Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สารานุกรมสำหรับเยาวชนเล่ม 2 คำที่เกี่ยวข้องในวงงานรัฐสภา

สารานุกรมสำหรับเยาวชนเล่ม 2 คำที่เกี่ยวข้องในวงงานรัฐสภา

Description: จากเว็บไซต์ senate.go.th
หนังสือ,เอกสาร,บทความที่นำมาเผยแพร่นี้ใช้เพื่อการศึกษาเท่านั้น

Search

Read the Text Version

สารานกุ รมการเมอื งไทยสำหรบั เยาวชน เลม่ ที่ ๒ เร่ือง คำที่เกย่ี วข้องในวงงานรฐั สภา จัดทำโดย คณะอนุกรรมการจดั ทำสารานุกรมสำหรับเยาวชน เลม่ ท่ี ๓ สมเด็จพใรนะคเณทะพกรรัตรมนกราารชจสัดงดุ าานเฯฉลสมิ ยพารมะบเกรยี มรตริาชกมุ ารี ในโอกาสฉลองพระชนมายุ ๕ รอบ ๒ เมษายน ๒๕๕๘



คำนำ สารานุกรมการเมืองไทยสำหรับเยาวชน เล่มที่ ๒ เรื่อง คำทเ่ี ก่ยี วข้องในวงงานรฐั สภา เป็น ๑ ในชดุ สารานกุ รมการเมอื งไทย สำหรับเยาวชน ฉบับเฉลิมพระเกยี รติสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ซึ่งสภานิติบัญญัติแห่งชาติจัดทำขึ้น เพ่ือ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ในโอกาสฉลองพระชนมายุ ๕ รอบ ๒ เมษายน ๒๕๕๘ โดยมี เน้ือหาเป็นการรวบรวมคำสำคัญต่าง ๆ ท่ีใช้ในวงงานรัฐสภาพร้อม คำอธิบายความหมาย เพื่อให้ง่ายแก่การทำความเข้าใจหรือการศึกษา หาความรู้ โดยแบ่งออกเป็น ๔ หมวด ได้แก่ หมวดทั่วไป จำนวน ๑๙ คำ หมวดรัฐธรรมนูญ จำนวน ๓๖ คำ หมวดพระราชบัญญัติ จำนวน ๑๓ คำ และหมวดข้อบังคับการประชมุ สภา จำนวน ๑๘ คำ คณะกรรมการจัดงานเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตน ราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ในโอกาสฉลองพระชนมายุ ๕ รอบ ๒ เมษายน ๒๕๕๘ สภานิติบัญญัติแห่งชาติ หวังเป็นอย่างย่ิงว่า หนังสือฉบับน้ีจะทำให้เยาวชนและประชาชนผู้สนใจได้รับความรู้ ความเข้าใจเก่ียวกับการดำเนินงานของรัฐสภาเพิ่มมากขึ้น และ สามารถนำไปใช้ประโยชน์สำหรับการศึกษาค้นคว้า และอ้างอิง ตามทเี่ ห็นสมควร คณะอนุกรรมการจดั ทำสารานุกรม สำหรบั เยาวชน เลม่ ท่ี ๓ เรื่อง คำทเี่ กีย่ วข้องในวงงานรฐั สภา

สารบัญ หนา้ หมวดท่ัวไป ๑๑ รัฐ ๑๓ รฐั ธรรมนญู ๑๔ ระบอบประชาธปิ ไตยอันมพี ระมหากษัตริยท์ รงเป็นประมุข ๑๕ อำนาจอธิปไตย ๑๖ ศกั ดศ์ิ รคี วามเปน็ มนุษย ์ ๑๗ สทิ ธิ เสรภี าพ ความเสมอภาค ๑๙ หนา้ ทีข่ องชนชาวไทย ๒๐ หลกั นิติธรรม ๒๑ แนวนโยบายพ้นื ฐานแหง่ รฐั ๒๒ การมีส่วนร่วมของประชาชน ๒๓ การตรวจสอบการใชอ้ ำนาจรัฐ ๒๕ พระราชบัญญัต ิ ๒๖ พระราชบัญญัติเกี่ยวด้วยการเงิน ๒๗ พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ ๒๘ พระราชกำหนด ๒๙ พระราชกฤษฎกี า ๓๐ ข้อบังคับการประชมุ สภา ๓๑

สมัชชาแห่งชาติ ๓๒ สภารา่ งรฐั ธรรมนูญ ๓๓ หมวดรัฐธรรมนญู ๓๕ รฐั สภา ๓๖ พฤฒสภา ๓๗ สภาผู้แทนราษฎร ๓๘ วฒุ ิสภา ๓๙ สภานติ บิ ญั ญัตแิ หง่ ชาต ิ ๔๐ สภาปฏิรูปแห่งชาต ิ ๔๑ คณะรักษาความสงบแหง่ ชาติ ๔๒ การแถลงนโยบายต่อทปี่ ระชุมสภา ๔๓ การปฏิญาณตนในท่ปี ระชมุ สภา ๔๔ สมาชิกภาพ ๔๕ วาระการดำรงตำแหน่ง ๔๕ การป รกกะาาชรรปปมุ สรระะภชชาุมมุ วสฒุภาสิ ผภู้แาท นราษฎร ๔๔๔๗๖๖ การประชุมร่วมกนั ของรฐั สภา ๔๘ สมัยประชมุ ๔๙ สมยั ประชุมสามัญ ๕๐ สมยั ประชุมวสิ ามัญ ๕๐ สสมมัยยั ปปรระะชชมุมุ สสาามมญััญนทว่ัิตไิบปัญ ญัต ิ ๕๕๑๐

เอกสทิ ธ ์ิ ๕๒ ความค้มุ กนั ๕๓ ยบุ สภา ๕๔ การเขา้ ชอ่ื เสนอกฎหมาย ๕๕ การออกเสยี งประชามต ิ ๕๗ ศาลยตุ ิธรรม ๕๘ ศาลรฐั ธรรมนูญ ๕๙ ศาลปกครอง ๖๐ ศาลฎีกาแผนกคดอี าญาของผู้ดำรงตำแหนง่ ทางการเมอื ง ๖๑ องค์กรตามรัฐธรรมนญู ๖๓ การย่ืนบญั ชแี สดงรายการทรพั ยส์ ินและหน้ีสิน ๖๕ การกระทำท่เี ป็นการขัดกนั แห่งผลประโยชน์ ๖๖ ใกหารด้ ใำหรค้งตวำาแมหเหนน็ ง่ ชตอามบทใร่ีหัฐค้ ธำรแรนมะนนญู ำกหำรหอื นกดารเลือกบุคคล ๖๗ พการระใรหาค้ชวบาัญมญเหัต็นอิ ชน่ื อกบำบหคุนคดลใหด้ ำรงตำแหนง่ ตามท ่ี ๖๘ คณะกรรมการสรรหา ๖๙ คณะกรรมาธกิ ารเพือ่ ทำหนา้ ท่ตี รวจสอบประวตั ิ ๗๐ ความประพฤติ และพฤตกิ รรมทางจริยธรรม การถอดถอนบุคคลออกจากตำแหนง่ ๗๑ รำ่ รวยผิดปกติ ๗๓ ทุจริตต่อหนา้ ท ี่ ๗๔

กระทำผิดตอ่ ตำแหน่งหน้าทร่ี าชการ ๗๕ กระทำผดิ ตอ่ ตำแหนง่ หนา้ ท่ีในการยุติธรรม ๗๖ จงใจใชอ้ ำนาจหนา้ ท่ีขดั ตอ่ บทบัญญตั ริ ฐั ธรรมนญู ๗๗ การดำเนินคดอี าญาผ้ดู ำรงตำแหนง่ ทางการเมือง ๗๘ หมวดพระราชบญั ญตั ิ ๗๙ บันทึกหลักการและเหตผุ ล ๘๐ ชอ่ื รา่ งพระราชบัญญัติ ๘๑ ผู้เสนอรา่ งพระราชบญั ญตั ิ ๘๒ คำปรารภ ๘๔ บทจำกัดสทิ ธแิ ละเสรีภาพของบุคคลตามรัฐธรรมนญู ๘๔ วันใชบ้ ังคบั กฎหมาย ๘๕ บทยกเลิกกฎหมาย ๘๗ บทนยิ าม ๘๗ ผ้รู ักษาการ ๘๘ บทเฉพาะกาล ๘๘ บญั ชที า้ ยพระราชบญั ญตั ิ ๙๐ การแบง่ หมวดหมตู่ ามกฎหมาย ๙๑ ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ ๙๑

