Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 300 AEC_360“ถาม-ตอบ รอบรู้ AEC 360 องศา”

300 AEC_360“ถาม-ตอบ รอบรู้ AEC 360 องศา”

Description: หนังสือ,เอกสาร,บทความที่นำมาเผยแพร่นี้ใช้เพื่อการศึกษาเท่านั้น

Search

Read the Text Version

ASEAN Economic Community 2015

คำนำ อาเซยี นนบั เปน็ หนง่ึ ในกรอบความรว่ มมอื ทางเศรษฐกจิ ทไ่ี ทยใหค้ วามสำคญั เป็นอันดบั ต้นๆ เนื่องจากเปน็ ตลาดการค้าและการลงทุนหลักของประเทศ กอรปกับ เปา้ หมายการจดั ตง้ั ประชาคมเศรษฐกจิ อาเซยี น (ASEAN Economic Community: AEC) ให้แล้วเสร็จในปี ค.ศ. 2015 จึงเป็นปัจจัยสำคัญที่ทำให้ประเทศอาเซียนทั้ง 10 รวมทั้งไทย ต้องเร่งเสริมสร้างสมรรถนะและความสามารถในการแข่งขันรองรับ การเปิดเสรีท้ังการเคลือ่ นย้ายสินค้า บริการ การลงทุน เงินทุนและแรงงานฝีมือ ตลอดระยะเวลาเกอื บ 20 ปี นบั ตง้ั แตท่ ไ่ี ทยและอาเซยี นไดเ้ รม่ิ ลดภาษนี ำเขา้ สนิ คา้ ระหวา่ งกนั ภายใตเ้ ขตการคา้ เสรอี าเซยี น (AFTA) ในปี 2536 การคา้ ของไทยกบั อาเซยี นไดข้ ยายตวั เพม่ิ ขน้ึ อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง จากรอ้ ยละ 13.7 ของมลู คา่ การคา้ รวมของไทย (ปกี อ่ นการจดั ตง้ั AFTA) เปน็ รอ้ ยละ 20 ในปี 2554 ซง่ึ ทำใหอ้ าเซยี นกลายเปน็ คคู่ า้ อนั ดบั 1 ของไทย และนบั ตั้งแต่ที่ประเทศอาเซียนเดิม 6 ประเทศ ได้ลดภาษีสินค้า นำเข้าระหว่างกันลงเหลือร้อยละ 0 ตั้งแต่ปี 2553 ส่งผลให้เกิดการใช้สิทธิประโยชน์ ทางด้านภาษีอย่างกว้างขวาง โดยไทยส่งออกไปมาเลเซียมากเป็นอันดับหนึ่ง คิดเปน็ สัดส่วนร้อยละ 22.8 รองลงมา ได้แก่ สิงคโปร์ ร้อยละ 21.1 และอินโดนีเซีย ร้อยละ 18.6 ตามลำดบั ส่วนภาษีสินค้านำเข้าของประเทศอาเซียนใหม่อีก 4 ประเทศ ในขณะนี้มีอัตราร้อยละ 0-5 และจะลดเหลือร้อยละ 0 ในวนั ที่ 1 มกราคม 2558 นอกจากสทิ ธปิ ระโยชนท์ างภาษรี ะหวา่ งประเทศสมาชกิ แลว้ ประชาคมเศรษฐกจิ อาเซยี นยงั มเี ปา้ หมายทค่ี รอบคลมุ อกี หลายดา้ น ทง้ั การเปน็ ตลาดและฐานการผลติ รว่ ม การสร้างขีดความสามารถในการแข่งขัน การพัฒนาเศรษฐกิจอย่างเสมอภาค รวมทั้งการบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลกด้วย ซึ่งสาระสำคัญของความร่วมมือ

ที่หลากหลายของอาเซียนนั้น ส่งผลให้ทุกภาคส่วนต้องเตรียมความพร้อมรับมือกับ ความเปลย่ี นแปลงทจ่ี ะเกดิ ขน้ึ ทง้ั การเรง่ พฒั นาคณุ ภาพสนิ คา้ การใชเ้ ทคโนโลยใี หมๆ่ ในการผลิต การพัฒนานวัตกรรมใหม่ๆ ให้กับสินค้าและบริการ เปน็ ต้น ในวาระครบรอบ 70 ปี กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ ได้จัดทำหนงั สือ “ถาม-ตอบ รอบรู้ AEC 360°” ขึ้น เพือ่ เผยแพร่ข้อมูลรายละเอียดเกีย่ วกับ AEC โดยประมวลคำถาม-คำตอบที่เป็นประเด็นสงสัยในทุกแง่มุมจากงานสัมมนาต่างๆ ทก่ี รมฯ จดั และจากการสอบถามบคุ คลตา่ งๆ ในแวดวงธรุ กจิ การคา้ และในหนว่ ยงาน ภาครัฐที่เกีย่ วข้อง รวมท้ังประชาชนทวั่ ไป โดยเริม่ จากข้อมูลพื้นฐานของการเข้ารวม กลุ่มในประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน การเปิดเสรีสินค้า บริการ และการลงทุนเพื่อ ขยายฐานการผลิตและการตลาดจนถึงมาตรการการปรบั ตัว กรมฯ หวังว่า หนังสือฉบับนี้จะเป็นคู่มือสำคัญในการเรียนรู้ รวมทั้งการ สอบถามขอ้ มลู เพม่ิ เตมิ จากหนว่ ยงานทเ่ี กย่ี วขอ้ ง เสรมิ สรา้ งความเขา้ ใจเกย่ี วกบั AEC ให้ผู้อ่านสามารถเตรียมความพร้อมเพื่อใช้ประโยชน์จากการเข้าร่วมเป็นประชาคม เศรษฐกิจอาเซียนของไทยต่อไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ พฤษภาคม 2555

บทนำ อาเซยี น หรอื สมาคมประชาชาตแิ หง่ เอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้ (ASEAN : Association of South East Asian Nations) ได้ก่อต้ังขึ้น ณ ประเทศไทยตามปฏิญญา กรงุ เทพ เมอ่ื วนั ท่ี 8 สงิ หาคม พ.ศ. 2510 ตลอดระยะเวลากวา่ 40 ปี อาเซยี นไดพ้ ฒั นา ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งกนั อยา่ งคอ่ ยเปน็ คอ่ ยไป จนกระทง่ั ในการประชมุ สดุ ยอดอาเซยี น ครั้งที่ 9 เมือ่ เดือนตลุ าคม 2546 ที่บาหลี ประเทศอินโดนีเซีย ผู้นำได้ลงนามปฏิญญา ว่าด้วยความร่วมมืออาเซียน (Declaration of ASEAN Concord II หรือ Bali Concord) เห็นชอบให้มีการจัดตั้งประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) ในปี 2563 โดยมี องค์ประกอบ 3 เสาหลัก ซึ่งได้แก่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community: AEC) ซึง่ เปน็ เสาหลกั สำคัญ มีวตั ถุประสงค์เพือ่ สร้างความร่วมมือทาง เศรษฐกิจซึ่งมีอยู่แล้วให้ลึกและกว้างขึ้น โดยดำเนินการไปพร้อมๆ กับอีก 2 เสาหลกั ไดแ้ ก่ ประชาคมการเมอื งและความมน่ั คง (ASEAN Security Community) และประชาคม ทางสังคมและวฒั นธรรม (ASEAN Socio-Cultural Community) เพื่อให้สอดคล้องกับ วิสัยทัศน์อาเซียน หรือ ASEAN Vision 2020 การจดั ตง้ั ประชาคมเศรษฐกจิ อาเซยี น (ASEAN Economic Community : AEC) ในการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 12 เมือ่ วนั ที่ 13 มกราคม 2550 ณ เมืองเซบู ประเทศฟิลิปปินส์ อาเซียนได้ประกาศปฏิญญาเซบูว่าด้วยการเร่งรัดการจัดตั้ง ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนให้เรว็ ขึ้น เป็นภายในปี 2558 และเพือ่ ให้การดำเนินงาน มีเป้าหมาย แผนงาน และกรอบเวลาทีช่ ัดเจน อาเซียนจึงได้จัดทำ AEC Blueprint ขึ้น และลงนามในช่วงการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 13 เมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน 2550 ณ ประเทศสิงคโปร์

อดีต นบั แต่ก่อต้ังอาเซียนจนถึงปี 2535 พบว่า อาเซียนมีความร่วมมือกนั หลายด้าน รวมทั้งการลดภาษีระหว่างสมาชิก แต่ไม่ได้มีผลอย่างเป็นรูปธรรม จนกระทง่ั เขา้ สยู่ คุ ทส่ี อง หรอื ประมาณเมอ่ื 20 ปที แ่ี ลว้ สมาชกิ อาเซยี นไดเ้ รม่ิ ตอบรบั กระแสการจดั ตง้ั เขตการคา้ เสรี และมกี ารลดภาษอี ยา่ งเปน็ รปู ธรรมภายใตเ้ ขตการคา้ เสรีอาเซียน (ASEAN Free Trade Area: AFTA) รวมทั้งได้รบั สมาชิกใหม่เพิ่มขึ้นอีก 4 ประเทศ ประกอบด้วย กมั พชู า ลาว พม่า และเวียดนาม ปจั จบุ นั อาเซยี นไดก้ า้ วสยู่ คุ ท่ี 3 ซง่ึ มกี ารรวมตวั ทม่ี บี รู ณาการกนั มากขน้ึ การรวมตวั ทว่ี า่ น้ี สง่ ผลใหเ้ กดิ แนวคดิ ของการเปน็ ประชาคมเศรษฐกจิ อาเซยี น (ASEAN Economic Community: AEC) ในปี 2558 (ค.ศ. 2015) เป้าหมายคือให้อาเซียนมี ตลาดและฐานการผลติ รว่ มกนั และมกี ารเคลอ่ื นยา้ ยสนิ คา้ บรกิ าร การลงทนุ เงนิ ลงทนุ และแรงงานมีฝีมืออย่างเสรี และเพื่อให้บรรลเุ ป้าหมายข้างต้น อาเซียนจึงได้กำหนด แผนงาน (AEC Blueprint) สำหรับการดำเนินงานในภาพรวม โดยมีส่วนประกอบ 4 ส่วนหลัก ได้แก่ 1. การเป็นตลาดและฐานการผลิตเดียว โดยให้มีการเคลื่อนย้ายสินค้า บริการ การลงทนุ และแรงงานมีฝีมืออย่างเสรี และการเคลือ่ นย้ายเงินทุนอย่างเสรี มากขึ้น รวมทั้งการส่งเสริมการรวมกลุ่มสาขาสำคัญของอาเซียนให้เป็นรูปธรรม 2. การสรา้ งขีดความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจของอาเซียน ซง่ึ ใหค้ วามสำคญั กบั ประเดน็ ดา้ นนโยบายทจ่ี ะชว่ ยสง่ เสรมิ การรวมกลมุ่ ทางเศรษฐกจิ เช่น กรอบนโยบายการแข่งขันของอาเซียน การคุ้มครองผู้บริโภค สิทธิในทรัพย์สิน ทางปญั ญา พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ นโยบายภาษี และการพฒั นาโครงสร้างพื้นฐาน (การเงิน การขนส่ง เทคโนโลยีสารสนเทศ และพลังงาน)

3. การพัฒนาเศรษฐกิจอย่างเสมอภาค โดยการพัฒนาผู้ประกอบการ ขนาดกลางและขนาดยอ่ ม (SMEs) และการเสรมิ สรา้ งขดี ความสามารถผา่ นโครงการ ต่างๆ เช่น โครงการริเริ่มเพื่อการรวมกลุ่มของอาเซียน (Initiative for ASEAN Integration: IAI) เพือ่ ลดช่องว่างการพัฒนาทางเศรษฐกิจ 4. การบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก เน้นการปรับประสานนโยบาย เศรษฐกจิ ของอาเซยี นกบั ประเทศภายนอกภมู ภิ าค เพอ่ื ใหอ้ าเซยี นมที า่ ทรี ว่ มกนั อยา่ ง ชัดเจน เช่น การจัดทำเขตการค้าเสรีของอาเซียนกับประเทศคู่เจรจาต่างๆ เป็นต้น รวมทง้ั สง่ เสรมิ การสรา้ งเครอื ขา่ ยในดา้ นการผลติ /จำหนา่ ยภายในภมู ภิ าคใหเ้ ชอ่ื มโยง กับเศรษฐกิจโลก เพื่อให้การจัดตั้งเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนประสบความสำเร็จตาม เป้าหมายที่กำหนดไว้ สมาชิกอาเซียน รวมทั้งประเทศไทยมีพันธกิจต้องดำเนินการ เพื่อให้เป็นไปตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ โดยเฉพาะการดำเนินงานให้อาเซียนเป็นตลาด และฐานการผลิตเดียวกัน ซึ่งอยู่ภายใต้การกำกับดูแลจากความตกลงสำคัญ 3 ฉบบั คือ 1. ความตกลงการค้าสินค้าของอาเซียน (ASEAN Trade in Goods Agreement) หรือ ATIGA กำหนดให้สมาชิกต้องลดภาษีสินค้าในบัญชีลดภาษี (Inclusion List: IL) ให้หมดภายในปี 2553 (ค.ศ.2010) และใช้มาตรการที่มิใช่ภาษี ศุลกากร ได้เฉพาะเรือ่ งที่จำเปน็ 2. กรอบความตกลงวา่ ดว้ ยการคา้ บรกิ ารของอาเซยี น (ASEAN Framework Agreement on Service) หรอื AFAS กำหนดใหส้ มาชกิ ตอ้ งทยอยเปดิ ตลาดบรกิ าร ซึ่ง ASEAN Blueprint กำหนดให้สมาชิกต้องเปิดตลาดให้สมาชิกอาเซียนอืน่ สามารถ ถือหุ้นถึงร้อยละ 70 ยกเว้นในสาขาที่เห็นว่าอ่อนไหว

3. ความตกลงว่าด้วยการลงทุนอาเซียน (ASEAN Comprehensive Investment Agreement) หรอื ACIA กำหนดใหเ้ ปดิ เสรแี ละใหก้ ารปฏบิ ตั เิ ยย่ี งคนชาต ิ ในสาขาที่ตกลงกัน 5 ประเภทคือ เกษตร ประมง ป่าไม้ เหมืองแร่ และอุตสาหกรรม การผลิต รวมทั้งให้ความคุ้มครอง การส่งเสริม และการอำนวยความสะดวกด้าน การลงทนุ แก่สมาชิกอาเซียนใน 5 สาขาทีก่ ล่าวมาข้างต้น นอกจากพันธกรณีตามความตกลงข้างต้นที่มีส่วนผลักดันให้อาเซียน หลอมรวมเปน็ ประชาคมเศรษฐกจิ อาเซยี นแลว้ ยงั มพี นั ธกรณอี น่ื ทท่ี ง้ั ไทยและอาเซยี น ต้องดำเนินการได้แก่ การอำนวยความสะดวกด้านการเคลื่อนย้ายเงินทุนและ แรงงานฝีมือ การให้ความร่วมมือในสาขาต่างๆ เช่น ด้านเกษตร อาหาร และป่าไม้ ความรว่ มมอื ดา้ นทรพั ยส์ นิ ทางปญั ญา การพฒั นาดา้ นโครงสรา้ งพน้ื ฐาน (การคมนาคม เทคโนโลยีสารสนเทศ พลังงาน) ความร่วมมือด้านเหมืองแร่ พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ความรว่ มมอื ดา้ นการเงนิ ความรว่ มมอื ดา้ นวสิ าหกจิ ขนาดกลางและขนาดยอ่ ม (SMEs) เป็นต้น จากทิศทางการค้าการลงทุนในโลกยุคปัจจุบัน ซึ่งซีกโลกตะวันออกเริ่มมี บทบาทมากขน้ึ อาเซยี นยงั คงเปน็ ตลาดสง่ ออกอนั ดบั หนง่ึ ของไทย การยกเลกิ อปุ สรรค ทางการค้าการลงทุนของอาเซียนจะเปิดโอกาสให้สินค้าของไทยเคลื่อนย้ายได้เสรี และเพิ่มปริมาณการค้ามากยิ่งขึ้น ท้ายที่สุด อาเซียนและไทยคงจะต้องก้าวไปสู ่ ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจที่ลึกซึ้งมากขึ้น ซึ่งจะเป็นประโยชน์ไม่น้อยหากนักธุรกิจ และผู้ที่เกี่ยวข้องจะเร่งศึกษา และใช้ประโยชน์จากความตกลงทางการค้า รวมถึง หาโอกาสสร้างพันธมิตรทางธุรกิจ (Business Partnership) ซึ่งไม่ไกลสุดขอบฟ้า แต่อยู่ใกล้แค่สายตา

สารบญั ภาพรวมประชาคมเศรษฐกิจอาเซยี น 9 การคา้ สนิ คา้ 31 การค้าบรกิ าร/การลงทุน 43 การเคลอื่ นย้ายแรงงาน 66 การบรู ณาการเขา้ กับประชาคมโลก 77 อืน่ ๆ (ทรัพย์สินทางปัญญา การคุ้มครองผู้บริโภค พลังงาน) 81 ผลกระทบ/การปรับตัว/มาตรการรองรับ 84 ขั้นตอนการเจรจา FTA/หน่วยงานท่เี ก่ยี วขอ้ งกบั พันธกรณี AEC 103 สอบถามขอ้ มลู AEC เพิ่มเตมิ 120 สถิตกิ ารค้าสำคญั ๆ 123 คำศพั ท์ที่พบบ่อย 134

คำถามคำตอบ ภาพรวมประชาคมเศรษฐกจิ อาเซยี น 1. AEC คอื อะไร... เป้าหมายคอื อะไร • AEC ย่อมาจาก ASEAN Economic Community หรือประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน เป็นเป้าหมายสำหรับการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจของสมาคมประชาชาต ิ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หรือ อาเซียน (Association of Southeast Asian Nations: ASEAN) ซึ่งประกอบด้วยสมาชิก 10 ประเทศ ได้แก่ บรูไนดารุสซาลาม กัมพูชา อินโดนีเซีย ลาว มาเลเซีย พม่า ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ ไทย และเวียดนาม ท้ังนี้ อาเซียน มีเป้าหมายทีจ่ ะให้การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจบรรลุผลภายในปี 2558 • AEC เป็น 1 ใน 3 เสาหลักของประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) ซง่ึ ประกอบดว้ ยเสาหลกั อกี 2 เสา คอื ประชาคมสงั คมและวฒั นธรรมอาเซยี น (ASEAN Socio-Cultural Community: ASCC) และประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน (ASEAN Political-Security Community: APSC) • เป้าหมายของ AEC คือ (1) สง่ เสรมิ ใหอ้ าเซยี นเปน็ ตลาดและฐานการผลติ เดยี วมกี ารเคลอ่ื นยา้ ย สนิ คา้ บรกิ าร การลงทนุ แรงงานฝมี อื โดยเสรี และการเคลอ่ื นยา้ ยเงนิ ทนุ ทเ่ี สรมี ากขน้ึ (2) ส่งเสริมขีดความสามารถในการแข่งขันของอาเซียน (3) ลดช่องว่างการพัฒนาระหว่างประเทศสมาชิก (4) ส่งเสริมการรวมตัวเข้ากบั ประชาคมโลกของอาเซียน

ˆŸ‡›‹‘›‹‘i¥\"&$o 10 2. AEC กับ FTA แตกตา่ งกนั หรอื ไม่ • ความตกลงเขตการค้าเสรี (Free Trade Area Agreement) หรอื ทเ่ี รยี กกนั ทว่ั ไปวา่ FTA เปน็ ความตกลงทป่ี ระเทศตง้ั แต่ 2 ประเทศขน้ึ ไปจดั ทำขน้ึ เพือ่ ให้เกิดการ รวมตัวทางเศรษฐกิจ โดยจะลด และ/หรือยกเลิกอุปสรรคทางการค้าระหว่างกัน การเจรจา FTA ของไทยในระยะเริ่มแรกมุ่งเน้นเรื่องการลดภาษีนำเข้าระหว่างกัน แตป่ จั จบุ นั ความตกลงเขตการคา้ เสรเี รม่ิ มขี อบเขตทก่ี วา้ งขวางมากขน้ึ คอื ครอบคลมุ เรื่องการเปิดเสรีการค้าบริการและการลงทุน รวมทั้งกำหนด/ระเบียบกฎเกณฑ์ที่ ช่วยลดอุปสรรคต่อการค้าบริการและการลงทุน การเจรจา FTA กบั ประเทศพฒั นา แล้วส่วนใหญ่จะรวมประเดน็ ใหม่ๆ อาทิ แรงงาน สิ่งแวดล้อม ทรพั ย์สินทางปัญญา นโยบายอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง เปน็ ต้น • ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน หรือ AEC คือ เป้าหมายการรวมกลุ่มทาง เศรษฐกิจของอาเซียนในปี 2558 ซึง่ มีองค์ประกอบหลายด้าน ท้ังการเปิดเสรีสินค้า บริการ และการลงทุน ซึ่งการเปิดเสรีที่ว่าจะอยู่ภายใต้ความตกลง 3 ฉบับได้แก ่ 1) ความตกลงการค้าสินค้าของอาเซียน 2) กรอบความตกลงว่าด้วยการค้าบริการ ของอาเซียน และ 3) ความตกลงว่าด้วยการลงทุนอาเซียน นอกจากนี้ ยังรวมถึง ความร่วมมือทางเศรษฐกิจในด้านต่างๆ เพื่อสร้างพื้นฐานและอำนวยความสะดวก ในการดำเนินธุรกิจการค้าและการลงทุนระหว่างกัน เพื่อให้มีการเคลื่อนย้ายและ กระจายสินค้า บริการ การลงทนุ ตลอดจนการเดินทางของประชาชนและผู้ประกอบ การเป็นไปอย่างสะดวก คล่องตัว โดยมีความร่วมมือทั้งในด้านปัจจัยโครงสร้าง พื้นฐาน โลจิสติกส์ การสร้างความสอดคล้องในด้านมาตรฐานสินค้าและบริการ การปรบั ประสานนโยบายดา้ นการแขง่ ขนั เพอ่ื สรา้ งความเปน็ ธรรมระหวา่ งผปู้ ระกอบการ ในการดำเนินธุรกิจ และความร่วมมือด้านทรัพย์สินทางปัญญา เป็นต้น • ดังนั้น กล่าวโดยสรปุ ความตกลงเปิดเสรีระหว่างอาเซียนด้านเศรษฐกิจ ภายใต้ AEC ก็ถือเป็นความตกลง FTA น่ันเอง

11 w‘ª}‘}ŸwŸ‘ziŸ‘Ý™•hŸ|Œ‘ݪ‰– w‘݉‘•|ܟءÐ 3. ทำไมประเทศไทยจำเป็นต้องรว่ มกบั ประเทศสมาชกิ อาเซียนอื่นๆ จดั ตั้ง AEC ด้วย • อาเซียนถือเป็นกรอบความร่วมมือทางเศรษฐกิจที่มีความใกล้ชิดกับไทย มากที่สุด ประเทศสมาชิกอาเซียนหลายประเทศเป็นเพื่อนบ้านที่มีความเชื่อมโยง ทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคมและวฒั นธรรมกับไทยมาเป็นระยะเวลานาน • รฐั บาลไทยไดใ้ หค้ วามสำคญั กบั อาเซยี นในฐานะมติ รประเทศทม่ี คี วามใกลช้ ดิ กบั ไทยทั้งในด้านสภาพภูมิศาสตร์ และการเป็นหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจทีส่ ำคัญ • ในชว่ งระหวา่ งปี 2549-2553 อาเซยี นเปน็ ตลาดสง่ ออกสำคญั อนั ดบั หนง่ึ ของไทย คดิ เปน็ สดั สว่ นรอ้ ยละ 22.8 ของการสง่ ออกทง้ั หมดของไทย นำหนา้ ตลาดเดมิ อย่างเช่นสหรัฐอเมริกาและญี่ปุ่น และยังมีแนวโน้มขยายตัวอย่างต่อเนื่อง อาเซียน เปน็ การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจทีย่ าวนานและเหนียวแน่นทีส่ ุดของไทย • ไทยเปดิ เสรีทางการค้าใหอ้ าเซยี นมากทส่ี ดุ เมอื่ เทียบกบั ประเทศหรือกล่มุ ประเทศอืน่ ที่ไทยมีความตกลงเขตการค้าเสรีด้วย • เมื่ออาเซียนกลายเป็น AEC ในปี 2558 จะส่งผลให้อาเซียนเป็นตลาด และฐานการผลิตเดียวที่แข็งแกร่ง และมีศักยภาพที่จะดึงดูดการลงทุนจาก ต่างประเทศเข้ามาในภูมิภาครวมทั้งไทยได้มากยิ่งขึ้นเนื่องจาก AEC จะช่วยสร้าง ความมัน่ ใจให้กบั นักลงทุนต่างชาติว่า AEC จะทำให้อาเซียนกลายเป็นภูมิภาคที่มีการ รวมกลมุ่ ทางเศรษฐกจิ ทเ่ี ขม้ แขง็ ไมม่ อี ปุ สรรค ทางการค้าและการลงทนุ ระหว่างกัน • การเป็น AEC จะช่วยเพิ่มอำนาจ ต่อรองของอาเซียนในเวทีการค้าโลก และ ส่งเสริมบทบาทของไทยในเวทีระหว่าง ประเทศให้โดดเด่นมากขึ้น

ˆŸ‡›‹‘›‹‘i¥\"&$o 12 4. ลักษณะการรวมกลมุ่ ของอาเซียน โดยเฉพาะในดา้ นเศรษฐกิจเพือ่ มงุ่ ไปสู่ AEC แตกต่างจากการรวมกลุ่มของสหภาพยโุ รปอย่างไร (1) เพอ่ื ความเขา้ ใจทล่ี กึ ซง้ึ มากยง่ิ ขน้ึ ควรทราบกอ่ นวา่ ในทางเศรษฐกจิ การ รวมกลุ่มระหว่างประเทศต่างๆ สามารถจำแนกออกเป็น 5 ขั้นตอน คือ 1. เขตเศรษฐกิจเสรี (Free Trade Area) มีการยกเลิกกำแพงภาษี ระหว่างกัน ยกเลิกระบบโควต้า และการกำหนดปริมาณสินค้า 2. สหภาพศุลกากร (Customs Union) มีการขจัดการเลือกปฏิบัติ ระหว่างสมาชิก นั่นคือภายในกลุ่มจะไม่มีการเก็บภาษี เคลื่อนย้ายสินค้าบริการ ภายในกลุ่มอย่างสะดวก ขจัดข้ออุปสรรคต่างๆภายในกลุ่ม แต่ไปตั้งการกีดกันกับ ภายนอกกลุ่มร่วมกัน 3. ตลาดร่วม (Common Markets) เปน็ การรวมกลุ่มที่สมาชิกสามารถ เคลื่อนย้ายปัจจยั การผลิต ทีน่ อกเหนือจากสินค้า ได้แก่ บริการ แรงงาน และเงินทนุ ระหว่างกันได้อย่างเสรี และมีการกำหนดนโยบายทางเศรษฐกิจร่วมกัน 4. สหภาพเศรษฐกิจ (Economic Union) เป็นการรวมกลุ่มที่ลึกซึ้งกว่า ตลาดรว่ ม คอื นอกเหนอื จากการเคลอ่ื นยา้ ยปจั จยั การผลติ ระหวา่ งกนั ไดอ้ ยา่ งเสรแี ลว้ ยังมีการปรับประสานนโยบายการเงินและการคลงั ร่วมกนั และมีการใช้เงินตราสกุล เดียวกัน 5. การบรู ณาการทางเศรษฐกจิ สมบูรณ์ (Total Economic Integration) มกี ารรวมตวั กนั อยา่ งสมบรู ณท์ ง้ั ดา้ นการเงนิ การคลงั มกี ารจดั ตง้ั องคก์ รทม่ี ลี กั ษณะเหนอื รัฐหรือ Supra-National และมีการตัดสินใจ ทางการเมือง รวมถงึ ธรรมนญู ทางการเมอื ง ร่วมกัน

13 w‘ª}‘}ŸwŸ‘ziŸ‘Ý™•hŸ|Œ‘ݪ‰– w‘݉‘•|ܟØ¡ Ð (2) ลกั ษณะของการรวมกลมุ่ ของอาเซยี น และสหภาพยโุ รปปรากฏดงั ตอ่ ไปน้ี (2.1) การรวมกลุ่มของสหภาพยโุ รป • ลักษณะของการรวมตัวของสหภาพยุโรปตามสนธิสัญญามาสทริชท์ (Maastricht Treaty) เน้น “เสาหลัก” 3 ประการ (the three pillars of the European Union) คือ 1. เสาหลกั ที่หนึง่ การรวมตัวด้านเศรษฐกิจ (Economic Integration) - ยุโรปตลาดเดียว (Single Market) ให้มีการเคลื่อนที่ปัจจัย 4 ประการ โดยเสรี (free movement) คอื (1) บคุ คล (2) สนิ คา้ (3) การบรกิ าร (4) ทนุ - การมีนโยบายร่วม (Community or Common Policies) ในด้านการค้า การเกษตร (CAP) พลงั งาน สง่ิ แวดลอ้ ม ประมง และดา้ นสงั คม เปน็ ตน้ - สหภาพเศรษฐกิจและการเงิน (European Monetary Union : EMU) สหภาพยโุ รปไดเ้ ขา้ สขู่ น้ั ตอนสดุ ทา้ ยของ EMU เมอ่ื วนั ท่ี 1 มกราคม 2542 ซึ่งมีเงินสกลุ เดียวคือ เงินยโู ร (Euro) และมีธนาคารกลางของสหภาพ 2. เสาหลกั ทีส่ อง นโยบายร่วมด้านการต่างประเทศ และความมั่นคง (CFSP) และนโยบายดา้ นความมน่ั คงและการปอ้ งกนั ประเทศ (Common Security and Defense Policy) 3. เสาหลกั ที่สาม ความร่วมมือด้านกระบวนการยตุ ิธรรมและกิจการภายใน (มหาดไทย) รวมทง้ั การตรวจคนเขา้ เมอื ง การปราบปรามอาชญากรรมและยาเสพตดิ การจดั ตง้ั กองตำรวจรว่ ม (Europol) และการดำเนนิ การรว่ มดา้ นความมน่ั คงภายใน ฯลฯ (2.2) การรวมตวั ของอาเซยี น • เปา้ หมายในการรวมตวั ของอาเซยี นคอื การเปน็ ประชาคมอาเซยี นในปี 2558 • กฎบัตรอาเซียนกำหนดโครงสร้างของประชาคมอาเซียนให้ประกอบด้วย 3 เสาหลกั คอื

ˆŸ‡›‹‘›‹‘i¥ \"&$o 14 1) ประชาคมการเมอื งและความมน่ั คงอาเซยี น มงุ่ ใหป้ ระเทศในภมู ภิ าค อยรู่ ว่ มกนั อยา่ งสนั ติ มรี ะบบแกไ้ ขความขดั แยง้ ระหวา่ งกนั มเี สถยี รภาพอยา่ งรอบดา้ น มีกรอบความร่วมมือเพื่อรับมือกับภัยคุกคามความมั่นคง เพื่อให้ประชาชนมีความ ปลอดภยั และมั่นคง 2) ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน มุ่งให้เกิดการรวมตัวกันทางเศรษฐกิจ และการอำนวยความสะดวกในการติดต่อค้าขายระหว่างกัน อันจะทำให้ภูมิภาค มีความเจริญมั่งคั่ง และสามารถแข่งขันกับภูมิภาคอื่นๆ ได้ เพื่อความอยู่ดีกินดีของ ประชาชนในประเทศอาเซียน 3) ประชาคมสงั คมและวฒั นธรรมอาเซยี น เพอ่ื ใหป้ ระชาชนแตล่ ะประเทศ อาเซียนอยู่ร่วมกันภายใต้แนวคิดสังคมที่เอื้ออาทร มีสวัสดิการทางสังคมที่ดี และม ี ความมนั่ คงทางสังคม (3) จะเห็นได้ว่าความแตกต่างที่สำคัญที่สุดระหว่างการรวมกลุ่มของ AEC กับสหภาพยุโรป คือ สหภาพยุโรป (EU) มีการบริหารงานแบบ Supra-national co-operation ซึ่งเป็นรูปแบบของความร่วมมือระหว่างประเทศทีป่ ระเทศสมาชิกยอม มอบอำนาจการบริหารงานบางอย่างให้แก่องค์กรกลาง (Supra-national) เพื่อให ้ สามารถดำเนินการบรรลุตามเป้าหมายร่วมกัน ในขณะที่อาเซียนมีการบริหารงาน แบบ inter-national co-operation คือ เป็นความร่วมมือระหว่างประเทศสมาชิก เพือ่ ให้บรรลเุ ป้าหมายร่วมกนั โดยใชห้ ลกั การฉนั ทามติ (consensus) และจะไมก่ า้ วกา่ ย กจิ การภายในประเทศระหวา่ งกนั (4) เมอ่ื พจิ ารณาในมติ ดิ า้ นเศรษฐกจิ เปา้ หมายของอาเซยี นคอื การเปน็ AEC ทม่ี ลี กั ษณะสำคญั คอื “อาเซยี นจะรวมตวั กนั เปน็ ตลาดและฐานการผลติ เดยี วกนั ” คอื มกี ารเคลอ่ื นยา้ ยสนิ คา้ บรกิ าร การลงทนุ และแรงงานมฝี มี อื ทเ่ี สรี และการเคลอ่ื นยา้ ย เงนิ ทนุ ทเ่ี สรยี ง่ิ ขน้ึ ในขณะทป่ี ระเทศสมาชกิ อาเซยี นแตล่ ะประเทศจะยงั คงมอี ตั ราภาษ ี ทเ่ี รยี กเกบ็ จากสนิ คา้ ทน่ี ำเขา้ จากประเทศนอกอาเซยี นทแ่ี ตกตา่ งกนั จงึ อาจกลา่ วไดว้ า่ อาเซียนยังไม่ได้จัดตั้งสหภาพศุลกากรระหว่างกัน แต่ได้ลดภาษีศุลกากร (Customs Union) และอุปสรรคภายในเพื่อขยายการค้า และการลงทุนระหว่างกนั

15 w‘ª}‘}ŸwŸ‘ziŸ‘Ý™•hŸ|Œ‘ݪ‰– w‘݉‘•|ܟءÐ 5. อาเซยี นจะพลิกโฉมไปอย่างไรบา้ ง หลังบรรลเุ ปา้ หมายเป็น AEC ในปี 2558 • อาเซียนจะเกิดการรวมกันเป็นตลาดและฐานการผลิตเดียวกัน ที่สินค้า บริการ การลงทุน แรงงานฝีมือ รวมถึงปัจจัยการผลิตต่างๆ สามารถเคลื่อนย้าย ได้อย่างเสรี ภายใต้กรอบกฎเกณฑ์และกติกาที่ตกลงกนั ได้แก่ (1) การค้าภายในอาเซียนไม่มีกำแพงภาษีระหว่างกัน (2) การค้าระหว่างอาเซียนจะคล่องตวั เพราะมีการอำนวยความสะดวก ทางการคา้ และลดขน้ั ตอนพธิ กี ารศลุ กากร ผา่ นระบบ ASEAN Single Window ซง่ึ จะทำใหผ้ ปู้ ระกอบธรุ กจิ ดา้ นการคา้ และการขนสง่ สามารถ ผ่านขั้นตอนการอนุญาตจากหน่วยงานภาครัฐของประเทศสมาชิก อาเซียนที่เกี่ยวข้องกับการรับรองเอกสารหลักฐานพร้อมกัน ณ จดุ ทย่ี น่ื ใบขนสนิ คา้ (3) ผสู้ ง่ ออกสามารถรบั รองถน่ิ กำเนดิ สนิ คา้ ดว้ ยตนเอง (Self Certification) ควบคู่ไปกับการใช้ใบรับรองถิ่นกำเนิดสินค้าของอาเซียน (Form D) ซึ่งขณะนี้ อยู่ระหว่างการดำเนินโครงการนำร่องในประเทศสมาชิก อาเซียน 4 ประเทศ ได้แก่ สิงคโปร์ มาเลเซีย อินโดนีเซีย และไทย ซึง่ จะขยายต่อไปยังอาเซียนทุกประเทศภายในปี 2558 (4) มีฐานข้อมูลการค้าอาเซียน (ASEAN Trade Repository: ATR) ซึ่ง สามารถสบื คน้ อตั ราภาษี มาตรการทม่ี ใิ ชภ่ าษี กฎแหลง่ กำเนดิ สนิ คา้ และกฎระเบียบทางการค้าต่างๆ ได้บนเว็บไซต์ของสำนักเลขาธิการ อาเซียนภายในปี 2558 (5) นกั ลงทนุ อาเซยี นสามารถถอื หนุ้ ในธรุ กจิ บรกิ ารสาขาตา่ งๆ ไดอ้ ยา่ งนอ้ ย รอ้ ยละ 70 และลดเลกิ ขอ้ จำกดั /อปุ สรรคในการใหบ้ รกิ ารทกุ รปู แบบ ตามกรอบความตกลงการคา้ บรกิ ารของอาเซยี น (ASEAN Framework Agreement on Services: AFAS)

ˆŸ‡›‹‘›‹‘¥i\"&$o 16 • การค้าและการลงทุนมีบรรยากาศเสรีมากขึ้น จากการลด/เลิกข้อจำกัด กฎระเบียบที่เปน็ อุปสรรคทางการค้า การลงทุน โดย (1) เปดิ เสรกี ารลงทนุ คมุ้ ครองการลงทนุ สง่ เสรมิ และอำนวยความสะดวก การลงทุน ครอบคลุมธุรกิจ 5 ภาค ได้แก่ เกษตร ประมง ป่าไม้ เหมืองแร่ และภาคการผลิต รวมถึงบริการที่เกี่ยวเนื่องตามกรอบ ความตกลงว่าด้วยการลงทุนอาเซียน (ASEAN Comprehensive Investment Agreement: ACIA) (2) ปรบั ประสานนโยบายการแข่งขนั และทรัพย์สินทางปัญญา • มเี สน้ ทางคมนาคมขนสง่ สามารถเชอ่ื มโยงถงึ กนั หมดในอาเซยี น ชว่ ยลดตน้ ทนุ ทางโลจสิ ตกิ สใ์ นภมู ภิ าค อนั นำไปสกู่ ารเพม่ิ ขดี ความสามารถในการแขง่ ขนั ของอาเซยี น • มีการพัฒนาทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศสมาชิกที่เสมอภาคยิ่งขึ้น ช่วยลดช่องว่างระหว่างกัน ทำให้กำลังซื้อของประเทศเพื่อนบ้านดีขึ้น ขยายโอกาส การส่งออกและการลงทนุ ของไทย • มีการเชื่อมโยงกับประเทศภายนอกภูมิภาค โดยเฉพาะประเทศคู่เจรจา ของอาเซียนได้แก่ จีน ญีป่ ุ่น เกาหลี ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ และอินเดีย อาเซียน จะเป็นภูมิภาคเปิด มีการขยายการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจโดยทำ FTA กับประเทศ นอกภูมิภาค เป็นการเพิ่มโอกาสการค้าและการลงทุนมากยิง่ ขึ้น 6. การเปน็ AEC ประเทศสมาชิกอาเซียนจะได้ประโยชน์อะไร ข้อมูลจากผลการศึกษาหลายฉบับได้บ่งชี้ถึงประโยชน์ที่ประเทศสมาชิก ได้รับหลงั จากทีม่ ีการจัดต้ังประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ดังนี้ (1) ผลการศึกษาเรือ่ ง AEC Impact Study โดย USAID, Prof. Michael G. Plummer, Johns Hopkins University, 2552 ระบุว่า การรวมกลุ่มเปน็ AEC จะทำให้ รายได้ที่แท้จริงของอาเซียนเพิ่มขึ้นร้อยละ 5.3 หรือคิดเป็นมูลค่า 69,000

17 w‘ª}‘}ŸwŸ‘zŸi ‘Ý™•Ÿh |Œ‘ݪ‰– w‘݉‘•|ܟءÐ ล้านเหรียญสหรัฐ ซึ่งมีมูลค่ามากกว่า 6 เท่า เทียบกับผลที่ได้รับจากการบรรลุเป้าหมายของ การดำเนนิ การเฉพาะการลดภาษภี ายใตเ้ ขตการคา้ เสรีอาเซียน (ASEAN Free Trade Area: AFTA) ทอ่ี าเซยี นไดด้ ำเนนิ การมาต้ังแต่ปี 2536 นอกจากนี้ การปฏิรูปกฎหมายและกฎระเบียบต่างๆ ของ ประเทศสมาชิกอาเซียนให้สอดคล้องตาม AEC เช่น กฎหมายและนโยบายการแข่งขัน ซึ่งจะช่วย ดึงดูดการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ (FDI) และเพิ่มผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติต่อหัว (per capita GDP) ร้อยละ 26-38 คิดเปน็ มลู ค่า 117-264 พนั ล้านเหรียญสหรฐั (2) การปรับปรุงด้านองค์กรใน AEC เช่น ตลาดเงิน โครงสร้างพื้นฐาน และระบบสาธารณูปโภค จะช่วยผลกั ดันการขยายตัวของภาคเอกชน และทำให้การ ทำงานของภาครัฐมีประสิทธิภาพมากขึ้น (3) การลดช่องว่างการพัฒนาระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียน จะสร้าง โอกาสในการขยายเครือข่ายการผลิตในภูมิภาค และช่วยให้ประเทศสมาชิกใหม ่ อาเซยี น (กมั พชู า ลาว พมา่ และเวยี ดนาม) สามารถรวมตวั กบั ประเทศสมาชกิ ทเ่ี หลอื ได้ (4) การเปิดเสรีแรงงานฝีมือ (Skilled labour) จะทำให้อาเซียนเป็นที่สนใจ ของนกั ลงทนุ ต่างชาติมากขึ้น เนือ่ งจากช่วยให้การบริหารจดั การแรงงานฝมี ือมีความ ยืดหยุ่นมากขึ้น (5) ผู้บริโภคจะได้รับความสำคัญมากขึ้น สามารถเข้าถึงสินค้าและบริการ ราคาถกู ลงและหลากหลายมากขึ้น และมีการคุ้มครองผู้บริโภคทีก่ ว้างขวางมากขึ้น (6) การเคลื่อนย้ายเงินทุนที่เสรีมากขึ้น ช่วยให้ต้นทุนทางการเงินของภาค ธรุ กิจลดลง และมีระบบการเงินทีม่ ีประสิทธิภาพมากขึ้น

ˆŸ‡›‹‘›‹‘i¥ \"&$o 18 7. ประเทศไทยไดศ้ ึกษาถึงจดุ อ่อน-จุดแขง็ สภาพตลาด พฤติกรรมผบู้ ริโภค ของประเทศสมาชกิ อาเซยี น เพ่ือใช้เปน็ แนวทางเขา้ สู่ตลาด หรอื การกำหนด ยุทธศาสตร์ในการเข้าสตู่ ลาดของประเทศสมาชิกอาเซยี น ไว้ลึกซึ้งเพียงใด • หน่วยงานภาครัฐของไทยได้มีการจ้างศึกษาประเด็นต่างๆ ในส่วนที่ เกี่ยวข้องกับหน่วยงานของตน และมีการจัดสัมมนาเพื่อเผยแพร่ผลการศึกษา ซึ่งผู้สนใจสามารถติดต่อแต่ละหน่วยงานในท้ายเล่มของหนังสือได้โดยตรงเพื่อ สอบถามข้อมลู เฉพาะเพิ่มเติม ทั้งนี้ ไทยมีจดุ แข็งและจุดอ่อนโดยสรปุ ดังนี้ • จุดแข็งของไทยในการเข้าสู่ตลาดอาเซียน คือ ที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ใน ศูนย์กลางของภูมิภาคที่เอื้ออำนวยต่อการติดต่อค้าขายกับทุกประเทศ ทักษะความ เชี่ยวชาญของแรงงานฝืมือไทย อาทิ ในอุตสาหกรรม การผลิตรถยนต์ งานด้าน ศิลปหัตถกรรม และการใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น นอกจากนี้ ไทยยังมีความพร้อมด้าน โครงสรา้ งพน้ื ฐานระบบสาธารณปู โภคและการขนสง่ ทง้ั ทางบก ทางนำ้ และทางอากาศ ทั้งนี้ ภาคอุตสาหกรรมและบริการของไทยที่มีศักยภาพในการขยายตลาดอาเซียน สำหรับสินค้าเกษตร เช่น ข้าว มนั สำปะหลงั และนำ้ ตาล สนิ คา้ อตุ สาหกรรม เชน่ รถยนต์ สิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม เครื่องใช้ไฟฟ้าและ อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์และอาหารแปรรปู สว่ นภาคบรกิ าร เช่น การท่องเที่ยวและบริการที่เกี่ยวเนื่อง (เช่น โรงแรมภตั ตาคารและร้านอาหาร) • จดุ ออ่ นของไทย คือ ความพรอ้ มของผปู้ ระกอบการไทย โดยเฉพาะ SMEs ซึ่งมีสัดส่วนมากกว่าร้อยละ 90 ของธุรกิจไทย ยังมีอุปสรรคหลายประการในการ เข้าสู่ตลาดอาเซียน เช่น ปัญหาการเข้าถึงแหล่งเงินทนุ ปัญหาด้านภาษา ปัญหาการ ขาดข้อมลู เชิงลึกในตลาดอาเซียนแต่ละประเทศ รวมท้ังปญั หาการขาดการประยุกต์ ใช้เทคโนโลยีด้านการบริหารจัดการที่ทันสมัยเพื่อลดต้นทุนและเพิ่มประสิทธิภาพ ในการทำธุรกิจ เป็นต้น ทำให้เสียเปรียบประเทศอาเซียนอืน่ เช่น สิงคโปร์ มาเลเซีย และอินโดนีเซีย

19 w‘ª}‘}ŸwŸ‘zŸi ‘Ý™•hŸ|Œ‘ݪ‰– w‘݉‘•|ܟØ¡ Ð 8. ประเทศไทยจะได้ประโยชน์และเสียประโยชน์ อยา่ งไรในการเข้าร่วม AEC • ไทยจะได้รับประโยชน์จากการเข้าร่วม AEC ดังนี้ (1) ขยายการส่งออกและเพิม่ โอกาสทางการค้า เพราะอาเซียนเปน็ กล่มุ มติ รประเทศทใ่ี กลช้ ดิ ทส่ี ดุ และปจั จบุ นั เปน็ คคู่ า้ และตลาดสง่ ออกสำคญั ทส่ี ดุ ของไทย และเมื่ออุปสรรคภาษีและมิใช่ภาษีระหว่างอาเซียนถูกยกเลิกไป จะเปิดโอกาสให้ สินค้าเคลือ่ นย้ายเสรี ไทยจึงมีโอกาสที่ขยายการส่งออกไปยงั อาเซียนได้มากขึ้น (2) เปิดโอกาสการค้าบริการ สำหรับสาขาที่ไทยมีความเข้มแข็ง เช่น ท่องเที่ยว โรงแรมและร้านอาหาร สขุ ภาพ ฯลฯ (3) สร้างเสริมโอกาสการลงทนุ เพราะที่ผ่านมา การลงทนุ โดยตรงจาก ต่างประเทศ (FDI) มายงั อาเซียนไม่ได้ขยายตวั เท่าทีค่ วร เนื่องจากความน่าสนใจของ แหล่งลงทุนอื่นๆ เช่น จีน อินเดีย แต่เมื่อมี AEC จะทำให้มีการเคลื่อนย้ายเงินทุน ได้เสรียิ่งขึ้น อุปสรรคการลงทุนระหว่างอาเซียนจะลดลงและทำให้อาเซียนซึ่งม ี ประชากรกว่า 580 ล้านคน เปน็ เขตลงทุนที่น่าสนใจทัดเทียมกบั จีนและอินเดีย และ ดงึ ดดู การลงทนุ จากตา่ งประเทศไดม้ ากขน้ึ นอกจากน้ี ไทยยงั จะสามารถเขา้ ไปลงทนุ ในอาเซียนในสาขาที่ไทยมีศกั ยภาพได้มากยิ่งขึ้น (4) เพิ่มพูนขีดความสามารถของผู้ประกอบการในประเทศ จากการใช ้ ทรัพยากรการผลิตร่วมกนั / เปน็ พันธมิตรดำเนินธรุ กิจร่วมกับอาเซียนอื่นๆ จะทำให้ เกดิ ความไดเ้ ปรยี บเชงิ แขง่ ขนั (Comparative Advantage) โดยเลอื กใชจ้ ดุ แขง็ ของแตล่ ะ ประเทศในการผลติ /สง่ ออก ทำใหล้ ดตน้ ทนุ การผลติ และเพม่ิ ขดี ความสามารถแขง่ ขนั (5) เพม่ิ อำนาจการตอ่ รองของไทยในเวทกี ารคา้ โลก เพราะการรวมกลมุ่ ท่ี เข้มแขง็ และชดั เจนของอาเซียนจะสร้างความเชือ่ มน่ั ให้ประชาคมโลกและเพิม่ อำนาจ ในการเจรจาตอ่ รองกบั กลมุ่ การคา้ อน่ื ๆ เชน่ สหภาพยโุ รป ญป่ี นุ่ ฯลฯ สง่ ผลใหอ้ าเซยี น สามารถมีบทบาทสำคัญมากขึ้นในเวทีระหว่างประเทศ เช่น WTO, IMF, World Bank

ˆŸ‡›‹‘›‹‘¥i\"&$o 20 และในเวทีระดบั ภมู ิภาค เช่น APEC, ASEM และไทยจะสามารถผลักดนั ประเด็นทีจ่ ะ เป็นประโยชน์กบั ไทยเข้าไปในการเจรจาได้ (6) ยกระดบั ความเปน็ อยขู่ องประชาชนในประเทศ เนอ่ื งจากการเขา้ รว่ ม AEC จะชว่ ยพฒั นาเศรษฐกจิ ของสมาชกิ อาเซยี นจะทำใหเ้ กดิ การจา้ งงาน และยกระดบั ชีวิตความเปน็ อยู่ของพลเมือง (7) ผบู้ รโิ ภคสามารถเขา้ ถงึ สนิ คา้ และบรกิ ารราคาถกู ลงและหลากหลาย มากขึ้น และมีการคุ้มครองผู้บริโภคที่กว้างขวางมากขึ้น • ไทยอาจได้รบั ผลกระทบจากการเข้าร่วม AEC ดงั นี้ (1) ในการก้าวไปสู่การเป็น AEC น้ันประเทศสมาชิกอาเซียนทุกประเทศ รวมถงึ ประเทศไทยมพี นั ธกรณที จ่ี ะตอ้ งลดและยกเลกิ มาตรการหรอื กฎระเบยี บตา่ งๆ ทเ่ี ปน็ อปุ สรรคตอ่ การเขา้ สตู่ ลาดของสนิ คา้ บรกิ าร และการลงทนุ ซง่ึ การดำเนนิ การ ดงั กลา่ ว อาจมผี ลกระทบแกป่ ระเทศบา้ ง เชน่ การสญู เสยี รายไดจ้ ากการเกบ็ ภาษนี ำเขา้ หรือค่าธรรมเนียมอืน่ ๆ ตลอดจนสร้างความกงั วลให้แก่ผู้ประกอบการของประเทศ (2) อยา่ งไรกด็ ี ผลกระทบดงั กลา่ วจะไมม่ ากไปกวา่ ผลประโยชนอ์ น่ื ๆ ทจ่ี ะ เกดิ ขน้ึ จาก AEC อาทิ ตน้ ทนุ การผลติ จะตำ่ ลงจากการทภ่ี าษนี ำเขา้ สนิ คา้ ทนุ ลดตำ่ ลง การเกิดโอกาสที่จะสร้างพันธมิตรทางเศรษฐกิจมีความสามารถในการดึงดูดการ ลงทุนจากต่างชาติได้มากขึ้น มีความได้เปรียบประเทศคู่ค้าอื่นๆ เมื่อส่งสินค้าเข้าไป ขายในตลาดของประเทศสมาชิกอาเซียน เป็นต้น

21 w‘ª}‘}ŸwŸ‘ziŸ‘Ý™•hŸ|Œ‘ݪ‰– w‘݉‘•|ܟØ¡ Ð 9. ประเทศไทยบูรณาการการดำเนนิ การไปสู่ AEC อยา่ งไร • ประเทศไทยบรู ณาการการดำเนนิ การไปสกู่ ารเปน็ AEC โดยการจดั ตง้ั หนว่ ย ประสานงาน AEC ระดับชาติ (AEC National Coordinating Agency) • ต้ังแต่วนั ที่ 8 กุมภาพันธ์ 2554 กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ ได้รบั มอบหมายจากคณะรฐั มนตรี ให้ทำหน้าที่เปน็ AEC National Coordinating Agency ของไทย เพอ่ื เปน็ หนว่ ยงานหลกั ในการประสานงานและตดิ ตามการดำเนนิ งานของไทย เพอ่ื ไปสกู่ ารเปน็ AEC โดยการเชอ่ื มโยงกลจกั รสำคญั ไดแ้ ก่ ภาครฐั และภาคเอกชนให้ มุ่งหน้าไปในทิศทางเดียวกนั รวมท้ังติดตามการดำเนินงานตามแผนงานไปสู่การเปน็ ประชาคมเศรษฐกจิ อาเซยี น (AEC Blueprint) ของหนว่ ยงานในประเทศและสอ่ื สารกบั ทกุ ภาคสว่ นในประเทศเพอ่ื เตรยี มตวั สกู่ ารเปน็ AEC ปจั จบุ นั กรมเจรจาการคา้ ระหวา่ ง ประเทศได้ต้งั สำนกั งานยทุ ธศาสตร์และการบรณู าการส่ปู ระชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (สยป.) เพอ่ื ทำหนา้ ทด่ี งั กลา่ ว โดยปจั จบุ นั อยรู่ ะหวา่ งการจดั ทำยทุ ธศาสตรเ์ ศรษฐกจิ การคา้ ระหวา่ งประเทศของไทย ปี 2555-2563 (ยทุ ธศาสตร์ 8 ป)ี เพอ่ื นำเสนอคณะรฐั มนตรี พจิ ารณาใหค้ วามเหน็ ชอบใชเ้ ปน็ แผน/กลยทุ ธก์ ารดำเนนิ งานระยะสน้ั ระยะกลาง และ ระยะยาวสำหรับหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องทั้งหมด 10. อะไรคือตวั ชี้วดั ความสำเร็จของการไปสู่ AEC ของอาเซียน อาเซียนได้จัดทำเครือ่ งมือในการวัดผลความสำเรจ็ จากการประชมุ และการ ปฏบิ ตั ติ ามขอ้ ผกู พนั ใน AEC เรยี กวา่ AEC Scorecard ซง่ึ จะมกี ารวดั ผลของอาเซยี นใน ภาพรวม และเปน็ รายประเทศ โดยประเมนิ จากรอ้ ยละของจำนวนมาตรการทป่ี ระเทศ อาเซียนทำได้จากจำนวนมาตรการที่ต้องดำเนินการในแต่ละช่วงเวลา ช่วงละ 2 ปี ปจั จบุ นั อาเซียนมี AEC Scorecard 2 ชดุ ได้แก่ ชดุ สำหรบั ชว่ งการวดั ผลปี 2551-2552 และชดุ สำหรบั ช่วงการวดั ผลปี 2553-2554

ˆŸ‡›‹‘›‹‘¥i\"&$o 22 11. ระบอบการปกครองประเทศทต่ี า่ งกนั ของประเทศสมาชกิ จะเปน็ อุปสรรค ในการรวมกลุ่มเปน็ AEC หรอื ไม่ ความแตกต่างของระบอบการปกครองของประเทศสมาชิก ไม่ถือเป็น อปุ สรรคต่อการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจเป็น AEC แต่อาจมีผลกระทบต่อกระบวนการ ดำเนนิ งานของแตล่ ะประเทศสมาชกิ ในการปฏบิ ตั ติ ามขอ้ ผกู พนั /พนั ธกรณใี น Blueprint ส่งผลให้ต้องใช้เวลาในการดำเนนิ งานทแ่ี ตกตา่ งกนั อยา่ งไรกต็ าม อาเซยี นไดใ้ หค้ วาม ยดื หยนุ่ (Flexibility) แกป่ ระเทศสมาชิกในการดำเนินงาน โดยคำนึงถึงความแตกต่าง ของระดบั การพัฒนาประเทศ 12. ภายใต้ AEC ประเทศสมาชกิ อาเซยี นจะไมเ่ ปดิ เสรไี ดห้ รอื ไม่ อาเซียนต้องเปดิ เสรใี นเรอื่ งตา่ งๆ ตามทผี่ ้นู ำได้ใหพ้ นั ธสญั ญา อย่างไรกต็ าม จากระดบั การพัฒนาของอาเซียนที่มีความแตกต่างกนั ค่อนข้างมาก สมาชิกจึงตกลง ใหม้ คี วามยดื หยนุ่ ในระดบั ทเ่ี หมาะสม โดยความยดื หยนุ่ ดงั กลา่ วจะครอบคลมุ ทง้ั ดา้ น สนิ คา้ บรกิ าร และการลงทนุ โดยในดา้ นสนิ คา้ สมาชกิ ไดก้ ำหนดใหม้ สี นิ คา้ ออ่ นไหว (sensitive products) ที่สมาชิกไม่จำเป็นต้องลดภาษีให้เหลือร้อยละ 0 แต่ต้อง ไม่เกินร้อยละ 5 ซึ่งประเทศไทยมีสินค้าอ่อนไหว 4 รายการ ได้แก่ มนั ฝร่งั ไม้ตดั ดอก กาแฟ และเนื้อมะพร้าวแห้ง นอกจากนี้ สมาชิกยงั ตกลงให้สินค้าบางรายการให้เป็น สินค้าอ่อนไหวสูง (highly sensitive products) เช่น ข้าว (สำหรบั มาเลเซีย อินโดนีเซีย และฟิลิปปินส์) และน้ำตาลทราย (สำหรับอินโดนีเซีย และฟิลิปปินส์) แต่ต้องม ี การเจรจาชดเชยการไมล่ ดภาษกี บั ประเทศสมาชกิ ทม่ี สี ว่ นไดเ้ สยี และตกลงอตั ราภาษี สุดท้ายสำหรับสินค้านั้น สำหรับการเปิดเสรีด้านบริการ สมาชิกได้ให้ความยืดหยุ่น ในการคงข้อจำกัดเกี่ยวกบั การเปิดตลาดบริการไว้ได้บางส่วน แต่ต้องไม่เกินสัดส่วน ที่สมาชิกตกลงกัน ในขณะที่การลงทุน สมาชิกสามารถระบุสาขาหรือกิจกรรมที่ ไม่ประสงค์จะให้สิทธิแก่สมาชิกไว้ในตารางสงวน แต่จะต้องนำตารางข้อสงวนนี้ ขึ้นมาทบทวนเป็นระยะ

23 w‘ª}‘}ŸwŸ‘ziŸ‘Ý™•hŸ|Œ‘ݪ‰– w‘݉‘•|ܟءÐ 13. สนิ คา้ และบริการประเภทใดของไทยทมี่ ีโอกาสจะไดป้ ระโยชนจ์ ากการเปิดเสรี ทางการค้าภายใต้ AEC • สนิ คา้ อตุ สาหกรรม เชน่ รถยนต์ อปุ กรณแ์ ละสว่ นประกอบ ผปู้ ระกอบการ ไทยทุกอาชีพ จะได้ประโยชน์จากตลาดที่มีขนาดใหญ่ขึ้น ตัวอย่างสินค้าและบริการ ทไ่ี ทยมศี กั ยภาพ เชน่ สง่ิ ทอและเครอ่ื งนงุ่ หม่ เครอ่ื งใชไ้ ฟฟา้ และอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ เปน็ ตน้ • สินค้าเกษตร เช่น ข้าว ยางพารา ผกั และผลไม้สด รวมไปถึงสินค้าเกษตร แปรรปู เช่น อาหารสำเร็จรปู • ธุรกิจบริการ เช่น บริการด้านสถาปัตยกรรม การออกแบบ การเขียน ซอฟท์แวร์ บริการด้านท่องเทีย่ ว และบริการทีเ่ กีย่ วเนื่อง (เช่น โรงแรม ร้านอาหาร ภตั ตาคาร) และบริการด้านสุขภาพ (สปา นวดแผนโบราณ) 14. เมื่ออาเซยี นเป็น AEC ในปี 2558 แล้ว มคี วามเสย่ี งทีจ่ ะเกิดปญั หา วิกฤตการณก์ ารเงนิ และการคลงั ซำ้ รอยสหภาพยโุ รปหรอื ไม่ • วิกฤตทางเศรษฐกิจที่หลายประเทศในกลุ่มสหภาพยุโรปเป็นปัญหา ที่เกิดจากหนี้สาธารณะอย่างมหาศาล จนส่งผลกระทบรุนแรงต่อระบบการเงินของ ประเทศและประเทศสมาชิกสหภาพยุโรปอื่นๆ ที่ใช้สกลุ เงินร่วมกันคือเงินยูโร • ในอาเซียนยังไม่พบปัญหาด้านหนี้สาธารณะอย่างมหาศาลเช่นเดียวกับ ประเทศสมาชิกในสหภาพยุโรป ซึ่งเป็นต้นเหตุของวิกฤตในยุโรปปัจจุบัน และหาก มีปัญหาก็ไม่น่าจะเกิดการแพร่กระจายอย่างรุนแรงเช่นในสหภาพยุโรปเนื่องจาก อาเซียนยงั ไม่ได้ใช้เงินสกุลเดียวกัน ปัญหาในลกั ษณะเดียวกนั จึงมีโอกาสไม่มากนัก ทีจ่ ะเกิดขึ้นภายในอาเซียน

ˆŸ‡›‹‘›‹‘¥i\"&$o 24 15. AEC มขี อ้ ผกู พนั ทีท่ ำใหไ้ ทยต้องใหค้ วามช่วยเหลอื ประเทศสมาชกิ อน่ื ๆ ของอาเซียน ในกรณที ีป่ ระเทศเหลา่ นั้นประสบปญั หาทางเศรษฐกจิ ขน้ึ หรือไม่ (เทียบกบั กรณที ่ีเยอรมันต้องใช้งบประมาณของประเทศไปช่วยแก้ปัญหาเศรษฐกิจ ของกรซี ด้วย) AEC ไม่มีข้อตกลงที่ผูกพันหรือสร้างพันธกรณีให้ประเทศสมาชิกอาเซียน ตอ้ งช่วยรบั ภาระปญั หาทางเศรษฐกิจของประเทศสมาชกิ อาเซยี นอนื่ ๆ อยา่ งไรกต็ าม ภายใตก้ รอบอาเซยี น+3 (จนี เกาหลใี ต้ และญป่ี นุ่ ) มคี วามรว่ มมอื ทางการเงนิ ทเ่ี รยี กวา่ “ความคิดริเริ่มเชียงใหม่พหภุ าคี” (Chiang Mai Initiative Multilateralisation: CMIM) ซง่ึ เปน็ ความตกลงการแลกเปลย่ี นเงนิ ตราแบบพหภุ าคเี พอ่ื ใหค้ วามชว่ ยเหลอื ประเทศ สมาชกิ ทป่ี ระสบปญั หาสภาพคลอ่ งทางการเงนิ ระยะสน้ั มวี งเงนิ 1.2 ลา้ นเหรยี ญสหรฐั โดยได้เริ่มดำเนินโครงการ CMIM ตั้งแต่วนั ที่ 24 มีนาคม 2553 16. ภายใต้ AEC สนิ ค้าของประเทศไทยจะไดร้ ับสทิ ธิประโยชนท์ างภาษอี ะไรบ้าง จากประเทศสมาชิกอาเซียนอื่นๆ ไทยจะได้รบั สิทธิประโยชน์ดังนี้ (1) สิทธิประโยชน์ทางภาษี - ตง้ั แตว่ นั ท่ี 1 มกราคม 2553 บรไู นดารสุ ซาลาม อนิ โดนเี ซยี มาเลเซยี ฟิลิปปินส์ และสิงคโปร์ ลดภาษีสินค้าปกติให้ไทยเหลือร้อยละ 0 - กมั พชู า สปป.ลาว พมา่ และเวยี ดนาม จะลดภาษสี นิ คา้ ปกตใิ หไ้ ทย เหลอื ร้อยละ 0 ในวันที่ 1 มกราคม 2558 (2) สิทธิประโยชน์ทีไ่ ม่ใช่ภาษี - บรไู นฯ อินโดนีเซีย มาเลเซีย สิงคโปร์ ยกเลิกอุปสรรคทางการค้าที่ มิใช่ภาษีให้แก่สินค้าที่นำเข้าจากไทยตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2553

25 w‘ª}‘}ŸwŸ‘zŸi ‘Ý™•Ÿh |Œ‘ݪ‰– w‘݉‘•|ܟءÐ - ฟิลิปปินส์ยกเลิกอุปสรรคทางการค้าที่มิใช่ภาษีให้แก่สินค้าที่นำเข้า จากไทยตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2555 - สำหรบั กมั พชู า สปป.ลาว พมา่ และเวยี ดนามจะยกเลกิ อปุ สรรคทางการคา้ ที่มิใช่ภาษีให้แก่สินค้าที่นำเข้าจากไทยตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2558 17. ประชาชนทัว่ ไปในประเทศไทยทไี่ มใ่ ช่ผปู้ ระกอบการหรือนักธุรกิจจะไดร้ บั ผลกระทบจาก AEC อย่างไร - ผลกระทบด้านบวก • ในฐานะผู้บริโภค (1) มที างเลือกในการบรโิ ภคสนิ คา้ และบรกิ ารทม่ี คี วามหลากหลายในราคา ทม่ี แี นวโนม้ ลดลง เนอ่ื งจากการลด/ยกเลกิ อปุ สรรคทางการคา้ สนิ คา้ และบรกิ ารใน AEC ทำใหส้ นิ คา้ และบรกิ ารจากประเทศอาเซยี นอน่ื สามารถเขา้ สตู่ ลาดในไทยไดส้ ะดวกขน้ึ (2) มีโอกาสได้บริโภคสินค้าที่มีมาตรฐานและความปลอดภัยมากขึ้น เนื่องจาก AEC มีการกำหนดกลไกระดับภูมิภาคเพื่อส่งเสริมความร่วมมือด้านการ คมุ้ ครองผบู้ รโิ ภค นอกจากน้ี ยงั มคี วามรว่ มมอื ดา้ นมาตรฐานและการรบั รองคณุ ภาพ ของสินค้า เพื่อให้แน่ใจว่าสินค้าที่ผลิตในอาเซียนมีมาตรฐานทีย่ อมรบั ร่วมกัน • ในฐานะผูป้ ระกอบอาชีพ (1) เพิ่มโอกาสในการเข้าไปทำงานในประเทศ อาเซยี นอน่ื มากขน้ึ เนอ่ื งจากภายใต้ AEC ประเทศสมาชกิ อาเซยี นจะมกี ารอำนวยความสะดวกในการตรวจลงตรา และออกใบอนญุ าตทำงานสำหรบั ผปู้ ระกอบวชิ าชพี และ แรงงานฝีมืออาเซียนที่เกีย่ วข้องกบั การค้าข้ามพรมแดน และกิจกรรมที่เกีย่ วเนือ่ งกบั การลงทนุ

ˆŸ‡›‹‘›‹‘¥i \"&$o 26 (2) มโี อกาสไดเ้ รยี นรแู้ ละแลกเปลย่ี นประสบการณ์ รวมทง้ั เพม่ิ พนู ศกั ยภาพ การทำงานกบั บคุ ลากรของประเทศอาเซียนอืน่ จากสภาพแวดล้อมใน AEC ที่มีการ เคลื่อนย้ายแรงงานฝีมือและการลงทนุ ระหว่างกันได้อย่างคล่องตัวขึ้น - ผลกระทบด้านลบ • ในฐานะผู้บริโภค (1) หากหนว่ ยงานภาครฐั ไมม่ กี ลไกในการควบคมุ และตรวจสอบสนิ คา้ นำเขา้ ทด่ี ี มีความเป็นไปได้ที่สินค้าและบริการจากประเทศสมาชิกอาเซียนอื่น ที่อาจยังไม่ได้ มาตรฐานของไทยก็มีโอกาสเข้าสู่ตลาดของไทยได้ด้วย ประชาชนในฐานะผู้บริโภค จงึ จำเปน็ ตอ้ งเพม่ิ ความระมดั ระวงั ในการเลอื กซอ้ื สนิ คา้ และบรกิ าร และแจง้ ใหภ้ าครฐั ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง เชน่ สำนกั งานคณะกรรมการคมุ้ ครองผบู้ รโิ ภคทราบทนั ทเี มอ่ื ประสบปญั หา • ในฐานะผู้ประกอบอาชีพ (1) มคี วามเปน็ ไปได้ทจ่ี ะถกู แย่งงานโดยแรงงานของประเทศอาเซยี นอนื่ ทมี่ ี ความไดเ้ ปรยี บในการแขง่ ขนั สงู กวา่ เชน่ ดา้ นภาษาองั กฤษ และทกั ษะในการประกอบ วิชาชีพด้านต่างๆ 18. ประเทศไทยได้เริ่มเตรียม “สรา้ งคน” เช่น นักเรยี น นกั ศึกษา ผ้ปู ระกอบการ ให้พร้อมรบั มือ AEC แล้ว หรอื ยัง ปจั จบุ นั หนว่ ยงานภาครฐั และภาคเอกชนไทยเรม่ิ มกี ารตน่ื ตวั และเหน็ ถงึ ความ สำคญั ของการเปน็ AEC โดยมีการเตรียม “สร้างคน” เพือ่ เตรียมความพร้อมรองรับ AEC ดงั นี้ • การศึกษาขั้นพืน้ ฐาน ในการเตรยี มความพรอ้ มของผเู้ รยี นระดบั มธั ยมศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ได้เตรียมความพร้อมของเยาวชนไทยในการปฏิบัติอาชีพที่ส่งเสริมศักยภาพความ

27 w‘ª}‘}ŸwŸ‘ziŸ‘Ý™•hŸ|Œ‘ݪ‰– w‘݉‘•|ܟءÐ เข้มแข็งให้กับท้องถิ่นและประเทศไทย เพื่อเป็นพลเมืองที่เข้มแข็งของอาเซียนและ พลเมืองโลก ด้วยการดำเนินโครงการมัธยมศึกษาเชิงปฏิบัติการโดยการปรับเพิ่ม ลกั ษณะการเรยี นของโรงเรยี นมธั ยมศกึ ษาจากทเ่ี นน้ วชิ าการภาคทฤษฎใี นสายสามญั ไปสู่การเรียนแบบผสมผสานอย่างเหมาะสมทั้งภาคทฤษฏีและภาคปฏิบตั ิในลกั ษณะ มัธยมศึกษาเชิงปฏิบัติการ โครงการนำร่องสู่ประชาคมอาเซียน (โครงการ Spirit of ASEAN) โรงเรียน ASEAN Focus โดยมีเป้าหมายเพือ่ สร้างความรู้ความเข้าใจเกีย่ วกับ อาเซียน และสร้างความตระหนักในการเป็นพลเมืองอาเซียน การกำหนดนโยบาย เพื่อส่งเสริมการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ ภาษาเพื่อนบ้าน และภาษาอื่นๆ เช่น ภาษาจีน เป็นต้น การส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการศึกษา ทั้งนี้ สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐานไดก้ ำหนดคณุ ลกั ษณะเดก็ ไทยสอู่ าเซยี น เช่น ตระหนกั ในความเปน็ อาเซียน ยอมรับความแตกต่างการนบั ถือศาสนา ภูมิใจใน ความเป็นไทยและอาเซียน ทกั ษะการเรียนรู้และการพฒั นาตน (ยอมรบั ความหลาก หลายทางวัฒนธรรม มีภาวะผู้นำแก้ไขปญั หาสงั คม) เป็นต้น • การอาชีวศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาได้ดำเนินการในการเตรียมการ สรา้ งความพรอ้ มในการทป่ี ระเทศไทยจะเขา้ สปู่ ระชาคมอาเซยี น โดยในปงี บประมาณ 2555 มีแผนการดำเนินงาน ดังนี้ 1. เผยแพร่องค์ความรู้เพื่อเตรียมความพร้อมของกำลังคนอาชีวศึกษา เช่น จัดกิจกรรมและสร้างบรรยากาศของความเป็นประชาคมอาเซียนในสถานศึกษา สร้างความรู้ ความเข้าใจให้แก่ ผู้บริหาร ครู บุคลากรทางการศึกษา และข้าราชการ การจดั กิจกรรมในสถานศึกษา การจดั กิจกรรมแลกเปลีย่ นเรียนรู้ เป็นต้น 2. พฒั นาสมรรถนะกำลงั คนใหม้ มี าตรฐานเทยี บเทา่ อาเซยี น เชน่ การพฒั นา หลักสูตร การสร้างเครือข่ายความร่วมมือ การพัฒนาศักยภาพของสถานศึกษา การยกระดับความสามารถของครู การพฒั นาสมรรถนะผู้เรียน เปน็ ต้น

ˆŸ‡›‹‘›‹‘¥i \"&$o 28 3. ให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางการจัดการอาชีวศึกษาและการฝึกอบรม วิชาชีพของอาเซียน เช่น การเป็นศูนย์กลางความร่วมมือในการจัดอาชีวศึกษาและ ฝึกอบรมในอาเซียน เปน็ ต้น 4. บรหิ ารจดั การสรา้ งเครอื ขา่ ยความรว่ มมอื และพฒั นาฐานขอ้ มลู กำลงั คน ด้านอาชีวศึกษาในอาเซียน เช่น การแลกเปลี่ยนผู้บริหาร ครู บคุ ลากรทางการศึกษา นักเรียนและนักศึกษา เป็นต้น การส่งเสริมการสร้างกลไกการมีส่วนร่วมในการ บริหารจดั การ เปน็ ต้น 5. กำหนดคณุ ลักษณะนักศึกษาทีจ่ บอาชีวศึกษา เช่น สามารถสื่อสารภาษา อังกฤษในระดับดี สามารถใช้ IT ในการสื่อสารและค้นคว้าข้อมูล ผ่านการทดสอบ มาตรฐานฝีมือแรงงาน ผ่านกระบวนการฝึกประสบการณ์เป็นผู้ประกอบการ เป็นต้น • การอุดมศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาในฐานะหน่วยงานที่รับผิดชอบ นโยบายดา้ นการศกึ ษาระดบั อดุ มศกึ ษาไดด้ ำเนนิ งานโครงการ/กจิ กรรมเพอ่ื ขบั เคลอ่ื น ความร่วมมือด้านการอดุ มศึกษาในกรอบอาเซียนท้ังในระดบั ทวิภาคีและพหภุ าคีเพือ่ ให้ส่งเสริมการบรู ณาการของอาเซียน ดงั นี้ 1. โครงการแลกเปลี่ยนนักศึกษาระหว่างมาเลเซีย-อินโดนีเซีย-ไทย (โครงการนำร่อง) เป็นการดำเนินงานร่วมกับศูนย์ภูมิภาคของซีมีโอด้านการศึกษา และการพัฒนา (SEAMEO RIHED) และสถาบันอดุ มศึกษา 2. การประชมุ อย่างไม่เปน็ ทางการ (Retreat) ระหว่างผู้บริหารระดับสงู ของ สำนกั งานคณะกรรมการการอดุ มศกึ ษาและหนว่ ยงานทร่ี บั ผดิ ชอบการอดุ มศกึ ษาของ ประเทศสมาชิกอาเซียน 3. การจัดทำยุทธศาสตร์อุดมศึกษาไทยในการเตรียมความพร้อมสู่การเป็น ประชาคมอาเซียนในปี 2558

29 w‘ª}‘}ŸwŸ‘zŸi ‘Ý™•Ÿh |Œ‘ݪ‰– w‘݉‘•|ܟءÐ 4. การดำเนินงานของศูนย์ภูมิภาคแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ว่าด้วยการ อุดมศึกษาและการพัฒนา (Southeast Asian Ministers of Education Organization- Regional Centre for Higher Education and Development: SEAMEO RIHED) การดำเนินการของเครือข่ายมหาวิทยาลยั อาเซียน (AUN) ปัจจุบันมีมหาวิทยาลัยของประเทศอาเซียนเป็นสมาชิกจำนวน 26 แห่ง โดยมีเป็นมหาวิทยาลัยของไทย 4 แห่ง ได้แก่ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั มหาวิทยาลัย บูรพา มหาวิทยาลยั มหิดล และ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ รูปแบบการดำเนินกิจกรรม ได้แก่ - การแลกเปลีย่ นทางวิชาการ - การอบรมและพฒั นาขีดความสามารถ - ความร่วมมือด้านงานวิจยั - การพฒั นาระบบและกลไกของการอดุ มศกึ ษา (ระบบประกนั คณุ ภาพ การศึกษา ระบบการถ่ายโอนหน่วยกิต เปน็ ต้น) - การพฒั นาหลกั สตู รและโครงการ (หลกั สตู รอาเซยี นศกึ ษา หลกั สตู ร สิทธิมนุษยชนศึกษา เปน็ ต้น) - การประชุมและเสวนาด้านนโยบาย - ศูนย์กลางข้อมลู และความรู้ - เครือข่ายเฉพาะทาง ฯลฯ • การศึกษานอกระบบและตามอธั ยาศัย สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ได้ดำเนินการในการเตรียมการสร้างความพร้อมในการที่ประเทศไทยจะก้าวเข้าสู่ ประชาคมอาเซียน ดงั นี้

ˆŸ‡›‹‘›‹‘¥i \"&$o 30 1. สร้างความตระหนักให้กับผู้บริหาร ครู นักศึกษา และประชาชน เกีย่ วกบั การก้าวสู่ประชาคมอาเซียน 2. การส่งเสริมความรู้ด้านภาษา วัฒนธรรม และทกั ษะทีจ่ ำเปน็ 3. จัดบูรณาการความรู้เรื่องอาเซียนในวิชาที่เกี่ยวข้องในหลักสูตรทุก ระดบั ของ กศน. 4. สง่ เสรมิ ความรว่ มมอื กบั ประเทศตา่ งๆ ในอาเซยี น อาทิ สง่ วทิ ยากรให้ การอบรมด้านครูเดินสอน การส่งเสริมการรู้หนังสือแก่ สปป.ลาว จัดการศึกษาดูงานแลกเปลี่ยนความรู้ด้านการดำเนินงานศูนย์ การเรียนชมุ ชนกบั ประเทศอินโดนีเซีย เป็นต้น • กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศในฐานะ AEC National Coordinating Agency ของไทย ซึ่งทำหน้าที่ประสานงานและติดตามการดำเนินงานของไทยเพื่อ ไปสู่การเป็น AEC ได้มีการเตรียมความพร้อมของไทยโดยการจัดกิจกรรมเพื่อสร้าง ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับ AEC ในวงกว้าง ครอบคลุมถึงการสร้างพันธมิตร ในการเผยแพร่ข้อมูล AEC กับสถาบันการศึกษา และการเผยแพร่ผ่านสื่อต่างๆ ที่เข้าถึงได้ในวงกว้าง เช่น สือ่ วิดีทศั น์ วารสาร แผ่นพบั การ์ตนู ฯลฯ โดยเน้นการใช้ เนื้อหา รูปแบบ และภาษาทีเ่ ข้าใจง่าย • สถาบันที่เกี่ยวข้องกับการอบรม หรือพัฒนาศักยภาพบุคลากรระดับสูง เชน่ สถาบนั พระปกเกลา้ วทิ ยาลยั ปอ้ งกนั ราชอาณาจกั ร มกี ารอบรมใหค้ วามรเู้ กย่ี วกบั อาเซียนและ AEC อย่างต่อเนือ่ ง • นอกจากนี้ สถาบนั การศึกษาระดับอุดมศึกษาบางแห่ง เช่น มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ ก็อยู่ระหว่างยกร่างหลักสูตรเฉพาะเกี่ยวกับอาเซียนเพื่อสร้างความรู ้ ให้กับเยาวชนอย่างต่อเนื่อง และเป็นระบบเพื่อเตรียมความพร้อมในการเข้าสู่ตลาด แรงงานในอนาคตด้วย

31 w‘ª}‘}ŸwŸ‘zŸi ‘Ý™•hŸ|Œ‘ݪ‰– w‘݉‘•|ܟءÐ 19. อาเซยี นจะมีแนวทางการรวมกล่มุ หลังการเป็น AEC ในปี 2558 ไปในทิศทางใด อาเซียนอยู่ระหว่างพิจารณาอนาคตของความร่วมมือทางด้านเศรษฐกิจ ภายหลังจากการรวมกลุ่มเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ในปี 2558 โดยอาเซียนได้มอบหมายให้ Asian Development Bank Institute (ADBI) ศึกษาเรื่อง ASEAN 2030 ซึ่งจะเป็นแนวทางในการวางรากฐานและอนาคตของอาเซียน โดยมี เปา้ หมายใหอ้ าเซยี นยงั คงเปน็ ศนู ยก์ ลาง (ASEAN Centrality) และเปน็ ผนู้ ำในภมู ภิ าคน้ี ต่อไป ซึ่งจะได้ผลสรปุ การศึกษาภายในปี 2555 นี้ การค้าสินค้า 20. พันธกรณที ไ่ี ทยจะตอ้ งดำเนนิ การภายใตก้ ารเปดิ เสรีการค้าสินคา้ คอื อะไร • ยกเลิกภาษีสินค้าทุกรายการสำหรับสมาชิกอาเซียนเดิม 6 ประเทศ ภายในปี 2553 ยกเว้นสินค้าอ่อนไหว (Sensitive List: SL) ซึง่ ไทยมี 4 ประเภทสินค้า ไดแ้ ก่ กาแฟ มนั ฝรง่ั มะพรา้ ว และไมต้ ดั ดอก ซง่ึ สามารถคงภาษไี วไ้ ดไ้ มเ่ กนิ รอ้ ยละ 5 • ยกเลกิ มาตรการทไ่ี มใ่ ชภ่ าษี (NTBs) ทไ่ี มส่ อดคลอ้ งกบั พนั ธกรณี ซง่ึ ในสว่ น ของไทย ได้แก่ สินค้าเกษตร 23 รายการ ที่จะต้องยกเลิกโควตา (TRQs) ทั้งหมด ให้กับประเทศสมาชิกอาเซียน • ยอมรับกฎว่าด้วยแหล่งกำเนิดสินค้าที่มีความง่ายมาใช้ในอาเซียน ซึ่งประเดน็ ปญั หาขณะนี้ คือ อาเซียนยอมใช้ กฎ ROO ที่ง่ายกว่ากบั ประเทศคู่เจรจา แต่กลับใช้ ROO ที่ยากกว่าในอาเซียน เท่ากับให้สิทธิประเทศอื่นมากกว่าสมาชิก อาเซียนด้วยกนั ควรต้องปรับให้สอดคล้องกัน

ˆŸ‡›‹‘›‹‘i¥ \"&$o 32 • เร่งจัดตั้ง National Single Window เพื่อเชื่อมต่อกับประเทศอาเซียนอื่น เป็นระบบ ASEAN Single Window (ASW) ต่อไป โดย ASW เป็นการอำนวย ความสะดวกด้านศลุ กากรเพื่อให้เอกสารทุกอย่างอยู่ในรูปอิเล็กทรอนิกส์ และมีการ เชื่อมโยงระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภาครฐั และเอกชน เพือ่ ให้มีการยื่นเอกสาร เพียงคร้ังเดียว และสามารถตดั สินใจในการตรวจปล่อยได้ในคราวเดียว 21. ในการเจรจาเปดิ เสรดี า้ นการค้า ประเทศไทยใช้หลักเกณฑ์อะไรในการ กำหนดว่ารายการสินคา้ ใดจะถูกจดั ประเภทเป็นสนิ คา้ ปกติ สนิ คา้ อ่อนไหว หรือสินคา้ ออ่ นไหวสงู • หลักการท่ัวไปที่ใช้ในการจดั ประเภทสินค้า มีดงั นี้ - สนิ คา้ ปกติ เปน็ สนิ คา้ ทผ่ี ปู้ ระกอบการในประเทศมคี วามสามารถในการ แข่งขันในการผลิตและส่งออกในตลาดระหว่างประเทศ และไม่จำเป็นต้องใช้เวลาใน การปรับตวั มากนกั - สนิ คา้ ออ่ นไหว เปน็ สนิ คา้ ทผ่ี ปู้ ระกอบการในประเทศยงั มขี ดี ความสามารถ ในการแข่งขันไม่สงู มากนัก และยงั ต้องใช้เวลาทีจ่ ะปรบั ตัวเพือ่ ให้สามารถแข่งขนั ได้ - สินค้าอ่อนไหวสูง เป็นสินค้าที่ผู้ประกอบการในประเทศยังไม่สามารถ แขง่ ขนั ไดใ้ นตลาดระหวา่ งประเทศ และตอ้ งการความชว่ ยเหลอื จากภาครฐั ในการปรบั ตวั 22. เมือ่ ลดภาษสี ินคา้ หมดแลว้ ผู้ประกอบการของไทยจะสามารถสง่ สนิ คา้ ออก ไปยงั ประเทศสมาชิกอาเซยี นไดส้ ะดวกข้ึนจรงิ หรอื การเปดิ เสรภี ายใตก้ รอบอาเซยี นจะชว่ ยใหไ้ ทยสามารถสง่ ออกไปยงั ประเทศ สมาชิกอาเซียนอืน่ ได้ โดย

33 w‘ª}‘}ŸwŸ‘ziŸ‘Ý™•hŸ|Œ‘ݪ‰– w‘݉‘•|ܟءÐ • มีภาระภาษีนำเข้าลดลง (ในกรณที ส่ี นิ คา้ รายการนน้ั เปน็ สนิ คา้ ออ่ นไหวท ่ี ภาษไี มเ่ ปน็ ศนู ย)์ • ดา้ นการอำนวยความสะดวกทางการคา้ อาเซยี นไดป้ รบั ประสานมาตรฐาน สินค้าให้สอดคล้องกัน และการจัดทำความตกลงการยอมรับร่วม (MRA) ในผลการ ตรวจสอบและรบั รอง เพอ่ื ลดเวลาและคา่ ใชจ้ า่ ยในการตรวจสอบซำ้ เมอ่ื มกี ารสง่ ออก ไปยงั ประเทศอาเซียนอื่น ปัจจบุ นั ได้กำหนดไว้สำหรับสินค้า 8 กลุ่ม คือ เครื่องสำอาง ยานยนต์ เครอื่ งใช้ไฟฟ้าและอิเลก็ ทรอนิกส์ เครอื่ งมือและอปุ กรณ์ การแพทย์ อาหาร ยา ยาง และยาแผนโบราณ ซึ่งจะทำให้สินค้าทีผ่ ่านมาตรฐานของไทยสามารถสง่ ออก ไปยังประเทศสมาชิกอาเซียนอื่นได้ง่ายขึ้น • การดำเนินโครงการนำร่องเพื่อจัดตั้ง ASEAN Single Window ซึ่งจะ เชื่อมโยงระบบข้อมลู อิเลก็ ทรอนิกส์ของหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชน ทีเ่ กีย่ วข้อง กับการส่งออก-นำเข้า โดยมีกรมศุลกากรเป็นหน่วยงานหลัก ซึ่งอยู่ระหว่างการ ดำเนินการ และจะเชื่อมโยงกับระบบข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ของประเทศสมาชิก อาเซียนอื่น ทำให้ผู้ทำการค้าสามารถยื่นเอกสารและดำเนินกระบวนการทางการค้า ณ จุดเดียว • การจัดตั้ง ASEAN Trade Repository ซึง่ เป็นคลังข้อมลู มาตรการการค้า ของประเทศสมาชิกอาเซียน เช่นกฎหมายและกฎระเบียบต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับ มาตรการด้านภาษีและที่มิใช่ภาษี กฎถิน่ กำเนิดสินค้า ฯลฯ โดยจะเผยแพร่คลังข้อมูล ดังกล่าวผ่านทางเว็บไซด์ของสำนักเลขาธิการอาเซียน เพื่ออำนวยความสะดวกทาง การค้าระหว่างประเทศ ดงั นน้ั ผลจากการดำเนนิ งานดงั กลา่ วของอาเซยี นจะชว่ ยใหผ้ ปู้ ระกอบการไทย สามารถสง่ ออกไปยงั ประเทศสมาชกิ อาเซยี นอน่ื ไดง้ า่ ยขน้ึ ในขณะทผ่ี ปู้ ระกอบการของ ประเทศอาเซียนอืน่ สามารถส่งเข้ามายังไทยได้ง่ายขึ้นเช่นเดียวกัน

ˆŸ‡›‹‘›‹‘¥i \"&$o 34 23. ทำไมตอ้ งใช้ Certificate of Origin Certificate of Origin เปน็ หนงั สือรบั รองถน่ิ กำเนดิ /สญั ชาติของสนิ คา้ วา่ มกี าร ผลติ ทแ่ี ทจ้ รงิ ในประเทศใด เพอ่ื ใชร้ บั รองการขอใชส้ ทิ ธพิ เิ ศษทางภาษศี ลุ กากรในการ นำเข้าสินค้าภายใต้ข้อตกลงเขตการค้าเสรีต่างๆ รวมถึงอาเซียน ตามหลกั เกณฑ์และ เงื่อนไขของแต่ละความตกลง โดยหน่วยงานภาครัฐของไทยที่มีอำนาจในการออก ใบรบั รองถน่ิ กำเนดิ สนิ คา้ คอื กรมการคา้ ตา่ งประเทศ กระทรวงพาณชิ ย์ สว่ นหนว่ ยงาน ภาครัฐของไทยที่ทำหน้าที่ตรวจสอบใบรับรองถิ่นกำเนิดสินค้าเพื่อพิจารณาการให้ สิทธิพิเศษ/การลดภาษีศุลกากรนำเข้าคือ กรมศุลกากร กระทรวงการคลัง อย่างไรก็ดี ปัจจุบันอาเซียนได้ริเริ่มใช้ ระบบการรับรองถิ่นกำเนิดสินค้าด้วยตนเอง (Self-Certification) คือ การอนญุ าตให้ผู้ทำการค้า/ ผู้ส่งออกที่ได้รับความไว้วางใจ (Trusted trader/ exporter) รับรองถิ่นกำเนิดสินค้าด้วยตนเองใน ใบกำกับราคาสินค้า (Invoice) ซึ่งถือเป็นหนึ่งใน มาตรการด้านการอำนวยความสะดวกทางการค้า เพอ่ื สง่ เสรมิ ใหเ้ กดิ การขยายตวั ทางการคา้ ในภมู ภิ าค 24. ถ้าสนิ คา้ ไทยไม่สามารถผลติ ไดต้ าม Rules of Origin (ทั้งในกรอบอาเซียน และอาเซียน-ค่เู จรจา) จะเกดิ ผลอย่างไร สินค้าที่ไม่สามารถผลิตได้ตามกฎว่าด้วยถิ่นกำเนิดสินค้า (Rules of Origin) หมายถงึ สนิ คา้ ทไ่ี มไ่ ดม้ กี ารผลติ /มกี ารสรา้ งมลู คา่ เพม่ิ (value added) /มกี ารแปรสภาพ จากวัตถุดิบนำเข้าไปเป็นสินค้าส่งออกอย่างเพียงพอ (Substantial transformation) ในประเทศผสู้ ง่ ออก จะสง่ ผลใหผ้ นู้ ำเขา้ สนิ คา้ นน้ั ไมส่ ามารถไดร้ บั สทิ ธพิ เิ ศษทางภาษ ี ศลุ กากรจากกรมศลุ กากรของประเทศผู้นำเข้า

35 w‘ª}‘}ŸwŸ‘ziŸ‘Ý™•Ÿh |Œ‘ݪ‰– w‘݉‘•|ܟØ¡ Ð 25. Self Certification คอื อะไร/จะนำมาใชเ้ มือ่ ใด/มีประโยชนแ์ ละข้อจำกัดอยา่ งไร /มีกลไกการตรวจสอบความถูกตอ้ งหรอื ไม/่ อย่างไร ระบบ Self-Certification คือ ระบบที่ผู้ทำการค้า/ผู้ส่งออกที่ได้รับอนุญาต (Certified Traders/Exporters) สามารถรับรองถิ่นกำเนิดสินค้าด้วยตนเองบนบัญชี ราคาสนิ คา้ (Invoice) ตามรปู แบบทก่ี ำหนด โดยไมต่ อ้ งใหห้ นว่ ยงานภาครฐั ทม่ี อี ำนาจ รับรองตามระบบเดิม เพื่อขอรับสิทธิประโยชน์ทางภาษีศุลกากรภายใต้เขตการค้า เสรีต่างๆ รวมทั้งอาเซียน โดยต้องเป็นสินค้าที่มีการผลิตเป็นไปตามกฎถิ่นกำเนิด สินค้าภายใต้ความตกลงฯ ขณะเดียวกันผู้ส่งออกที่จะขอรับอนุญาตต้องเป็นผู้ม ี ความรู้และเข้าใจกฎถิน่ กำเนิดสินค้า ต้องยินยอมให้หน่วยงานทมี่ ีอำนาจเข้าถึงข้อมลู เพื่อติดตามการใช้สิทธิและตรวจสอบความถูกต้องในการรับรองถิ่นกำเนิดสินค้า ต้องเก็บข้อมูลไว้อย่างน้อย 3ปี และต้องรับผิดชอบต่อการทำบัญชีราคาสินค้าที่ใช้ รับรองถิน่ กำเนิดสินค้า ทั้งนี้ หากหน่วยงานผู้มีอำนาจตรวจสอบพบว่าผู้ส่งออกที่ได้รับอนุญาต ไม่ปฏิบัติตามข้อกำหนดก็สามารถพิจารณาเพิกถอนสิทธิการเป็นผู้ส่งออกได้รับ อนญุ าตได้ การใชร้ ะบบ Self-Certification จะสง่ ผลใหก้ ารสง่ ออกสนิ คา้ ทต่ี อ้ งการใช้ สิทธิประโยชน์ทางภาษีศุลกากรภายใต้ FTA ต่างๆ สามารถดำเนินการได้รวดเร็วขึ้น ผลิตเสรจ็ เมือ่ ใดกส็ ามารถออก Invoice เพือ่ การส่งออกได้เลยโดยไม่ต้องรอเวลาเพื่อ ไปขอรบั รองถน่ิ กำเนดิ สนิ คา้ จากภาครฐั เปน็ การลดคา่ ใชจ้ า่ ยตา่ งๆทเ่ี กดิ ขน้ึ ในขน้ั ตอน การขอใบรับรองถิ่นกำเนิดสินค้า ในส่วนของภาครัฐ ก็จะสามารถลดภาระด้าน งบประมาณและบุคลากรในการออกใบรับรองถิ่นกำเนิดสินค้าและการจัดเก็บข้อมูล ไว้ตามเงื่อนไขที่กำหนด

ˆŸ‡›‹‘›‹‘¥i\"&$o 36 26. ทำไมอาเซยี นถึงพยายามผลกั ดันการสะสมถ่นิ กำเนิดสนิ คา้ (ROO accumulation) ในขณะท่ีถ่นิ กำเนิดสนิ คา้ ภายใต้ FTA ทีท่ ำกบั ประเทศต่างๆ เช่น อาเซยี น-จนี อาเซียน-อนิ เดีย ไมส่ ามารถสะสมได้ ผผู้ ลติ ภายในประเทศสมาชกิ อาเซยี นจะได้ประโยชนอ์ ะไรจากกฎดังกลา่ ว วตั ถปุ ระสงคห์ ลกั ของการผลกั ดนั ใหม้ กี ารสะสมถน่ิ กำเนดิ สนิ คา้ ในอาเซยี น คอื เพือ่ ส่งเสริมให้มีการใช้วัตถดุ ิบ/ทรพั ยากรในภมู ิภาคร่วมกัน และสร้างห่วงโซ่อปุ ทาน ในภมู ภิ าค (Regional Supply Chain) เนอ่ื งจากตน้ ทนุ การผลติ สนิ คา้ ทง้ั วตั ถดุ บิ คา่ แรง และสนิ คา้ ทนุ ทเ่ี กดิ ขน้ึ ในประเทศสมาชกิ อาเซยี นทกุ ประเทศสามารถนำมารวมในการ คำนวณถน่ิ กำเนดิ สนิ คา้ อาเซยี นซง่ึ มเี กณฑท์ ว่ั ไป คอื เกณฑส์ ดั สว่ นมลู คา่ การผลติ ใน ภมู ภิ าค (Regional Value Content: RVC) อยา่ งนอ้ ยรอ้ ยละ 40 ของราคาสนิ คา้ ทส่ี ง่ มอบ ณ ท่าเรือ (Free on Board : F.O.B.) ดงั น้ัน การสะสมถิ่นกำเนิดสินค้าจึงเปน็ ปัจจยั สำคญั ทช่ี ว่ ยใหม้ กี ารสรา้ งมลู คา่ เพม่ิ ในการผลติ ในภมู ภิ าค ขณะเดยี วกนั ยงั ชว่ ยใหม้ กี าร ซอ้ื ขายสนิ คา้ ระหวา่ งกนั ในภมู ภิ าคมากขน้ึ ซง่ึ จะสนบั สนนุ การเปน็ ตลาดและฐานการผลติ เดียวกนั ตามเป้าหมายของการเปน็ AEC นอกจากนี้ ปัจจุบนั แม้ว่าภายใต้ความตกลงเขตการค้าเสรีต่างๆ ที่อาเซียน ทำกบั คเู่ จรจายงั ไมเ่ ปดิ ใหม้ กี ารสะสมถน่ิ กำเนดิ สนิ คา้ ขา้ มความตกลงฯ ได้ แตข่ ณะน้ี อาเซยี นอยรู่ ะหวา่ งพจิ ารณาจดั ทำเขตการคา้ เสรรี ว่ มกบั คเู่ จรจาในลกั ษณะอาเซยี น +3 (จีน เกาหลีใต้ และญี่ปุ่น) หรือ +6 (จีน เกาหลีใต้ ญี่ปุ่น ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ และอนิ เดยี ) เพม่ิ เตมิ จากทอ่ี าเซยี นทำกบั คเู่ จรจาในแตล่ ะประเทศ ซง่ึ หากดำเนนิ การสำเรจ็ กจ็ ะทำใหส้ ามารถสะสมถิ่นกำเนิดสินค้าจากอาเซียนและคู่เจรจาต่างๆ ได้โดยไม่ม ี ขอ้ จำกดั เรอ่ื งการสะสมถน่ิ กำเนดิ สนิ คา้ ในแตล่ ะความตกลง โดยการจดั ทำเขตการคา้ เสรีอาเซียน +3 หรือ +6 นี้ จะเปน็ การเปิดโอกาสให้มีการเลือกใช้วตั ถุดิบในการผลิต ไดก้ วา้ งกวา่ จากเดมิ ทเ่ี ลอื กใชไ้ ดแ้ ตเ่ พยี งประเทศสมาชกิ อาเซยี นหรือประเทศคเู่ จรจา ประเทศใดประเทศหนึ่งในราคาที่แข่งขันกนั มากขึ้น ซึง่ ผู้ประกอบการไทยจำเป็นต้อง เตรียมความพร้อมในการแข่งขัน และวางแผนหาทางใช้สิทธิประโยชน์จากแหล่ง วตั ถุดิบอย่างมีประสิทธิภาพสูงสดุ

37 w‘ª}‘}ŸwŸ‘zŸi ‘Ý™•Ÿh |Œ‘ݪ‰– w‘݉‘•|ܟØ¡ Ð 27. มาตรการรองรบั การนำเข้าสินคา้ เกษตรของไทยภายใตค้ วามตกลงการคา้ สินคา้ อาเซียน (ATIGA) มคี วามสอดคลอ้ งหรือขดั แยง้ กับกฏเกณฑ์ของ WTO หรือไม่ อย่างไร และจะสามารถดำเนนิ มาตรการเหลา่ นีไ้ ดต้ ลอดไปหรือไม่ ในหลกั การ มาตรการรองรบั การนำเขา้ สนิ คา้ เกษตรของไทยภายใตค้ วามตกลง การค้าสินค้าอาเซียน (ATIGA) มีความสอดคล้องกับกฏเกณฑ์ของ WTO ยกเว้น บางมาตรการ เชน่ • มาตรการกำหนดใหผ้ นู้ ำเขา้ และการขน้ึ ทะเบยี นผนู้ ำเขา้ ตอ่ ปี ซง่ึ หากในทาง ปฏิบัติมีผลเป็นการจำกัดการนำเข้าหรือกีดกันการนำเข้า ก็อาจถือว่าขัดกับ ATIGA และ GATT ได้ ซึ่งต้องพิจารณาข้อมูลรายละเอียด เปน็ กรณีไป • มาตรการกำหนดค่าธรรมเนียมพิเศษ หากเกบ็ ภายใต้ WTO สามารถเกบ็ ไดใ้ นอตั ราทก่ี ำหนดไว้ หากเกบ็ สงู กวา่ ถอื วา่ ขดั พนั ธกรณเี รอ่ื งการลดภาษภี ายใต้ WTO สำหรับ ATIGA ห้ามเก็บค่าธรรมเนียมพิเศษสำหรับการนำเข้า หากเก็บถือว่าขัด พนั ธกรณเี รอ่ื งการลดภาษภี ายใต้ ATIGA สนิ คา้ ทม่ี มี าตรการน้ี ไดแ้ ก่ ขา้ วโพดเลย้ี งสตั ว์ กากถัว่ เหลือง 28. คำกล่าวที่วา่ “ความสำคัญหรอื บทบาทของกรมศุลกากรจะลดลงไปเรือ่ ยๆ เมอ่ื มกี ารลดภาษีศลุ กากรเหลืออตั ราร้อยละ 0 สำหรับกว่าร้อยละ 90 ของ สนิ คา้ ทงั้ หมดภายใต้ AEC” จะเปน็ จรงิ ในอนาคตมากนอ้ ยเพยี งใด แม้ว่าไทยจะมีการลดภาษีศุลกากรภายใต้ AEC เป็นศนู ย์สำหรับสินค้าเกือบ ท้ังหมดไปแล้ว กรมศลุ กากรยังคงมีบทบาทสำคญั ในการตรวจสอบว่าสินค้าที่เข้ามา โดยใช้สิทธิพิเศษทางภาษีศลุ กากรภายใต้ AEC มีถิน่ กำเนิดสินค้าจากประเทศสมาชิก อาเซยี นจรงิ หรอื ไม่ (ผา่ นเกณฑก์ ฎวา่ ดว้ ยถน่ิ กำเนดิ สนิ คา้ ) นอกจากน้ี กรมศลุ กากร ยังมีหน้าที่หลักในการตรวจสอบความถูกต้องของราคาสินค้านำเข้าที่สำแดงว่า มีความน่าเชื่อถือเพียงใด ตลอดจนมีหน้าที่ต้องตรวจสอบสินค้าว่าเป็นของต้องห้าม ต้องจำกัดอยู่ภายใต้การควบคุมของกฎหมายที่เกี่ยวข้อง หรือต้องมีการขออนุญาต นำเข้าด้วยหรือไม่

ˆŸ‡›‹‘›‹‘i¥\"&$o 38 29. การดำเนนิ การยกเลิก รวมถึงมาตรการห้ามไมใ่ ห้ประเทศสมาชิกอาเซยี นใช้ มาตรการกีดกันทางการค้าที่ไมใ่ ชภ่ าษมี คี วามคบื หน้าเพยี งใด ประเทศสมาชกิ อาเซยี นมพี นั ธกรณที จ่ี ะตอ้ งยกเลกิ มาตรการกดี กนั ทางการคา้ ที่มิใช่ภาษี หรือ Non Tariff Barriers (NTBs) โดยสมาชิกอาเซียนแต่ละประเทศได้แจ้ง มาตรการมใิ ชภ่ าษที พ่ี รอ้ มจะยกเลกิ ตอ่ สำนกั เลขาธกิ ารอาเซยี น ดงั น้ี ประเทศสมาชกิ อาเซียน 5 ได้แก่ สิงคโปร์ ไทย มาเลเซีย บรไู น และอินโดนีเซีย จะต้องยกเลิก NTBs ภายในปี 2553 และสำหรบั ฟิลิปปินส์จะต้องยกเลิก NTBs ภายในปี 2555 ในส่วนของ กมั พูชา ลาว พม่า และเวียดนาม จะต้องยกเลิก NTBs ในปี 2558 ซึง่ ขณะนี้ประเทศ สมาชิกอาเซียนต่างก็ทยอยยกเลิกมาตรการมิใช่ภาษีกันมาตามลำดับ ทั้งนี้ ก็ม ี ปรากฏว่าสมาชิกอาเซียนยังใช้มาตรการ NTBs กันอยู่บ้าง จึงเป็นประเด็นที่ทุกฝ่าย จะต้องติดตามตรวจสอบการใช้มาตรการมิใช่ภาษีที่จะเป็นอุปสรรคต่อการค้าใน อาเซียนอย่างใกล้ชิด อยา่ งไรกต็ าม ดว้ ยอาเซยี นไดต้ ระหนกั ถงึ ความสำคญั ของการใชม้ าตรการท่ี มิใช่ภาษีที่เริ่มมีการนำมาใช้มากขึ้น หลังจากที่ได้ลด/ยกเลิกอุปสรรคด้านภาษ ี ระหว่างกันไปแล้ว อาเซียนจึงได้ตกลงให้แต่ละประเทศแจ้งมาตรการที่มิใช่ภาษีต่อ ประเทศสมาชกิ อน่ื ลว่ งหนา้ อยา่ งนอ้ ย 6 เดอื น กอ่ นทก่ี ฎระเบยี บจะมผี ลใชบ้ งั คบั และ ใหม้ กี ารกำหนดกลไกทเี่ ขม้ แขง็ ในการจดั การกบั มาตรการเหล่าน้ี นอกจากน้ี อาเซยี น ยงั อยรู่ ะหวา่ งการรวบรวมขอ้ มลู การใช้ NTBs ในอาเซยี น โดยรวบรวมจากการรอ้ งเรยี น ของภาคเอกชนตามที่ประสบการณ์ที่เกิดขึ้นจริง ซึ่งจะนำข้อมูลที่รวบรวมได้มา พจิ ารณาเหตผุ ลความจำเปน็ และจะพจิ ารณาจดั ทำแผนงานการยกเลิกต่อไป ไทยคงไมส่ ามารถดำเนนิ มาตรการ เหลา่ นไ้ี ดต้ ลอดไป ปจั จบุ นั ถกู ประเทศคคู่ า้ ทักท้วงให้แก้ไขและดำเนินมาตรการให้ สอดคลอ้ งกบั พนั ธกรณี อยา่ งไรกต็ าม ไทย ต้องหาวิธีการดูแลผู้ประกอบการภายใน ประเทศด้วย

39 w‘ª}‘}ŸwŸ‘zŸi ‘Ý™•Ÿh |Œ‘ݪ‰– w‘݉‘•|ܟØ¡ Ð 30. MRAs คืออะไร การจดั ทำความตกลงยอมรบั รว่ ม (Mutual Recognition Arrangements: MRAs) ของอาเซยี นเปน็ ความตกลงระหวา่ งรฐั บาลของ 2 ประเทศหรอื มากกวา่ เพอ่ื ใหม้ กี าร ยอมรับร่วมบางส่วน หรือทั้งหมดของผลการตรวจสอบและรับรองมาตรฐานสินค้า ของแต่ละฝ่าย สำหรบั สินค้าที่อยู่ภายใต้การกำกบั ดแู ลของภาครัฐ ทั้งนี้ ประเทศสมาชิกอาเซียนได้ลงนามกรอบความตกลงอาเซียนว่าด้วย ความตกลงยอมรับร่วม (The ASEAN Framework Agreement on Mutual Recognition Agreement) ในปี 2541 เพื่อกำหนดกรอบการดำเนินงานสำหรับประเทศสมาชิก อาเซยี นในการจดั ทำ MRAs ในสาขาตา่ งๆ ปจั จบุ นั อาเซยี นไดส้ รปุ ผลการจดั ทำ MRAs ใน 2 สาขา ได้แก่ สาขาไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ และสาขาเครื่องสำอาง 31. การจัดทำ MRAs มปี ระโยชน์อย่างไร การจัดทำ MRAs ในอาเซียน ในสาขาการตรวจสอบและรับรองมาตรฐาน จะช่วยลดความจำเป็นในการทดสอบสินค้าหลายครั้งก่อนที่จะนำมาวางจำหน่าย หรือใช้งานในประเทศสมาชิกอาเซียนอืน่ ดังน้ัน MRAs จึงช่วยลดต้นทนุ ทางธุรกิจใน การจัดทำรายงานผลการทดสอบและเพิ่มความแน่นอนในการเข้าสู่ตลาดของสินค้า ขณะเดียวกนั ผ้บู ริโภคยงั สามารถเชือ่ มน่ั ในคณุ ภาพของสินค้าในตลาดซงึ่ ได้ผ่านการ ทดสอบแล้วตามข้อกำหนดของ MRAs

ˆŸ‡›‹‘›‹‘i¥ \"&$o 40 32. จรงิ หรอื ไม่ เมอื่ เกดิ การหมนุ เวียนของสนิ ค้าโดยเสรีในภูมิภาค (free flow of goods) จะทำให้มสี ินค้าคุณภาพต่ำ ไม่ได้มาตรฐานเข้ามาในประเทศไทย และจะมี มาตรการสร้างความม่ันใจได้หรือไมว่ ่า สินค้าทีเ่ ขา้ มาวางขายในประเทศไทย เป็นสินคา้ ท่ีมีคุณภาพมาตรฐาน หากหน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้องด้านการตรวจสอบมาตรฐานสินค้า ไม่มี มาตรการและกลไกในการกำกับดูแลและควบคุมมาตรฐานของสินค้านำเข้าที่รัดกุม มีความเป็นไปได้ที่สินค้าคุณภาพต่ำ/ไม่ได้มาตรฐานจะเข้ามาในประเทศไทยมากขึ้น กระทบต่อสวัสดิภาพและความปลอดภยั ของผู้บริโภคในประเทศ อยา่ งไรกต็ าม ภายใต้ AEC อาเซยี น ได้มีความร่วมมือด้านมาตรฐานและการ รบั รองคณุ ภาพสนิ คา้ เชน่ การปรบั ประสาน มาตรฐานและกฎระเบียบด้านเทคนิคให้ สอดคล้องกับมาตรฐานระหว่างประเทศ สำหรับสินค้าประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้า ยา และผลิตภัณฑ์ยาง และการจัดทำความ ตกลงยอมรบั รว่ ม (MRAs) ในการตรวจสอบ และรบั รองมาตรฐานสินค้า ในสาขาไฟฟ้าและอิเลก็ ทรอนิกส์ และสาขาเครือ่ งสำอาง และยังอยู่ระหว่างการจดั ทำและมีแผนทีจ่ ะขยายให้ครอบคลุมสาขาอื่นๆ เช่น อาหาร และยานยนต์ นอกจากน้ี ในอนาคต อาเซยี นยงั ไดต้ ง้ั เปา้ หมายทจ่ี ะจดั ทำเครอ่ื งหมาย อาเซยี น (Marking Scheme) เพอ่ื บง่ ชว้ี า่ สนิ คา้ ดงั กลา่ วมคี วามสอดคลอ้ งกบั กฎระเบยี บ /ข้อกำหนดทางเทคนิคของอาเซียนตามความตกลงทีเ่ กีย่ วข้อง จะเหน็ ไดว้ า่ อาเซยี นไดต้ ระหนกั ถงึ ความสำคญั ของการหมนุ เวยี นของสนิ คา้ ทม่ี คี ณุ ภาพมาตรฐานอยา่ งเสรใี นภมู ภิ าค และไดด้ ำเนนิ มาตรการตา่ งๆ คบื หนา้ ไปมาก เพือ่ ผลประโยชน์ของประชาชนในอาเซียนในฐานะผู้บริโภคขั้นสดุ ท้าย

41 w‘ª}‘}ŸwŸ‘ziŸ‘Ý™•hŸ|Œ‘ݪ‰– w‘݉‘•|ܟØ¡ Ð 33. การเปิดเสรีสินคา้ ภายใต้ AEC จะมีผลกระทบต่อสนิ คา้ ของไทยอย่างไร การเปิดเสรีสินค้าภายใต้ AEC จะทำให้สินค้าไทยส่งไปขายในตลาดอาเซียน ได้ในต้นทุนที่ต่ำลงเนื่องจากภาษีศุลกากรขาเข้าที่ลดลง ในขณะเดียวกัน จะทำให้ม ี สนิ คา้ ชนดิ เดยี วกนั กบั ทไ่ี ทยผลติ เขา้ มาแขง่ ขนั กบั สนิ คา้ ไทยในตน้ ทนุ ทต่ี ำ่ ลง อาจทำให้ สินค้าไทยที่ไม่สามารถแข่งขันได้ต้องเสียส่วนแบ่งตลาดในประเทศ อย่างไรก็ดี การนำเข้าสินค้าวัตถุดิบจากประเทศอาเซียนจะมีต้นทุนที่ต่ำลงด้วย เป็นการเพิ่มขีด ความสามารถให้กับสินค้าไทยทั้งตลาดในประเทศและตลาดต่างประเทศ 34. จะใช้ AEC เพิ่มพนู ประโยชนแ์ กก่ ารคา้ ชายแดนได้อยา่ งไร การเปน็ AEC ชว่ ยเพม่ิ พนู ประโยชนแ์ กก่ ารคา้ ชายแดน เนอ่ื งจากเปา้ หมายหนง่ึ ของการเป็น AEC คือ การเป็นตลาดและฐานการผลิตเดียวกันในภูมิภาคอาเซียน โดยการลด/ยกเลิกอปุ สรรคทางการค้าท้ังภาษี และมิใช่ภาษี และมีการอำนวยความ สะดวกทางการคา้ ในดา้ นตา่ งๆ อาทิ การปรบั ประสานพธิ กี ารศลุ กากรและมาตรการ ดา้ นสขุ อนามยั ใหส้ อดคลอ้ งกนั การจดั ทำความตกลง ว่าด้วยการอำนวยความสะดวกการขนส่งสินค้า ผ่านแดนและข้ามแดนของอาเซียน และการจัดตั้ง ASEAN Single Window ฯลฯ ขณะเดียวกัน อาเซียน ยังมีการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านการขนส่ง ทั้งทางบก ทางน้ำ และทางอากาศ ให้เชือ่ มโยงถึงกนั ปัจจัยดังกล่าวจะช่วยสนับสนุนการค้าชายแดนในภูมิภาคให้ขยายตัวเพิ่มขึ้น โดย ประเทศที่มีการการค้าชายแดนกบั ไทย ได้แก่ มาเลเซีย พม่า สปป.ลาว และกมั พูชา ในปี 2554 การคา้ ชายแดนไทย มมี ลู คา่ รวม 899,783.1 ลา้ นบาท คดิ เปน็ สดั สว่ นรอ้ ยละ 78.4 ของการค้าระหว่างประเทศของไทยกับประเทศดังกล่าว ขยายตัวเพิ่มขึ้นจาก ปีก่อนร้อยละ 15.6

ˆŸ‡›‹‘›‹‘¥i \"&$o 42 35. เมอ่ื อาเซยี นเปน็ AEC แลว้ บรกิ ารและสนิ คา้ ดา้ น ICT จะมรี าคาตำ่ ลงหรอื ไม่ ภายใตแ้ ผนงานการจดั ตง้ั ประชาคมเศรษฐกจิ อาเซยี น (AEC Blueprint) สาขา ICT เปน็ 1 ใน 12 สาขาเร่งรดั การรวมกลุ่มเศรษฐกิจ ซึ่งอาเซียนได้กำหนดแผนงาน (Roadmap) ในการเปิดเสรีการค้าสินค้า บริการ และการลงทุนในสาขานี้ และเปน็ ไป ตามเป้าหมายภายใต้กรอบความตกลง e-ASEAN ซึ่งได้มีการลงนามตั้งแต่ปี 2543 เพื่อให้อาเซียนเป็นภูมิภาคที่มีความแข็งแกร่งด้าน ICT และลดความแตกต่างทาง ดิจิตอลในประเทศสมาชิกอาเซียนและระหว่างประเทศสมาชิก โดยมาตรการสำคญั ทไ่ี ดด้ ำเนนิ การ คือ การลด/ยกเลิกอุปสรรคทางการค้าและการลงทุนในสาขา ICT ซึ่งจะส่งผลให้สินค้าและบรกิ ารดา้ น ICT ใน AEC มรี าคาตำ่ ลง และสามารถแขง่ ขนั ได ้ ในตลาดระหวา่ งประเทศ 36. AEC จะส่งผลต่อการเข้าถงึ ยารักษาโรคของคนไทยอย่างไร AEC จะชว่ ยใหป้ ระชาชนในประเทศไทยสามารถเขา้ ถงึ ยารกั ษาโรคทผ่ี ลติ ขน้ึ ใน อาเซยี นทน่ี ำเข้ามาขายในประเทศไทยในราคาทมี่ ีแนวโนม้ ลดลง เพราะยารกั ษาโรคท ี่ ผลติ ขน้ึ ในอาเซยี นจะไมถ่ กู เรยี กเกบ็ ภาษนี ำเขา้ ซง่ึ สง่ ผลใหต้ น้ ทนุ ในการนำเขา้ ลดลงดว้ ย เนื่องจากยารักษาโรคเป็นหนึ่งในสินค้าที่ไทยต้องลดภาษีนำเข้าหากยานั้นส่งมาจาก ประเทศอาเซียน ทำให้ยาดังกล่าวมีราคาถูกลง ผู้ป่วยที่มีรายได้น้อยจะมีโอกาส ในการซื้อยาได้มากขึ้น

43 w‘ª}‘}ŸwŸ‘zŸi ‘Ý™•hŸ|Œ‘ݪ‰– w‘݉‘•|ܟØ¡ Ð การคา้ บรกิ าร/การลงทนุ 37. การเปดิ ตลาดการคา้ บริการในอาเซียนมคี วามเป็นมา และมีเปา้ หมายอยา่ งไร กรอบความตกลงด้านบริการของอาเซียนที่ได้ลงนามเมื่อ พ.ศ. 2538 มีวัตถุประสงค์หลัก คือ (1) การเพิ่มความร่วมมือเพื่อสร้างประสิทธิภาพและความ สามารถในการแข่งขัน (2) การลดข้อจำกัดด้านการค้าบริการระหว่างกัน และ (3) การเปิดเสรีด้านการค้าบริการระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียนให้มากกว่าระดับ ทเ่ี ปดิ ภายใต้ GATS โดยใหม้ คี ณะกรรมการประสานงานดา้ นการคา้ บรกิ าร (Coordinating Committee on Services : CCS) เปน็ ผู้ควบคมุ ดูแลการดำเนินการตามข้อตกลง AFAS ซง่ึ ประกอบไปดว้ ยผแู้ ทนจากสมาชกิ อาเซยี นรบั ผดิ ชอบงานดา้ นการเจรจาและปฏบิ ตั ิ ตาม AFAS ผลของการดำเนินการทำให้สมาชิกอาเซียนเปิดเสรีการค้าบริการภายใต้ ข้อผูกพันของตนเพิ่มขึ้นต่อเนือ่ งตั้งแต่ พ.ศ. 2538 ต่อมาอาเซียนมีแผนงานการนำไป สู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (Blueprint) ได้กำหนดแผนงานด้านการค้าบริการไว้ใน หัวข้อ Free Flow of Services ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของแผนการก้าวไปสู่ความเปน็ Single Market and Production Base โดยสาระสำคญั คอื ใหส้ มาชกิ ดำเนนิ การ เปดิ เสรกี ารคา้ บรกิ ารในระดบั สงู ขน้ึ ตามเปา้ หมายและกรอบเวลาอยา่ งชดั เจน โดยยงั คงยดึ ถอื AFAS เปน็ กติกาในการยกเลิกมาตรการที่เป็นอปุ สรรคต่อการค้าบริการในอาเซียน 38. อะไรคอื สาระสำคัญของแผนงานการเปิดเสรีการคา้ บริการตามแผนแม่บท ประชาคมเศรษฐกิจอาเซยี น (AEC Blueprint) ลด/เลิกข้อจำกัดต่อการค้าบริการภายในปี 2553 สำหรับสาขาในกลุ่ม สำหรบั 4 สาขาบรกิ ารสำคญั (Priority Integration Sectors: PIS) ไดแ้ ก่ การขนสง่ ทางอากาศ เทคโนโลยีสารสนเทศ สขุ ภาพ และการท่องเทีย่ ว และสำหรบั สาขาบริการสำคัญที่ 5 ได้แก่ โลจิสติกส์ ให้ลดเลิกข้อจำกัดให้ได้ภายในปี 2556 ส่วนสาขาบริการอื่นๆ

ˆŸ‡›‹‘›‹‘¥i\"&$o 44 ที่เหลือนอกจากนั้น ให้ลดเลิกข้อจำกดั ภายในปี 2558 (ซึ่งเป็นปีเป้าหมายทีจ่ ะจดั ตั้ง ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน) สาระสำคัญของแผนฯ มีดังนี้ 1) ดำเนินการเจรจาเพื่อเปิดเสรีอย่างต่อเนื่องเป็นรอบๆ รอบละ 2 ปี จนถึง ปี 2558 2) ยกเลกิ ขอ้ จำกดั ทง้ั หมดสำหรบั การใหบ้ รกิ ารและการใชบ้ รกิ ารขา้ มพรมแดน (โดยไมม่ กี ารจดั ตง้ั กจิ การ) ยกเวน้ กรณมี เี หตผุ ลอนั สมควร (เชน่ เพอ่ื ความปลอดภยั ของ สาธารณชน) ซึ่งขึ้นอยู่กบั เงือ่ นไขการตกลงระหว่างประเทศสมาชิกเป็นกรณีๆ ไป 3) สำหรบั การจดั ตง้ั กจิ การ ใหอ้ นญุ าตสดั สว่ นการถอื หนุ้ ของคนสญั ชาตอิ าเซยี น ใหเ้ พม่ิ มากขน้ึ ตามลำดบั เชน่ ไมน่ อ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 51 ในปี 2551 และรอ้ ยละ 70 ในปี 2553 เฉพาะสำหรบั สาขาบรกิ ารสำคญั สว่ นสาขาบรกิ ารอน่ื ๆ ทเ่ี หลอื จะตอ้ งใหค้ นสญั ชาต ิ อาเซียนถือหุ้นได้อย่างน้อยร้อยละ 70 ในปี 2558 4) สำหรบั สาขาการเงนิ ใหท้ ยอยเปดิ เสรสี ำหรบั สาขาทป่ี ระเทศสมาชกิ แตล่ ะ ประเทศได้ระบุไว้ภายในปี 2558 และทยอยเปิดเสรีในสาขาบริการอืน่ ที่เหลือภายใน ปี 2563 5) ดำเนนิ การจดั ทำขอ้ ตกลงการยอมรบั คณุ สมบัติวิชาชีพทีก่ ำลงั เจรจาอยู่ให้แล้วเสร็จ ซึ่งรวมบริการวิศวกรรม สถาปัตยกรรม บัญชี การสำรวจ (Surveying) การแพทย์ ภายในปี 2551 และทนั ตกรรมภายในปี 2552 รวมทง้ั ใหก้ ำหนด วิชาชีพอื่นๆ เช่น บุคลากรด้านการท่องเที่ยว เพื่อจัดทำข้อตกลงยอมรับคุณสมบัติให้แล้ว เสรจ็ ภายในปี 2555 และต้องมีการดำเนินการ ตามข้อตกลงดงั กล่าวภายในปี 2558

45 w‘ª}‘}ŸwŸ‘ziŸ‘Ý™•hŸ|Œ‘ݪ‰– w‘݉‘•|ܟØ¡ Ð 39. พนั ธกรณีทไ่ี ทยจะตอ้ งดำเนินการภายใตก้ ารเปิดเสรีการค้าบรกิ ารคืออะไร - การใหบ้ รกิ ารแบบขา้ มพรมแดน (Mode 1) และการใหค้ นในประเทศเดนิ ทาง ไปบริโภคบริการในต่างประเทศ (Mode 2): จะต้องยกเลิกข้อจำกัดทั้งหมด แต่ทั้งน ี้ หากมีเหตุผลจำเป็นที่จะต้องคงเงื่อนไขบางประการสำหรับสาขาบริการนั้นๆ ก็อาจ สามารถทำได้ - การให้นกั ลงทนุ อาเซียนเข้ามาจดั ตั้งธุรกิจ (Mode 3): ได้มีการกำหนดให้ ประเทศสมาชิกต้องเปิดให้นักลงทุนอาเซียนเข้ามาจัดตั้งธุรกิจโดยถือหุ้นได้มากขึ้น จนถึง 70% ซึ่งจะเปิดอย่างเปน็ ขั้นๆ ดังนี้ • สำหรับสาขาที่เป็น Priority services sectors ซึ่งได้แก่ (1) E-ASEAN – บริการที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ และโทรคมนาคม (2) Tourism (3) Healthcare โดยสาขาดังกล่าวเปิดเป็นขั้นบันไดร้อยละ 49 ในปี 2549, ร้อยละ 51 ในปี 2551, และ ร้อยละ 70 ในปี 2553 • สำหรับสาขา Logistics: ร้อยละ 49 ในปี 2551, ร้อยละ 51 ในปี 2553 และ ร้อยละ 70 ในปี 2556 • สำหรับสาขาบริการอื่นๆ ทีเ่ หลือ (ซึ่งได้แก่ บริการด้านวิชาชีพ ก่อสร้าง การจดั จำหน่าย การศึกษา สิ่งแวดล้อม ขนส่ง และอืน่ ๆ) : ร้อยละ 49 ในปี 2551, ร้อยละ 51 ในปี 2553 และ ร้อยละ 70 ในปี 2558 นอกจากนี้ ต่อไปสมาชิกจะได้มีการหารือเพื่อลด/ยกเลิกข้อจำกัดอื่นๆ ทเ่ี กย่ี วกบั การจดั ตง้ั ธรุ กจิ อกี ดว้ ย ทง้ั น้ี สำหรบั สาขาการเงนิ และการขนสง่ ทางอากาศ จะได้มีการกำหนดเป็นการเฉพาะแตกต่างไป • การเปิดให้บคุ คลธรรมดาเดินทางเข้ามาให้บริการ (Mode 4) : ให้สมาชิก ผกู พนั เปดิ ตลาดมากขน้ึ และสง่ เสรมิ ในเรอ่ื งการเคลอ่ื นยา้ ยบคุ ลากรอาเซยี นใหส้ ามารถ เดินทางและทำงานในประเทศสมาชิกได้สะดวกมากยิ่งขึ้น อยา่ งไรกต็ าม เปา้ หมายตา่ งๆ ขา้ งตน้ อาจมคี วามยดื หยนุ่ ไดบ้ า้ งในระดบั หนง่ึ ซึ่งจะต้องมีการหารือระหว่างประเทศสมาชิกต่อไป

ˆŸ‡›‹‘›‹‘i¥ \"&$o 46 40. ตารางขอ้ ผกู พนั การค้าบรกิ ารในอาเซยี น คืออะไร ตารางข้อผูกพันการค้าบริการ (Schedule of specific commitment) หรือ เรียกว่าข้อผูกพันการค้าบริการ ที่ทุกสมาชิกอาเซียนจะต้องจัดทำขึ้น เป็นเอกสาร ข้อผูกพันที่มีการระบุสาขาบริการที่มีการเปิดตลาดหรือเปิดเสรีในเอกสารเดียวกันนี้ สมาชิกสามารถระบุมาตรการหรือข้อจำกัดที่ต้องการใช้ปฏิบัติกับผู้ให้บริการ ต่างชาติได้ แต่การสงวนมาตรการน้ันต้องได้รบั การยินยอมจากอาเซียนก่อน การผกู พนั เปดิ ตลาดน้ี สมาชกิ ไมส่ ามารถเปลย่ี นแปลงแกไ้ ขขอ้ ผกู พนั ของตน ไปในทางที่เป็นข้อจำกัดที่เข้มงวดกว่าที่ผูกพันได้ หรือไม่เพิ่มเติมมาตรการอื่นใดที่ เปน็ อปุ สรรคทางการคา้ บรกิ ารตอ่ ผ้ใู ห้บริการของสมาชิกอนื่ ในอนาคตมากขึ้นไปกว่า ที่ได้ระบไุ ว้ในข้อผูกพัน ยกเว้นการนำเข้าสู่กระบวนการเจรจาใหม่ ข้อผูกพันการค้าบริการ ถือเป็นสิ่งจำเป็นที่ผู้ให้บริการและนักลงทุนของทุก ประเทศสมาชกิ ตอ้ งเรยี นรู้ ใสใ่ จ และรจู้ กั ใชป้ ระโยชน์ เพราะเปน็ ขอ้ บง่ ชถ้ี งึ สทิ ธปิ ระโยชน์ ทีจ่ ะได้รบั และในเวลาเดียวกันได้บ่งชี้ถึงมาตรการทีเ่ ปน็ ข้อจำกดั ต่อนักลงทุนด้วย 41. ไทยได้ประโยชนอ์ ะไรจากการเปดิ ตลาดบริการภายใต้อาเซยี น ในดา้ นสทิ ธปิ ระโยชนท์ ไ่ี ทยจะไดร้ บั คอื สมาชกิ อาเซยี นทกุ ประเทศตอ้ งผกู พนั เปิดตลาดบริการให้ไทยด้วยเช่นเดียวกนั โดยมีระดับของการผกู พันเปิดตลาดไม่น้อย ไปกวา่ ระดบั การเปดิ ตลาดของไทย ซง่ึ ผปู้ ระกอบการไทยกจ็ ะสามารถเขา้ ไปลงทนุ ในธรุ กจิ บรกิ ารตามทส่ี มาชกิ อาเซยี นไดผ้ กู พนั ไวใ้ นตารางขอ้ ผกู พนั โดยการลงทนุ ของไทยจะไดร้ บั การปฏบิ ตั จิ ากรฐั บาลของสมาชกิ อาเซยี นอยา่ งเปน็ ธรรม รวมทง้ั การลดความเขม้ งวด ในการใชม้ าตรการและกฎระเบยี บตา่ งๆ ตอ่ การลงทนุ ของไทยดว้ ย นอกจากน้ี ไทยจะได ้ รบั ประโยชนท์ ง้ั ในเรอ่ื งของการดงึ ดดู การลงทนุ เขา้ มาในประเทศ และยงั เปน็ การสง่ สญั ญาณ ดา้ นบรรยากาศการลงทนุ ทด่ี ตี อ่ ประเทศนอกภมู ภิ าคอาเซยี นดว้ ย ขอ้ ผกู พนั ของไทยได ้ แสดงใหเ้ หน็ ถงึ การดำเนนิ การของภาครฐั ในการเปดิ ใหม้ กี ารลงทนุ จากตา่ งประเทศภายใต ้ ขอ้ ผกู พนั เปน็ ลายลกั ษณอ์ กั ษร มคี วามโปรง่ ใสและชดั เจน ซง่ึ จะสรา้ งความมน่ั ใจตอ่ นกั ลงทนุ

47 w‘ª}‘}ŸwŸ‘ziŸ‘Ý™•hŸ|Œ‘ݪ‰– w‘݉‘•|ܟØ¡ Ð 42. ทำอยา่ งไรจงึ จะใชป้ ระโยชน์จากการเปิดเสรีบรกิ ารภายใต้ AEC ได้มากทีส่ ดุ การเจรจาเปิดเสรีการค้าบริการมีทั้งสิ้น 4 รูปแบบ (mode of supply) ได้แก่ Mode 1 การใหบ้ รกิ ารขา้ มพรมแดน (Cross-border Supply) Mode 2 การเดนิ ทางไป ใช้บริการต่างประเทศ (Consumption Abroad) Mode 3 การจัดต้ังธุรกิจ (Commercial Presence) Mode 4 การเคลื่อนย้ายบุคคลธรรมดา (Movement of Natural Person) ดงั นน้ั นกั ธรุ กจิ ตอ้ งพจิ ารณาการใชป้ ระโยชนจ์ ากการเปดิ ตลาดทง้ั 4 mode โดยเฉพาะ mode 3 หรอื การเขา้ ไปจดั ตง้ั ธรุ กจิ ซง่ึ หลงั จากปี 2558 นกั ลงทนุ ไทยสามารถเขา้ ไปลงทนุ ในธรุ กิจของอาเซียนโดยการถือหุ้นเปน็ สดั ส่วนทีส่ งู ถึงร้อยละ 70 หากธรุ กิจไทยไม่ใช้ โอกาสดงั กลา่ วเขา้ ไปลงทนุ ในตา่ งประเทศกเ็ ทา่ กบั วา่ ไมไ่ ดใ้ ชป้ ระโยชนจ์ ากการเปดิ ตลาด ใน mode 3 ในขณะนี้ มีธุรกิจของคนไทยที่เข้าไปลงทุนและประสบความสำเร็จใน อาเซยี น แตย่ งั มจี ำนวนไมม่ าก สว่ นหนง่ึ เกดิ จากอปุ สรรคการจดั ตง้ั ธรุ กจิ ทท่ี ำใหต้ น้ ทนุ สงู แตเ่ มอ่ื อาเซยี นมกี ารเปดิ เสรไี ดต้ ามเปา้ หมาย AEC อปุ สรรคทางกฎหมายจะลดลงมาก นอกจากน้ี การบรกิ ารในรปู แบบท่ี 1 หรอื การบรกิ าร ข้ามพรมแดน ก็มีแนวโน้มการขยายตัวอยู่ในเกณฑ์ที่ดี ด้วยความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงไปอย่าง รวดเรว็ ในปจั จบุ นั ทำใหก้ ารใหบ้ รกิ ารขา้ มพรมแดนทำไดโ้ ดย ผา่ นสอ่ื คอมพวิ เตอรอ์ นิ เตอรเ์ นต็ ผใู้ หบ้ รกิ ารและผรู้ บั บรกิ าร ตา่ งไมจ่ ำเปน็ ตอ้ งเดนิ ทางขา้ มพรมแดนไปมาหาสกู่ นั เพอ่ื ใหห้ รอื ใชบ้ รกิ าร แตส่ ามารถ ทำธรุ กรรมผ่านทางอินเตอร์เน็ต หรือโทรศพั ท์กไ็ ด้ เช่น การซื้อหนังสือผ่านเว็บไซต์ การบริการอ่านผลเอก็ ซเ์ รยผ์ า่ นทางอนิ เตอรเ์ นต็ โดยรงั สแี พทยท์ อ่ี ยตู่ า่ งประเทศ และ การสำรองทน่ี ง่ั เครอ่ื งบนิ ทางคอมพวิ เตอร์ เปน็ ตน้ ธรุ กจิ บรกิ ารใน mode 1 น้ี ประเทศ อาเซียนมักไม่มีข้อจำกัดในการเข้าสู่ตลาด จึงน่าจะเป็นโอกาสดีที่ธุรกิจไทยจะใช้ ประโยชน์จากการเปิดเสรีใน mode 1 ให้มากขึ้น อย่างไรกต็ าม เนือ่ งจากการแข่งขัน ในการใหบ้ รกิ ารของธรุ กจิ อาเซยี นจะทวคี วามเขม้ ขน้ ขน้ึ เปน็ ลำดบั นกั ธรุ กจิ /ผปู้ ระกอบ การไทยจำเป็นต้องรักษาคุณภาพของบริการให้ได้มาตรฐานสากล และหมั่นติดตาม การเปลีย่ นแปลงของเทคโนโลยีใหม่ๆ เพื่อพัฒนาการให้บริการของตนอย่างต่อเนื่อง

ˆŸ‡›‹‘›‹‘¥i \"&$o 48 43. ธุรกิจบรกิ ารมคี วามสำคญั ตอ่ ระบบเศรษฐกจิ ของไทยอยา่ งไร ธรุ กจิ การคา้ บรกิ ารมคี วามแตกตา่ งจากการคา้ สนิ คา้ มคี วามหลากหลายใน รูปแบบและวิธีการใช้บริการต่อผู้บริโภค และบริการบางประเภทยังเป็นต้นทุนของ สินค้า รวมทั้งมีบทบาทสำคัญต่อการพัฒนาประเทศ ยิ่งเศรษฐกิจมีการพัฒนา ขึ้นมากเท่าไร ภาคบริการจะยิง่ ทวีความสำคญั มากขึ้นไปเป็นลำดับในประเทศพัฒนา แล้ว ภาคบริการมกั จะมีสัดส่วนทีค่ ่อนข้างสูงกว่าภาคเกษตร/อุตสาหกรรม เช่น EU มีภาคบริการร้อยละ 72.8 ของ GDP ในขณะที่ สหรฐั ฯ มีภาคบริการร้อยละ 76.9 ของ GDP และญป่ี นุ่ รอ้ ยละ 76.5 สำหรบั ไทย มภี าคบรกิ ารอยทู่ ร่ี อ้ ยละ 45.1 (ทม่ี า: World Economic Outlook Database, April 2553) ธรุ กจิ บรกิ ารทอ่ี ยใู่ นกลมุ่ โครงสรา้ งพน้ื ฐาน อย่างบริการสุขภาพ การศึกษา บริการสื่อสารโทรคมนาคม และบริการขนส่ง โลจิสติกส์ มีส่วนสำคัญในการพัฒนาศักยภาพของประชาชนคนไทยให้มีคุณภาพ ชวี ติ ทด่ี ี เปน็ ทรพั ยากรมนษุ ยท์ ม่ี คี า่ ของประเทศ นอกจากน้ี บรกิ ารในกลมุ่ ทไ่ี ปเสรมิ สรา้ ง ธรุ กิจหรือรายได้กม็ ีความสำคญั ทีไ่ ปช่วยต่อยอด เพิม่ มลู ค่าของบริการให้สงู ขึ้น เช่น ธรุ กิจบันเทิง โสตทัศน์ ท่องเที่ยว สุขภาพ ความงาม และวิชาชีพ เป็นต้น 44. การเปดิ ตลาดบริการโลจสิ ตกิ สภ์ ายใต้กรอบ AEC มขี อบเขตกว้างขวางเพียงใด อาเซียนตกลงให้บริการโลจิสติกส์เป็นหนึ่งในสาขาเร่งรัดการรวมกลุ่มหรือ Priority Sectors เพราะตระหนักถึงความสำคัญของบริการโลจิสติกส์ทีม่ ีต่อการเป็น ตลาดสนิ คา้ และบรกิ ารรว่ มกนั และมฐี านการผลติ เดยี วกนั ของอาเซยี นตามกรอบ AEC โดยมีเป้าหมายให้อาเซียนเร่งเปิดตลาดบริการโลจิสติกส์ให้แก่กัน โดยการลด/เลิก ข้อจำกัดของการเข้าสู่ตลาด และอนุญาตให้ผู้ให้บริการอาเซียนเข้ามาถือหุ้นใน นิติบุคคลในประเทศไทยได้อย่างน้อยร้อยละ 70 ภายในปี 2556

49 w‘ª}‘}ŸwŸ‘ziŸ‘Ý™•Ÿh |Œ‘ݪ‰– w‘݉‘•|ܟØ¡ Ð บรกิ ารโลจสิ ตกิ สท์ อ่ี าเซยี นผกู พนั การเปดิ ตลาด ครอบคลมุ เฉพาะกจิ กรรมท ่ี เกี่ยวข้องกบั การขนส่งสินค้าหรือ Freight logistics ดังต่อไปนี้ - บรกิ ารยกขนสนิ คา้ ทข่ี นสง่ ทางทะเล (Maritime Cargo Handling Services) - บริการโกดงั และคลงั สินค้า (Storage & Warehousing Services) - บริการตัวแทนรับจัดการขนส่งสินค้า (Freight Transport Agency Services) - บริการเสริมอืน่ ๆ (Other Auxiliary Services) เช่น โบรกเกอร์ ตรวจสอบ สินค้าและจดั เตรียมเอกสารการขนส่ง เปน็ ต้น - บริการจดั ส่งพสั ดุ (Courier Services) - บริการด้านการบรรจุภณั ฑ์ (Packaging Services) - บริการรบั จดั การพิธีการศุลกากร (Customs Clearance Services) - บริการขนส่งสินค้าทางทะเลระหว่างประเทศ (International Maritime Freight Transportation – Excluding Cabotage) - บริการขนส่งสินค้าทางอากาศระหว่างประเทศ (Air Freight Services) - บริการขนส่งสินค้าทางรางระหว่างประเทศ (International Rail Freight Transport Services) - บริการขนส่งสินค้าทางถนนระหว่างประเทศ (International Road Freight Transport Services)

ˆŸ‡›‹‘›‹‘i¥\"&$o 50 45. ธรุ กิจบริการตอ้ งการปรับปรุงประสิทธิภาพในการบริหารจัดการหรอื พัฒนาบุคลากร เพ่ือรองรับผลกระทบจากการเปิดเสรี AEC สามารถขอใช้ เงินกองทุน FTA ของกระทรวงพาณิชย์ไดห้ รือไม่ อย่างไร ได้ กองทุน FTA หรือชือ่ อย่างเป็นทางการว่า “โครงการช่วยเหลือเพือ่ การ ปรบั ตวั ของภาคการผลติ และภาคบรกิ ารทไ่ี ดร้ บั ผลกระทบจากการเปดิ เสรที างการคา้ ” มีกรมการค้าต่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ เป็นหน่วยงานรับผิดชอบการบริหาร กองทุน FTA มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2550 ผู้ประกอบการที่ได้รับผลกระทบหรือคาดว่า จะได้รับผลกระทบ หรือผู้ประกอบการที่ประสงค์จะให้สิทธิประโยชน์ในการส่งออก สามารถเขียนโครงการขอรับความช่วยเหลือได้ แต่ความช่วยเหลือจะเป็นระยะสั้น 1-3 ปี ในรูปแบบของจัดหาที่ปรึกษาเพื่อช่วยเหลือในการศึกษาวิจัยและพัฒนา ปรับปรุงธุรกิจ การฝึกอบรม และพัฒนาทักษะอาชีพ ที่ผ่านมาได้ให้ความช่วยเหลือ ทั้งภาคสินค้าและบริการ ในส่วนของภาคบริการ ให้ความช่วยเหลือไปแล้ว เช่น บรกิ ารขนสง่ บรกิ ารอาหาร และบรกิ ารทอ่ งเทย่ี ว ผปู้ ระกอบการธรุ กจิ ตา่ งๆ สามารถ เสนอโครงการผา่ นสถาบนั ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั การคา้ ไดแ้ ก่ สภาอตุ สาหกรรมแหง่ ประเทศ ไทย สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย และหน่วยงานราชการทีม่ ีหน้าที่ที่เกีย่ วข้อง โดย สามารถสอบถามรายละเอียดได้ที่กลุ่มงานบริหารกองทนุ FTA สำนักสิทธิประโยชน์ ทางการค้า กรมการค้าต่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ นอกจากนี้ ยงั มีธรุ กิจบริการ บางประเภททีอ่ ยู่ภายใต้การกำกับดแู ลของหน่วยงานภาครัฐโดยตรง เช่น กระทรวง เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สาร (ICT) กระทรวงศกึ ษาธกิ าร กระทรวงสาธารณสขุ กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา กระทรวงคมนาคม หากผู้ประกอบธุรกิจบริการ ได้รบั ผลกระทบ กส็ ามารถแจ้งปัญหาต่อหน่วยงานทีว่ ่าได้อีกทางหนึง่


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook