Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือเทคโนโลยีดิจิทัลสำหรับการเรียนรู้

คู่มือเทคโนโลยีดิจิทัลสำหรับการเรียนรู้

Published by Master of Education Suandusit, 2022-07-06 02:40:56

Description: คู่มือเทคโนโลยีดิจิทัลสำหรับการเรียนรู้

Search

Read the Text Version

ค่มู ือเทคโนโลยดี จิ ิทลั สำหรบั การเรียนรู้

ค่มู อื เทคโนโลยดี ิจทิ ลั สำหรับการเรยี นรู้ จัดทำโดย : มหาวิทยาลยั สวนดสุ ิต ปีที่พิมพ์ : 2565 พิมพท์ ่ี : ศนู ยบ์ รกิ ารส่อื และสงิ่ พิมพก์ ราฟฟิคไซท์ มหาวิทยาลยั สวนดุสติ 295 ถนนนครราชสีมา เขตดุสิต กรุงเทพฯ 10300

บทนำ จากความก้าวหน้าของเทคโนโลยี องค์กรต่าง ๆ ได้นำเทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Technology) เข้ามาประยุกต์ทำให้เกิดประสิทธิภาพในการทำงาน มหาวิทยาลัยสวนดุสิตได้เล็งเห็น ว่าการนำเทคโนโลยีดิจิทัลมาประยุกต์ใช้ในการพัฒนาการเรียนรู้ให้กับนักศึก ษาจะเป็น การเตรยี มความพร้อมนักศึกษาให้มีประสบการณ์ในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล สอดคลอ้ งกับชีวิตวิถีใหม่ จึงได้พัฒนาเทคโนโลยีดิจิทัลและสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ไว้สำหรับนักศึกษา เช่น ระบบบริหารจัดการ เรียนรู้ แหล่งเรียนรู้ออนไลน์ พื้นที่จัดการเรียนรู้แบบใหม่ ห้องเรียนออนไลน์ เป็นต้น ซึ่งสามารถ รองรบั การจดั การเรยี นการสอนในรูปแบบ On-site Online และ Hybrid Learning เ อ ก ส า ร ฉ บ ั บ น ี ้ จ ั ด ท ำ ข ึ ้ น ส ำ ห ร ั บ น ั ก ศ ึ ก ษ า ข อ ง ม ห า ว ิ ท ย า ล ั ย โ ด ย ม ี เ จ ต น า ร ม ณ์ ที่จะให้นักศึกษาใช้เป็นคู่มือในการเข้าใช้ระบบและเทคโนโลยีต่าง ๆ ที่มหาวิทยาลัยได้พัฒนาขึ้น เพื่อจัดการเรียนรู้ และจัดเตรียมไว้ให้สำหรับการศึกษา ค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติมในการศึกษา ตามระบบของมหาวิทยาลัย เพือ่ ให้เกิดประโยชน์สงู สุดของการเรียนรู้ท่นี ักศึกษาจะต้องศึกษาเพิ่มเติม ดว้ ยตนเอง หวังว่าเอกสารฉบับนี้คงจะเป็นประโยชน์สำหรับนักศึกษาในการเรียนรู้ผ่านเทคโนโลยี ของมหาวทิ ยาลัย มหาวิทยาลัยสวนดุสิต



สารบัญ หนา้ บทนำ (1) สารบญั (3) สารบญั ภาพ (5) สารบัญตาราง (9) สว่ นที่ 1 การเรยี นร้ใู นมหาวิทยาลยั สวนดุสิต 1 1 การเรยี นรู้แบบ: Online On-site On-Air Hybrid 2 การเตรยี มตวั สำหรบั การเรยี นรู้ 4 ลงทะเบยี นเรยี นผ่านระบบบริหารการศกึ ษาและการใชง้ าน SDU 4S Application 16 หอ้ งเรียนออนไลน์ SDU Online Learning 26 หอ้ งเรยี น Hybrid Learning 37 สว่ นท่ี 2 ระบบการจัดการเรยี นรู้ 38 ระบบการจัดการเรียนรู้ WBSC - LMS 48 สอื่ สารผา่ น MS Teams 54 เสรมิ ทักษะการเรียนรผู้ า่ นระบบ SDU Online Course 57 เสริมทกั ษะวชิ าชีพผ่านระบบ SDU MOOC 59 ส่วนที่ 3 บรกิ ารดิจทิ ลั 59 บริการ Wi-Fi Zone 62 บริการ eduroam 63 บริการ IT services 64 การทำงานรว่ มกันบนระบบ Cloud ของ Microsoft 365 67 สว่ นท่ี 4 แหลง่ เรยี นรู้ออนไลน์ 68 อา่ นหนงั สือผา่ นระบบ e-Book 69 สบื คน้ งานวิจัยและทรัพยากรสารสนเทศผา่ นฐานขอ้ มลู ออนไลน์ 78 สบื ค้นหนังสือและทรพั ยากรการเรียนรู้ด้วย SDU OPAC 80 สบื ค้นหนงั สอื ผ่าน Matrix Application 81 ส่วนที่ 5 พน้ื ทส่ี รา้ งสรรค์การเรยี นรู้ 81 ร้าน Café Library 91 ห้องสมุด SDU Library 94 พนื้ ที่การทำกิจกรรม Activity space 99 ดัชนี (INDEX)