หมวดข้อบงั คบั การประชุมสภา ๙๓ การเล กกกือาาากรรรปเเแลลรตือือะง่ ธกกตาปรงั้ นอรปแงะรปลธะะราธนะราอธนสางภแนปลาสระะ ภรธาอาง นปสรภะาธ านสภา ๙๙๙๙๗๗๕๔ การป รกกะาาชรรมุปปสรระะภชชาุมมุ ลสบัภ าทเี่ ปน็ การเปิดเผย ๑๙๙๐๙๙๐ การน ดักปารรจะัดชรมุ ะสเบภยีาบ วาระการประชมุ ๑๑๐๐๒๑ องคป์ ตระรชวจมุ ส อบองคป์ ระชมุ ๑๑๐๐๕๔ รายงานการประชุมสภา ๑๐๖ ญัตต ิ สแปงวรนญคัตำตแ ิ ปรญตั ติ ๑๑๑๑๐๑๓๙๐ สงวนความเห็น ๑๑๔ การอภิปราย ๑๑๔ กกาารรเอปภดิ ิปอรภาิปยไรมาย่ไวท้วัว่ าไงปใจโด ยไมม่ กี ารลงมติ ๑๑๑๑๙๙ พกั การประชุม ๑๒๐ เลื่อนการประชมุ ๑๒๑ เลกิ การประชมุ ๑๒๑ การลงมต ิ ๑๒๒

การอ อกกกาาเรรสออยี อองกกลเเงสสคีียยะงงแลลนงงคคนะะ แแนนนนเลปบั ดิ เผย ๑๑๑๒๒๒๕๓๓ คณะ กคครณณรมะะากกธรริกรรามมราา ธธกกิิ าารรวสิสามามัญัญ ๑๑๑๒๒๒๗๗๖ คณะกรรมาธิการรว่ มกนั ๑๒๘ คณะกรรมาธกิ ารเตม็ สภา ๑๒๘ ตขปคคคอณณณารมงะะะะทผวกอกไู้ตั่ีรนรรดฐัิ รรคุกร้ ธมมวับรราาารกรธธมมมากิกิปรานาาธเรสรรูญกิะรสนพากว่ารอำฤมม หชตกญั ื่อนินั แเใพดขลหื่ออะ้ดทพงำรำรฤฐัหงตสตนกิ ำภา้รแทารห ีต่มนรท่งวาจงสจรอิยบธ รรม ๑๑๒๒๙๙ ๑๓๐ คณะกรรมาธิการวสิ ามญั กิจการสภา หรอื วิป (Whip) ๑๓๑ คำสงั่ เรียก ๑๓๓ กระท ้ถูกกการรรมะะะ ทททู้ถู้้ถถู าาามมมทสด่วดว่ั นไ ป ๑๑๑๑๓๓๓๓๕๘๖๖ งดใช้ข้อบังคับชัว่ คราว ๑๓๙ ดัชนคี ำค้น ๑๔๐ บรรณานกุ รม ๑๔๗



หมวดทั่วไป

12 สารานกุ รมการเมืองไทยสำหรับเยาวชน เล่มท่ี ๒

รฐั (State) ความเปน็ รฐั จะเกดิ ขนึ้ ได้ ตอ้ งมอี งคป์ ระกอบสำคญั ๔ ประการ คือ อาณาเขต ประชากร รัฐบาล และอำนาจอธิปไตย คำว่า “รัฐ” เป็นคำท่ีใช้ในความหมายท่ีหลากหลายขึ้นอยู่กับบริบทว่าจะหมายถึง สิ่งใด ซ่ึงอาจหมายถึงรัฐ ในฐานะท่ีเป็นรัฐบาลซึ่งเป็นกลุ่มบุคคล ผู้ดำรงตำแหน่งท่ีมีอำนาจในการตัดสินใจในทางการเมือง หรือรัฐ ในฐานะที่เป็นระบบราชการเป็นเคร่ืองมือทางการบริหาร หรือรัฐ ในฐานะท่ีเป็นชนชั้นปกครอง ในสังคมประชาธิปไตย รัฐมีหน้าที่ จะต้องรักษาความสงบเรียบร้อยของสังคม ต้องสร้างหลักประกันว่า จะพัฒนาประเทศเพ่ือประโยชน์ของประชาชนโดยรวมและต้อง ประกนั อิสรภาพและเสรีภาพของปัจเจกบุคคล คำที่เกยี่ วข้องในวงงานรฐั สภา 13

รฐั ธรรมนญู (Constitution) เป็นกฎหมายสูงสุดในการปกครองประเทศ กฎหมายอื่น ๆ เชน่ พระราชบญั ญตั ิ พระราชกฤษฎกี า กฎกระทรวง ประกาศกระทรวง หรือการกระทำใด ๆ ท่ีขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญ จะใช้บังคับไม่ได้ เนอื้ หาสาระของรฐั ธรรมนญู เกยี่ วขอ้ งกบั สทิ ธเิ สรภี าพของประชาชน และกลไกในการบริหารประเทศ ทุกประเทศทั่วโลกมีการประกาศใช้ รัฐธรรมนูญ ทั้งประเทศที่มีการปกครองระบอบประชาธิปไตยและ ประเทศทป่ี กครองระบอบเผดจ็ การ เพอื่ ใชเ้ ปน็ หลกั หรอื เปน็ แนวทาง ในการบรหิ ารประเทศ รฐั ธรรมนญู ทน่ี ยิ มในประเทศตา่ ง ๆ มี ๒ แบบ คือ ท่ีเป็นลายลักษณ์อักษร และไม่เป็นลายลักษณ์อักษรซ่ึงจะอยู่ใน รูปแบบของจารีตประเพณีท่ีถือปฏิบัติตามกันมา ประเทศไทยมี รัฐธรรมนญู ฉบับแรก เมอื่ วนั ท่ี ๒๗ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๗๕ 14 สารานกุ รมการเมืองไทยสำหรบั เยาวชน เล่มที่ ๒

รอ(wDะนัiteบมhmอีพtบohรcปeะrรaKมะtหiiชncาาgRกธaษeปิ sgัตไiHรตmิยeยeaท์ doรfงoGเfปSo็นvtaปetrรen)ะmมeุขn t การปกครองที่พระมหากษัตริย์ทรงอยู่ภายใต้รัฐธรรมนูญ โดยพระมหากษัตริย์ทรงเป็นผู้ใช้อำนาจอธิปไตยซ่ึงเป็นของ ประชาชน โดยใช้อำนาจนิติบัญญัติผ่านทางรัฐสภา อำนาจบริหาร ผา่ นทางคณะรฐั มนตรี และอำนาจตลุ าการผา่ นทางศาล พระราชอำนาจ ทั้งปวง ไม่ว่าจะเป็นในฐานะประมุขของรัฐ หรือในฐานะอ่ืน ได้ถูก กำหนดไวโ้ ดยชัดแจง้ ในรฐั ธรรมนูญ คำที่เกยี่ วขอ้ งในวงงานรัฐสภา 15

อำนาจอธปิ ไตย (Sovereignty) อำนาจสูงสุดในการปกครองประเทศและเป็นองค์ประกอบ สำคัญทสี่ ดุ ของความเป็นรัฐ เพราะการจะเป็นรัฐไดน้ ้ัน นอกจากตอ้ ง ประกอบดว้ ย อาณาเขต ประชากร และรัฐบาลแลว้ ยอ่ มต้องมอี ำนาจ อธิปไตยด้วย กล่าวคือ ประเทศนั้นต้องเป็นประเทศท่ีสามารถมี อำนาจสูงสดุ (อำนาจอธิปไตย) ในการปกครองตนเอง จึงจะสามารถ เรียกว่า “รัฐ” ได้ อำนาจอธิปไตยแสดงออกมาให้เห็น ๓ ลักษณะ ใหญ่ ๆ คือ อำนาจในการออกกฎหมายหรือที่เรียกกันว่าอำนาจ นิติบัญญัติ อำนาจบริหารเป็นอำนาจในการปกครองประเทศให้เป็น ไปตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย และอำนาจตุลาการเป็นอำนาจใน การตดั สินคดีความของศาล 16 สารานุกรมการเมอื งไทยสำหรับเยาวชน เล่มท่ี ๒

ศักดศ์ิ รคี วามเปน็ มนษุ ย์ (Human Dignity) ศักด์ิศรีความเป็นมนุษย์หรือการรับรองสิทธิของประชาชน ในฐานะท่ีเกิดเป็นมนุษย์เป็นหลักประกันสิทธิและเสรีภาพของ ประชาชนจากการใช้อำนาจรัฐ หรือการกระทำใด ๆ ของรัฐท่ีจะ กระทำต่อประชาชนจะต้องอยู่ในขอบเขตในฐานะที่บุคคลแต่ละคน เปน็ มนษุ ย์ โดยจะกระทบถงึ ศกั ดศิ์ รคี วามเปน็ มนษุ ยข์ องประชาชนมไิ ด้ หากมกี ารรบั รองศกั ดศ์ิ รคี วามเปน็ มนษุ ยไ์ วใ้ นรฐั ธรรมนญู ซง่ึ มสี ถานะ เป็นกฎหมายสูงสุดของประเทศ จะเป็นการให้หลักประกันสิทธิและ เสรภี าพทม่ี นั่ คงทส่ี ดุ แกป่ ระชาชน รฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๔๐ เปน็ รฐั ธรรมนญู ฉบบั แรกทไ่ี ดเ้ รม่ิ บญั ญตั ริ บั รอง หลกั การนี้ไว้ คำที่เกี่ยวข้องในวงงานรัฐสภา 17

การเลอื กปฏิบัติท่เี ปน็ ธรรม 18 สารานกุ รมการเมอื งไทยสำหรับเยาวชน เลม่ ท่ี ๒

ส(Rทิ iธghิ เtสsร, ภีLาibพerคtวieาsม, เEสqมuอaภliาtyค) สทิ ธิ (Rights) หมายถงึ อำนาจอนั ชอบธรรมของแตล่ ะบคุ คล ที่บุคคลนั้นได้รับการคุ้มครองตามกฎหมาย ซ่ึงบุคคลอื่นมีหน้าท่ี ตอ้ งเคารพนอกจากน้ี สทิ ธิยงั กอ่ ใหเ้ กดิ อำนาจแกบ่ คุ คลทจ่ี ะใชเ้ รยี กรอ้ ง ใหบ้ คุ คลอน่ื กระทำการหรอื ละเวน้ กระทำการอยา่ งหนงึ่ อยา่ งใดใหเ้ ปน็ ประโยชน์แกต่ น เสรภี าพ (Liberties) หมายถงึ ภาวะของมนษุ ยท์ ไ่ี มอ่ ยภู่ ายใต้ การครอบงำของผู้อ่ืน ปราศจากการถูกหน่วงเหนี่ยวขัดขวางจาก ผู้หนึ่งผ้ใู ดให้ตอ้ งกระทำการอย่างหนึ่งอยา่ งใด โดยตนเองไม่ประสงค์ จะกระทำ หรอื กดี กนั ให้ไมก่ ระทำในสิง่ ที่ตนประสงคจ์ ะกระทำ ความเสมอภาค (Equality) หมายถงึ ความเทา่ เทยี มกนั ของ บคุ คลตามกฎหมาย เปน็ หลกั การพนื้ ฐานของความยตุ ธิ รรม ทก่ี ำหนด ให้มีการปฏิบัติต่อบุคคลท่ีเก่ียวข้องกับเรื่องน้ัน ๆ อย่างเท่าเทียมกัน และหมายถึงการที่ประชาชนทุกคนในประเทศมีความเสมอภาคหรือ ความเท่าเทียมกันในส่ิงจำเป็นขั้นพ้ืนฐาน ซึ่งเป็นสิ่งที่จำเป็นต่อ การอยรู่ อดและพัฒนาตวั เอง คำทเี่ กยี่ วขอ้ งในวงงานรัฐสภา 19