อาคารบัณฑิตวิทยาลัย 13) ศูนยว์ ิทยาศาสตร์ ถนนสิรินธร 87


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook