Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บันทึกการบรรยายพิเศษจากวิทยากร1

บันทึกการบรรยายพิเศษจากวิทยากร1

Published by Master of Education Suandusit, 2022-07-08 08:18:03

Description: บันทึกการบรรยายพิเศษจากวิทยากร1

Search

Read the Text Version

สรุปข้อมลู การบรรยายพเิ ศษ \"มมุ มองใหม่ เทคโนโลยีดจิ ทิ ัลสำหรบั การบรหิ ารองคก์ รการศกึ ษา\" หลักสูตรศกึ ษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการศกึ ษา ปฐมวยั และประถมศกึ ษา มหาวทิ ยาลยั สวนดุสติ รวบรวมโดย... ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.นิฤมล สุวรรณศรี ผปู้ ระสานงานรายวชิ า

สรปุ ขอ้ มลู การบรรยายพเิ ศษ หวั ข้อ \"มุมมองใหม่ เทคโนโลยดี ิจิทัลสำหรับการบริหารองค์กรการศกึ ษา\" วันเสารท์ ่ี 18 มิถนุ ายน 2565 เวลา 08.00-17.00 น. ณ มหาวิทยาลัยสวนดุสติ รูปแบบออนไซต์ และออนไลน์ ผา่ นโปรแกรม Zoom โดย ศาสตราจารย์ ดร.ปรชั ญนนั ท์ นิลสขุ --------------------------------------------- ศาสตราจารย ดร. ปรชั ญนนั ท นิลสุข หวั หนาสาขาเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สาร เพอ่ื การศึกษา คณะครุศาสตรอตุ สาหกรรม หัวหนศูนยว์ จิ ยั เทคโนโลยที างอาชวี ศกึ ษา สำนกั วิจัยวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ (มจพ.) ประเด็นหลกั ในการบรรยาย 2 ช่วง ดงั น้ี ชว่ งท่ี 1 เทคโนโลยีดิจิทลั ท่ีใช้งานเร่อื งตา่ งๆ มลี ักษณะเปน็ อย่างไร ชว่ งท่ี 2 เทคโนโลยีดจิ ทิ ัล ลกั ษณะทเี่ ปน็ สว่ นรว่ มช่องทางการสื่อสาร การทำ Digital Transformation หนว่ ยงานตา่ งๆ ของภาครัฐบาล ขับเคลอื่ นองค์กรด้วยข้อมูลเตรียม ก้าวสู่ดิจิทัล (Digital Transformation) บริษัท บลูบิค กรุ๊ป จำกัด (มหาชน) (Bluebik) บริษัทคอนซัลต์ช้นั นำ ผู้ให้บริการที่ปรึกษาด้านกลยุทธ์และการจัดการด้วยนวัตกรรมและเทคโนโลยี แนะนำแนวทางปฏิบัติที่ เหมาะสม (Best Practice) ผา่ น 6 ขนั้ ตอน ดังน้ี 1) บูรณาการยุทธศาสตร์องค์กรกับยุทธศาสตร์ด้าน ดจิ ทิ ลั (Strategic Planning) ด้วยการนำข้อมลู ท่ีเก่ียวข้องกับ เทคโนโลยีพื้นฐานขององค์กรในปัจจุบันมาใช้ประกอบการ ตัดสนิ ใจตั้งแต่ขนั้ ตอนการวางแผนการดำเนนิ งาน เพ่อื ช่วยลด ความเสยี่ งจากการลงทนุ ดา้ นดจิ ทิ ัลแบบลองผดิ ลองถกู 2) ปรบั ปรงุ กระบวนการดำเนินงาน (Business Process Reengineering) ใหท้ ันต่อการเปลยี่ นแปลงที่ เกดิ ขนึ้ หรือผลกระทบจากภายนอก เพอ่ื ให้องค์กรเข้าใจถงึ กระบวนการได้มาซึง่ ข้อมลู ท้ังหมดและสามารถนำมาใช้ ประโยชนไ์ ด้อยา่ งเหมาะสม 3) ป ร ั บ เ ป ล ี ่ ย น แ น ว ค ิ ด แ ล ะ พ ั ฒ น า บ ุ ค ล า ก ร ( Change Attitude & Human Resources Development) ให้เข้าใจและสามารถปรับตัวกับการทำ Digital Transformation ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยผู้บริหารต้องใช้ศิลปะและประสบการณ์ในการบริหารจัดการให้สอดคล้องกับวัฒนธรรมองค์กรและการ 1

เปล่ยี นแปลงในยุคดิจิทลั อาจพจิ ารณาใชร้ ูปแบบการพัฒนาบุคลากรเป็นรายบุคคลผ่านการปรับปรุงและเสริม ทักษะ (Re-skill & Up-skill) หรือนำหลกั การ Agile มาปรบั ใชก้ บั การบริหารงาน 4) ปรับปรุงกฎระเบียบและข้อบังคับที่เป็นอุปสรรค (Rule & Regulation Reform) ควบคู่กับการ พิจารณาข้อจำกัดของกฎระเบียบภายนอกองค์กร ซึ่งต้องอาศัยความมุ่งมั่นในการตั้งเป้าหมายเพื่อขับเคลื่อน กระบวนการดำเนนิ งานให้บรรลุผลตามทีอ่ งคก์ รต้องการ 5) ออกแบบระบบให้ชัดเจนและพัฒนาระบบ (System Design & Development) ด้วยการสร้าง ต้นแบบ (Prototype) เพื่อให้มองเห็นรูปแบบความสัมพันธ์ ความเชื่อมโยงของข้อมูล และการทำงานของ ระบบไดอ้ ย่างชัดเจนวา่ ตรงกบั วัตถุประสงค์ขององค์กรหรอื ไม่ 6) บูรณาการข้อมูลเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจในการบริหาร (Data Integration and Business Intelligence) หลังจากข้อมูลภายในองค์กรอยู่ในรูปแบบดิจิทัลพร้อมใช้งานและต้องให้ความสำคัญกับข้อมูล ภายนอกองคก์ รดว้ ยการแลกเปลย่ี นเชื่อมโยงข้อมูลระหว่างกัน เพอ่ื ใหเ้ กิดประโยชน์สงู สุดในการนำข้อมูลมาใช้ อาทิ การจัดทำศูนย์กลางการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างหน่วยงานภาครัฐ เพื่อให้สามารถนำข้อมูลของแต่ละ หนว่ ยงานมาประกอบการพิจารณาวางแผนการบริหารและเสนอโครงการได้อย่างมปี ระสิทธภิ าพ จนอาจนำมา ซึ่งการจัดทำมาตรฐานต่างๆ เพื่อสนับสนุนการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างองค์กรต่อไป (บริษัท ฐานเศรษฐกิจ มัลตมิ เี ดยี จาํ กดั ) ชว่ งที่ 1 เทคโนโลยีดจิ ิทัลท่ใี ชง้ านเร่ืองตา่ งๆ เทคโนโลยดี จิ ิทลั ในปัจจุบันข้อมูลส่วนใหญ่ยงั เป็นข้อมลู ที่ไม่ถูกต้องจำนวนมาก อาจทำให้เด็กนักเรียน ขอ้ มลู ไม่ถูกตอ้ ง ดังน้นั จึงต้องปลูกฝังทศั นคตทิ ด่ี ใี นวัยเด็กใหถ้ ูกตอ้ ง ปัญหาใหญ่ 2 เรื่อง คือ นวัตกรรม และ คอรับชั่น ยังมีอยู่ในประเทศไทย จากข้อมูลประเทศไทยเป็น ผู้ผลิตนวัตกรรมรายใหญ่ในการ ใช้เทคโนโลยีดิจิทัล แต่ไม่มี เทคโนโลยีใดที่เป็นของคนไทย ทำไมต้องใช้เทคโนโลยีดิจิทัล จากสถิติการแข่งขัน Global Innovation index 2022 overall by pillar ประเทศไทย อยู่ลำดับที่ 44 ของโลก สำหรบั ความสามารถในการแข่งขันในอาเซียน เรื่องการศึกษาคุณภาพการศึกษาของประเทศก็ยังเป็นปัญหา ซ่ึง ประเทศไทยใชง้ บประมาณจำนวนมาก เทคโนโลยีดิจิทัลสำหรับการบริหารองค์กรการศึกษา เพื่อการบริหารของกระทรวงศึกษาธิการ หน่วยงานภายนอก และภาคเอกชน สามารถเข้าดูระบบสารสนเทศขององค์กรการศึกษาได้จาก B-OBEC ระบบของเทคโนโลยดี จิ ิทลั เพ่ือแกป้ ญั หาของประเทศ ดังน้ัน จงึ มีการรายงานระบบการบริหารของสถานศึกษา ที่ต้องแจ้ง ปัญหาที่พบคือ ผู้บริหารจำนวนมากไม่ประสงค์ที่ต้องรับผิดชอบและไม่ถนัดในการใช้เทคโนโลยี ดิจทิ ัล จงึ มอบหมายคนรนุ่ ใหม่ทำงาน ระบบสารสนเทศของหน่วยงานกระทรวงศึกษาธกิ าร ไดแ่ ก่ • Education Management Information System : EMIS • OBEC Content Center 2

• RMS R-Chewa Management System • Data Management System • B-OBEC • School MIS • MOE Safety Center • e-SEASS • School Management Support System : SMSS การจดั เกบ็ ขอ้ มูลเพื่อการตรวจสอบทเ่ี ป็นระบบของกลมุ่ สารสนเทศ สำนกั นโยบายและแผนการศึกษา ขั้นพื้นฐาน ต่อไประบบจะพัฒนาไปสู่ “ Blockchain” ( Blockchain คือเทคโนโลยีการประมวลผลและ จัดเก็บข้อมูลแบบกระจายศูนย์ หรือที่เรียกว่า Distributed Ledger Technology: DLT) ซึ่งเป็นรูปแบบการ บันทึกข้อมูลที่ใช้หลักการ Cryptography ร่วมกับกลไก Consensus โดยข้อมูลที่ถูกบันทึกในระบบ Blockchain นั้นจะสามารถทำการแก้ไขเปลี่ยนแปลงได้ยาก ช่วยเพิ่มความถูกต้อง และความน่าเชื่อถือของ ข้อมูล) เนื่องจากมีการปลอมวุฒิการศึกษา ปัจจุบันเทคโนโลยีดิจิทัลเข้ามามีบทบาทเข้ามาตรวจสอบ และ รวมถึงระบบสารนเทศให้กับเด็กที่มีความบกพร่อง คือ ระบบสารสนเทศการศึกษาพิเศษและการศึกษา สงเคราะห์ ระบบบรหิ ารจัดการข้อมลู ต่าง ๆ ทเ่ี ก่ียวข้องกับการศึกษามีมากทั้งจากในทีโ่ รงเรยี น เขตพ้ืนที่ จังหวัด เมื่อกรอกขอ้ มลู ต้องกรอกในหลาย ๆ ระบบท่เี ป็นเรอ่ื งเดียวกัน ระบบสนับสนุนการบริหารจัดการสถานศึกษา SMSS เป็นข้อมูลต่าง ๆ ของโรงเรียน เป็นระบบ Smart School โปรแกรมระบบบริหารบริหารจัดการผลการเรียน (School MIS) /ระบบ MOE Safety Center เป็น ระบบแจ้งเหตุดแู ลความปลอดภัยของนักเรียนในทุกมติ ิ ครอบคลุมถึงความปลอดภยั / ระบบ e-Sara ban ของ แตล่ ะหนว่ ยงาน ดงั น้นั ปญั หาคือ ระบบเดยี วกนั แตก่ รอกหลายหนว่ ยงาน เทคโนโลยีดิจทิ ัลพอ่ื การบริหารหนว่ ยงานภายนอกกระทรวงศึกษาธิการ ไดแ้ ก่ • GFMIS • e-GP • e-Citizen • e-Bidding • e-Filing • e-Catalog • e-Donation • ระบบดูแลและติดตามการใชส้ ารเสพตดิ ในสถานศึกษา • ระบบฐานข้อมูลสารสนเทศการพัฒนาเด็กปฐมวัยตามมาตรฐานชาติ • ฯลฯ 3

ระบบต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นช่วยทำให้การทุจริตลดลง เนื่องจากมีระบบตรวจสอบได้ ในอดีตใช้กระดาษ สามารถทำให้เกดิ การทจุ รติ ได้เอกสารหายตรวจสอบไมไ่ ด้ โรงเรยี นในชว่ ง 10 กว่าปที ี่มีระบบเทคโนโลยีดจิ ิทัลเขา้ มาใช้ตรวจสอบ ทำให้การทจุ รติ เทคโนโลยดี ิจิทลั เพื่อการบรหิ ารหน่วยงานเอกชนและองคก์ รต่าง ๆ ได้แก่ • Face Scan: Face Recognition • myPSD • Student Care • Krungthai Corporate • SBMLD • PS School • MOOCs สรุป การนาํ เทคโนโลยเี ขามาใชในการบริหารและพัฒนาองคกร เปนไปตามนโยบายประเทศไทย 4.0 ของรัฐบาลที่จะนําประเทศไปสูประเทศพัฒนาแลวในอนาคต จําเปนที่ผูบริหารซึ่งเปนผูนําองคกรจะตองมี ทัศนคติที่ดีตอเทคโนโลยี บริหารบนความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นใหม ๆ เสมอ การสะทอนถึงวิสัยทัศนและ แนวคิดในการพฒั นาองคกรนนั่ คือใชเทคโนโลยเี ปนฐานเพื่อประสิทธิภาพในการดาํ เนินการของหนวยงาน ยอม ตอบสนองความตองการของผูรับบริการและยุคสมัยแหงดิจิทัล (ข้อแนะนำ ชีวิตในยุคหน้าต้องอย่าลืม รหัสผา่ น) ช่วงท่ี 2 เทคโนโลยดี จิ ิทลั ลักษณะทเ่ี ปน็ ส่วนรว่ มชอ่ งทางการสื่อสาร ประเด็นสนทนาวนั น้ี •Digital Thailand Competitiveness • Education Sandbox •Digital 2022 Thailand •Digital identity •Digital Citizen • Education 4.0 •Digital Transformation •Digital Leadership - Digital Thailand Competitiveness การแข่งขันดิจิทัลประเทศไทย จากข้อมูลดัชนีทุนมนุษย์ของ ประเทศไทยมคี า่ สงู กว่าค่าเฉล่ยี ของเอเชีย แต่คณุ ภาพการศึกษาไทยตำ่ กว่าค่าเฉลยี่ ของเอเชียดังภาพ 4

- พื้นที่นวัตกรรมการศึกษา Education Sandbox ประเทศไทยได้มีการขับเคลื่อนการทำงานให้เกิด วัฒนธรรมการทำงานรูปแบบใหม่ ที่มีกลไกในการเปลี่ยนแปลงการเรียนรู้ระดับพื้นที่โดยเน้นความเป็นอิสระ การบริหารจัดการตัวเอง และได้ประกาศใช้พระราชบัญญัติพื้นที่นวัตกรรม พ.ศ. 2562 (พระราชบัญญัติพื้นที่ นวัตกรรมการศึกษา พ.ศ. 2562, 2562) ที่กำหนดให้ Education sandbox เป็นพื้นที่ปฏิรูปการบริหารและ การจัดการศึกษาเพื่อสนับสนุนการสร้างนวัตกรรมการศึกษา ที่มุ่งปรับเปลี่ยนการเรียนรู้ในห้องเรียนและ โรงเรียนโดยตรง และมีการปรับโครงสร้างการบริหารและนโยบายตามความจำเป็นเพื่อเอื้ออำนวยให้เกิดการ ขยายผล - Tech Trends 2022 The Year of Decentralization เทรนด์เทคโนโลยีเขา้ สู่ยุคเทคโนโลยีเสมือน Metaverse/ AI ปัญญาประดิษฐ์/ สงครามที่เกิดจากการพัฒนาอาวุธที่นำมาใช้ในชีวิตประจำวัน มีการใช้ส่ิง ใหม่ ๆ ดังน้ี การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีดิจิทัล ที่มีการทำงานพร้อม ๆ การทำงานทุกอย่างจะต่ออินเทอร์เนต็ ระบบ Cloud อนาคตของโลกต้องเลือกใช้เทคโนโลยีที่สะอาดที่เข้ามาเปลี่ยนแปลง เทคโนโลยีแต่เดิมเป็น ระบบอนุกรม คอื มีทางเดียว สว่ นเทคโนโลยี Cloud สามารถเข้าได้กบั ทุกมุมทุกทาง เหมอื นกอ้ นเมฆทลี่ อยอยู่ เข้าตรงไหนกไ็ ด้ ทำให้เร็วประหยดั รวดเร็วมาก กระบวนการคิดต้องมองว่า คนร่นุ ใหมเ่ ปน็ ยุค Digital Citizen สิ่งที่ต้องคำนึงถึงการอยู่ในยุคใหม่ Digital Transformation ไม่ใช่เป็นการใช้เครื่องมือในการทำ Transformation ในองค์กร แต่แท้จริงแล้วการจะเปลี่ยนแปลงองค์กรจากพฤติกรรมเดิม ๆ ได้นั้นสิ่งสำคัญ 5

ทีส่ ดุ คอื เรอ่ื งคนและวฒั นธรรมองค์กรทีจ่ ะเป็นจดุ เร่ิมตน้ ดังน้ันส่ิงทีต่ อ้ งคำนงึ ถึงคือ 1.การวางกลยุทธ์ 2. ปรบั เปลีย่ นทักษะเดิม 3.เครือ่ งมือดิจิทัล 4. ขอ้ มูล 5. โครงสรา้ งพน้ื ฐาน Digital Transformation ต้องนำไปสู่ความพรอ้ มในการปรับเปลีย่ นในสถานศึกษา 3 อย่าง คือ 1.ปรบั เปล่ยี นวัฒนธรรมองคก์ ร ต้องใชอ้ ย่างคล่องแคลว้ 2.การวางกลยุทธ์ใหม่ในการเรียนการสอน การบริหารจดั การ 3.เทคโนโลยีใหมท่ ี่สถานศกึ ษาตอ้ งนำเข้ามาพร้อมสูก่ ารเปลย่ี นแปลง ผู้นำองคก์ รต้องพร้อมเขา้ สู่ยุคดิจิทัล มีความพร้อมกบั การเปล่ยี นแปลง เปลยี่ นวิธีคิด เพ่ิมและมองมุม ใหม่ปรับเปลี่ยนทักษะเดิม ปรับตัวให้ทันกับเทคโนโลยี มีหลักการคิดที่แตกต่างบนพื้นฐานของเหตุผล วาง วิสัยทศั นท์ างธรุ กิจสรา้ งมูลค่าเพมิ่ พัฒนาคนและสรา้ งคนในองค์กร 6

บทสรปุ นวตั กรรมดจิ ทิ ลั สำหรับผู้บริหารสถานศึกษาเปน็ เคร่อื งมือสำคญั ของผู้บริหารยุคใหม่ การศึกษาไทยจะ เขสู่ยุคปฏิรูปอีกครั้งพรอมกับการเขาสู่ยุคการเปลีย่ นแปลงของโลกท่ีเปลี่ยนผ่านเขาสู่ยคุ ดิจิทัล ผู้นำแบบเดมิ ไมส่ ามารถอยู่ได้ในยุคสมยั ดจิ ิทัลทใ่ี ชเทคโนโลยีดิจิทลั เนฐานในการบริหารจัดการ ผนู้ ำตองมีวิสัยทัศน ยืดหยุ่น และปรับเปลี่ยนตัวเองใหทันกับการเปลี่ยนแปลงของโลก ไม่สามารถทำงานได้คนเดียว ตองมีทีมดิจิทัลเป็น ทีมงานสนับสนุน ตองปรับเปลี่ยนองคกรใหมีวัฒนธรรมดิจิทัล ตองบริหารแบบมุงผลสัมฤทธิ์เนื่องจาก เทคโนโลยีเปลี่ยนแปลงเร็วตองเทาทัน ตองนาํ เทคโนโลยเี ขามาปรบั ใชในองคกรเพอ่ื ความโปรงใส ตรวจสอบได้ และมีธรรมาภิบาล แสดงความคดิ เหน็ มุมใหม่..ท่ีนกั ศกึ ษามองเหน็ จากการฟงั บรรยายพเิ ศษ : 7

• การบริหารสถานศึกษาในปัจจุบัน มีการบริหารเปลี่ยนแปลงโดยเข้าถึงเทคโนโลยีดิจิทัลมากขึ้น และ คงพฒั นาต่อไปอย่างไม่หยุดยั้ง รวมทง้ั มีการนิเทศติดตาม เพอ่ื ใหส้ อดคล้องกับนโยบาย เป้าหมายของ ภารกิจสถานศึกษา จึงต้องสร้างวัฒนธรรมสถานศึกษาที่เอื้อต่อการเปลี่ยนแปลง ปรับเปลี่ยน วฒั นธรรมองค์กร เปล่ียนวธิ คี ดิ ยอมรบั การเปลี่ยนแปลง เข้าถึงเทคโนโลยี ปรบั เปลยี่ นทักษะเดิมท่ีให้ มีความเชย่ี วชาญในเทคโนโลยมี ากขึ้น • มุมมองใหม่…. ตามหัวข้อในการฟังบรรยายวันนี้เลยค่ะ คือได้รับสิ่งใหม่ๆ จากท่านอาจารย์ในยุค เทคโนโลยดี จิ ทิ ลั สำหรับการบริหาร รวมถงึ องค์การศึกษาตา่ งๆ ท่มี ีระบบการทำงานท่ีต่างกัน ของแต่ ละหน่วยงานทั้ง อว. สพฐ. อบท หน่วยงานเอกชน และทางมหาวิทยาลัย ซึ่งมีมุมใหม่ๆ ที่ได้ แลกเปล่ียนเรียนรู้ร่วมกัน กับทั้งทางท่านวิทยากร และผู้เข้าเรียน ซึ่งเป็นการได้รับประสบการณ์ ขอ้ มลู ระบบสารสนเทศเกี่ยวกบั การศกึ ษา พรอ้ มนำไปปรบั ใช้ เรียนรู้ ในอนาตคตอ่ ไปกบั ยุคดจิ ทิ ัล • สนใจปัจจัยสำคัญในการเปลี่ยนแปลงให้เป็น Digital Transformation คือปัจจัย 3 ข้อ โดยเฉพาะ การปรับวัฒนธรรมในองค์กร การปรับวิธีคิดหรือยอมรับในเทคโนโลยีใหม่ๆ ที่ผ่านมามีการใช้ เทคโนโลยีมากขึ้นเนื่องจากมีสถานการณ์โควิด-19 เป็นตัวเร่ง หากไม่เปลี่ยนวิธีคิด ก็จะไม่เกิดการ เปลี่ยนแปลง แต่การที่จะให้ดำเนินต่อไปผู้บริหารก็ต้องพร้อมเป็น Digital Leadership บุคลากรก็ ตอ้ งพยายามพฒั นาตนเอง • ได้เห็นมุมใหม่ เพิ่มเตมิ จากมุมที่เคยเห็น เป็นเรื่องของการนำเทคโนโลยีมาใช้ในการทำงาน ผ่านระบบ ต่างๆ จากที่เคยทราบว่ามีระบบการทำงานต่างๆ ที่อำนวยความสะดวกให้ครูแล้วยังมี ระบบอื่นๆ อีก มายที่เราควรจะศึกษาหรือเรยี นรู้เพ่อื เปน็ ประโยชน์ ตอ่ การทำงาน เพ่อื เพิม่ ประสิทธภิ าพในการทำงาน ให้กับครู เราจะปฏิเสธไม่ได้เลยว่าทุกวันนี้เทคโนโลยีอยู่กับเราแทบจะตลอดเวลา และเราก็เป็นผู้ที่ใช้ เทคโนโลยตี ่างๆ มากมาย ในการทำงานและการใชช้ วี ติ • มุมมองใหม่ เทคโนโลยดี จิ ติ อลมีความสำคญั ต่อการบริหารงานของสถานศกึ ษาในดา้ นต่างๆไม่ว่าจะเป็น การบรหิ ารงานวชิ าการ การจัดการเรียนการสอน การบริหารทรพั ยากรบคุ คล การบรหิ ารอาคารสถานท่ี และสภาพแวดล้อม การบริหารกิจการนักเรียน และการสร้างความสัมพันธ์กับชุมชน ซึ่งงานของ สถานศึกษาในทุกด้านจะต้องมีระบบจัดการฐานข้อมูลของสถานศึกษาเพื่อการตัดสินใจในการ บริหารงานของผู้บริหารสถานศึกษา จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องใช้เทคโนโลยี มาใช้การเพื่อสร้าง ระบบฐานข้อมูลเพื่อการบริหารและการจัดการความรู้ในงานด้านต่างๆของสถานศึกษาเพื่อให้เกิด ประโยชน์ต่อการบริหารจัดการสถานศึกษาในปัจจุบัน.ที่สำคัญคือบุคคลการทางศึกษาต้องมีความรู้ เกย่ี วกบั เทคโนโลยีดจิ ิตอลสำหรบั การบรหิ ารการศกึ ษาเพ่อื ใหก้ ารใช้งานเกดิ ประสิทธภิ าพสงู สุดสามารถ ตรวจสอบได้ มคี วามโปรง่ ใส่ และมธี รรมาภิบาลดังนัน้ ในเม่ืออยู่ในสังคมเทคโนโลยีดิจิตอล ทุกคนก็ต้อง ศึกษาและยอมรับกับระบบใหม่ๆที่เกิดขึ้นมาทั้งปัจจุบันและอนาคตเพื่อที่จะได้นำมาใช้ในการทำงาน และในชวี ติ ประจำวันไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งและมีประสิทธภิ าพมากยง่ิ ขึ้นคะ • ในการเข้าร่วมอบรมครั้งนี้ ได้ทราบถึงความสำคัญของการนำเทคโนโลยีดิจิทัลประยุกต์ใช้ในการ บริหารองค์กรการศึกษา เราควรศึกษาค้นคว้าและเรียนรู้การใช้งานของระบบต่าง ๆ ที่จะเข้ามาเป็น เครื่องมือหรือตัวช่วยในการทำงานให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น เช่น การประเมินคุณค่าทางโภชนาการ อาหารของเดก็ การช่วยเหลอื เด็กทม่ี ภี าวะยากจน และอื่น ๆ • มุมใหม่ที่ได้เห็นในวันนี้ คือระบบที่เกี่ยวกับการศึกษา ที่หลากหลายครอบคลุมทุกหน่วยงานท่ี เกย่ี วข้องกบั การศึกษา แตร่ ะบบมาจากหลายหน่วยงานทำให้มคี วามทบั ซ้อน จงึ เป็นการเพม่ิ ภาระงาน 8

ทีไ่ ม่จำเป็น มีบางระบบท่เี คยได้ใช้เอง บางระบบยงั ไม่เคยใชเ้ อง และบางระบบเป็นระบบท่ีพึ่งเคยเห็น คร้งั แรก ซึ่งถา้ หากระบบตา่ งๆ สามารถดงึ ข้อมูลพนื้ ฐานต่างๆจากกันได้ เพียงแต่เพิ่มเติมข้อมูลในส่วน ต่างของแต่ละระบบ จะเป็นระบบที่ทำให้ทุกภาคส่วนมีข้อมูลที่ตรงกันและน่าเชื่อถือ รวมถึง ผลประโยชน์ทไ่ี ดร้ ับกันทกุ ภาคส่วน • “ มุมมองใหม่…เทคโนโลยีดิจิทัลสำหรับการบริหารองค์กรการศึกษา ” ได้เห็นมุมมองใหม่หลายๆ เรอื่ ง เนอื่ งจากส่วนตวั ยงั ไมเ่ คยเขา้ ถึงระบบจัดเกบ็ ข้อมลู ต่างๆทใี่ ชใ้ นสถานศึกษา เพราะวา่ ครูโรงเรียน สาธิตละอออุทิศจะมีหน้าที่สอน จัดทำแผนการสอน หรือประเมินพัฒนาการเด็ก จากนั้นส่งข้อมูล ให้กับเจ้าหนา้ ฝ่ายๆต่างๆที่เกี่ยวข้องเป็นผู้รวบรวมและจัดเก็บเข้าระบบต่อไป เช่น ฝ่ายทะเบียน ฝ่าย วิชาการ เป็นต้น นอกจากนี้จากการเข้าอบรม ทำให้ได้เรียนรู้ถึงการปรับตัว ปรับเปลี่ยนวิธีคิด หรือ ทักษะต่างๆให้เท่าทันและสามารถรบั มอื กับยุคสมัยที่เปล่ียนแปลงในอนาคต การพัฒนาตนเองในการ นำเทคโนโลยมี าปรับประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนการสอน หรือแมก้ ระทั่งการนำมาใชใ้ นการบริหาร องคก์ รการศึกษาใหม้ ีประสทิ ธภิ าพยิง่ ขึน้ • มมุ มองใหมท่ ี่ได้ในวนั นีค้ ือ การได้ร้จู ักระบบการจดั การต่างๆ ของการบรหิ ารการศึกษา ซ่งึ เป็นระบบท่ี สามารถตรวจสอบความโปร่งใสของสถานศึกษาได้ โดยแตล่ ะระบบก็มีหนว่ ยงานท่รี บั ผิดชอบแตกต่าง กัน ทางสถานศึกษาควรมีการนำเทคโนโลยีส่วนตรงนี้มาใช้ให้เกิดประโยชน์มากขึ้น อีกทั้งการปรับ Mindset ที่ดีเกี่ยวกับการยอมรับการใช้เทคโนโลยีไม่จำเป็นที่คนที่มีอายุน้อยจะใช้เทคโนโลยีได้เก่ง กว่า หรือใช้เป็นกว่า ทุกคนมีสิทธิที่จะเข้าถึงเทคโนโลยีเท่ากัน และควรเปิดใจเรียนรู้เกี่ยวกับ เทคโนโลยี และระบบต่างๆ • มุมมองใหม่ที่ได้เรียนรู้ในสัปดาหน์ ี้ .......โดยปกติเข้าใจอยู่วา่ Technology มีการพัฒนาอย่างรวดเรว็ แต่หลังจากได้ทราบถึงส่วนของ Top technology trends for 2022 แล้วจึงทำให้ตระหนักถึงการที่ จะต้องรีบศึกษาและพยายามติดตามใหท้ ันครับ แต่ในส่วนที่ผมสนใจจรงิ ๆและคิดว่าคงเป็นประโยชน์ ต่อตนเองและสถานศึกษาคือภาพที่ได้อัพขึ้นบนข้อความpedlet โดยมองว่าตัวtechnologyกลุ่มนี้มี ความจำเป็นอยา่ งมากในการจดั การศึกษาในโลกยุคใหม่ มีหลายตวั ท่ที ราบอยู่เบอ้ื งต้นและอีกหลายตัว ท่ีหนา้ สนใจและตอ้ งเร่งศกึ ษาเพมิ่ เติมโดยเรว็ ครับ • เทคโนโลยีดิจิทัล เป็นอุปกรณ์อย่างหนึ่ง ที่ช่วยอำนวยความสะดวกในการบริหารจัดการ นอกจากเพิ่มความโปร่งใสในการตรวจสอบ เรายังเพิ่มความสะดวกในการสืบค้นข้อมูล และ การ แบ่งปันข้อมูลแต่ระบบต่างๆควรมีการทำงานอย่างบูรณาการ ลดความซ้ำซ้อน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ในการทำงาน • \"มุมมองใหม่เทคโนโลยีดิจิทัลการศึกษา\" เห็นด้วยค่ะ เพราะเทคโนโลยีการศึกษา เป็นการนำเอา เทคโนโลยีเข้ามามีส่วนร่วมในการวิเคราะห์ ออกแบบ พัฒนา ดำเนินการ และประเมินผล ของ สภาพแวดล้อมของการเรียนการสอนและสื่อการเรียนรู้ เพื่อนำไปพัฒนาเป็นระบบของการสอนและ การเรียนรู้ให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น การให้ความสำคัญกับการเรียนรู้มากขึ้น เป็นเป้าหมายของ เทคโนโลยีการศึกษา โดยการข้อมูลด้านการศึกษาทั้งหมดมารวมเข้ากับเทคโนโลยี เพื่อออกแบบเป็น สภาพแวดลอ้ มทีเ่ หมาะสมทส่ี ุดตอ่ การเรียนรู้ของผเู้ รียน • มุมมองใหม่ที่ได้รับ ทำให้เห็นถึงมุมมองใหม่ๆได้รู้จักระบบการจัดการต่างๆ รู้ถึงเทคโนโลยีดิจิทัล สำหรบั การบรหิ ารองค์กรการศกึ ษา โปรแกรมระบบบริหารจัดการผลการเรยี น ระบบบริหารการเงิน การคลังภาครัฐ ระบบการจัดซ้ือจัดจา้ ง ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ระบบฐานข้อมูลสารสนเทศการ 9

พัฒนาเดก็ ปฐมวัยตามมาตรฐานชาติ ซง่ึ การนำเทคโนโลยีเข้ามาและพัฒนาองค์กรเป็นไปตามนโยบาย ประเทศไทย 4.00ของรัฐบาลที่จะนำประเทศไปสู่การพัฒนาในอนาคต จึงจำเป็นที่ผู้บริหารจะต้องมี ทศั นคติท่ีดตี อ่ เทคโนโลยบี นการเปล่ยี นแปลงทเี่ กดิ ขน้ึ ใหมๆ่ เสมอ • ได้รู้จักระบบการจัดการต่างๆ ที่เป็นเทคโนโลยีสำหรับการบริหารองค์การศึกษา มุมมองใหม่เทคโนโลยี ดิจทิ ัลการศกึ ษา เปน็ การนำเอาเทคโนโลยเี ขา้ มามสี ว่ นรว่ มในการวเิ คราะห์ ออกแบบ พฒั นา ดำเนินการ และประเมินผล ของสภาพแวดล้อมของการเรียนการสอนและส่ือการเรียนรู้ เพอื่ นำไปพัฒนาเป็นระบบ ของการสอนให้มปี ระสิทธิภาพมากขน้ึ และการให้ความสำคญั กบั การเรียนรู้ เปน็ เปา้ หมายของเทคโนโลยี การศึกษา โดยการข้อมูลด้านการศึกษาทั้งหมดมารวมเข้ากับเทคโนโลยี เพื่อออกแบบเป็น สภาพแวดล้อมที่เหมาะสมท่สี ุดต่อการเรยี นรู้ของผเู้ รียน • มุมมองใหม่ที่ได้รับ การเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อมต่อสถานศึกษาในยุคดิจิทัลที่มีความผันผวน ไม่ แน่นอน สลับซับซ้อน และคลุมเครือ นั้นเป็นสิ่งที่ไม่สามารถหยุดยั้งได้ จะต้องมีการวางแผนการ ขับเคลื่อนสถานศึกษาในการจัดการศึกษาสำหรับผู้เรียน ได้แก่การบริหารการเปลี่ยนแปลงทาง การศึกษา และการบริหารเทคโนโลยีทเี่ ข้ากับสถานศึกษาไปพร้อมกับหลักธรรมาภบิ าลในรัฐธรรมนูญ และสถานศกึ ษายงั ตอ้ งมกี ารพัฒนาเทคโนโลยใี นมคี วามทนั สมยั ติดตามทันในยคุ ดิจิทัล4.0ปจั จบุ ันมาก ทส่ี ุดและการจดั การเรยี นรู้ทีเ่ ช่ือมโยงความคิดและความรู้ให้กับผู้เรียนทเี่ ปน็ กลุ่มคนท่ีเกิดในยุคดิจิทัล เพื่อประสบความสำเร็จในการทำงาน มีความสามารถในการนำเทคโนโลยีไปใช้พัฒนาประเทศ และ องค์กรการศึกษาทีย่ ั่งยืนและให้ทันการเปล่ียนแปลงของโลกยุคดจิ ิทัล 10

หลกั สตู รศึกษาศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวิชาการจัดการการศึกษาปฐมวัยและประถมศึกษา มหาวทิ ยาลยั สวนดุสติ 11


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook