Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แนวพระราชดำริเกี่ยวกับพลังงาน

แนวพระราชดำริเกี่ยวกับพลังงาน

Description: หนังสือ,เอกสาร,บทความที่นำมาเผยแพร่นี้ใช้เพื่อการศึกษาเท่านั้น

Search

Read the Text Version

แนวพระราชดำ� รเิ ก่ยี วกับพลงั งาน www.sukphor.com

สารบัญ 5 | เปิดประตสู ู่การพัฒนาพลงั งานไทย 14 | สายพระเนตรอนั ยาวไกลนำ� พาไทยใหย้ งั่ ยนื 20 | โครงการตามแนวพระราชด�ำริ อนั เกย่ี วเนอื่ งกับกจิ การ 21 | พลงั นำ้� ...พลงั แหง่ นำ�้ พระราชหฤทัย 25 | โครงการไฟฟา้ พลังน�้ำอันเน่อื งมาจากพระราชด�ำริ 44 | พลงั งานชวี ภาพ...พลงั แหง่ พระปรีชาญาณ 46 | เอทานอล 50 | ไบโอดเี ซล 52 | สิทธบิ ัตรการประดิษฐ์ 57 | นำ�้ มนั ดโี ซฮอล์

58 | โครงการผลิตกระแสไฟฟา้ จากก๊าซขยะตามแนวพระราชดำ� ริ 63 | แก๊สชวี ภาพจากมูลโคในโครงการส่วนพระองค์ตามแนวพระราชด�ำริ 66 | พลังงานทดแทน...พลงั แห่งสายพระเนตร 68 | เชือ้ เพลิงอดั แทง่ (แกลบอดั แท่ง) 70 | พลงั งานแสงอาทติ ย์ 74 | โครงการบา้ นพลงั งานแสงอาทิตยต์ ามแนวพระราชด�ำริ 78 | พลงั งานลม 81 | เทคโนโลยกี งั หนั ลม

พ ัลงงาน4 ในหลวงกับการพัฒนาพลงั งานไทย

5 พลงั งาน สายพระเนตรอันยาวไกลน�ำพาไทยใหย้ ่ังยืน เมอื่ เอย่ ถงึ คำ� วา่ “พลงั งาน” เดก็ ๆ หรอื แมแ้ ตผ่ ใู้ หญห่ ลายคนกอ็ าจจะตอ้ งขมวด ควิ้ นว่ิ หนา้ ทงั้ ทเี่ คยไดย้ นิ คำ� นมี้ าหลายครงั้ แตก่ ย็ งั ไมเ่ ขา้ ใจแจม่ แจง้ นกั วา่ พลงั งานหมาย ถงึ อะไรบา้ ง ดังนั้น ถ้าจะให้อธิบายถึงความหมายตามต�ำราด้วยท่าทีของนักวิชาการก็คงจะต้อง บอกว่า พลังงานคือความสามารถที่จะท�ำงานได้โดยอาศัยแรงงานท่ีมีอยู่แล้วตาม ธรรมชาตโิ ดยตรงรวมถงึ ทม่ี นษุ ยใ์ ชค้ วามรวู้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยดี ดั แปลงใชจ้ าก พลงั งานตามธรรมชาติ

พ ัลงงาน6 ขณะเดยี วคำ� นยิ ามของนกั วทิ ยาศาสตร์ก็ระบุไว้ว่า พลงั งาน (Energy) คือ ความสามารถใน การท�ำงาน (Ability to do work) ซึ่งงานเปน็ ผลจากการกระท�ำของแรงท�ำให้สิง่ นนั้ เคลอื่ นทีซ่ ึ่ง คุณสมบตั โิ ดยท่วั ไปของพลงั งานมอี ยู่ ๒ ประการ คือ ทำ� งานไดแ้ ละเปลีย่ นรูปได้ โดยทว่ั ไปสามารถจำ� แนกพลงั งานทเี่ ราทกุ คนใชก้ นั อยใู่ นชวี ติ ประจำ� วนั เพอื่ การ ศึกษาอย่างง่ายๆ ไดเ้ ป็น ๒ ประเภทคือ ๑.พลงั งานต้นก�ำเนดิ (Primary energy) ซ่งึ หมายถึงแหลง่ พลงั งานทีเ่ กดิ ขนึ้ หรือมีอยู่แล้วตามธรรมชาติสามารถน�ำมาใช้ประโยชน์ได้โดยตรงได้แก่น้�ำแสงแดดลม เช้ือเพลิงตามธรรมชาติเช่นน้�ำมันดิบถ่านหินก๊าซธรรมชาติพลังงานความร้อนใต้พิภพ แรน่ ิวเคลยี ร์ไม้ฟนื แกลบชานออ้ ยเป็นตน้ ๒.พลังงานแปรรูป (Secondary energy) ซงึ่ หมายถงึ สภาวะของพลงั งานซง่ึ ไดม้ าโดยนำ� พลงั งานตน้ กำ� เนดิ ดงั กลา่ วแลว้ ขา้ งตน้ มาแปรรปู ปรบั ปรงุ ปรงุ แตง่ ใหอ้ ยใู่ น รูปท่ีสามารถน�ำไปใช้ประโยชน์ในลักษณะต่างๆ กันได้ตามความต้องการเช่นพลังงาน ไฟฟ้าผลิตภณั ฑ์ปิโตรเลยี มถ่านไมก้ า๊ ซปโิ ตรเลียมเหลวเปน็ ต้น

7 พลงั งาน ท่ีผา่ นมา ในหลวงของเราทรงค้นคว้าและทดลองดา้ นการพลงั งานในหลายรูปแบบ อยา่ งต่อเน่ืองมาเป็นเวลายาวนานหลายสบิ ปี นบั เปน็ สงิ่ ทส่ี ะทอ้ นใหเ้ หน็ ถงึ สายพระเนตรอนั ลำ้� ยคุ สมยั เกนิ กวา่ ความเขา้ ใจของคนทว่ั ไปในขณะนนั้ กอ่ ใหเ้ กดิ โครงการพลงั งานภายในประเทศทส่ี ามารถนำ� มาใชไ้ ดอ้ ยา่ งทนั ทว่ งทใี นยามทเ่ี กดิ วกิ ฤตกิ ารณร์ าคา น�ำ้ มนั สูงเป็นประวัตกิ ารณ์เชน่ ในปจั จบุ นั

พ ัลงงาน8 ตวั อยา่ ง ของพระราชกรณียกจิ ด้านพลงั งานที่เห็นได้ ชัดคือ การพัฒนาพลังน้�ำ พลังงานทดแทน และพลังงานชีวภาพ อันได้แก่ การพัฒนาเอทานอลและไบโอดีเซล ซึ่งน�ำไปสู่ความสามารถในการลดการ พ่ึงพาการน�ำเข้าน�้ำมันจากต่างชาติ ขณะเดียวกันยังเป็นการช่วยเหลือ เกษตรกรในการพยงุ ราคาพืชผลท่ีน�ำมาใชเ้ ป็นวตั ถดุ ิบอกี อยา่ งหน่ึงด้วย

9 พลงั งาน และเหนอื สิง่ อนื่ ใด เราต่างค้นพบวา่ แนวพระราชด�ำริของในหลวงเรื่อง “เศรษฐกิจพอเพียง” ยงั เปน็ ปรชั ญาในพสกนกิ ร รฐั บาล และองคก์ รเอกชนตา่ งๆ ใชเ้ ปน็ แนวทางในการ พฒั นาพลงั งานบนพนื้ ฐานของทรพั ยากรทเ่ี มอื งไทยมอี ยอู่ ยา่ งเปน็ เหตเุ ปน็ ผล พอ ประมาณ และมีภูมิคุ้มกัน โดยมุ่งหวังให้พสกนิกรสามารถพ่ึงพาตนเองได้อย่าง ย่ังยืนในอนาคต สิ่งเหล่าน้ีนับเป็นพระมหากรุณาธิคุณอันยากจะหาพระมหา กษตั ริยพ์ ระองคใ์ ดในโลกนี้เสมอเหมอื น พระราชดำ� รสั ของพระองคท์ า่ นจงึ เปรยี บเสมอื นสงิ่ ทคี่ อยยำ�้ เตอื นพวกเรา เสมอให้รักและหวงแหนทรัพยากรธรรมชาติ ตลอดจนใช้พลังงานอย่างรู้คุณ ค่า ทงั้ นีไ้ มใ่ ช่เพือ่ ใครอืน่ ไกลทไี่ หน หากแต่เพอื่ อนาคตของพวกเราเอง

พ ัลงงาน10 ให้เ\"ช..ื้อ.ถเพา้ นล�ำ้งิ มเกันดิ เชใืห้อมเพ่เชลื้อิงเหพมลดิงแทลีเ่ ร้วียกกว็ใช่า้เนชำ�ื้้อมเพันลนงินั้ อมยัน่าจงะอหืน่มไดดภ้ ามยแี ใตนต่ไมอ้ ่กงีป่ขียหนัรอื ไหมา่กวีส่ธิ บิีทปีท่ ีกำ� ็ หมด... ถา้ ไม่ไดท้ �ำเชื้อเพลิงทดแทนเรากเ็ ดือดรอ้ น...” พระราชดำ� รสั พระราชทานแก่คณะบุคคลต่างๆ ทีเ่ ขา้ เฝ้าฯถวายชยั มงคล ในโอกาสวนั เฉลิมพระชนมพรรษา ณ ศาลาดุสดิ าลัย สวนจติ รลดา พระราชวงั ดสุ ิตฯ เม่ือวันที่วนั อาทติ ยท์ ่ี ๔ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๔๘

11 พลงั งาน ยอ้ นกลับไปเมอื่ ปีพ.ศ.๒๕๔๙ จากสถานการณ์การใช้พลังงานของประเทศไทยที่เพ่ิมสูงขึ้น ทกุ ปี ไดม้ รี ายงานวา่ มกี ารใชพ้ ลงั งานโดยรวมถงึ ปลี ะ ๑.๔ ลา้ นลา้ นบาท ซง่ึ ถอื วา่ ไม่ใชจ่ �ำนวนน้อยๆ เลย ในขณะที่กว่าร้อยละ ๕๐ ไทยเราต้องน�ำเข้าพลังงานจาก ต่างประเทศคดิ เป็นมูลคา่ ปีละกวา่ ๗๐๐,๐๐๐ ลา้ นบาท และหนำ� ซ�้ำยังมีความ ผันผวนในเร่ืองราคามาก ส่งผลให้เกิดความไม่ม่ันคงในด้านการจัดหาและการ จดั สรรใชท้ รพั ยากรของประเทศ ขณะเดยี วกนั ทรพั ยากรธรรมชาตภิ ายในประเทศ ทีส่ ามารถนำ� มาผลิตและใช้เปน็ พลังงานได้ก็มีปรมิ าณลดลง เส่อื มโทรมลง และ จะหมดไปในทสี่ ดุ ดงั นน้ั การแสวงหาพลงั งานในรูปแบบตา่ งๆ เพอื่ มาทดแทนจึง มคี วามส�ำคญั อยา่ งยิ่ง

พ ัลงงาน12 ด้วยสายพระเนตรอันยาวไกลในหลวงจึง พระราชทานแนวพระราชด�ำริในการพัฒนาพลังงาน ครอบคลมุ ในทุกๆ ด้าน ทง้ั พลังน้ำ� พลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานลม และเชื้อเพลิงชีวภาพ โดยเฉพาะในด้าน พลังงานน�้ำน้ันเรียกได้ว่าเป็นแนวพระราชด�ำริอย่าง “องค์รวม” นั่นคือสามารถน�ำไปใช้ประโยชน์ได้ท้ังการ ผลิตพลงั งานไฟฟ้า ภาคการเกษตรมีนำ้� ใช้ ตลอดจนช่วยป้องกันน้�ำท่วมโดยลดการพึ่งพาการน�ำเข้าพลังงานจากต่าง ประเทศได้อย่างมหาศาล นอกจากน้ี โครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดาและศูนย์ ศึกษาการพัฒนาอันเน่ืองมาจากพระราชด�ำริที่ต้ังอยู่ในภูมิภาคต่างๆ ก็มีโครงการ พัฒนาพลังงานตัวอย่างให้ประชาชนท่ัวไปเข้ามาศึกษาความเป็นไปได้ ในการน�ำ พลงั งานทดแทนเหล่านีม้ าใชใ้ นชมุ ชนตามความเหมาะสม

13 จากพระอัจฉริยภาพของในหลวงซ่ึงเป็นท่ีประจักษ์แก่หัวใจ พลงั งาน ของทวยราษฎร์ จึงถือเป็นการเหมาะควรแล้วท่ีจะยกย่องให้ พระองค์ท่านทรงเป็น “พระบิดาแห่งการพัฒนาพลังงานไทย” ด้วยพระองค์ทรงเป็นผู้ริเร่ิม “เดิน” อย่างค่อยเป็นค่อยไปมาตาม แนวทางอันเป็นแบบอย่างท่ีดีแก่พสกนิกร ท�ำให้พวกเราทุกคนได้ “กา้ วตามรอยเบอ้ื งพระยคุ ลบาท” ไปสอู่ นาคตอนั ไมอ่ บั จนหนทาง ในดา้ นพลงั งาน หากแตม่ คี วามประเสรฐิ สขุ อนั ยง่ั ยนื รอคอยอยรู่ ว่ ม กนั ในวันขา้ งหนา้

พ ัลงงาน14 เปิดประตสู กู่ ารพฒั นาพลงั งานไทย

15 พลงั งาน เขือ่ นภูมิพล ถือเป็นตน้ ก�ำเนดิ ของเข่ือนสำ� หรับผลติ ไฟฟ้า ในประเทศไทย แรกเรม่ิ เดมิ ทนี นั้ ประเทศไทยมโี รงงานผลติ ไฟฟา้ วดั เลยี บและโรงไฟฟา้ สามเสน ซ่ึงใช้ฟืนและแกลบเป็นเชอ้ื เพลงิ ในการผลติ ไฟฟา้ จนกระทงั่ ครั้งสงครามที่ ข้าวเปลือกขายไม่ได้ราคา ก็เคยใช้ข้าวเปลือกเหล่าน้ีเป็นเช้ือเพลิงผลิตไฟฟ้ามาแล้ว แต่ไฟฟ้าก็ยังไม่พอใช้ ต้องดับไฟในแต่ละเขตทุกวัน เมื่อมีพระราชบัญญัติการไฟฟ้า ยนั ฮใี นปพี .ศ.๒๕๐๐ จงึ กอ่ ใหเ้ กดิ การไฟฟา้ ฝา่ ยผลติ ขน้ึ และจากนน้ั จงึ มกี ารกอ่ สรา้ ง เขอ่ื นภูมพิ ลตามมา

พ ัลงงาน16 เนอื่ งจากเขอ่ื นแหง่ นเ้ี ปน็ เขอื่ นอเนกประสงคแ์ หง่ แรกของประเทศไทย เดิมช่ือ “เขื่อนยันฮี”แต่ในเวลาต่อมาเมื่อวันท่ี ๒๕ กรกฎาคมพ.ศ.๒๕๐๐ ในหลวงไดพ้ ระราชทานพระปรมาภไิ ธยใหเ้ ปน็ ชอ่ื เขอื่ นวา่ “เขอื่ นภมู พิ ล” ซงึ่ ยงั ประโยชนห์ ลากหลายดา้ นมาสปู่ วงชนชาวไทยตามพระราชประสงคอ์ นั แรง กล้าของในหลวง

“ 17 ข้าพเจา้ มีความยนิ ดี ทไี่ ด้เหน็ การกอ่ สร้างเขอื่ นภูมิพลสำ� เรจ็ เรียบร้อย พรอ้ มทจี่ ะเปิดได้แล้ว พลงั งาน ตามทีน่ ายกรัฐมนตรีได้แถลงถึงการก่อสร้างเขือ่ นนี้ และประโยชน์อันจะพึงได้รับทัง้ ในด้าน พลงั ไฟฟ้า การเกษตร การคมนาคม และอนื่ ๆ นนั้ นา่ ปีตยิ งิ่ นัก แสดงใหเ้ ห็นว่า เขอื่ นนี้ สามารถอ�ำนวยความผาสุกสมบูรณ์ ให้บังเกิดแก่ประชาชนอย่างใหญ่หลวง นับเปน็ งาน สำ� คัญอยา่ งยิง่ ในโครงการทะนุบ�ำรุงบา้ นเมอื ง ให้มีความเจรญิ กา้ วหนา้ ปรากฏวา่ เขือ่ นนสี้ ามารถกักนำ�้ ฤดฝู นไว้ใช้ในฤดแู ลง้ ช่วยป้องกนั อุทกภยั ไป ในตวั ตงั้ แต่เดอื นพฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๐๖ เปน็ ตน้ มา แม้จะมีพายุใตฝ้ ุ่นนำ� ฝนเขา้ มาใน ประเทศไทย เขอื่ นนกี้ ย็ ังกกั น�ำ้ ฝนทจี่ ะไหลบ่าลงมาเปน็ ภัยแกร่ าษฎรไวไ้ ดแ้ ล้วระบายน�ำ้ ออก ใช้ใหเ้ ปน็ ประโยชน์ในฤดูแลง้ ทงั้ นีเ้ ปน็ การแสดงผลใหป้ ระจกั ษ์เปน็ อยา่ งดมี าแล้ว ความสำ� เรจ็ ทีเ่ หน็ อยู่นี้ ปรากฏขึน้ ได้ก็เพราะทางราชการไดเ้ ลง็ เหน็ การณ์ไกล ประกอบดว้ ยบรรดาเจา้ หนา้ ทมี่ คี วามสามารถอยา่ งดยี งิ่ ตงั้ ใจดำ� เนนิ งานมาจนเปน็ ผลสำ� เรจ็ เรียบร้อย และก่อนหน้าทีจ่ ะวางโครงการสร้างเขือ่ นนี้ กรมชลประทานก็ได้ตระเตรียมการ เก็บสถิติในเรอื่ งนำ�้ มาแล้วเปน็ เวลานานปี ขา้ พเจา้ ขอถือโอกาสนขี้ อบใจ และชมเชยเจ้าหน้าที่ ทกุ ฝ่ ายตงั้ แตผ่ ู้ใหญ่ ตลอดจนถึงผูน้ ้อย ทไี่ ด้รว่ มมอื กนั ปฏิบตั ิหน้าที่ โดยเฉพาะขา้ ราชการ และผูป้ ฏบิ ตั ิงานของกรมชลประทานซึ่งมีส่วนสำ� คัญยงิ่ ในการก่อสรา้ งนี้ ไดเ้ วลาอันเปน็ มงคลฤกษ์แลว้ ข้าพเจ้าขอเปิดเขอื่ นภมู ิพล ขอใหเ้ ขอื่ นนจี้ งสถติ สถาพร อ�ำนวยความสขุ ความเจริญแกอ่ าณาประชาราษฎร สมดงั ปณธิ านทุกประการ พระราชดำ� รัส ในโอกาสเสด็จพระราชด�ำเนินไปทรงประกอบพิธีเปดิ เข่ือนภูมิพล เม่ือวันที่ ๑๗ พฤษภาคม ๒๕๐๗ ”

พ ัลงงาน18 ย่ิงไปกว่าน้ันยังเป็นท่ีทราบกันดีในหมู่เจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานว่าในหลวงทรงสน พระทยั เร่ืองเข่อื นภมู ิพลเสมอ เคยรบั สั่งด้วยความเป็นห่วงกงั วลว่า “วนั หนงึ่ ถา้ ตะกอนจะเตม็ แลว้ จะทำ� อยา่ งไร”ซึ่งเจา้ หนา้ ทขี่ องกฟผ.กไ็ มส่ ามารถ ถวายคำ� ตอบได้ เพราะตามหลักวชิ าการแลว้ ไมน่ า่ จะเตม็ ในหลวงจึงตรัสวา่ “ถา้ ไม่ คดิ ไวก้ อ่ น บอกวา่ ยงั ไมถ่ งึ เวลาคดิ ถา้ ถงึ เวลาแลว้ จะคดิ ออกไหม”เมอื่ เจา้ หนา้ ทกี่ ราบ บังคมทูลไปว่าคิดออก พระองค์ท่านก็ตรัสว่า“ถ้าคิดออกให้เขียนไว้ในกระดาษแล้ว เอาไปใสใ่ นไหไปฝังไวเ้ ปน็ ลายแทง เผือ่ ว่าอีก ๔๐๐ ปีจะมใี ครมาขุดเอาไปใช้ เพราะ วา่ เขือ่ นมันเต็ม” (จากหนงั สอื พระบดิ าแหง่ พลงั งานไทยหนา้ ๕๕)

19 พลงั งาน ซงึ่ ในความเปน็ จรงิ คำ� วา่ เขอ่ื นเตม็ นไ้ี มไ่ ดห้ มายถงึ ตอ้ งเตม็ ตวั เขอื่ น แคเ่ ตม็ ท่ี ระยะ ๒๓๐ เมตร เปน็ ระดบั ปากทอ่ ทีจ่ ะปล่อยนำ้� ลงปน่ั เครอ่ื งป่ันไฟ ซึ่งนำ้� ก็จะไม่เขา้ ท่อ แล้ว เพราะฉะน้ันอายขุ องเขอ่ื นกจ็ ะหมดตรงนนั้ เจา้ หน้าท่ีของกฟผ. จึงได้ไปทำ� การวิจัย วา่ ตะกอนทต่ี กมาแลว้ ตกลงตรงไหนบา้ ง ปรากฏวา่ ยงั ตกมาไมถ่ งึ ตวั เขอื่ น จงึ ไปกราบทลู ให้ทรงทราบ เร่ืองเหล่าน้ีแสดงให้เห็นว่าพระองค์ท่านทรงเป็นห่วงอยู่เสมอด้วยน้�ำพระ ราชหฤทัยท่ีแทจ้ รงิ ไมใ่ ช่เพยี งแคท่ รงงานตามหน้าที่เสร็จแลว้ กป็ ลอ่ ยปละละเลยไป

พ ัลงงาน20 โครงการตามแนวพระราชด�ำริ อันเกีย่ วเนอื่ งกับกจิ การ ดว้ ยสายพระเนตรอนั ยาวไกลพระองคท์ า่ นทรงวางพน้ื ฐาน สรา้ ง แนวคดิ และศกึ ษาวจิ ยั หาวธิ ผี ลติ พลงั งานตา่ งๆ อยา่ งตอ่ เนอื่ งยาวนาน ซงึ่ หยาดพระ เสโททหี่ ลงั่ รนิ แตล่ ะหยดของพระองคก์ ส็ ง่ ผลชว่ ยบรรเทาวกิ ฤตกิ ารณพ์ ลงั งานทเ่ี กดิ ข้ึนในปัจจุบันอย่างได้ผลเป็นรูปธรรม โดยแนวพระราชดำ� ริอันเก่ียวเน่ืองกับการ พัฒนาพลังงานของในหลวงนั้นครอบคลุมทกุ ด้าน อันได้แก.่ ..

21 พลังน้ำ� ...พลังแห่งน้ำ� พระราชหฤทยั พลงั งาน สำ� หรบั พระราชอจั ฉรยิ ภาพเกยี่ วกบั นำ�้ และการจัดการนำ�้ นัน้ อ า จ ก ล่ า วไ ด้ ว่ า เ ป็ น เ พ ร า ะใ น ห ล ว ง ท ร ง ส น พ ร ะ ทั ยใ น ด้ า น วศิ วกรรมศาสตรม์ าตงั้ แตย่ งั ทรงพระเยาว์ ดงั ทที่ า่ นผูห้ ญงิ เกนหลง สนทิ วงศ์ ณ อยุธยา บรรยายไวใ้ นหนังสอื ท�ำเปน็ ธรรม ว่า... ...เม่ือพระชันษาประมาณ ๓ พรรษา เร่ิมสนพระทัยและโปรดท่ีจะท�ำบ่อนำ้� เลก็ ๆ ให้ มที างนำ้� ไหลไปตามตอ้ งการ ทรงชว่ ยกนั ทำ� กบั พระเชษฐา (พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั อา นนั ทมหดิ ล รชั กาลท๘ี่ ) ทำ� คลอง ทำ� เขอื่ นเกบ็ นำ้� และรอบๆ บอ่ กท็ รงหากงิ่ ไมม้ าปกั เปน็ การ ปลกู ตน้ ไม้ และประมาณ ๗-๘ พรรษา จงึ ไดท้ รงสงั เกตเหน็ ในการทผ่ี ใู้ หญน่ ำ� นำ้� ใสอ่ า่ งใหเ้ ดก็ เลก็ วธิ ที จี่ ะนำ� นำ�้ จากทแี่ หง่ หนง่ึ มาสทู่ อี่ กี แหง่ โดยทำ� ใหท้ รี่ บั นำ�้ ตำ่� กวา่ และทางใหน้ ำ้� ไหลมา ตามทางตลอดทาง ท�ำทางให้เรียบกันนำ้� ซึม โดยใช้ดินเหนยี วปะหน้าและถใู หเ้ รียบใช้วสั ดุท่ี กลมกลงิ้ ใหเ้ รยี บ เพอื่ นำ�้ จะไดไ้ หลไดส้ ะดวก ไมม่ กี อ้ นดนิ หรอื หนิ ขรขุ ระกดี ขวาง และทรงจำ� วิธีทเ่ี ขาได้จนบัดนี้...

พ ัลงงาน22 ทางดา้ นพลอากาศตรี กำ� ธน สนิ ธวานนท์ องคมนตรผี มู้ โี อกาสไดถ้ วายงานใกลช้ ดิ มานมนาน ก็เล่าถงึ ในหลวงผทู้ รงปราดเปรื่องเมื่อครงั้ ยงั ทรงพระเยาว์ว่า... \"เมือ่ ทรงเปน็ พระอนุชา พระเจ้าอยู่หัวทรงมีรถไฟเล็ก เปน็ รถไฟไฟฟ้า พระองค์ท่าน ทรงประดิษฐ์ระบบการจ่ายไฟให้รถไฟเล็กวิง่ ด้วยพระองค์เอง พระเจ้าอยู่หัวทรงมีความสน พระทยั และเข้าพระทัยเรอื่ งเกีย่ วกับการช่าง เรอื่ งไฟฟ้าเปน็ อย่างดีมาตัง้ ยงั ทรงพระเยาว\"์

23 ภายหลงั จากทใ่ี นหลวงเสด็จขนึ้ ครองราชย์ เมื่อวันท่ี ๙ มิถนุ ายน พ.ศ.๒๔๘๙ พลงั งาน ไดท้ รงเปลยี่ นจากทรงศกึ ษาดา้ นวศิ วกรรมศาสตรม์ าทรงศกึ ษาดา้ นรฐั ศาสตรแ์ ละนติ ศิ าสตร์ ด้วยทรงเห็นว่าจะเป็นวิชาความรู้ที่สร้างคุณประโยชน์แก่ประเทศชาติได้มากที่สุด แต่ พระองค์ท่านก็ยังทรงศึกษาหาความรู้ในเรื่องต่างๆ โดยเฉพาะอย่างย่ิงท่ีเกี่ยวกับการแก้ ปัญหาทุกข์สุขของราษฎรอยู่เป็นนิจ ดังเช่นค�ำกล่าวของหนึ่งในข้าราชบริพารผู้ถวายงาน แด่พระองค์ท่านไดเ้ ล่าด้วยน�้ำเสยี งแห่งความจงรักภกั ดีเอาไว้ว่า... \"พระองคท์ า่ นทรงมคี วามรู้เรือ่ งเขอื่ นวา่ ผลิตไฟฟ้าไดอ้ ย่างไร ถา้ สรา้ ง เขอื่ นทนี่ ตี่ อ้ งเปน็ เขอื่ นกวา้ งยาวเทา่ ไหร่ ถา้ ปลอ่ ยนำ�้ ขนาดนี้ ควรใช้เครอื่ งกำ� เนดิ ไฟฟ้า ขนาดเท่าใด เขือ่ นควรสูงเท่าไหร่จึงจะเหมาะสม ปัจจุ บันพระองค์ท่านทรงติดตาม เรือ่ งระดบั น�ำ้ ในเขอื่ นอยู่ตลอดเวลา บางครงั้ พระองคท์ า่ นก็ทรงมคี วามเหน็ ว่าเขอื่ น แห่งนีป้ ลอ่ ยน�ำ้ มากไปหรอื น้อยไป เพราะเขือ่ นบางเขือ่ นหากเกบ็ นำ�้ ไว้มากเกินไป ไม่ ปลอ่ ยไป ปีถดั มาฝนตกหนกั ก็จะไมม่ พี นื้ ทีใ่ หเ้ ก็บน�ำ้ แตถ่ ้าปลอ่ ยนำ�้ มากเกินไป หน้า แล้งกอ็ าจไม่มนี �ำ้ ใหเ้ กษตรกรทำ� การเกษตรได้\"

พ ัลงงาน24 แนวพระราชด�ำริอันเกีย่ วกบั การใช้พลังงานน�ำ้ ในการผลติ กระแสไฟฟ้านัน้ ในหลวงจะทรงเน้นการก่อสร้างเข่ือนและโรงไฟฟ้าขนาดเล็ก เพ่ือเก็บ กกั นำ้� และผลติ กระแสไฟฟา้ ไวใ้ ชใ้ นชมุ ชนใกลเ้ คยี ง ซง่ึ จะเปน็ การเสรมิ การทำ� งานของเขอื่ น ขนาดใหญท่ จ่ี ดั ทำ� โดยภาครฐั ดว้ ยทรงมพี ระราชประสงคใ์ หแ้ ตล่ ะชมุ ชนใชท้ รพั ยากรทมี่ อี ยู่ ให้เกิดประโยชน์สูงสุด พ่ึงพาตนเองได้ และเป็นตัวอย่างในการพัฒนาพลังงานในทุกภาค ส่วนของประเทศ

25พลงั งาน โครงการไฟฟ้ าพลังนำ�้ อันเนือ่ งมาจากพระราชด�ำริ

พ ัลงงาน26 ๑. โรงไฟฟ้าพลังนำ�้ บ้านสันติ จังหวัดยะลา กว่าจะสำ� เรจ็ เสรจ็ ข้ึนมาเป็นโรงไฟฟ้าพลงั น้ำ� บา้ นสันติ จังหวัดยะลา น้ัน ไม่ใช่เร่ืองง่ายเลย เพราะมีอุปสรรคใหญ่หลวงขวางหน้าอยู่เต็มไปหมด เนื่องด้วยใน ขณะน้ันยังมีการต่อสู้กับผู้ก่อการร้ายอยู่เป็นประจ�ำท�ำให้พ้ืนที่บริเวณน้ันไม่สามารถ เรียกได้ว่าปกติสุข แต่ในระหว่างการก่อสร้างในหลวงและพระราชินีได้เสด็จ พระราชดำ� เนนิ มาทเ่ี ขอ่ื นแหง่ นหี้ ลายครง้ั ดว้ ยมพี ระราชประสงคจ์ ะพระราชทานกำ� ลงั ใจแก่ผู้ปฏิบัติงาน โดยมิได้ค�ำนึงถึงความเสี่ยงภัยของพระองค์เองแม้แต่น้อย และมี พระราชกระแสรับส่ังวา่ \"...คนทเี่ ข้าถึงพนื้ ทีไ่ ด้ ย่อมมโี อกาสท�ำงานส�ำเรจ็ ...\"

27 พลงั งาน

พ ัลงงาน28 ในวนั ที่ ๑๘ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๒๑ ในหลวงเสดจ็ พระราชดำ� เนนิ ทรงวางศลิ าฤกษก์ ารกอ่ สรา้ ง เขอื่ นบางลาง พรอ้ มกนั นนั้ พระองคไ์ ดเ้ สดจ็ ฯฝายละแอ ซงึ่ เปน็ ฝายทดนำ�้ ขนาดเลก็ จากคลองละแอ ทส่ี รา้ ง ดว้ ยการเจาะอุโมงคข์ นาดเลก็ และตอ่ ท่อสง่ น้ำ� ไปใหป้ ระชาชนในหมบู่ ้านสนั ตใิ ช้ พลอากาศตรีก�ำธน สนิ ธ วานนท์ องคมนตรี ซ่ึงในเวลาน้ันด�ำรงต�ำแหน่งเป็นผู้ว่าการการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย กราบ บงั คมทูลวา่ น�้ำประปาไหลแรง เพราะตอ่ น�ำ้ ลงมาจากทส่ี ูง ท�ำใหก้ อ๊ กนำ�้ เสยี เป็นประจำ� ในหลวงจึงทรง รบั ส่งั อย่างผูเ้ ป็นนกั ปราชญว์ า่ ... \"ถา้ น�ำ้ แรง...ทำ� ไมไมค่ ิดทำ� ไฟฟ้าดว้ ย\"

29 พลงั งาน จากแนวพระราชดำ� รทิ ไ่ี ดพ้ ระราชทานในวนั นนั้ การไฟฟา้ ฝา่ ยผลติ แหง่ ประเทศไทย จงึ กอ่ สรา้ งโรงไฟฟา้ พลงั นำ�้ บา้ นสนั ตขิ นึ้ บรเิ วณเหนอื เขอ่ื นบางลาง โดยตดิ ตงั้ เครอ่ื งกำ� เนดิ ไฟฟา้ ขนาด ๑,๒๗๕ กโิ ลวตั ต์ จ�ำนวน ๑ เครือ่ ง และตดิ ต้ังท่อส่งนำ�้ ยาว ๑,๘๐๐ เมตร สามารถจา่ ย กระแสไฟฟ้าได้ในปี พ.ศ. ๒๕๒๕ โรงไฟฟ้าพลังน้�ำบ้านสันตินับเป็นโรงไฟฟ้าใต้ภูเขาแหง่ แรก ของประเทศไทยท่ีมีการควบคุมด้วยเทคโนโลยีช้ันสูงด้วยการเดินเคร่ืองในระบบอัตโนมัติ สามารถส่ังการและควบคุมการเดินเคร่ืองโดยตรงจากโรงไฟฟ้าเข่ือนบางลาง สามารถอ�ำนวย ประโยชนแ์ ก่ราษฎรในทอ้ งถนิ่ ได้เปน็ อยา่ งดี ทำ� ให้ทุกคนในพนื้ ที่แถบน้ันไดม้ ไี ฟฟ้าใชแ้ ม้ว่าจะ อยู่ห่างไกลทรุ กนั ดารกต็ าม

พ ัลงงาน30 ๒. โรงไฟฟ้าพลังนำ�้ บ้านยาง จงั หวดั เชียงใหม่ โรงไฟฟา้ พลงั นำ�้ บา้ นยาง จงั หวดั เชยี งใหมเ่ ปน็ โรงไฟฟา้ อกี แหง่ หนงึ่ ซงึ่ แสดงใหเ้ หน็ ถงึ พระราชอจั ฉรยิ ภาพของในหลวงดา้ นการนำ� พลงั งานนำ้� มาผลติ กระแสไฟฟา้ ไดอ้ ยา่ งเปน็ อยา่ งดี พลอากาศตรกี ำ� ธน สนิ ธวานนท์ องคมนตรี เลา่ ว่า... \"พระองค์ท่านทรงมีความรู้ว่าการผลิตไฟฟ้าจากพลังน�ำ้ สามารถท�ำได้สองแบบ แบบแรกได้จากการทีน่ �ำ้ ไหลจากทีส่ ูงลงมาพัดกังหันเครือ่ งก�ำเนิดไฟฟ้า ส่วนอีกแบบหนึง่ คือ นำ�้ ไหลในทางราบ ซึ่งหากไหลอยูต่ ลอดเวลากท็ ำ� ใหก้ งั หนั เครือ่ งกำ� เนดิ ไฟฟ้าหมุนไดเ้ ช่นกนั เมือ่ พระองค์ทอดพระเนตรเห็นทางนำ�้ ไหลอยู่ตลอดเวลาทบี่ ้านยาง จึงทรงมีพระราชด�ำริให้ศึกษา ถงึ ความเปน็ ไปไดใ้ นการสรา้ งไฟฟ้าทนี่ ี่ ทรงมพี ระราชประสงคใ์ หผ้ ลติ ไฟฟ้าเพอื่ นำ� ไปใช้ในการ ดำ� เนินงานของโรงงานแปรรูปผลไม้ เพราะเวลานัน้ ยังไม่มีไฟฟ้าเข้าถงึ หมูบ่ า้ นดังกลา่ ว\"

31พลงั งาน การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศจึงก่อสร้างโรงไฟฟ้าพลังน้�ำบ้านยางข้ึนใน เดอื นกรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๑๖ เม่อื แล้วเสรจ็ ในหลวงไดเ้ สด็จพระราชดำ� เนนิ ไปทรงเปดิ โรงไฟฟา้ ในเดอื นกมุ ภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๑๗ โรงไฟฟา้ บา้ นยางสามารถผลติ กระแสไฟฟา้ ไดป้ ระมาณ ๐.๔ ลา้ นกโิ ลวตั ต์ ต่อช่ัวโมง นอกจากช่วยให้โรงงานแปรรูปผลไม้สามารถด�ำเนินงานได้แล้ว ยังช่วยจ่าย กระแสไฟฟ้าให้แกห่ มูบ่ า้ นยางและหม่บู ้านใกล้เคยี งอกี ดว้ ย

พ ัลงงาน32 ๓.โรงไฟฟ้าพลงั นำ�้ บา้ นขุนกลาง จังหวัดเชียงใหม่ โรงไฟฟา้ พลงั นำ้� บา้ นขนุ กลาง จงั หวดั เชยี งใหมเ่ ปน็ อกี หนง่ึ โรงไฟฟา้ สรา้ งขนึ้ ตามแนวพระ ราชด�ำริของในหลวง ด้วยทรงมีพระราชด�ำริให้การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทยศึกษาและพัฒนา พลงั น้ำ� ของน�้ำตกสิรภิ มู ิ ซง่ึ อยู่บนดอยอินทนนท์ในเขตหมู่บา้ นขุนกลาง มาใช้ในการผลติ กระแสไฟฟ้า เพื่อส่งให้กับหมู่บ้านชาวไทยภูเขาและพ้ืนที่การเกษตรของโครงการหลวงบริเวณพื้นที่ดอยอินทนนท์ การกอ่ สรา้ งไฟฟ้าบา้ นขุนกลาง เร่มิ เมื่อปีพ.ศ.๒๕๒๕ แลว้ เสร็จในปีพ.ศ.๒๕๒๗ โดยสมเด็จพระเทพ รัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี ไดเ้ สรจ็ พระราชด�ำเนินไปทรงประกอบพิธเี ปิดโรงไฟฟ้าบา้ นขุน กลางเมือ่ วันท่ี ๑ กมุ ภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๒๗

33 พลงั งาน ๔.โรงไฟฟ้าพลงั นำ�้ เขอื่ นแมง่ ัดสมบูรณ์ชล จงั หวัดเชียงใหม่ โรงไฟฟ้าพลงั น�ำ้ เขือ่ นแม่งดั สมบูรณ์ชล เดมิ เป็นฝายก้นั นำ้� ขนาดเลก็ ปิดก้ันลำ� น้ำ� แม่งดั ในพ้นื ท่ี ต�ำบลช่อแล อำ� เภอแมแ่ ตง จงั หวัดเชียงใหม่ จนกระทง่ั ในปี พ.ศ.๒๕๑๖ ไดเ้ กดิ อทุ กภยั ข้ึน ท�ำให้ฝาย ไดร้ บั ความเสยี หายจนใชก้ ารไมไ่ ดก้ รมชลประทานจงึ ไดพ้ จิ ารณาดำ� เนนิ การซอ่ มแซมฝายตอ่ มาเมอื่ วนั ที่ ๒๑ มกราคม พ.ศ.๒๕๒๐ ในหลวงและพระราชนิ ไี ดเ้ สดจ็ พระราชดำ� เนนิ เยยี่ มโครงการดงั กลา่ ว และ ทรงพระราชด�ำริวา่ ... \"โครงการประเภทไหนถ้าพิจารณาดูแล้วเห็นว่าสามารถอ�ำนวยประโยชน์ได้ มากกว่า กส็ มควรจะเลอื กสรา้ งโครงการประเภทนัน้ \" การไฟฟา้ ฝา่ ยผลติ แหง่ ประเทศไทย ไดก้ อ่ สรา้ งโรงไฟฟา้ พลงั นำ�้ และตดิ เครอ่ื งกำ� เนดิ ไฟฟา้ ขนาด ๔,๕๐๐ กิโลวัตต์ จำ� นวน ๒ เครอ่ื ง รวม ๙,๐๐๐ กโิ ลวตั ต์ สามารถผลติ กระแสไฟฟ้าไดป้ ีละประมาณ ๒๙ ลา้ นกิโลวตั ตต์ อ่ ชั่วโมง โดยในหลวงทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯพระราชทานนามวา่ \"เข่ือนแม่งดั สมบูรณช์ ล\" เม่อื วนั ท่ี ๑๖ กมุ ภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๒๙ และเสด็จพระราชดำ� เนินไปทรงประกอบพิธีเปิด เขอื่ นดว้ ยพระองคเ์ องเมอื่ วนั ที่ ๒๒ กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ.๒๕๒๙ ยงั ความปลาบปลม้ื ใจแกป่ ระชาชนทไี่ ปเฝา้ รอรับเสด็จเป็นจำ� นวนมาก เพราะไม่เพยี งแต่ไดช้ ่ืนชมพระบารมอี ยา่ งใกลช้ ดิ เท่านน้ั แต่โครงการของ พระองคย์ งั ท�ำใหพ้ วกเขามีวิถีชวี ติ ความเป็นอยทู่ ี่ดีข้ึนต่างจากเดมิ ราวพลิกฝ่ามือ

34 ๕.เขือ่ นพรมธารา จังหวัดชัยภูมิ พ ัลงงาน ณ ตำ� บลทงุ่ พระ อำ� เภอคอนสาร จงั หวดั ชยั ภมู ใิ นหลวง และพระราชินีได้เสด็จพระราชด�ำเนินพร้อมด้วยสมเด็จพระ เทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี และสมเดพ็ ระเจา้ ลกู ยาเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณ์วลัยลักษณ์ ไปทรงเปิดเขื่อนและโรง ไฟฟ้าเมื่อวันที่ ๓ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๑๖ พร้อมทั้งได้ พระราชทานพระนามสมเด็จพระเจา้ ลูกยาเธอเจ้าฟ้าจฬุ า ภรณ์วลัยลักษณ์มาขนานนามช่ือเขื่อนว่า \"เข่ือนจุฬาภรณ์\" และเม่ือในหลวงผู้เปี่ยมพระเมตตาเสด็จพระราชด�ำเนินไป ทอดพระเนตรการกอ่ สรา้ งเขอื่ นจฬุ าภรณ์ ไดท้ รงพระราชดำ� ริ ว่า... “ลำ� หว้ ยซึ่งเปน็ สาขาของแมน่ ำ�้ พรมเหนอื เขอื่ นจุ ฬาภรณเ์ ปน็ ลำ� หว้ ยขนาดใหญ่ มี นำ�้ ไหลตลอดปี สมควรศึกษารายละเอยี ดเพือ่ พจิ ารณาก่อสรา้ งเขือ่ นหรือฝายขนาดเล็กและ เจาะอุโมงค์ผันน�ำ้ ลงมายงั เขอื่ นจุ ฬาภรณ”์ การไฟฟา้ ฝา่ ยผลติ แหง่ ประเทศไทยจงึ ทำ� การศกึ ษาและกอ่ สรา้ งเขอ่ื นพรมธาราขน้ึ เพอ่ื สนองแนวพระ ราชด�ำริอันล�้ำลึก ท�ำให้สามารถผันน้�ำมาลงเขื่อนจุฬาภรณ์ได้ถึงปีละ ๒ ล้านลูกบาศก์เมตรส่งผลให้เขื่อน จฬุ าภรณส์ ามารถผลติ กระแสไฟฟา้ ไดเ้ พม่ิ ขนึ้ อกี ปลี ะประมาณ ๒ ลา้ นกโิ ลวตั ตต์ อ่ ชว่ั โมงการไฟฟา้ ฝา่ ยผลติ แหง่ ประเทศไทยไดเ้ รม่ิ ก่อสรา้ งโครงการก่อสร้าง“เข่อื นพรมธารา”ขึน้ ทางฝ่งั ซ้ายของเขอื่ นจุฬาภรณ์ ระยะ หา่ งประมาณ ๕๐๐ เมตรเมอ่ื เดอื นมิถุนายน พ.ศ.๒๕๒๔ แล้วเสรจ็ ในเดือนมถิ นุ ายน พ.ศ.๒๕๒๕ เขอื่ นพรม ธาราจงึ เปน็ อกี หนงึ่ ความสำ� เรจ็ ทแ่ี สดงใหเ้ หน็ ถงึ พระราชอจั ฉรยิ ภาพขององคพ์ ระประมขุ แหง่ สยามประเทศ ในการประดิษฐ์ คิดคน้ ดดั แปลงส่ิงทีม่ อี ยเู่ พอื่ ใหใ้ ช้ประโยชนไ์ ด้สูงสุด

35 พลงั งาน ๖.โรงไฟฟ้ าพลงั น�ำ้ เขือ่ นหว้ ยกุม่ จงั หวดั ชัยภมู ิ เข่ือนห้วยกุ่มเป็นอีกหนึ่งในโครงการตามแนวพระราชด�ำริท่ีเกิดขึ้นเม่ือครั้งที่ในหลวงเสด็จ พระราชด�ำเนินทรงท�ำพิธีเปิดเข่ือนจุฬาภรณ์โดยทรงมีพระราชด�ำรัสให้การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่ง ประเทศไทยไปศึกษาความเป็นไปได้ในการสร้างเข่ือน ณ บริเวณท้ายน�้ำเขื่อนจุฬาภรณ์ห่างลงไป ประมาณ ๔๐ กโิ ลเมตรเพอื่ ชว่ ยแก้ปญั หาการขาดแคลนน้�ำของเกษตรกรในพ้ืนท่ี โดยพลอากาศตรกี ำ� ธน สนิ ธวานนท์ องคมนตรี เล่าถงึ การเสดจ็ พระราชดำ� เนินในครงั้ นนั้ ว่า... \"พอกราบบงั คมทลู วา่ เปน็ พระมหากรุณาธคิ ณุ ลน้ เกลา้ ลน้ กระหมอ่ ม ทเี่ สดจ็ มาเปิดเขอื่ นเลก็ ๆ พระองค์ทา่ นกท็ รงมีรบั ส่งั วา่ 'นีค่ อื เขือ่ นทีใ่ หญ่ทีส่ ุดของฉนั แล้ว' \"

พ ัลงงาน36 ตอ่ มาเข่ือนหว้ ยกมุ่ จงึ ไดถ้ กู สรา้ งขน้ึ เม่ือปีพ.ศ.๒๕๒๑และกอ่ สรา้ งแลว้ เสรจ็ ในปีพ.ศ.๒๕๒๓ สว่ น โรงไฟฟ้าสรา้ งเสรจ็ ในปีพ.ศ.๒๕๒๕โดยในหลวงและพระราชินี พรอ้ มดว้ ยสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี และสมเดจ็ พระเจา้ ลกู เธอเจา้ ฟ้าจุ ฬาภรณว์ ลกั ลกั ษณอ์ คั รราชกมุ ารี ทรงประกอบ พระราชพิธีเปิดเข่ือน เม่อื วนั ท่ี ๑๙ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๒๓ เขื่อนห้วยกุ่มได้สร้างข้ึนปิดก้ันล�ำน�้ำพรม ณ บ้านปากห้วยกุ่ม ต�ำบลหนองโพนงามอ�ำเภอ เกษตรสมบรู ณ์ จงั หวดั ชยั ภมู ิ ตวั เขอื่ นเปน็ แบบหนิ ทงิ้ แกนดนิ เหนยี ว สงู ๓๕.๕เมตรสนั เขอ่ื นยาว ๒๘๒เมตร กวา้ ง ๘เมตร อ่างเก็บน้ำ� มเี นื้อที่ ๒.๔ตารางกิโลเมตรอาคารโรงไฟฟ้าเป็นคอนกรตี เสรมิ เหล็กแบบก่ึงใตด้ นิ มเี คร่อื งก�ำเนดิ ไฟฟา้ จ�ำนวน ๑เคร่อื ง ขนาดก�ำลงั ผลิต ๑,๐๖๐กโิ ลวัตต์

37 ๗.โรงไฟฟ้ าพลังนำ�้ คลองช่ องกล�ำ่ จงั หวัดสระแก้ว พลงั งาน เดมิ ทบี รเิ วณคลองชอ่ งกลำ�้ ซงึ่ เปน็ พนื้ ทปี่ า่ เชงิ เขาบรรทดั แถบชายแดน ไทย-กัมพูชา จงั หวดั สระแกว้ มสี ภาพป่าเสื่อมโทรมถูกบกุ รกุ ท�ำลาย ราษฎร ประสบปญั หาขาดแคลนน้ำ� ในการท�ำการเกษตร และในเวลานั้นยงั เปน็ พื้นท่ี ทม่ี กี ารสรู้ บกบั ผกู้ อ่ การรา้ ยอกี ดว้ ย ในหลวงจงึ ไดท้ รงมพี ระราชดำ� รใิ หก้ อ่ สรา้ ง เขอื่ นช่องกล�ำ่ ตอนบน เข่ือนชอ่ งกล่�ำตอนลา่ ง และเขือ่ นทา่ กระบาก โดยแล้ว เสร็จในปี พ.ศ.๒๕๒๔ เมือ่ วนั ที่ ๒ กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๒๔ พระองคท์ ่านเสดจ็ พระราชด�ำเนนิ เย่ียมเยยี นราษฎรในพน้ื ที่ และทรงมพี ระราชดำ� รใิ หพ้ จิ ารณานำ� นำ้� ท่ีระบาย จากเขื่อนมาใช้ประโยชน์ในการผลิตกระแสไฟฟ้าก่อนระบายน�้ำไปใช้ใน การเกษตร โดยทรงมพี ระราชดำ� รใิ หเ้ พมิ่ ความสงู ของเขอื่ นคลองชอ่ งกลำ�่ ตอน บนอกี ๒ เมตร หรือตามความเหมาะสม เพ่ือใหอ้ ่างเกบ็ นำ�้ มีความจุมากข้นึ และสามารถเพิ่มก�ำลงั ผลติ กระแสไฟฟา้ ได้มากขึ้นตามไปด้วย

พ ัลงงาน38 ๘.โรงไฟฟ้ าพลังนำ�้ ไอกะเปาะ จังหวดั นราธวิ าส เมอื่ คราวทใ่ี นหลวงทา่ นเสดจ็ พระราชดำ� เนนิ ไปทรงเยยี่ มเยยี นสมาชกิ นคิ ม พฒั นาภาคใต้ ณ สำ� นกั สงฆโ์ ตะ๊ โมะ อำ� เภอสคุ ริ นิ จงั หวดั นราธวิ าส หลงั จากทอด พระเนตรนาขั้นบนั ได นาข้าวไร่ บรเิ วณหม่บู ้านภูเขาทอง และการทดลองปลกู ข้าวที่โครงการฝายทดน้�ำโต๊ะโมะแล้ว พระองค์ทรงมีพระราชด�ำเกี่ยวกับการ ชลประทานและงานต่าง ๆ ทรงแนะให้พิจารณาวางโครงการและก่อสร้างฝาย เกบ็ นำ้� ไอกะเปาะพรอ้ มกบั โรงไฟฟา้ พลงั นำ�้ เพอ่ื นำ� ไฟฟา้ เปน็ เชอ้ื เพลงิ ใหก้ บั เครอื่ ง สีข้าวขนาด ๒๕ กิโลวัตต์ ท่รี าษฎรน้อมเกล้าน้อมกระหมอ่ มถวายส�ำหรับติดต้ัง บริเวณส�ำนักสงฆ์ต่อไป นอกจากนั้นก�ำลังไฟฟ้าส่วนท่ีเหลือสามารถน�ำไปใช้ใน หมบู่ า้ นบรเิ วณใกลเ้ คยี ง อนั ไดแ้ ก่ หมบู่ า้ นไอกะเปาะ หมบู่ า้ นโตะ๊ โมะ และหมบู่ า้ น ล�ำธารทองได้อกี ดว้ ย

39พลงั งาน หลงั จากศกึ ษาความเปน็ ไปได้ กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและ อนรุ กั ษ์พลังงาน กระทรวงพลังงาน (ส�ำนักงานพลังงานแหง่ ชาตใิ นเวลานัน้ ) จงึ เรมิ่ กอ่ สรา้ งฝายเกบ็ นำ้� ไอกะเปาะและโรงไฟฟา้ พลงั นำ้� ตง้ั แตเ่ ดอื นมกราคม พ.ศ.๒๕๒๖ และแลว้ เสรจ็ ในเดอื นกันยายน พ.ศ.๒๕๒๗ หลงั จากนั้นเปน็ ตน้ มาพลังน้�ำจากฝายเล็กๆ แห่งนี้ก็กลายเป็นพลังท่ียิ่งใหญ่ในการพัฒนาพื้นท่ี ภาคใต้ ใหป้ ระชาชนไดม้ คี ณุ ภาพชวี ติ ทด่ี ขี น้ึ ตามพระราชประสงคข์ องในหลวง

พ ัลงงาน40 ๙.โรงไฟฟ้ าพลงั น�ำ้ คลองท่งุ เพล จงั หวัดจนั ทบุรี เมอื่ ปี พ.ศ.๒๕๒๙ ในหลวงเสดจ็ พระราชดำ� เนนิ เปดิ เขอ่ื นคริ ธี าร อำ� เภอมะขาม จังหวัดจันทบุรี ซ่ึงเดิมชื่อโครงการห้วยสะพานหิน เป็นเขื่อนขนาดกลางของกรมพัฒนา พลงั งานทดแทนและอนรุ กั ษ์พลงั งาน นางสริ พิ ร ไศละสตู อดีตอธบิ ดีกรมพฒั นาพลงั งาน ทดแทนและอนรุ ักษ์พลังงาน เลา่ ถงึ การถวายรายงานในคร้งั นั้นวา่ ...

41 \"เมอื่ ถวายรายงานวา่ หลังจากนกี้ รมจะสร้างฝายยางเพอื่ กนั้ นำ�้ และปล่อยน�ำ้ ไปช่วยทางจงั หวัดตราดพระองค์รบั ส่งั วา่ \"ยงั ไมว่ กิ ฤติ ยังนอ้ ย พลงั งาน คนทีต่ ้องช่วยเขากอ่ นจะอยู่ทางดา้ นทงุ่ เพล เพราะขาดน�ำ้ มากกวา่ \"... สิง่ ทีพ่ ระองค์ท่านรับสั่งเป็นเรือ่ งทีเ่ ราคาดไม่ถึง ในสายพระเนตรของ พระเจ้าอยูห่ วั ทกุ คนคือราษฎร พระองคท์ า่ นไม่ไดโ้ ปรดใครเปน็ พิเศษเปน็ การ เฉพาะ แต่ทรงมองถึงเหตแุ ละความจำ� เปน็ ในขณะทีเ่ ราเห็นว่าการสรา้ งฝาย แห่งหนึง่ ดกี ว่า พระองคท์ ่านไมไ่ ด้รบั ส่งั ให้เราหยุดท�ำ แต่รบั ส่ังให้ไปพิจารณา วา่ ควรทำ� อกี แหง่ หนึง่ ดว้ ย... พระราชดำ� รขิ องพระเจา้ อยูห่ วั ไมไ่ ดห้ มายความวา่ พระองคท์ า่ นรบั สง่ั ให้ ไปท�ำ แต่เหมอื นพระองคท์ ่านพระราชทานคำ� แนะนำ� และทรงกระตุน้ ผูป้ ฏิบตั ิ งานให้ทบทวนว่าท�ำงานละเอียดรอบคอบแล้วหรอื ไม่ การทพี่ ระองคท์ า่ นทรง มแี นวพระราชดำ� ริ ผูน้ ำ� ไปปฏบิ ตั ติ อ้ งคดิ พจิ ารณาตอ่ ดว้ ย ถา้ ศกึ ษาแลว้ ไมค่ มุ้ ท�ำไม่ได้ พระองค์ก็ไม่ทรงว่าอะไร เท่าทีเ่ คยรับพระราชด�ำริมา ยังไม่มีพระ ราชดำ� ริใดทที่ �ำไม่ไดห้ รือท�ำแลว้ ไมค่ มุ้ ” ปัจจุบันนี้โครงการโรงไฟฟ้าพลังน�้ำคลองทุ่งเพล ซึ่งเป็นโครงการอันเนื่องมาจากพระ ราชดำ� ริอย่ใู นเขตกง่ิ อำ� เภอเขาคชิ ฌกฏู และอ�ำเภอมะขาม จังหวัดจนั ทบุรี มีขนาดกำ� ลังผลติ รวม ๙.๘ เมกะวัตต์ และสามารถผลติ พลังงานไฟฟา้ ได้ปลี ะ ๒๘.๑๖ ล้านกิโลวัตต์ต่อชว่ั โมง ถอื เป็นโครงการทพี่ ลิกฟืน้ คืนชีวติ ใหก้ บั พสกนิกรผทู้ กุ ขย์ าก

พ ัลงงาน42 กังหนั น้�ำผลติ ไฟฟ้าจากคลองลดั โพธ์ติ ามแนวพระราชด�ำริ ครง้ั หนง่ึ ในหลวงทรงมพี ระราชกระแสรบั สงั่ ถามเจ้าหน้าทีท่ ่ีเกี่ยวข้องว่า... “โครงการคลองลดั โพธจิ์ ะทำ� ประโยชนไ์ ดอ้ ยา่ งมหศั จรรย์ มี พลงั งานมหาศาล จะใช้พลงั งานนำ�้ ทรี่ ะบายผา่ นคลองทำ� ประโยชนอ์ ยา่ ง อืน่ ด้วยไดห้ รือไม่”

43 จากพระราชกระแสรบั สง่ั ถามดังกล่าว กรมชลประทานในฐานะผู้ดูแลโครงการดงั กล่าว จงึ ได้ พลงั งาน รว่ มมอื ทางวชิ าการกบั มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ ตดิ ตงั้ กงั หนั นำ�้ ผลติ กระแสไฟฟา้ ทป่ี ระตรู ะบายนำ�้ โดยใช้หลักพลังงานจลน์ของกระแสน้�ำไหลเปลี่ยนเป็นพลังงานไฟฟ้า ซ่ึงความเร็วของกระแสน้�ำใน คลองลดั โพธิ์เหมาะสมในการพฒั นาไฟฟ้าพลังน�้ำได้ คณะนกั วจิ ยั ไดท้ ำ� การออกแบบกงั หนั ทเี่ หมาะกบั คลองลดั โพธิ์ โดยคำ� นงึ ถงึ ประสทิ ธภิ าพสงู สดุ , สามารถซ่อมบ�ำรงุ ง่าย กงั หนั น้ำ� ดงั กล่าวถกู ออกแบบมา๒แบบท้งั แบบหมนุ ตามแนวแกน ซ่งึ มีใบพดั เสน้ ผา่ ศนู ยก์ ลางขนาด ๒ เมตร จำ� นวน ๓ ใบและแบบหมนุ ขวางการไหล โดยมใี บพดั เสน้ ผา่ ศนู ยก์ ลาง ขนาด๓เมตรจำ� นวน๑ใบ สามารถใชไ้ ดก้ บั ความเรว็ กระแสนำ้� ๒เมตรตอ่ วนิ าทขี นึ้ ไป กงั หนั นำ้� ทงั้ ๒แบบ สามารถผลติ กำ� ลงั ไฟฟา้ ไดส้ งู สดุ ถงึ แบบละ ๕.๗๔ กโิ ลวตั ต/์ ตอ่ ชวั่ โมง และชว่ ยลดคา่ ไฟฟา้ ของประตู

พ ัลงงาน44 พลังงานชีวภาพ...พลังแหง่ พระปรีชาญาณ ในหลวงทา่ นทรงเรม่ิ ตน้ การศกึ ษาวจิ ยั พลงั งานขนึ้ เมอ่ื เกอื บ๓๐ปที แ่ี ลว้ ดว้ ยทรง มงุ่ หวงั วา่ หากเกดิ ภาวะวกิ ฤตขิ าดแคลนขน้ึ ในอนาคต ประชาชนของพระองคจ์ ะไดม้ ที างเลอื ก ในการด�ำรงชีวิตอย่างไม่ต้องล�ำบากยากแค้น และแล้วความพยายามทั้งหมดท้ังมวลของ พระองค์ท่านก็เกิดผลประโยชน์อันประเมินค่ามิได้ ในขณะที่ราคาน้�ำมันดิบในตลาดโลกมี ราคาสงู ขน้ึ แตป่ จั จบุ นั ประชาชนชาวไทยกไ็ ดม้ ที างเลอื กในการใชพ้ ลงั งานทดแทน ทค่ี นไทย เราสามารถผลติ ได้เอง รวมถงึ สามารถลดปรมิ าณการนำ� เข้าได้เป็นจ�ำนวนมาก ดังจะเหน็ ได้ จากท่ีนายแก้วขวญั วัชโรทัย เลขาธิการสำ� นกั พระราชวงั กล่าวถงึ พระราชดำ� ริเรอ่ื งเชือ้ เพลิง ชีวภาพของในหลวงทีม่ มี านานหลายสบิ ปี ในหนังสอื ๗๒ ปี แกว้ ขวัญ วชั โรทัย เลขาธกิ าร พระราชวัง ว่า \"พระองคท์ รงรบั สง่ั มาตงั้ แต่ พ.ศ.๒๕๐๔ แลว้ วา่ คา่ รถจะแพง กแ็ ปลวา่ นำ�้ มนั จะ แพง บังเอิญผมรูจ้ ักกบั พวกอุตสาหกรรมนำ้� มัน แลว้ คยุ เร่อื งน้ี เขาบอกว่าเขาแขง่ ขนั กัน มนั กต็ ้องลดราคาลงไปเร่ือย ๆ พระองคก์ ็รบั สงั่ ให้ทดลองผลติ แอลกอฮอลท์ ำ� นำ้� มนั เชอื้ เพลงิ ทำ� เปน็ น้�ำมนั แกส๊ โซฮอล์ ดโี ซฮอล์ ในสวนจติ รลดา... ตอนนัน้ ทรงมพี ระราชปรารภวา่ เมืองไทยกำ� ลงั เหอ่ ปลกู ต้นยูคาลิปตสั ทีไ่ หน ๆ ก็ปลกู หมด ยูคาลปิ ตสั ๓ ปี จงึ จะตดั ได้ แล้วทา่ นกร็ บั ส่งั วา่ ระหวา่ ง ๓ ปีเขาจะเอา อะไรกิน แตถ่ า้ เผอื่ ปลูกออ้ ย ปลูกทกุ ปีขายไดท้ ุกปี แลว้ ก็เอาออ้ ยมาทำ� แอลกอฮอล์ เอา แอลกอฮอล์มาผสมเบนซิน เราก็ทดลองผสมตัง้ แต่ ๑๐ เปอร์เซน็ ต์ ทัง้ เบนซินทัง้ นำ�้ มัน ดเี ซล ใช้ไดร้ ถยนต์ของโครงการส่วนพระองคใ์ ช้นำ�้ มนั แก๊สโซฮอลแ์ ละดีโซลฮอล์\"

45 พลงั งาน ทั้งนี้ การศึกษาวิจัยเก่ียวกับเชื้อเพลิงชีวภาพของโครงการโครงการส่วน พระองคส์ วนจติ รลดา เรม่ิ ตน้ ขน้ึ ในปี พ.ศ.๒๕๒๘ ดว้ ยในหลวงทา่ นทรงมพี ระราชดำ� ริ อย่างเฉียบแหลมว่า ในอนาคตอาจเกิดการขาดแคลนน�้ำมัน จึงมีประราชประสงค์ ให้น�ำอ้อยท่ีหลายๆ คนมองข้ามมาผลิตแอลกอฮอล์เพื่อใช้เป็นเชื้อเพลิง โดย พระราชทานเงินทุนวจิ ัยเร่มิ ตน้ เป็นจำ� นวน ๙๒๕,๕๐๐ บาท ถือเป็นจุดเรมิ่ ต้นเลก็ ๆ ทน่ี �ำมาสผู่ ลส�ำเร็จอนั ยิ่งใหญใ่ นปจั จุบนั

พ ัลงงาน 46 เอทานอล การศึกษาวิจัยเกย่ี วกบั เอทานอลภายในโครงการส่วนพระองค์ สวนจิตรลดาเร่ิมตั้งแต่การทดลองปลูกอ้อยหลายพันธุ์ เพื่อคัดเลือกพันธุ์ที่ดีที่สุด น�ำมาท�ำแอลกอฮอล์ นอกจากอ้อยท่ีผลิตได้ภายในโครงการส่วนพระองค์สวน จิตรลดาแล้วในหลวงยังทรงมีพระราชด�ำริให้ออกไปรับซ้ืออ้อยจากเกษตรกรเพ่ือ น�ำมาเป็นวัตถุดิบอีกด้วย โดยโรงงานแอลกอฮอล์ซึ่งมีท้ังเคร่ืองหีบอ้อย ถังหมัก หอกลั่นขนาดเล็ก เริ่มเดินเคร่ืองการผลิตครั้งแรกในปีพ.ศ.๒๕๒๙ สามารถผลิต แอลกอฮอล์ ๙๑ เปอรเ์ ซ็นต์ไดใ้ นอตั รา ๒.๘ ลิตรตอ่ ช่ัวโมงต่อมาเนือ่ งจากวัตถดุ บิ มีไมเ่ พยี งพอ จงึ เปลีย่ นมาใชก้ ากน�ำ้ ตาล และมกี ารสรา้ งอาคารศกึ ษาวิจัยหลังใหม่ ภายในโครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดาน่ันเอง

47 พลงั งาน

พ ัลงงาน48 สำ� หรบั แอลกอฮอลท์ ผี่ ลติ ไดใ้ นชว่ งแรกยงั ไมส่ ามารถนำ� ไปผสมกบั เบนซนิ ได้ จงึ นำ� ผลผลติ ที่ได้ไปท�ำเป็นน้�ำส้มสายชูแทน และต่อมาก็ท�ำเป็นแอลกอฮอล์แข็งใช้อุ่นอาหารให้กับทางห้อง เครื่องของสวนจิตรลดา เน่ืองจากเดิมใชแ้ อลกอฮอลเ์ หลว แต่การเปลย่ี นแปลงนั้นมีที่มาจากครัง้ หนึ่งเม่ือมีการขนส่งแอลกอฮอล์เหลวไปยังพระต�ำหนักทางภาคเหนือ ก็มีเคราะห์ร้ายรถเกิด อบุ ตั เิ หตทุ ำ� ใหไ้ ฟไหมร้ ถทง้ั คนั เพราะแอลกอฮอลเ์ ปน็ เชอื้ เพลงิ อยา่ งดี ตอ่ จากนนั้ มาจงึ ไดม้ กี ารคดิ น�ำแอลกอฮอลม์ าทำ� เปน็ เช้อื เพลงิ แข็งเพ่อื ความปลอดภัยแทน และหลงั จากน้ันความมุ่งมัน่ ของ พระมหากษตั รยิ น์ กั พฒั นากไ็ มเ่ คยหยดุ ยงั้ พระองคท์ รงตดิ ตามการทำ� งานของเจา้ หนา้ ทอี่ ยา่ งใกล้ ชิด โรงงานแอลกอฮอล์จึงมีการปรับปรุงการกลั่นเร่ือยมา จนกระท่ังสามารถผลิตแอลกอฮอล์ บรสิ ุทธ์ิ ๙๕ เปอร์เซน็ ต์ หรอื “เอทานอล” ไดเ้ ป็นผลสำ� เรจ็ ในปี พ.ศ.๒๕๓๗ โครงการส่วนพระองคส์ วนจติ รลดาขยายก�ำลังการ ผลติ เอทานอลเพอื่ ใหม้ ปี รมิ าณเพยี งพอผสมกบั นำ�้ มนั เบนซิน ๙๑ ในอตั ราสว่ น ๑ : ๙ ได้เป็นน�ำ้ มันแก๊สโซฮอล์ เติมให้กับรถยนต์ทุกคันของโครงการส่วน พระองค์สวนจิตรลดา ซึ่งเป็นหนึ่งในหกโครงการเฉลิมพระเกียรติ เนื่องใน วโรกาสทีพ่ ระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยูห่ วั ทรงครองสริ ริ าชสมบตั ิครบ ๕๐ ปี ของ ส�ำนักพระราชวงั

การผสมแอลกอฮอลก์ บั เบนซนิ ของโครงการสว่ นพระองคส์ วนจติ รลดาในระยะแรกเปน็ การ 49 นำ� นำ้� มนั และเอทานอลมาผสมในถงั ธรรมดา ใชแ้ รงงานคนเขยา่ ใหเ้ ขา้ กนั ตอ่ มาบรษิ ทั ปตท. จำ� กดั (มหาชน) (การปโิ ตรเลยี มแห่งประเทศไทยในเวลาน้ัน) จึงน้อมเกลา้ นอ้ มกระหมอ่ มถวายหอผสม พลงั งาน และสถานบี ริการน�้ำมันแก๊สโซฮอลแ์ ก่โครงการส่วนพระองคส์ วนจติ รลดา รวมถึงในปพี .ศ.๒๕๔๔ ภาคเอกชน ๒ กลมุ่ ได้นอ้ มเกลา้ ฯ ถวายเครือ่ งแยกนำ�้ ออกจากเอทานอล (Dehydration Unit) ๒ แบบ คอื เครอ่ื ง Molecular Sieve Dehydration Unit และเครอ่ื ง Membrane Dehydration Unit โดยปจั จบุ นั สถานบี รกิ ารเชอ้ื เพลงิ ในโครงการสว่ นพระองคส์ วนจติ รลดา นอกจากผลติ นำ�้ มนั แกส๊ โซฮอลเ์ ตมิ ใหก้ บั รถยนตท์ กุ คนั ของโครงการแลว้ งานทดลองผลติ ภณั ฑเ์ ชอื้ เพลงิ ของโครงการ ส่วนพระองคส์ วนจติ รลดายังเป็นแหลง่ ความรูแ้ กป่ ระชาชนที่สนใจอกี ด้วย จากต้นทางพระราชด�ำริของพระมหากษัตริย์ผู้เป็น “ปราชญ์แห่งการพัฒนาพลังงาน” ภายในเวลาเพยี งไมก่ ี่ปีนำ�้ มนั แกส๊ โซฮอลก์ ไ็ ดร้ บั ความนยิ มในหมปู่ ระชาชนทั่วไปอย่างกวา้ งขวาง

พ ัลงงาน50 ไบโอดีเซล - ไบโอดีเซลในประเทศไทย - เม่อื ปี พ.ศ.๒๕๒๖ ในหลวงของเราทรงมีพระ ราชด�ำริให้มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สร้างโรงงานสกัดน�้ำมันปาล์มขนาด เล็กท่ีสหกรณ์นิคมอ่าวลึก จังหวัดกระบ่ี และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ สร้างโรงงานสกดั น�้ำมนั ปาลม์ บริสุทธ์ิขนาดเลก็ ก�ำลงั ผลิตวนั ละ ๑๑๐ ลิตร ที่ ศูนย์ศึกษาการพัฒนาพิกุลทองอันเน่ืองมาจากพระราชด�ำริ จังหวัดนราธิวาส ตอ่ มาในปี พ.ศ.๒๕๒๘ ในหลวงเสดจ็ พระราชดำ� เนนิ พรอ้ มดว้ ยสมเดจ็ พระเทพ รตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ทอดพระเนตรโรงงานสกดั นำ้� มนั ปาลม์ สาธติ ท่มี หาวิทยาลยั สงขลานครนิ ทร์ และมพี ระราชด�ำรสั ให้ไปทดลองสรา้ งโรงงาน ใหก้ ลมุ่ เกษตรกรทมี่ คี วามพรอ้ มในพน้ื ทจี่ รงิ และในปถี ดั มามหาวทิ ยาลยั สงขลา นครินทร์ได้จัดสร้างโรงงานสกัดน�้ำมันปาล์มทดลองข้ึนที่สหกรณ์นิคมอ่าวลึก จงั หวดั กระบ่ี