สารบัญภาพ หนา้ ภาพท่ี 1 ภาพการจัดการเรยี นรู้ในมหาวิทยาลัยสวนดสุ ติ 1 ภาพท่ี 2 ภาพเคร่ืองมือและอุปกรณส์ นับสนุนการเรยี นออนไลน์ 3 ภาพที่ 3 วิธีการใชง้ าน Wi-Fi ของมหาวทิ ยาลยั 4 ภาพที่ 4 แสดงหนา้ จอการเข้าใชง้ านระบบ Academic 5 ภาพท่ี 5 แสดงหนา้ จอหน้าแรกระบบ(สิทธิ์นกั ศึกษา) 6 ภาพที่ 6 แสดงหนา้ จอลงทะเบียน 7 ภาพท่ี 7 แสดงหน้าจอการค้นหารายวิชาตามแผนการเรียน 7 ภาพที่ 8 แสดงหน้าจอผลการเลือกรายวชิ า 8 ภาพท่ี 9 แสดงหน้าจอตรวจสอบผลการลงทะเบยี น 8 ภาพที่ 10 แสดงหนา้ จอการตรวจสอบขอ้ มูลแบบทกุ ภาคการศกึ ษา 9 ภาพท่ี 11 แสดงหน้าจอการตรวจสอบขอ้ มลู แบบเฉพาะภาคการศึกษา 9 ภาพที่ 12 แสดงรายงานการลงทะเบียนเรียน มสด.13.2 10 ภาพที่ 13 แสดงหนา้ จอข้อมูลการนดั หมาย 10 ภาพท่ี 14 แสดงหน้าจอรายละเอียดการนดั หมาย 11 ภาพท่ี 15 แสดงหน้าจอยืนยันการเข้ารว่ ม 11 ภาพที่ 16 แสดงหน้าจอยนื ยันการไม่เขา้ ร่วม 11 ภาพท่ี 17 แสดงหนา้ จอตารางเรียน/ตารางสอบ 12 ภาพที่ 18 แสดงหนา้ จอข้อมูลรายละเอียดวชิ า 12 ภาพท่ี 19 แสดงหนา้ จอข้อมูลรายละเอยี ดตอนเรียน 13 ภาพที่ 20 แสดงหนา้ จอค้นหาตารางเรียนออนไลน์ 13 ภาพที่ 21 แสดงหนา้ จอตารางเรยี นออนไลน์ ทผ่ี ่านมาแลว้ 14 ภาพท่ี 22 แสดงหน้าจอข้อมูลผลการเรยี น 14 ภาพที่ 23 แสดงรายงานผลการศกึ ษา (มสด.29) 15 ภาพที่ 24 ภาพ SDU 4S Application 16 ภาพท่ี 25 หนา้ จอระบบจองหอ้ งเรยี นออนไลน์ Room Booking 36 ภาพที่ 26 QR Code การเข้าระบบจองห้องเรยี นออนไลน์ Room Booking 36 ภาพท่ี 27 SDU Online Education Platform 37 ภาพที่ 28 การจัดการเรยี นรู้ โดยใช้ระบบ WBSC - LMS รว่ มกบั ระบบ Microsoft Teams 37 ภาพที่ 29 QR Code คู่มือการใชง้ านระบบการจัดการเรยี นรู้ WBSC – LMS สำหรับนกั ศึกษา 38 ภาพที่ 30 หน้าจอการ Log in เขา้ ใชง้ านระบบ WBSC - LMS 38

(6) สารบญั ภาพ (ต่อ) หนา้ ภาพที่ 31 หน้าจอ Dashboard หลงั จากการ Log in เขา้ ใช้งานระบบ WBSC - LMS 39 ภาพท่ี 32 หน้าจอบทเรยี นเม่ือเขา้ ส่รู ายวชิ า 39 ภาพที่ 33 หวั ข้อกจิ กรรมที่ได้รบั มอบหมาย 40 ภาพที่ 34 ปุ่ม Add submission เพอื่ ส่งกจิ กรรมที่ไดร้ บั มอบหมาย 40 ภาพที่ 35 หนา้ จอการส่งไฟลข์ อ้ มลู ในกิจกรรมทีไ่ ดร้ บั มอบหมาย 41 ภาพท่ี 36 หน้าจอการส่งงานทีไ่ ดร้ ับมอบหมายเป็นข้อความ 41 ภาพท่ี 37 หนา้ จอเม่ือสง่ งาน กจิ กรรมท่ีได้รบั มอบหมายสำเรจ็ 42 ภาพท่ี 38 การออกจากระบบการจดั การเรียนรู้ WBSC - LMS 42 ภาพที่ 39 ภาพตวั อย่างหวั ข้อแบบทดสอบ 43 ภาพที่ 40 ภาพตัวอยา่ งหนา้ จอก่อนคลกิ เข้าทำแบบทดสอบ 43 ภาพท่ี 41 ภาพตัวอยา่ งหน้าจอการคลิกเข้าทำแบบทดสอบ 43 ภาพท่ี 42 ภาพตัวอย่างแบบทดสอบ แบบ Multiple Choice 44 ภาพท่ี 43 ภาพตวั อย่างการคลกิ ส่งแบบทดสอบ 44 ภาพที่ 44 ภาพตวั อย่างหน้าสรปุ การทำแบบทดสอบ 45 ภาพที่ 45 ภาพตัวอยา่ งการคลิกยนื ยันการส่งแบบทดสอบ 45 ภาพที่ 46 ภาพตัวอย่างหนา้ แสดงผลเสร็จสนิ้ การทำแบบทดสอบ 46 ภาพที่ 47 ภาพตวั อย่างแบบทดสอบ แบบพมิ พค์ ำตอบ หรือ แนบไฟล์ 46 ภาพที่ 48 ภาพตวั อยา่ งหน้าสรปุ การทำแบบทดสอบ 47 ภาพที่ 49 ภาพตวั อย่างการคลกิ ยนื ยนั การส่งแบบทดสอบ 47 ภาพท่ี 50 ภาพตัวอย่างหนา้ แสดงผลเสรจ็ สิ้นการทำแบบทดสอบ 47 ภาพที่ 51 ลกั ษณะการใช้งาน MS Teams 48 ภาพท่ี 52 เมนูสำหรบั ใชใ้ นการเรียนผ่าน MS Teams 49 ภาพที่ 53 QR Code สำหรบั ดาวนโ์ หลด Microsoft Teams บนระบบปฏบิ ตั กิ ารแอนดรอยด์ 50 ภาพท่ี 54 QR Code สำหรบั ดาวน์โหลด Microsoft Teams บนระบบปฏิบัติการไอโอเอส 50 ภาพท่ี 55 การ Sign in เพื่อลงชอ่ื เขา้ ใช้งาน Microsoft Teams 51 ภาพที่ 56 ระบชุ ื่อผ้ใู ช้งานในรปู แบบอเี มลของมหาวิทยาลัย 51 ภาพท่ี 57 ระบรุ หัสผา่ น“Enter password” 52 ภาพที่ 58 หนา้ จอแนะนำการใช้ระบบ 52 ภาพที่ 59 หน้าจอระบบ Microsoft Teams พรอ้ มใช้งาน 53 ภาพที่ 60 ปฏทิ ิน (Calendar) เพอ่ื เข้าเรียนออนไลน์ 53

(7) สารบัญภาพ (ต่อ) หน้า ภาพท่ี 61 การเขา้ เรียนออนไลน์ผา่ น Microsoft Teams 54 ภาพท่ี 62 QR Code เข้าระบบ SDU Online Course 54 ภาพท่ี 63 หน้าจอระบบ SDU Online Course 55 ภาพที่ 64 หนา้ จอแสดงบทเรียนทเ่ี ปิดใน ระบบ SDU Online Course 55 ภาพท่ี 65 หนา้ จอแสดงการ Log in เข้าใช้งาน ระบบ SDU Online Course 56 ภาพท่ี 66 หน้าจอแสดงเน้ือหาบทเรียน ระบบ SDU Online Course 56 ภาพท่ี 67 QR Code เข้าระบบ SDU MOOC 57 ภาพท่ี 68 หนา้ จอแสดงบทเรียนทเี่ ปดิ ใน ระบบ SDU MOOC 57 ภาพท่ี 69 หน้าจอแสดงการ Log in เข้าใช้งาน ระบบ SDU MOOC 58 ภาพท่ี 70 หนา้ จอบทเรยี นเมื่อเข้าสู่รายวิชา 58 ภาพท่ี 71 ภาพแสดงการเขา้ ใชง้ าน Wi-Fi ดว้ ย SSID Dusit-Secure 59 ภาพที่ 72 ภาพแสดงรปู แบบ Account Internet 60 ภาพที่ 73 ภาพการทำงานของบริการ eduroam 62 ภาพที่ 74 QR Code เข้าหน้าบริการ IT Service 63 ภาพที่ 75 ภาพบรกิ าร IT Services 63 ภาพที่ 76 การใช้งาน Microsoft 365 บนอุปกรณต์ า่ ง ๆ 64 ภาพที่ 77 รปู แบบอเี มล และ รหสั ผา่ น 64 ภาพที่ 78 การทำงานร่วมกนั บน Microsoft 365 65 ภาพที่ 79 QR Code เขา้ ใช้งานแหล่งเรยี นรู้ กับ ส่อื ออนไลน์ 67 ภาพที่ 80 ภาพแหลง่ เรียนรู้ออนไลนม์ หาวทิ ยาลยั สวนดสุ ิต 67 ภาพที่ 81 QR Code เขา้ ใช้งานระบบหนงั สอื อิเลก็ ทรอนิกส์ (e-Book) ของมหาวทิ ยาลัยสวนดสุ ิต 68 ภาพท่ี 82 เว็บไซต์ e-Book ของมหาวทิ ยาลัยสวนดุสิต 69 ภาพท่ี 83 QR Code เขา้ ใชง้ านระบบฐานข้อมลู ออนไลนข์ องมหาวทิ ยาลยั สวนดุสติ 69 ภาพท่ี 84 ภาพเว็บไซต์ฐานข้อมลู ออนไลน์ของมหาวิทยาลัยสวนดุสิต 70 ภาพท่ี 85 QR Code เขา้ ใช้งานระบบเครือขา่ ยเสมอื น (VPN) ของมหาวิทยาลัยสวนดสุ ติ 77 ภาพท่ี 86 บริการเครือขายเสมือน (VPN) ของมหาวิทยาลยั สวนดุสิต 77 ภาพที่ 87 QR Code เขา้ ใช้งานการสืบคน้ หนังสือ และ ทรัพยากรการเรยี นรู้ด้วย SDU OPAC 78 ภาพที่ 88 ภาพตวั อย่างการสืบค้นข้อมลู 78 ภาพที่ 89 ภาพแสดงรายการหนงั สอื ท่เี กี่ยวข้องกบั คำคน้ 79 ภาพที่ 90 ภาพแสดงสถานะหนังสอื ท่ีสามารถใหบ้ ริการ 79

(8) สารบญั ภาพ (ต่อ) หนา้ ภาพที่ 91 ภาพการ Login Matrix Application 80 ภาพที่ 92 ภาพ Smart Spaces และ Smart Learning 81 ภาพที่ 93 ภาพแสดงการใช้งาน Dusit Café สำหรับการสบื คน้ แหล่งเรยี นรูอ้ อนไลน์ 90 ภาพท่ี 94 ภาพแสดงการใชง้ าน Dusit Café สำหรับการสบื ค้นหนงั สอื อเิ ล็กทรอนิกส์ 90

สารบัญตาราง หนา้ ตารางท่ี 1 ข้อควรระวงั ระหว่างการทำแบบทดสอบ สำหรบั นกั ศกึ ษา 48 ตารางที่ 2 เคร่ืองมือสำหรับสรา้ งชน้ิ งานการทำงานร่วมกันบน Cloud 65 ตารางที่ 3 ฐานข้อมูลออนไลน์ตามโครงการพัฒนาเครือข่ายห้องสมดุ มหาวิทยาลยั ไทย (ThaiLIS) 70 ตารางท่ี 4 ฐานข้อมูลออนไลนเ์ พมิ่ เติมของมหาวทิ ยาลัยสวนดสุ ติ ทบ่ี อกรบั 74



ส่วนที่ 1 การเรียนรู้ในมหาวิทยาลยั สวนดุสติ ภาพท่ี 1 ภาพการจัดการเรยี นรู้ในมหาวิทยาลัยสวนดุสิต จากสถานการณ์การจัดการเรียนการสอนในยุค New Normal มหาวิทยาลัยสวนดุสิต จัดรูปแบบการเรียนรู้แบบวิถีใหม่ให้กับนักศึกษาที่เข้ามาศึกษาหาความรู้ โดยแบ่งการจัดการเรียนรู้ ออกเปน็ 4 รูปแบบ ได้แก่ การเรยี นแบบ Online การเรียนแบบ On-site การเรยี นแบบ On-Air และ การเรียนแบบ Hybrid การเรยี นรแู้ บบ : Online, On-site, On-Air และ Hybrid 1. การเรยี นแบบ Online เปน็ การเรยี นผา่ นระบบออนไลน์ ทผี่ ู้สอนและผูเ้ รยี นใชเ้ ทคโนโลยี ดิจิทัลเป็นตัวกลางในการสื่อ สารแบบ 2 ทาง (Two-way communications) ผ่าน Platform และ Application ต่าง ๆ ได้แก่ WBSC, Microsoft 365, MS Team หรอื อาจสอื่ สารกันผา่ น Social Network เช่น Facebook, Line เป็นตน้ 2. การเรียนแบบ On-site เป็นการจัดการเรยี นการสอนในมหาวิทยาลัย ผู้สอนจัดกิจกรรม การเรียนการสอนให้กับผู้เรียนภายในห้องเรียน หรือห้อง Smart Classroom และจัด กจิ กรรมโดยใช้พ้นื ท่กี ารเรียนรู้ (Activity spaces) 3. การเรียนแบบ On-Air เป็นการเรียนรู้ด้วยตนเอง โดยนักศึกษาสามารถเข้าศึกษาเรียนรู้ ได้ทุกที่ทุกเวลาจากระบบการจัดการเรียนรู้ของมหาวิทยาลัย เช่น ระบบ SDU Online Course ระบบ SDU MOOC และ WBSC - LMS เป็นตน้ ซงึ่ ในระบบผู้สอนจะจัดเตรียม สอื่ การสอน คลิป VDO เพือ่ ใหน้ ักศกึ ษาเข้ามาเรียนตามตารางทม่ี หาวทิ ยาลยั กำหนด

4. การเรียนแบบ Hybrid เป็นการจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสาน จัดการเรียนรู้แบบ ประสานเวลาระหวา่ ง Synchronous Learning และ Asynchronous Learning ผเู้ รียน สามารถเลือกเรียนแบบ online หรือ on-site ก็ได้โดยผู้สอนใช้เครื่องมือเทคโนโลยี ในการส่ือสาร และทำกิจกรรมกับผเู้ รยี นผา่ นแพลตฟอรม์ ทจ่ี ดั เตรียมไว้ การเตรียมตัวสำหรับการเรียนรู้ นักศึกษาต้องเตรียมความพร้อมของตนเองในเรื่องการเรียนรู้แบบ Online และ On-Air ควรมี ทักษะในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลอย่างน้อยในระดับที่สามารถเรียนรู้ออนไลน์ได้ พร้อมที่จะสร้าง ปฏิสัมพันธ์กับอาจารย์ผู้สอนและเพื่อนผู้ร่วมเรียนในรายวิชาเดียวกัน เรียนรู้ที่จะสื่อสารอย่างเหมาะสม ด้วยวิธีพิมพ์ เขียน แสดงความเห็น และตั้งข้อคำถามบนระบบออนไลน์ ซึ่งการเตรียมความพร้อมของ นักศึกษาจะต้องประกอบไปด้วย อุปกรณ์ในการเรียนรู้ ระบบอินเทอร์เน็ตและการเชื่อมต่อ Platform และ Application ในการติดต่อสื่อสาร ท้งั นนี้ กั ศกึ ษาควรมีความสามารถในการใชส้ ื่อการเรียนรู้ออนไลน์ เอกสารประกอบการเรียนออนไลน์ และทำแบบทดสอบออนไลน์ได้ 2

, ภาพท่ี 2 ภาพเคร่ืองมือและอุปกรณส์ นับสนนุ การเรยี นออนไลน์ 3

การเตรยี มเคร่ืองมือและอปุ กรณ์ ในการเรยี นรู้แบบ Online และ On-Air นักศึกษาควรมีเครอื่ งมือและอปุ กรณ์ ดงั น้ี 1. เครอ่ื งมือหลักทชี่ ว่ ยให้ผู้เรียนไดเ้ ข้าถึงเนือ้ หาการเรียนรู้ โดยจดั เตรียมอุปกรณ์ดังน้ี 1.1 เครื่องคอมพิวเตอร์ หรือแล็ปท็อปที่ติดตั้งระบบปฏิบัติการ Window 10 ขึ้นไป หรอื Mac OS 10.10 ขน้ึ ไป 1.2 โทรศัพท์ Smartphone หรือ Tablet ที่ติดตั้งระบบปฏิบัติการ iOS 13 ขึ้นไป หรือ Android 5 ขึน้ ไป 1.3 หูฟังพร้อมไมโครโฟน หรือ small talk ที่สามารถใช้งานร่วมกับอุปกรณ์ในข้อ 1.1 หรอื 1.2 ได้ หมายเหตุ นักศึกษาคณะครุศาสตร์สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัยและสาขาวิชาการประถมศึกษาต้องมี iPad เป็นเครื่องมือการเรียนรู้เป็นของตนเองทุกคน โดยคุณสมบัติขั้นต่ำที่แนะนำคือ ความจุไม่น้อย กว่า 64 GB ขนาดจอไม่น้อยกว่า 9.7 นิ้ว สามารถใช้งานระบบปัจจุบัน (ไม่ต่ำกว่า iOS 13) และ รองรบั Wi-Fi หรอื Wi-Fi + Cellular 2. เตรียมความพร้อมของสัญญาณอินเทอร์เน็ต สัญญาณเครือข่ายเพื่อการเชื่อมต่อ อปุ กรณ์สำหรับการเรียนการสอน 2.1 กรณีนักศึกษาอยู่ในมหาวิทยาลัย สามารถใช้สัญญาณ Wi-Fi เป็นบริการ Internet แบบไร้สายใหแ้ กน่ กั ศึกษาของมหาวิทยาลัยสวนดุสติ ปจั จบุ นั ให้บริการ Wi-Fi ชอื่ Dusit-Secure ภาพท่ี 3 วิธีการใชง้ าน Wi-Fi ของมหาวทิ ยาลัย กรณนี ักศึกษาอยูภ่ ายนอกมหาวิทยาลัยต้องใช้สัญญาณอนิ เทอร์เนต็ ผ่านผูใ้ ห้บริการเครือข่าย โทรศัพท์เคลื่อนที่ (เครือข่าย AIS เครือข่าย DTAC เครือข่าย TRUE และอื่น ๆ) หรือ Wi-Fi ต้องมี จำนวนอนิ เทอรเ์ น็ตคงเหลอื อยา่ งน้อย 500 MB ลงทะเบียนเรียนผ่านระบบบริหารการศึกษาและการใช้งาน SDU 4S Application การเรียนในมหาวิทยาลัยสวนดุสิต จะมีระบบที่นักศึกษาจำเป็นต้องใช้เพื่อตรวจสอบตาราง เรยี น ตารางสอน ผ่านระบบ Academic โดยมรี ายละเอียดดงั นี้ การเขา้ ใช้งานระบบ Academic (Login) 4

นักศึกษาสามารถเข้าใช้งานระบบบริหารการศึกษาได้ โดยเข้าใช้งานผ่านเว็บไซต์ https://academic.dusit.ac.th จากนนั้ แสดงหน้าจอการเขา้ ใช้งานระบบ วธิ ีการเขา้ ใชง้ านระบบ มีดงั น้ี 1. ระบุ ชอ่ื ผู้ใชง้ าน 2. ระบุ รหัสผ่าน 3. คลิกปมุ่ เพ่ือเขา้ ระบบ 1 2 3 ภาพที่ 4 แสดงหน้าจอการเข้าใช้งานระบบ Academic 5

ภาพที่ 5 แสดงหนา้ จอหนา้ แรกระบบ (สทิ ธิ์นักศกึ ษา) 6

การลงทะเบียนเรียน การลงทะเบียนเรียน สามารถเพ่มิ ลบ ตรวจสอบข้อมูลการลงทะเบยี นเรยี นได้ โดยเขา้ ใชง้ าน เมนลู งทะเบียน ดังน้ี คลกิ ท่เี มนู ลงทะเบียน คลิกที่ปุ่ม เพื่อเพ่ิม รายวิชาในการลงทะเบยี นเรียน ภาพท่ี 6 แสดงหน้าจอลงทะเบยี น การคน้ หารายวชิ า สามารถคน้ หารายวิชา ตามรหัสวชิ าหรอื ชอ่ื วิชา หรอื คลิก “ค้นหา” ระบบจะแสดง รายการขอ้ มลู ตามท่คี น้ หา ลงทะเบียนหลายวชิ าพร้อมกัน คลิก เลือกรายวิชาที่ต้องการ จากนั้นคลิกที่ปุ่ม เพ่อื ลงทะเบียน หลงั ช่ือวชิ านนั้ ๆ ลงทะเบยี นรายวิชาเดยี ว คลิกปุ่ม ภาพที่ 7 แสดงหน้าจอการค้นหารายวชิ าตามแผนการเรียน 7

เมือ่ เลอื กรายชอ่ื วิชาเรยี บรอ้ ยแลว้ ระบบจะแสดงหนา้ จอผลการเลือกรายวชิ า ดงั นี้ คลกิ ท่ีป่มุ เพือ่ ลบรายการ คลิกทป่ี ุ่ม เพือ่ ยืนยันการลงทะเบยี น ภาพที่ 8 แสดงหน้าจอผลการเลอื กรายวิชา การตรวจสอบผลการลงทะเบยี นเรียน การตรวจสอบข้อมูลการลงทะเบียนเรียน และการพิมพร์ ายงานผลการลงทะเบยี น เข้าใช้งาน เมนรู ายงานผลการลงทะเบยี น ดังน้ี 1. คลกิ ทีเ่ มนู รายงานผลการลงทะเบยี น ภาพที่ 9 แสดงหน้าจอตรวจสอบผลการลงทะเบยี น การตรวจสอบข้อมูล สามารถดำเนินการได้ 2 แบบ คือ แบบท่ี 1 คน้ หาข้อมลู รายวิชาทลี่ งทะเบียนเรียน แบบทกุ ภาคการศึกษา ดังนี้ (1) คลิก เลอื กภาคการศึกษา (2) คลกิ ทีป่ ุ่ม เพอ่ื ค้นหาข้อมูล (3) จดั พิมพ์รายงานการลงทะเบยี นเรยี น (มสด.13.2) สามารถคลิกทปี่ ุ่ม 8

1 2 ภาพท่ี 10 แสดงหน้าจอการตรวจสอบข้อมูลแบบทุกภาคการศึกษา แบบที่ 2 คน้ หาข้อมลู แบบเฉพาะภาคการศกึ ษา ดงั น้ี (1) คลกิ เลือกภาคการศึกษา (2) เลือก ปีการศึกษา (3) เลอื ก ภาคการศึกษา (4) คลิกทีป่ มุ่ เพื่อคน้ หาข้อมูล (5) พิมพ์รายงานการลงทะเบียนเรยี น (มสด.13.2) สามารถคลกิ ทปี่ มุ่ 1 3 2 4 ภาพท่ี 11 แสดงหน้าจอการตรวจสอบข้อมูลแบบเฉพาะภาคการศึกษา 9

ภาพท่ี 12 แสดงรายงานการลงทะเบยี นเรยี น มสด.13.2 การนัดหมาย การตรวจสอบและจัดการข้อมูลการนัดหมายจากอาจารย์ที่ปรึกษา โดยการเข้าใช้งานเมนู ขอ้ มลู การนดั หมาย ดังน้ี คลิกทเี่ มนู ขอ้ มูลการนัดหมาย ภาพท่ี 13 แสดงหน้าจอข้อมูลการนัดหมาย คลิกปุ่ม เพื่อตรวจสอบรายละเอียดการนัดหมาย นักศึกษาสามารถตอบกลับ การเขา้ ร่วม หรอื ไม่เขา้ รว่ มได้ 10

คลกิ ที่ปมุ่ ภาพที่ 14 แสดงหนา้ จอรายละเอยี ดการนดั หมาย เพ่อื บนั ทกึ การเขา้ รว่ มการนดั หมายครงั้ นี้ คลกิ ที่ป่มุ ภาพท่ี 15 แสดงหน้าจอยนื ยันการเข้ารว่ ม รว่ มด้วย เพอื่ บนั ทกึ การไม่เขา้ ร่วมการนดั หมายคร้ังนี้ ซ่ึงจะต้องระบุสาเหตุที่ไม่เข้า ภาพที่ 16 แสดงหนา้ จอยนื ยันการไมเ่ ขา้ ร่วม การตรวจสอบตารางเรยี น/ตารางสอบ 1. ตารางเรยี น/ตารางสอบ สามารถตรวจสอบข้อมูลตารางเรียน/ตารางสอบ ของแตล่ ะภาคการศึกษา และสามารถพมิ พ์ รายงานขอ้ มูลได้ การเข้าใชง้ านเมนตู ารางเรียน/ตารางสอบ ดงั นี้ คลิกทเี่ มนู ตารางเรยี น/ตารางสอบ 11

ภาพที่ 17 แสดงหนา้ จอตารางเรยี น/ตารางสอบ คลกิ ที่ รหสั รายวชิ า ท่ตี ้องการเพอ่ื ตรวจสอบรายละเอยี ดข้อมลู ได้ ภาพที่ 18 แสดงหนา้ จอข้อมูลรายละเอยี ดวชิ า 12

คลกิ ท่ี ตอนเรียน ท่ีต้องการเพอื่ ตรวจสอบรายละเอยี ดข้อมลู ได้ ภาพท่ี 19 แสดงหนา้ จอข้อมูลรายละเอยี ดตอนเรียน 2. ตารางเรียนออนไลน์ สามารถค้นหาและตรวจสอบตารางเรยี นออนไลน์ ได้ วิธีการคน้ หาข้อมูล มีดังนี้ 1) คลิกเลือก ปีการศกึ ษา 2) คลกิ เลือก ภาคเรียน 3) คลิกทปี่ ุ่ม เพ่ือคน้ หาข้อมูล 1 2 3 ภาพท่ี 20 แสดงหนา้ จอคน้ หาตารางเรยี นออนไลน์ หากต้องการดตู ารางเรยี นออนไลน์ทผี่ ่านมาแล้ว สามารถคลกิ ที่ปุ่ม 13

1 ภาพท่ี 21 แสดงหนา้ จอตารางเรยี นออนไลนท์ ผ่ี า่ นมาแลว้ การตรวจสอบผลการเรยี น สามารถตรวจสอบข้อมูลผลการเรียนของแต่ละภาคการศึกษา และสามารถพิมพ์รายงาน ข้อมูลได้ การเขา้ ใชง้ านเมนูตรวจสอบผลการเรยี น ดังน้ี คลกิ ทีเ่ มนู ตรวจสอบผลการเรียน ภาพที่ 22 แสดงหนา้ จอข้อมูลผลการเรยี น 14

สามารถคลิกท่ีปมุ่ เพ่ือจัดพิมพร์ ายงานผลการศกึ ษา ดงั น้ี ภาพที่ 23 แสดงรายงานผลการศึกษา (มสด.29) การลงทะเบียนผา่ น SDU 4S Application เป็น Application เพือ่ สนับสนุนการวางแผนการเรียนสำหรบั นักศกึ ษามหาวิทยาลัยสวนดุสิต เพื่อช่วยในการเข้าถึงข้อมูลปฏิทินการศึกษา พร้อมการแจ้งเตือนประวัติการลงทะเบียน ตารางเรียน ประวัติการชำระ เกรด การนัดหมายกับอาจารย์ที่ปรกึ ษา แหล่งเรียนรู้ การประเมินผู้สอน สถานะคำ ขอ และขอ้ มูลตดิ ต่อพร้อมแผนท่สี ำหรบั สาขาวิชาภายในมหาวิทยาลัยสวนดุสิต ศึกษาวิธกี ารใช้งานได้ ท่ี https://arit.dusit.ac.th/2019/application 1. ข้อมลู ส่วนตวั (Profile) 2. ปฏิทินวชิ าการ (Academic Calendar) 3. สถานะการลงทะเบียน (Enrollment) 4. ผลการเรียน (Grade) 5. สถานะการชำระเงนิ (Payment) 6. อาจารย์ที่ปรึกษา (Advisor) 15

7. แหลง่ เรยี นรู้ (Library) 8. การประเมนิ (Assessment) 9. สถานะคำร้อง (Request) 10. แผนที่ (Map) ภาพที่ 24 ภาพ SDU 4S Application ห้องเรียนออนไลน์ SDU Online Learning เปน็ หอ้ งทใ่ี หบ้ ริการสำหรบั การจดั การเรียนการสอน มใี หบ้ ริการทงั้ ในมหาวทิ ยาลยั วทิ ยาเขต และศูนยก์ ารศึกษา นกั ศกึ ษาสามารถใช้บริการห้องนีใ้ นลักษณะการจัดกจิ กรรมออนไลน์ และผลิตส่ือ คลิปวิดโี อ โดยลกั ษณะของห้องจะแบ่งออกเป็น 2 ประเภท 1. Virtual Instruction room จำนวน 12 ห้อง ใช้สำหรับบันทึกเทป ตัดต่อ และเป็นสตูดิโอ อุปกรณภ์ ายในหอ้ ง Virtual Instruction room ประกอบด้วย - เครอ่ื งคอมพิวเตอร์สำหรบั ตัดตอ่ การสอนออนไลน์ 1 เคร่ือง - ไมโครโฟน 2 ชดุ - จอแสดงผล 2 จอ 1.1 Virtual Instruction Room 01 (อาคาร 2 ชนั้ 1) 16

1.2 Virtual Learning room 06 อาคาร 5 (ละอออุทิศ) 1.3 Virtual Learning room 17 อาคาร 5 (ละอออทุ ศิ ) 1.4 Virtual Learning room 18 อาคาร 5 (ละอออุทศิ ) 17

1.5 Virtual Learning room 19 อาคาร 11 1.6 Virtual Learning room 20 อาคาร 11 1.7 Virtual Learning room 21 อาคารเฉลมิ พระเกียรติ 50 พรรษา มหาวชริ าลงกรณ ชนั้ 4 ศูนย์ วิทยาศาสตร์ ถ.สิรินธร 18

1.8 Virtual Learning room 22 อาคารบัณฑิตวทิ ยาลัย ถ.สโุ ขทัย 1.9 Virtual Learning room 23 วิทยาเขตสพุ รรณบรุ ี อาคารสวนแกว้ (หอ้ งสมุด) ช้นั 3 1.10 Virtual Learning room 24 ศูนย์การศึกษาลำปาง 19

1.11 Virtual Learning room 25 ศูนยก์ ารศึกษานครนายก 1.12 Virtual Learning room 26 ศูนยก์ ารศึกษาหัวหนิ 2. Video conference & online classroom จำนวน 14 ห้อง ใช้สำหรับการเรียนการสอนและ การประชมุ ออนไลน์ อุปกรณ์ภายในหอ้ ง Video conference & online classroom - อปุ กรณ์ตอ่ พ่วงการประชุมออนไลน์ 1 ชุด - ไมโครโฟน 3 ชดุ - จอแสดงผล 2 จอ - กล้องแสดงผลกระดานไวท์บอร์ด 1 ตวั 20

2.1 Online Learning Room 02 (อาคารบัณฑิตวทิ ยาลยั ) 2.2 Online Learning room 03 (คณะวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี) 2.3 Online Learning room 04 (โรงเรยี นการเรือน) 21

2.4 Online Learning room 05 (คณะพยาบาลศาสตร)์ 2.5 Online Learning room 07 อาคาร 5 (ละอออุทศิ ) 22

2.6 Online Learning room 08 (คณะมนษุ ยศาสตร์ฯ) 2.7 Online Learning room 09 (คณะวทิ ยาการจัดการ) 2.8 Online Learning room 10 (คณะครุศาสตร์) 23

2.9 Online Learning room 11 (โรงเรยี นการทอ่ งเทยี่ วและการบริการ) 2.10 Online Learning room 12 วทิ ยาเขตสุพรรณบรุ ี 2.11 Online Learning room 13 ศูนย์การศึกษานครนายก 24

2.12 Online Learning room 14 ศูนย์การศึกษาลำปาง 2.13 Online Learning room 15 ศนู ย์การศึกษาตรัง 2.14 Online Learning room 16 ศูนย์การศึกษาหวั หนิ 25

หอ้ งเรยี น Hybrid Learning มหาวิทยาลัยสวนดุสิตมีการนำเทคโนโลยี Hybrid Learning มาใช้ในการจัดการเรียน การสอนระดับปฐมวัยและระดับประถมศึกษาของโรงเรียนสาธิตละอออุทิศ ซึ่งเป็นการจัดการเรียน การสอนแบบผสมผสาน ผู้เรียนสามารถเลือกเรียนแบบ online หรือ on-site ก็ได้โดยผู้สอนใช้ เครื่องมือเทคโนโลยีในการสื่อสาร และทำกิจกรรมกับผู้เรียนผ่านแพลตฟอร์มที่จัดเตรียมไว้ และ การจัดการเรยี นการสอนระดับอุดมศึกษาปริญญาตรี และระดับบัณฑติ ศึกษา ปริญญาโท ปรญิ ญาเอก มหาวทิ ยาลยั ได้จัดทำห้องเรียน Hybrid ซึ่งพฒั นาตอ่ ยอดมาจากตน้ แบบของโรงเรียนสาธติ ละอออุทิศ นำมาใช้ในการจัดการเรียนสอนให้เหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบัน ผู้เรียนสามารถเรยี นรูด้ ้วยตนเอง ไดท้ กุ ทที่ กุ เวลา ผา่ นเคร่ืองมอื อุปกรณส์ มาร์ทโฟน แท็บเล็ต คอมพวิ เตอรโ์ น๊ตบุค๊ และมปี ฏิสัมพันธ์กับ ผู้สอนและเพื่อนร่วมชั้นเรียนได้ผ่านระบบ แพลตฟอร์มการเรียนรู้ต่าง ๆ เช่น ระบบบริหารจัดการ เรียนรู้ WBSC-LMS, SDU Online Course, SDU MOOCs, MS Teams, Zoom เป็นต้น เป็นการ บูรณาการปรบั ใช้การสอนแบบปกตเิ พ่ือให้เกิดการเรียนรู้ท่ีมีประสิทธภิ าพและประสิทธผิ ลเพ่ิมมากขึ้น ลดช่องวา่ งหรือความเหล่ือมล้ำทางการศึกษาใหผ้ ู้เรียนได้พฒั นาความรู้และทักษะที่จำเป็นนำไปสู่การ เรียนรู้ตลอดชีวิต และในส่วนของด้านการบริหารจัดการมหาวิทยาลัย ได้นำ Hybrid Working มาใช้ บริหารจัดการกับการทำงานแบบ Work from Home สำหรับบุคลากรทั้งสายวิชาการ และสาย สนับสนุนให้สามารถทำงานจากที่บ้านหรือที่หน่วยของตนเองได้ ซึ่งเป็นรูปแบบการทำงานแบบ ผสมผสานนี้ใช้เทคโนโลยีเป็นตัวกลางให้บุคลากรทำงาน online ร่วมกันได้จาก co-working space ผา่ น cloud services ของมหาวทิ ยาลยั ทใี่ ช้ Microsoft Office365 และระบบสารสนเทศ เช่น ระบบ สำนักงานอิเล็กทรอนิกส์ ระบบบริหารการศึกษา ระบบบริหารงานบุคคล e-Profile e-Portfolio e-Training ระบบประชมุ SDU Web conference เปน็ ต้น ซง่ึ ถอื เป็นการทำงานที่ยืดหย่นุ ตอบสนอง นโยบายลดจำนวนบคุ ลากรเข้ามาปฏิบตั งิ านในมหาวทิ ยาลัย 26

1.1 ห้อง 32201 อาคาร 32 ช้นั 2 1.2 ห้อง 32202 อาคาร 32 ชั้น 2 1.3 หอ้ ง 32203 อาคาร 32 ชน้ั 27

1.4 หอ้ ง 32204 อาคาร 32 ช้ัน 2 1.5 หอ้ ง 32301 อาคาร 32 ช้ัน 3 1.6 ห้อง 32302 อาคาร 32 ช้ัน 3 28

1.7 หอ้ ง 32303 อาคาร 32 ชน้ั 3 1.8 ห้อง 32304 อาคาร 32 ชนั้ 3 1.9 ห้อง 32305 อาคาร 32 ชน้ั 3 29

1.10 หอ้ ง 32306 อาคาร 32 ชั้น 3 1.11 หอ้ ง 32307 อาคาร 32 ชน้ั 3 1.12 หอ้ ง 32401 อาคาร 32 ช้นั 4 30

1.13 ห้อง 32402 อาคาร 32 ชั้น 4 1.14 ห้อง 32403 อาคาร 32 ชน้ั 4 1.15 หอ้ ง 32404 อาคาร 32 ชนั้ 4 31

1.16 Hall 2 ศูนยว์ ทิ ยาศาสตร์ อาคารเฉลมิ พระเกยี รติ ชั้น 2 1.17 ห้อง 303 ศนู ย์วิทยาศาสตร์ อาคารเฉลมิ พระเกยี รติ ช้นั 2 32

1.18 หอ้ ง 304 ศูนยว์ ทิ ยาศาสตร์ อาคารเฉลมิ พระเกยี รติ ช้ัน 2 1.19 Hall 3 ศนู ย์วทิ ยาศาสตร์ อาคารเฉลิมพระเกยี รติ ชนั้ 3 33

1.20 หอ้ ง 402 ศูนย์วิทยาศาสตร์ อาคารเฉลิมพระเกียรติ ชนั้ 4 1.21 หอ้ ง 503 ศูนย์วทิ ยาศาสตร์ อาคารเฉลมิ พระเกยี รติ ช้ัน 5 34

1.22 หอ้ ง 301 อาคารบัณฑิตวทิ ยาลัย ช้ัน 3 1.23 หอ้ ง 401 อาคารบัณฑิตวทิ ยาลยั ชน้ั 4 1.24 หอ้ ง 402 อาคารบณั ฑติ วิทยาลัย ช้ัน 4 35

หากนักศึกษาต้องการใช้บริการสามารถจองผ่านระบบจองห้องออนไลน์ Room Booking ได้ท่ี https://roombooking.dusit.ac.th เพื่อสำรองห้องสำหรับการเรียนการสอน การประชุม ผลิตสื่อ คลิปวิดีโอ โดยภายในห้องดังกล่าวจะมีอุปกรณ์อำนวยความสะดวก เช่น กล้องวิดีโอ ไมโครโฟน ชุดเครอื่ งเสยี ง และระบบการเรยี นออนไลน์ และเจ้าหนา้ ทใ่ี หค้ ำปรกึ ษา ภาพท่ี 25 หนา้ จอระบบจองห้องเรยี นออนไลน์ Room Booking ภาพที่ 26 QR Code การเข้าระบบจองหอ้ งเรยี นออนไลน์ Room Booking 36

ส่วนที่ 2 ระบบการจัดการเรียนรู้ ภาพที่ 27 SDU Online Education Platform การจัดการเรียนรู้เป็นสิ่งสำคัญที่สุดสำหรับการจัดการเรียนการสอน มหาวิทยาลัยสวนดุสิต จึงได้เตรียม SDU Online Education Platform ให้กับนักศึกษา ประกอบไปด้วย ระบบ WBSC- LMS ระบบ Microsoft Teams ระบบ iTunes U และ Microsoft Office365 การจัดการเรียนรู้ของมหาวิทยาลัยสวนดุสิตนั้น ใช้ระบบ WBSC - LMS ร่วมกับระบบ Microsoft Teams โ ด ย จ ะ ใ ช ้ ร ะ บ บ WBSC- LMS ( Work- Based Blended Learning & Technological Scaffolding-Learning Management System) ในการจัดการเรียนรู้ สำหรับให้ นักศึกษาเรียนรู้ผ่านบทเรียนออนไลน์ ประกอบด้วย กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อการสอน และ แบบทดสอบออนไลน์ และใช้ระบบ Microsoft Teams ในการส่ือสารระหว่างอาจารย์และนกั ศกึ ษา ภาพท่ี 28 การจัดการเรยี นรู้ โดยใช้ระบบ WBSC - LMS รว่ มกบั ระบบ Microsoft Teams


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook