Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือการใช้เชือก

คู่มือการใช้เชือก

Description: วิทยาลัยป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
กระทรวงมหาดไทย
หนังสือ,เอกสาร,บทความที่นำมาเผยแพร่นี้ใช้เพื่อการศึกษาเท่านั้น

Search

Read the Text Version

คมู่ อื การใช้เชอื ก วิทยาลยั ป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัย กรมป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัย กระทรวงมหาดไทย

ค่มู อื การใชเ้ ชือก วิทยาลยั ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กรมป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัย กระทรวงมหาดไทย



ค�ำ น�ำ สถานการณ์สาธารณภัยในปัจจุบันทวีความรุนแรงเพ่ิมมากข้ึน การกู้ภัยจึงเป็นหัวใจสำ�คัญของการรับมือ กบั สถานการณ์ และเครอ่ื งมอื ในการกภู้ ยั พน้ื ฐานทสี่ ามารถหาไดง้ า่ ยในทกุ พนื้ ทแ่ี ละมรี าคาไมแ่ พง ไดแ้ ก่ เชอื ก ซง่ึ นบั วา่ มคี วามสำ�คัญอยา่ งมากในการท�ำ งานของทีมกภู้ ยั แต่ในบางครั้งทมี กภู้ ยั ก็ยังไม่เข้าใจถงึ วธิ กี ารใชเ้ ชือกทถ่ี ูกต้อง หรอื อาจจะเขา้ ใจคนละแบบอยา่ งกัน วทิ ยาลยั ปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั ไดค้ �ำ นึงถึงปัญหาดงั กล่าว จึงได้จดั ทำ�คมู่ อื เลม่ น้ขี ้ึน โดยหวงั เป็น อยา่ งยงิ่ วา่ คมู่ อื เลม่ นจี้ ะเปน็ ประโยชนต์ อ่ ผปู้ ฏบิ ตั งิ านดา้ นการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั และผสู้ นใจการใชเ้ ชอื ก เพอ่ื ให้การปฏิบัติการชว่ ยเหลือผูป้ ระสบภัยเป็นไปอย่าง มีประสทิ ธิภาพและเปน็ มาตรฐานเดยี วกนั วทิ ยาลยั ปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย



สารบัญ หน้า บทท่ี ๑ การใชเ้ ชอื ก ๑ - แหล่งท่ีมาของเชอื ก ๑ - หลักการผกู เงือ่ นในงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ๑ - การผูกเงอื่ นในงานป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัย ๑ - เง่อื นพริ อด ๓ - เงื่อนขดั สมาธ ิ ๔ - เงื่อนประมง ๕ - เงื่อนผกู ร่น ๖ - เงอื่ นตะกรดุ เบ็ด ๗ - เงอ่ื นผูกซงุ ๘ - เงอ่ื นเก้าอี้ ๙ - เงอ่ื นบว่ งสายธนู ๑๐ - เงื่อนขโมย ๑๑ - เงื่อนบนั ไดปม ๑๒ - เงื่อนบ่วงสายธนู ๒ ช้ัน ๑๓ - เงื่อนบว่ งสายธนู ๓ ชัน้ ๑๔ - เงอ่ื นพรสู ิค ๑๕ - เง่อื นเลขแปด ๑๖ - เง่ือนกระหวัดไม้ ๒ ช้นั ๑๗ - การค�ำ นวณหาความสามารถในการรบั น�ำ้ หนกั ของเชือกท่ัวไป ๑๘ บทท่ี ๒ การโรยตวั ๑๙ - ประเภทของการโรยตวั ๑๙ - อุปกรณใ์ นการโรยตัว ๒๐ - ประเภทของเชือก ๒๑ - ความสามารถในการรับน�ำ้ หนักของเชอื กกู้ภัย ๒๒ - การบำ�รงุ รักษาเชือกใหม่ ๒๓ - การตรวจสภาพเชือก ๒๓ - การล้างท�ำ ความสะอาดเชอื ก ๒๔ - การเกบ็ รกั ษาเชอื ก ๒๔ - ประเภทการล็อคห่วงเหล็กปากเปิด ๒๕ - ลกั ษณะหว่ งเหล็กปากเปดิ ๒๗ - การผูกเชือกบุคคลในการโรยตัว ๒๘



บทท่ี ๑ การใชเ้ ชอื ก ในการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัยน้นั เคร่ืองมอื พ้ืนฐานทส่ี ามารถหาไดง้ า่ ยในทุกพ้ืนทีแ่ ละมีราคาถูก ก็คือ เชือก ซ่ึงนับว่ามีความสำ�คัญอย่างมากในการทำ�งานของทีมกู้ภัย นักกู้ภัยจึงจะต้องท�ำ ความเข้าใจถึงวิธีการใช้ คุณลกั ษณะ การแบ่งแยกประเภทของเชอื ก และการบ�ำ รุงรักษา เชือก หมายถึง วสั ดทุ ่ีมลี ักษณะฟนั่ หรือตีเกลยี วเปน็ เส้นยาว และสามารถนำ�มาผูกรดั สิ่งตา่ ง ๆ ได้โดยที่ ตัวมนั เองไม่แตกหักหรอื เสียรูปทรงไปจากเดิม และสามารถน�ำ กลับมาใชง้ านไดอ้ กี เชอื กเปน็ วัสดุอยา่ งหน่ึงท่ีมีความจำ�เป็นมาก ในการทำ�งานป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัย และมนุษยเ์ อง กไ็ ดใ้ ชป้ ระโยชนจ์ ากเชอื กตง้ั แตเ่ กดิ จนตาย ดงั นน้ั เราจงึ ตอ้ งท�ำ ความเขา้ ใจถงึ วธิ กี ารใช้ การแบง่ แยกประเภท การเกบ็ รักษา และจะต้องฝึกปฏบิ ตั ิการผูกอยเู่ ปน็ ประจ�ำ เพ่ือให้สามารถใช้งานได้เมอื่ ถึงคราวจ�ำ เปน็ แหลง่ ท่ีมาของเชือก แหลง่ ทมี่ าของเชือกในงานป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั แบ่งออกเปน็ ๓ แหลง่ ดงั นี้ ๑. เชือกทไ่ี ดม้ าจากพชื เช่น เถาวัลย์ หวาย เปลอื กไม้ ปอ ปา่ น ๒. เชือกที่ได้จากเสน้ ใยสงั เคราะห์ เช่น ไนลอน โพลีเอสเตอร์ โพลโี พพีลีน แคปลาร ์ ๓. เชือกที่ไดจ้ ากแร่เหลก็ เช่น ลวดสลงิ หลกั การผกู เงอ่ื นเชือกในงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั ๑. เรว็ หมายความวา่ ในการท�ำ งานดา้ นการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ทกุ คนจะต้องท�ำ งานแข่งกับ เวลาเพราะมผี ปู้ ระสบภยั ทม่ี โี อกาสรอดพน้ จากความตายได้ หากเราคอื ผชู้ ว่ ยเหลอื ท�ำ งานไดร้ วดเรว็ แตค่ วามรวดเรว็ นนั้ จะต้องอยูภ่ ายใตค้ วามถกู ตอ้ งดว้ ย ดงั น้นั จงึ จำ�เปน็ ต้องฝกึ ฝนเป็นประจำ�ให้เกิดความช�ำ นาญถงึ จะรวดเรว็ ได้ ๒. แน่น หมายความว่าการผกู เงื่อนเชอื กตามหลักการแลว้ บางครัง้ ยงั ไม่สามารถทจ่ี ะน�ำ เง่ือนต่าง ๆ ไปใชง้ าน ได้จริง เพราะเงื่อนอาจจะหลุดออกได้ ดังนั้นในการผูกเงื่อนเพ่ือใช้งานจริงจึงจ�ำ เป็นต้องมีการล็อคเชือกด้วย เพื่อ เพิ่มความปลอดภัยของการใชเ้ ง่อื นเชือก ๓. แก้ง่าย หมายความว่าในการทำ�งานด้านการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย อุปกรณ์และเครื่องมือ ตา่ งมีจำ�นวนจ�ำ กดั จงึ มีความจำ�เป็นท่จี ะต้องเกบ็ รักษาและดแู ลเปน็ อยา่ งดี ดงั นั้นหากมีการใชเ้ งื่อนเชอื กตา่ ง ๆ มาผูกใช้ กับการทำ�งานแล้วแกเ้ ชอื กไม่ออกกจ็ ะทำ�ให้เสยี เชือกไปเลย คมู่ ือการใชเ้ ชือก 1

การผกู เงื่อนเชอื กในงานปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั การผูกเงื่อนเชือกในงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย นั้นมีอยู่ด้วยกันมากมายหลายเงื่อนแต่ในครั้งน้ี จะแนะนำ�ให้รู้จักเง่ือนหลัก ๆ และเป็นเง่ือนเริ่มต้นของการผูกเงื่อนกู้ภัย ๑๐ เง่ือน แต่การทำ�งานจริงนั้นจะต้อง น�ำ เงือ่ นเหล่าน้มี าประยกุ ตเ์ พิม่ เติม เช่น บ่วงสายธนกู ็จะประยุกตเ์ ป็นบ่วงสายธนู ๒ ชั้น และ ๓ ช้ัน หรือตะกรุดเบด็ กจ็ ะประยกุ ตเ์ ปน็ ตะกรดุ เบด็ ชนั้ เดยี วหรอื ทเี่ รยี กวา่ หกั คอไก่ เปน็ ตน้ สว่ นในคมู่ อื เลม่ นน้ี น้ั ไดแ้ นะน�ำ ในเรอื่ งของเงอ่ื น เพมิ่ เตมิ ไวใ้ นตอนทา้ ย การเรียนรเู้ ร่ืองเงอ่ื นเชือกจะตอ้ งจดจำ� ทำ�ให้ได้ ผดิ พลาดไป หลดุ หรือขาดก็จะเปน็ อันตรายตอ่ ชวี ิตและ ส่ิงของเสยี หาย ขอแนะน�ำ ให้ทกุ คนทต่ี อ้ งการนำ�ไปใช้ตอ้ งหมัน่ ฝึกฝน ศกึ ษาหาความรู้ ผูกให้เปน็ นำ�ไปใช้งานใหไ้ ด้ ถึงคราวจำ�เป็นจะได้ใช้ให้เกิดประโยชน์ วิธีการผูกเงื่อนเชือกในงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแบ่งออก ตามลักษณะการใชง้ านได้ ๓ หมวด ๑๐ เงือ่ น ดงั น้ี ๑. หมวดต่อเชือก ไว้สำ�หรบั การตอ่ เชอื กเพอื่ ตอ้ งการให้ความยาวของเชอื กเพ่ิมขน้ึ แตเ่ นื่องจากเชอื กใน การกภู้ ัยน้ันมลี ักษณะและขนาดทีแ่ ตกตา่ งกัน จึงจำ�เปน็ ตอ้ งมีวิธีการผกู เงอ่ื นทแ่ี ตกตา่ งกนั จำ�นวน ๓ เงอื่ น ดงั น้ี ๑.๑ เงอื่ นพริ อด (Reef Knot หรือ Square Knot) ๑.๒ เงื่อนขดั สมาธิ (Sheet Bend) ๑.๓ เงอ่ื นประมง (Fisherman’s Knot) ๒. หมวดผกู แนน่ ฉดุ ลาก รงั้ ไวส้ �ำ หรบั การผกู วสั ดทุ ตี่ อ้ งการจะเคลอ่ื นยา้ ยหรอื ยดึ ตรงึ อยกู่ บั ท่ี แตเ่ นอ่ื งจาก วสั ดทุ ต่ี อ้ งการจะผกู นน้ั มลี กั ษณะรปู ทรงและขนาดทแี่ ตกตา่ งกนั จงึ จ�ำ เปน็ ตอ้ งมวี ธิ กี ารผกู เงอื่ นทแ่ี ตกตา่ งกนั จ�ำ นวน ๓ เงื่อน ดงั น้ี ๒.๑ เงอ่ื นผกู ร่น (Sheep Shank) ๒.๒ เงอื่ นตะกรดุ เบ็ด (Clove Hitch) ๒.๓ เงอ่ื นผูกซงุ (Timber Hitch) ๓. หมวดชว่ ยชวี ิต ไว้สำ�หรบั การช่วยเหลือผปู้ ระสบภัยในกรณตี ่าง ๆ ขึน้ อยูก่ บั สถานทแ่ี ละสถานการณ์ จงึ ตอ้ งมวี ิธกี ารผูกเง่ือนให้เหมาะสมกบั งานจ�ำ นวน ๔ เงื่อน ดงั น้ี ๓.๑ เงื่อนเก้าอี้ (Fireman’s Chair Knot) ๓.๒ เงือ่ นบว่ งสายธนู (Bowline Bend) ๓.๓ เง่อื นขโมย (Knot steal) ๓.๔ เงอ่ื นบันไดปม (Ladder knot) การผกู เงอ่ื นเชือกในงานป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัย นน้ั มคี วามยากง่ายที่แตกตา่ งกันออกไป ในบาง เงอ่ื นนนั้ เปน็ การประยกุ ตเ์ อาเงอ่ื นในกลมุ่ ดงั กลา่ วมาเปน็ เงอ่ื นเรมิ่ ตน้ ของการผกู ดงั นน้ั เมอ่ื ถงึ คราวทจ่ี ะฝกึ ผกู ผเู้ รยี น จะต้องฝกึ ตั้งแตเ่ งือ่ นงา่ ย ๆ ที่เรม่ิ ตน้ ใหไ้ ดเ้ สียก่อน เพ่อื จะไดต้ อ่ ยอดไปถงึ เงอ่ื นตอ่ ไปท่ยี ากกว่าได้ 2 คู่มอื การใชเ้ ชือก

เงื่อนพริ อด (Reef Knot หรอื Square Knot) เป็นเง่ือนท่ีใช้ในการต่อเชือกท่ีมีขนาดเท่ากัน เช่น ต่อเชือกในการกู้ภัยท่ัว ๆ ไปหรือใช้ผูกเง่ือนบุคคล ในการโรยตวั ในการใช้งานจรงิ ควรล็อคปลายเชอื กดว้ ยเงอื่ นตะกรดุ เบ็ดชัน้ เดียว (หกั คอไก่/ล็อคเชอื ก) ด้วยทกุ ครั้ง เพอื่ ปอ้ งกนั การหลดุ ของเงอ่ื น หากเปน็ เชอื กทที่ �ำ มาจากวสั ดตุ า่ งประเภทกนั เชน่ ลวดสลงิ กบั มะนลิ า ควรตอ่ ดว้ ยเงอ่ื นอนื่ เงอ่ื นพริ อดมีลกั ษณะการต่อ ดงั นี้ ๒. พันออ้ มเสน้ ใดเส้นหนง่ึ ๑ รอบ ๑. นำ�เชือกทจ่ี ะตอ่ มาทบั กนั ดังรูป (ขวาทบั ซา้ ย) ๓. น�ำ ปลายเชอื กดา้ นซ้ายมาทบั ดา้ นขวา ๔. พันอ้อมเสน้ ใดเสน้ หน่งึ ๑ รอบแลว้ ดงึ ใหแ้ นน่ ๕. การใช้งานจรงิ ควรลอ็ คปลายเชือกดว้ ยทกุ ครง้ั คมู่ อื การใชเ้ ชือก 3

เงอ่ื นขัดสมาธิ (Sheet Bend) เป็นเงื่อนท่ีใช้ในการต่อเชือกท่ีมีขนาดไม่เท่ากัน หรือเชือกท่ีท�ำ มาจากวัสดุต่างประเภทกัน เช่น ลวดสลิง กบั มะนลิ า ลวดสลงิ กบั ไนลอน ในการตอ่ เชอื กนน้ั ใหใ้ ชเ้ สน้ ใหญเ่ ปน็ เสน้ หลกั และใชเ้ สน้ เลก็ เปน็ ตวั สอด และการตอ่ เปน็ เงอ่ื นขดั สมาธทิ ีม่ ากกวา่ หนึง่ ช้ันใหส้ อดด้านในของเงื่อนเหมือนชั้นเดียว ทกุ คร้ัง เงื่อนขดั สมาธิมลี ักษณะการต่อ ดงั น้ี ๑. พบั เส้นใหญใ่ หเ้ ป็นบ่วงแล้วนำ�เส้นเลก็ มาสอด ๒. ปลอ่ ยออ้ มลงไปดา้ นหลงั ใหม้ ชี อ่ งวา่ งดา้ นบน ๓. สอดปลายเสน้ เล็กเข้าไปในชอ่ งว่างดา้ นบน ๔. ดงึ เส้นเลก็ ให้แนน่ ๕. เง่อื นขดั สมาธิสามช้ัน 4 คมู่ ือการใช้เชอื ก

เง่อื นประมง (Fisherman’s Knot) เปน็ เงอ่ื นทใี่ ชใ้ นการตอ่ เชอื กทม่ี ขี นาดเทา่ กนั หรอื ตา่ งกนั เลก็ นอ้ ยแตม่ ลี กั ษณะลน่ื ในกรณที นี่ กั กภู้ ยั มเี ชอื ก คนละเสน้ และอยคู่ นละฝั่งกัน แตจ่ ำ�เปน็ ตอ้ งตอ่ เชือกทงั้ สองเสน้ เข้าด้วยกัน เงื่อนประมง มีลกั ษณะการต่อ ดงั นี้ ๑. น�ำ เชือกทีจ่ ะต่อกนั วางขนานกัน ๒. น�ำ ปลายเชอื กด้านขวาผูกเชอื กเส้นด้านซ้าย ๓. น�ำ ปลายเชอื กด้านซา้ ยผกู เชือกเสน้ ด้านขวา ๔. ปลายเชอื กทงั้ สองเสน้ ต้องหันออกจากกัน ๕. ดงึ บว่ งทง้ั สองใหแ้ นบกัน คมู่ ือการใชเ้ ชือก 5

เง่อื นผูกรน่ (Sheep Shank) เป็นเงื่อนที่ใช้ในการผูกเชือกที่ยาวเกินความจำ�เป็นให้ส้ันลง หรือใช้ผูกร่นตรงเชือกที่มีตำ�หนิ ชำ�รุดเล็กน้อย เพ่ือให้เชือกใช้งานได้ และยังสามารถใช้ทำ�เป็นรอกเชือกในการกู้ภัยก็ได้ ในการทำ�งานจริงต้องใช้ไม้ขัดท่ีบ่วง ทง้ั สองขา้ งดว้ ย เพื่อความปลอดภยั มวี ธิ ีการผกู ดงั นี้ ๒. ทำ�ตะกรดุ เบด็ ชัน้ เดยี วทปี่ ลายขา้ งหนง่ึ ๑. พบั เชือกเปน็ สามตอนใหส้ ่วนท่ีมตี �ำ หนิอยู่กลาง ๓. ท�ำ ตะกรดุ เบด็ ช้นั เดียวทปี่ ลายข้างที่เหลอื ๔. นำ�กกเชือกเข้ามาในบ่วงแลว้ ใชไ้ มส้ อด ๕. การใชเ้ ง่อื นผกู รน่ ท�ำ เป็นรอกเชือก 6 คมู่ อื การใชเ้ ชอื ก

เง่ือนตะกรุดเบด็ (Clove Hitch) เปน็ เงอ่ื นทใ่ี ชใ้ นการผกู สำ�หรบั ผกู เชอื กโรยตวั ผกู วสั ดทุ รงกระบอก เชน่ ทอ่ ดดู ทอ่ สง่ น�ำ้ และหวั ฉดี น�ำ้ ดบั เพลงิ ในการใชง้ านจรงิ เพอ่ื ปอ้ งกนั การหลดุ ของเงอ่ื น ควรลอ็ คปลายเชอื กดว้ ยเงอื่ นตะกรดุ เบด็ ชนั้ เดยี ว (หกั คอไก/่ ลอ็ คเชอื ก) ด้วยทุกครง้ั มวี ธิ กี ารผกู ดงั น้ี ๑. ท�ำ บ่วงเลขหกใหป้ ลายเชอื กอย่ดู า้ นล่าง ๒. ท�ำ บ่วงเลขหกใหก้ ลับข้างกับบ่วงแรก ๓. น�ำ บว่ งทั้งสองมาซอ้ นกนั ๔. ดงึ ปลายเชือกทั้งสองใหแ้ น่น ๕. การใช้งานจริงควรล็อคปลายเชือกดว้ ยทุกคร้ัง คู่มือการใชเ้ ชือก 7

เงือ่ นผกู ซงุ (Timber Hitch) เปน็ เงอ่ื นทใี่ ชผ้ กู กบั วตั ถทุ รงกระบอก ทรงยาว เชน่ ทอ่ ดดู น�ำ้ ทอ่ สง่ น�ำ้ หวั ฉดี น�้ำ ดบั เพลงิ ในการใชง้ านจรงิ ต้องลอ็ คเชอื กดว้ ยเงื่อนตะกรุดเบ็ดช้ันเดียว (หักคอไก/่ ลอ็ คเชอื ก) ๒ ครั้งข้นึ ไป เพอ่ื ป้องกนั การหลุดและการแกวง่ ของวตั ถุท่ตี ้องการจะยก มีวิธกี ารผูก ดงั น้ี ๑. น�ำ เชอื กพันออ้ มวัตถุท่ีจะผูก ๒. ใช้ปลายเชอื กพันออ้ มเสน้ ยาว ๓. ใชป้ ลายเชือกพนั รอบตวั เองหลาย ๆ รอบ ๔. ดงึ บ่วงให้แนน่ ๕. ล็อคเชือก ๒ ครง้ั ขึน้ ไปเพ่ือความม่นั คง 8 คมู่ ือการใช้เชอื ก

เงือ่ นเก้าอ้ี (Fireman’s Chair Knot) เป็นเง่ือนที่ใช้ในการช่วยชีวิตคนที่ติดอยู่ด้านบนลงมาด้านล่าง หรือคนที่ติดอยู่ด้านล่างข้ึนด้านบน เช่น คนตดิ อยู่บนอาคาร หรือคนท่ตี กลงไปในเหวหรอื บ่อนำ�้ ใช้ได้เหมือนกบั เงือ่ นบ่วงสาย ธนู ๒ ชัน้ และบ่วงสายธนู ๓ ชนั้ เง่ือนนี้ไม่ควรใช้กับผู้ท่ีได้รับบาดเจ็บที่กระดูกสันหลัง เพราะร่างกายอยู่ในลักษณะหงายหลัง และกระดูกสันหลัง อาจมกี ารโคง้ งอ มวี ิธีการผูก ดังนี้ ๑. ทำ�บว่ งสองบว่ งสลับกนั ๒. นำ�บ่วงมาซ้อนกันเหมอื นตะกรุดเบด็ ๓. น�ำ บ่วงทง้ั สองสอดสลับกนั ๔. นำ�ปลายเชอื กลอ็ คบว่ งท้งั สองข้าง ๕. บว่ งเก้าอี้ คู่มือการใชเ้ ชอื ก 9

เงื่อนบว่ งสายธนู (Bowline Bend) เปน็ เงอ่ื นทใ่ี ชช้ ว่ ยเหลอื ผปู้ ระสบภยั ทางน�ำ้ เพราะในน�ำ้ นน้ั ผปู้ ระสบภยั จะมนี �ำ้ หนกั เบา จงึ ใชไ้ ดด้ แี ละรวดเรว็ ตอ่ การผกู แตไ่ มน่ ยิ มใชช้ ว่ ยเหลอื ผปู้ ระสบภยั ประเภทอน่ื เพราะบว่ งสายธนนู นั้ เชอื กจะรดั บรเิ วณหนา้ อกเพยี งเสน้ เดยี ว และผู้ประสบภัยอาจได้รบั บาดเจบ็ จากการรดั ได้ มีวิธีการผูก ดังนี้ ๑. จับเชอื กยาว ๑ เมตร แลว้ ท�ำ บว่ งเลขหก ๒. น�ำ ปลายเชือกสอดบว่ งเลขหก ๓. น�ำ ปลายเชือกอ้อมเชือกเส้นยาว ๔. สอดปลายเชือกเขา้ ช่องเลขหกแลว้ ดึงใหแ้ น่น ๕. ลอ็ คบว่ งทกุ ครง้ั เพ่อื ความม่นั คง 10 คมู่ อื การใช้เชือก

เงอ่ื นขโมย ( Knot steal) เป็นเง่ือนท่ีใช้สำ�หรับช่วยเหลือตัวเอง ในการลงจากที่สูงหรือข้ามส่ิงกีดขวาง และเราสามารถแก้เชือก จากดา้ นลา่ งไดโ้ ดยทไี่ มต่ อ้ งขน้ึ ไปแกเ้ ชอื กจากดา้ นบน โดยทวั่ ไปมกั จะใชเ้ งอ่ื นนร้ี ว่ มกบั เงอ่ื นบนั ไดปม มวี ธิ กี ารผกู ดงั นี้ ๒. น�ำ มาพาดเขา้ กบั วตั ถุที่จะผกู ๑. พบั เชอื กเปน็ ๒ ทบ ๓. น�ำ กกเชือกขา้ งหนง่ึ ขา้ งใดสอดเข้าไปในบ่วง ๔. นำ�กกเชือกข้างทเี่ หลือสอดสลับไปเรือ่ ย ๆ ๕. เพือ่ ความมัน่ คงควรล็อคหลาย ๆ ชนั้ คมู่ ือการใช้เชือก 11

เงื่อนบนั ไดปม (Ladder knot) เป็นเง่ือนที่ใช้สำ�หรับข้ึนหรือลงที่สูงด้วยเชือกเส้นเดียว ท่ีต้องการจะทำ�ปมแต่ไม่ต้องเสียเวลาผูกทีละปม เพื่อความรวดเร็ว ใช้สำ�หรบั ช่วยเหลือคนที่ได้รับบาดเจ็บไม่มากนกั ที่สามารถชว่ ยเหลือตัวเองได้ มวี ธิ กี ารผกู ดังนี้ ๑. ท�ำ บว่ งสองบว่ งสลับกัน ๒. นำ�มาซ้อนกนั เป็นตะกรดุ เบ็ดหลาย ๆ ชัน้ ๓. ทำ�ตะกรุดเบด็ ชน้ั เดียวเท่ากับจ�ำ นวนปม ๔. สอดปลายเชือกเข้าไปในบว่ งดา้ นเดยี วกัน ๕. ดงึ ปลายเชือกออกทีละปม 12 คมู่ ือการใชเ้ ชอื ก

นอกจากเงื่อนท่ีกล่าวมาท้ังหมดข้างต้นแล้วในการปฏิบัติงานจริงการทำ�งานมีลักษณะที่แตกต่างกันออก ไปและในบางครง้ั ไม่สามารถใช้เงื่อนดังกลา่ วข้างต้นมาทำ�งานได้ จงึ มีการประยกุ ตเ์ ง่อื นรวมกันแล้วน�ำ ไปใชง้ าน เพื่อ ให้เกิดประโยชน์สงู สดุ ซง่ึ มีเงื่อนต่าง ๆ ดงั น้ี เง่อื นบว่ งสายธนู ๒ ชัน้ (Lasso knot late ๒ bows) เป็นเงอื่ นท่ีไว้ใช้สำ�หรับในการช่วยเหลือผปู้ ระภัย ลักษณะการใช้งานคลา้ ยๆกับเง่อื นเกา้ อ้ี แตส่ ามารถผกู ไดเ้ รว็ กว่า มีวธิ ีการผูก ดังนี้ ๑. จัดเชอื กใหย้ าวประมาณ ๒ เมตร แล้วพบั ๒. ทำ�เป็นเลข ๖ ทป่ี ลายเชือก ๓. น�ำ ส่วนปลายของบว่ งท่พี บั สอดเข้าในบ่วงเลข ๖ ๔. พลกิ ส่วนปลายท่ีพบั กลบั ไปด้านหลัง ๕. ดึงบ่วงทั้งสองใหต้ งึ คมู่ อื การใช้เชอื ก 13

เงือ่ นบว่ งสายธนู ๓ ชัน้ (Lasso knot late ๓ bows) เป็นเงอื่ นทีไ่ ว้ใช้ส�ำ หรับในการช่วยเหลือผปู้ ระภัย ลักษณะการใช้งานคล้าย ๆ กับเง่ือนบ่วงสายธนู ๒ ชั้น แต่มีวิธีการใช้งานท่ีแตกต่างกัน เน่ืองจากมีบ่วง ๓ บ่วง จงึ สามารถน�ำ บว่ งมาคล้องตวั ผปู้ ระสบภัยไดถ้ งึ ๓ จุด คอื ขา ๒ จุดซ้าย-ขวา และหน้าอก ๑ จดุ จึงท�ำ ให้การเคล่ือน ย้ายมคี วามมนั่ คงและปลอดภัยย่ิงขน้ึ ซง่ึ มีวธิ ีการผกู ดังน้ี ๑. จดั เชือกใหย้ าวประมาณ ๓ เมตร แล้วพับ ๒. ท�ำ เป็นเลข ๖ ทีป่ ลายเชอื ก ๓. นำ�ส่วนปลายของบ่วงทพี่ บั สอดเข้าในบ่วงเลข ๖ ๔. ดึงสว่ นปลายท่พี ับสอดกลบั ไปทางด้านบ่วงเดิม ๕. ดึงปมใหแ้ นน่ โดยให้บ่วงท่ีสอดยาวกวา่ สองบ่วงแรก ๑ กำ�มือ 14 คูม่ ือการใช้เชอื ก

เงื่อนพรูสิค (Prusik Hitch) เป็นเงื่อนที่ใช้ในการล็อคเชือก เพื่อช่วยให้เกิดความปลอดภัยหากเชือกหลัก เกิดขาดและยังสามารถใช้เปน็ เงอ่ื นเพื่อช่วยเหลอื ตวั เองในการขึ้นหรือลงเชือกไดอ้ ีกด้วย มีวธิ กี ารผกู ดังน้ี ๑. พาดทับเส้นหลกั ๒. พนั ออ้ มเสน้ หลกั ๓. พนั ออ้ มลอดเส้นหลกั ๔. สอดกลับทางด้านลา่ ง ๕. หากตอ้ งการความแข็งแรงควรพัน ๒ รอบ คมู่ ือการใช้เชือก 15

เง่ือนเลขแปด (Figure ๘ on a Bight) เป็นเง่ือนที่ใช้ในการต่อเชือกหรือดึงเชือกให้ตึง เพ่ือใช้ในการ เคลื่อนยา้ ยข้ามสง่ิ กดี ขวางและเมื่อเลิกใชง้ านแลว้ สามารถแกเ้ ชอื กออกได้ง่าย มีวิธีการผกู ดงั นี้ ๑.พับเชอื กเปน็ ๒ ทบ ๒. พันทับไว้ด้านล่าง ๓. พนั อ้อมขึ้นดา้ นบน ๔. สอดเข้าไปในบ่วง ๕. ดึงบว่ งใหแ้ น่น 16 คูม่ ือการใชเ้ ชือก

เง่ือนกระหวัดไม้ ๒ ช้ัน (Half Hitch) เป็นเงื่อนที่ใช้ในการผูกเชือก เพ่ือใช้ในการโรยตัวหรือผูกมัดเชือก ใหเ้ กดิ ความแขง็ แรงและน�ำ ปลายเชือกไปใชง้ านต่าง ๆ ได้ และเปน็ การรกั ษาปมเชอื กไม่ให้เกิดความเสยี หายหรอื ขาดได้ เพราะปมจะไม่มมี มุ ท่ีถกู กดทบั แบบหักมมุ มวี ธิ กี ารผกู ดงั น้ี ๑. พันเชอื กอ้อมวัสดุ ๒. พนั อ้อม ๒ รอบ ๓. สอดเชือกเข้าด้านใน ๔. ท�ำ เปน็ ตะกรดุ เบ็ด คมู่ อื การใช้เชือก 17

การคำ�นวณหาความสามารถในการรับน�ำ้ หนักของเชอื กท่ัวไป การใชเ้ ชอื กใหเ้ กดิ ประโยชน์ ควรจะไดร้ จู้ กั การผกู เงอื่ นและการใชเ้ ชอื กใหป้ ลอดภยั ในการดงึ หรอื ยกสงิ่ ของ ที่หนกั มาก ๆ ตอ้ งอาศยั หลักแห่งความปลอดภัย ด้วยวธิ กี ารคำ�นวณว่าเสน้ เชอื กขนาดไหนควรยกหรอื ดงึ น�้ำ หนักได้ เท่าไหร่จึงจะปลอดภยั สูตรในการคำ�นวณ สูตรที่ ๑ เชอื กมะนลิ า C๒ x CWT สูตรที่ ๒ เชอื กไนลอน C๒ x CWT x ๔ สตู รที่ ๓ เชอื กโลหะ C๒ x CWT x ๙ สตู รที่ ๔ เชือกเกา่ C๒ x CWT x (มะนิลา X ๑, ไนลอน X ๔, โลหะ x ๙) x ๒ / ๓ C = เสน้ รอบวงของเชอื ก CWT = ค่าคงท่ี (Constant Weight Tension) เทา่ กับ ๕๐ ตวั อย่างที่ ๑ เชือกมะนิลามเี ส้นรอบวงขนาด ๒ นว้ิ จะสามารถรบั น้�ำ หนักได้ กีก่ ิโลกรัม วธิ ีท�ำ สูตรเชือกมะนิลา = C๒ x CWT แทนคา่ สูตร = ๒ x ๒ x ๕๐ สามารถรบั น้ำ�หนักได ้ = ๒๐๐ กโิ ลกรัม ตัวอย่างที่ ๒ เชอื กไนลอนมเี สน้ รอบวงขนาด ๒ นิ้ว จะสามารถรบั นำ้�หนกั ได้ ก่ีกิโลกรัม วธิ ีทำ� สตู รเชอื กไนลอน = C๒ x CWT x ๔ แทนคา่ สูตร = ๒ x ๒ x ๕๐ x ๔ สามารถรบั น�้ำ หนกั ได้ = ๘๐๐ กโิ ลกรมั ตวั อย่างท่ี ๓ เชอื กโลหะมีเสน้ รอบวงขนาด ๒ น้วิ จะสามารถรับน�้ำ หนกั ได้ ก่ีกิโลกรมั วิธที �ำ สตู รเชือกโลหะ = C๒ x CWT x ๙ แทนค่าสูตร = ๒ x ๒ x ๕๐ x ๙ สามารถรบั นำ�้ หนกั ได้ = ๑,๘๐๐ กิโลกรัม ตัวอย่างท่ี ๔ เชอื กมะนลิ าเกา่ มเี สน้ รอบวงขนาด ๒ นิว้ จะสามารถรบั น�ำ้ หนักได้ กี่กิโลกรมั วิธที ำ� สูตรเชอื กมะนิลาเก่า = C๒ x CWT x ๑ x ๒ / ๓ แทนคา่ สตู ร = ๒ x ๒ x ๕๐ x ๑ x ๒ / ๓ สามารถรบั น้ำ�หนกั ได้ = ๑๓๓.๓๓ กิโลกรัม ตวั อยา่ งที่ ๕ เชอื กไนลอนเกา่ มีเส้นรอบวงขนาด ๒ นิ้ว จะสามารถรับน้�ำ หนกั ได้ กี่กโิ ลกรัม วิธีทำ� สูตรเชือกไนลอนเก่า = C๒ x CWT x ๔ x ๒ / ๓ แทนค่าสตู ร = ๒ x ๒ x ๕๐ x ๔ x ๒ / ๓ สามารถรบั นำ้�หนกั ได้ = ๕๓๓.๓๓ กิโลกรมั 18 ค่มู อื การใชเ้ ชอื ก

บทที่ ๒ การโรยตัว การโรยตวั (Rappel) หมายถึงการลงจากที่สูงโดยอาศัยเชือกหรือสายคาดรัดมาผูกรอบเอวแล้วน�ำ ไปคล้องท่ีต้นขาทั้งสองข้าง จากน้ันค่อย ๆ หยอ่ นตวั ลงมา การโรยตัวเป็นเพียงเทคนิคหน่ึง ในการเคลื่อนย้ายและเข้าถึงพ้ืนท่ี จากที่สูงไปยังจุดท่ีตำ่�กว่าเป็นเสี้ยว หน่ึงในการใช้เชือกกู้ภัย ซึ่งระบบงานกู้ภัย ไม่ได้มีแค่การโรยตัว หรือการไต่ขึ้นเชือกและไม่ใช่การปีนเขาในเชิงกีฬา ซึ่งมีความแตกตา่ ง ทัง้ ทางด้านเทคนคิ และอุปกณท์ ีใ่ ช้ แต่เน่ืองจากอปุ กรณ์ปีนเขา เปน็ ทร่ี ู้จักอย่างแพรห่ ลาย ในทอ้ งตลาด และมคี วามคลา้ ยคลงึ กบั อปุ กรณก์ ภู้ ยั บางประเภทจงึ ยงั มบี างหนว่ ยงานทยี่ งั คงใชอ้ ปุ กรณก์ ารปนี เขาสบั สนกบั อปุ กรณ์ กภู้ ัย ดว้ ยความไม่เขา้ ใจ ถงึ มาตรฐานและอัตราการรับน้ำ�หนัก ของอุปกรณ์ซึ่งสัมพนั ธก์ บั ระบบงานโดยรวม การโรยตวั เร่มิ เกิดขน้ึ ในประเทศไทยครัง้ แรก ตั้งแต่สมยั ก่อนสงครามเวยี ดนาม ประมาณปี พ.ศ. ๒๔๙๓ ในสมยั ทที่ หารอเมรกิ ัน เขา้ มาสอนยทุ ธวธิ กี ารรบกบั คอมมิวนิสต์ ใหก้ ับทหารและต�ำ รวจในประเทศไทย โดยวธิ ีการ ใชเ้ ชือกบคุ คลมาพันรอบตัวหรือทเ่ี รียกวา่ Swiss Seat มาใชใ้ นการโรยตัว ประเภทของการโรยตัว การโรยตัวโดยท่ัวไปนั้นสามารถแบ่งออกได้เป็น ๒ ประเภท และมีลักษณะการใช้งานที่แตกต่างกัน คือ การโรยตัวแบบยทุ ธวิธี และการโรยตวั แบบกภู้ ัย การโรยตัวแบบยุทธวิธี จะเป็นการโรยตัวทางดิ่ง ของบุคลคนเดียวร่วมกับอุปกรณ์ สำ�หรับปฏิบัติงาน บนทส่ี งู หรอื ปฏบิ ตั งิ านรว่ มกบั อากาศยาน ซง่ึ ในการโรยตวั ตอ้ งท�ำ ดว้ ยความรวดเรว็ เขา้ ถงึ ทหี่ มายหรอื ออกจากเชอื ก โดยเรว็ ซ่งึ ท่าทางการโรยตวั ทางยุทธวิธีแบบตา่ ง ๆ ท้ังแบบเอาหลงั ลง และเบรกด้วยมอื ทถ่ี นัด ขา้ งลำ�ตวั หรือการ โรยตัวแบบพันรอบแขน การโรยตัวแบบพันเชือกรอบตัว การโรยตัวแบบพันเชือกรอบไหล่ การโรยตัวแบบท่าน่ัง เอาหน้าลงเพ่ือสำ�รวจสถานท่ีและโรยตัวแบบลำ�ตัวขนานกับพื้น หรือเดินลงและเบรกด้วยมือท่ีถนัดบริเวณช่วงอก ซง่ึ แม้ในการฝึกจะยงั มอี ยู่ แตก่ ใ็ ช้เทคนคิ การโรยตวั แบบนนี้ ้อยมาก ในการสรู้ บจริงการโรยตวั ทางยทุ ธวธิ แี บบเอาหน้าลง หรือล�ำ ตวั ขนานพ้ืนกไ็ ม่ใช่วิธีโรยตวั กู้ภัย เหตุเพราะไม่ใช่ลักษณะการเขา้ ชว่ ยเหลือผปู้ ระสบภยั โดยวตั ถุประสงค์ของ การโรยตวั แบบยทุ ธวธิ ี คอื ตอ้ งการลงจากอาคาร หนา้ ผา หรอื สถานทสี่ งู เพอ่ื เขา้ ปฏบิ ตั งิ านดว้ ยความรวดเรว็ ทส่ี ดุ ทจี่ ะ ท�ำ ได้ และไม่นยิ มการหยุดอยกู่ ลางเชือกเพราะจะเป็นอันตรายตอ่ ผปู้ ฏบิ ตั งิ าน การโรยตัวแบบกภู้ ยั วตั ถปุ ระสงค์ของการโรยตัวแบบกู้ภยั คือผูป้ ฏบิ ัติ ต้องควบคมุ อตั ราการลง หรอื ข้ึน เชือกได้อยา่ งปลอดภัย ตอ้ งหยุดและเปลยี่ นระบบข้ึนลงได้ โดยตอ้ งทำ�งาน รว่ มกันเป็นทมี ได้อยา่ งปลอดภัย หรอื ใช้ อุปกรณ์กนั ตกรว่ มด้วย โดยการโรยตวั แบบก้ภู ัยจะกระท�ำ แบบหันหลังลง (ท่านงั่ ) แตใ่ นการเคลื่อนทมี่ ักจะใชว้ ธิ ีการ เดนิ ลงหรอื ดดี ตวั ลงกไ็ ดซ้ ง่ึ ขน้ึ อยกู่ บั ลกั ษณะของพน้ื ทใ่ี นการโรยตวั หรอื ในกรณที ม่ี คี วามจ�ำ เปน็ ตอ้ งน�ำ ตวั ผปู้ ระสบภยั ลงมาดว้ ยก็จ�ำ เป็นจะตอ้ งโรยตวั แบบเดินลงเพือ่ ความปลอดภัย คมู่ อื การใชเ้ ชือก 19

อปุ กรณใ์ นการโรยตัว ในการโรยตวั เพ่อื กู้ภยั น้ันนักกู้ภยั มีความจำ�เปน็ ท่จี ะตอ้ งเอาชวี ิตเข้าไปแลกกบั เหตุการณ์น้ัน ๆ ดังนนั้ เพือ่ ใหเ้ กดิ ความมน่ั ใจในการทำ�งาน จงึ มคี วามจ�ำ เปน็ ทจี่ ะตอ้ งน�ำ อปุ กรณท์ มี่ คี ณุ ภาพและตรงตามลกั ษณะการใชง้ านจรงิ มาใช้และครบถว้ น ดังนี้ เชือกบุคคลชนิดกลม เป็นเชือกที่มีความยาวประมาณ ๔ เมตร เส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ ๑๐ - ๑๒ มิลลิเมตร ทำ�ด้วยเส้นใยสังเคราะห์ หรือเส้นใยธรรมชาติ เป็นเชือกท่ีน�ำ มาผูกเข้ากับตัวนักกู้ภัยหรือเรียกว่าการผูก Swiss Seat เชือกบุคคลชนิดแบน (Webbing) เป็นเชือกที่มีความยาวประมาณ ๒๐ ฟุต กว้างประมาณ ๑ นิ้ว ทำ�ด้วยเส้นใยสังเคราะห์ ใช้น�ำ มาผูกเข้ากบั ตัวนักก้ภู ยั หรือผู้ประสบภัย จะดกี วา่ เชอื กชนดิ กลม เพราะมพี น้ื ท่ีผวิ หน้า การสมั ผสั ทม่ี ากกวา่ จงึ ทำ�ใหเ้ กดิ การกดทับรา่ งกายนอ้ ยลง การผกู ดว้ ยเชือกชนดิ น้จี ึงเรยี กวา่ Harnass สายคาดรดั ส�ำ เรจ็ รปู (Harnass) เปน็ สายคาดรดั แทนเชอื กบคุ คล ชนดิ ของสายคาดรดั ขนึ้ อยกู่ บั ลกั ษณะ การใช้งาน มที ้ังแบบคร่ึงตวั แบบเต็มตัวและสายคาดรัดเพื่อผปู้ ระสบภยั เปน็ ต้น สายคาดรดั กภู้ ยั ต้องคำ�นึงถงึ จุดที่ รับน้�ำ หนกั ขนาดและความทนทานของแถบเชอื กทใ่ี ช้ท�ำ สายคาดรัด เพื่อการสวมใสท่ ี่ยาวนานและปลอดภัย จดั เปน็ อปุ กรณ์ประจำ�ตวั อย่างหนึง่ ของทีมก้ภู ัย เชือกกภู้ ัย (Static Rope) เปน็ เชอื กที่ถกู ออกแบบมาในลกั ษณะเคนิ เมนเทิล (Kern Mantel) มขี นาด ๑๒.๕ มลิ ลิเมตร ความยาวขึ้นอยกู่ ับวัตถปุ ระสงค์ของการใช้งาน อาจแบ่งเป็นเชอื กหลักและเซฟต้ี หรือเชอื กส�ำ รอง หากเกดิ ปญั หาขึ้นกบั เชอื กหลกั ห่วงเหลก็ ปากเปิด (Carabiner) เปน็ อุปกรณท์ ่ีใชย้ ึดเก่ยี วระหวา่ งเชอื กบคุ คลหรอื สายคาดรัด กับเชือก โรยตวั โดยตรง หรอื ควบคกู่ บั ห่วงเหลก็ เลขแปด ในการใชง้ านควรค�ำ นงึ ถงึ อตั ราการรับนำ�้ หนัก ของอปุ กรณ์ วัสดุท่ี ใช้และระบบลอ็ คทีแ่ ตกตา่ งกัน (จะกลา่ วในตอนตอ่ ไป) จัดเป็นอปุ กรณป์ ระจ�ำ ตัวอยา่ งหนง่ึ ของทีมกภู้ ยั ถุงมือโรยตัว (Rappel Gloves) ควรเปน็ ชนดิ ที่กันความร้อน และผลติ ด้วยวัสดทุ ท่ี นทาน ซึง่ นอกจาก จะใช้โรยตัวแล้วควรคำ�นึงถึงความกระชับมือเพื่อใช้ในการผูกเชือกและปฏิบัติงานได้อย่างคล่องตัว จัดเป็นอุปกรณ์ ประจำ�ตัวอย่างหน่ึงของทีมกภู้ ัย หมวกกนั กระแทก (Helmet) เปน็ อปุ กรณป์ กปอ้ งศรี ษะจากการกระแทก ความรอ้ น วสั ดแุ ขง็ แหลมหรอื มีน้ำ�หนัก ในท่ีเกิดเหตุซ่ึงอาจจะตกลงมาทำ�อันตรายต่อเจ้าหน้าท่ีกู้ภัย ได้ทุกเมื่อและจะต้องเป็นแบบมีสายรัดคาง จัดเป็นอุปกรณ์ประจ�ำ ตวั อย่างหน่ึงของทีมก้ภู ัย หว่ งเหลก็ เลขแปด (Figure ๘) เปน็ อปุ กรณท์ ใ่ี ชใ้ นการควบคมุ การโรยตวั ลง และผอ่ นเชอื ก คกู่ บั หว่ งเหลก็ ปากเปิด ขนาดทีใ่ ชค้ วรใหเ้ หมาะสมกับขนาดของเชือก 20 ค่มู อื การใชเ้ ชอื ก

ปลอกหรอื อปุ กรณร์ องเชอื ก (Edge Protector) เชอื กเปน็ สงิ่ ส�ำ คญั ในการโรยตวั จงึ จ�ำ เปน็ ตอ้ งมอี ปุ กรณ์ ปอ้ งกันไม่ใหเ้ กิดความเสียหายการขาดหรือบิดตัว จนเป็นอุปสรรคในการทำ�งาน ปลอกรองเชอื ก จะชว่ ยปอ้ งกนั การ เสยี ดสีของเชอื กกับอาคารหรือมมุ แหลมเพือ่ ยืดอายกุ ารใชง้ านของเชอื ก ประเภทของเชอื ก เชอื กทใี่ ชใ้ นการกภู้ ยั ปจั จบุ นั ถกู ออกแบบมาในลกั ษณะ เคนิ เมนเทลิ ( Kern Mantel) เชอื กแบบเคนิ เมนเทลิ ประกอบดว้ ย เสน้ ใยทถ่ี กู บดิ เขา้ ดว้ ยกนั เพอื่ เปน็ แกนในทแี่ ขง็ แกรง่ เรยี กวา่ เคนิ ซงึ่ ถกู หมุ้ ดว้ ยปลอกรอบนอกเรยี กวา่ เมนเทลิ ซง่ึ ท�ำ หนา้ ทปี่ อ้ งกนั และเพมิ่ ความทนทานให้กับเชอื ก เชือกที่ผลิตในอเมริกา ปลอกเชือกมักจะมีความหนา มากกว่าเชือกที่ผลิตในยุโรป ซ่ึงความหนาน้ีจะช่วยเพิ่มความ ทนทาน ตอ่ การเสียดสไี ด้ดกี ว่า เชือกถกู ผลติ ข้ึนมาเป็น ๒ ประเภท คอื เชอื กแบบคงตวั (Static rope ) และแบบยดื ตัว (Dynamic rope) ทงั้ สองประเภทมคี วามแตกตา่ งกนั ทแ่ี กนในเปน็ ส�ำ คญั เชอื กยดื ตวั มคี ณุ สมบตั ใิ นการขยายตวั และชะลอแรงตก ซงึ่ เปน็ สง่ิ จ�ำ เปน็ อยา่ งยงิ่ ในการปอ้ งกนั นกั ปนี เขาจากการหลน่ รว่ ง เชอื กแบบคงตวั มคี ณุ สมบตั แิ ตกตา่ งจากเชอื กปนี เขาหรอื เชือกยืดตัวอย่างสิ้นเชิง เพราะตัวเชือกแทบจะไม่ยืดตัวเลยหรือยืดได้ไม่เกิน ๑๐ % เพื่อให้เกิดการทรงตัวที่ดีที่สุด การยกวตั ถุหนักก็เป็นส่งิ ส�ำ คญั เช่นกนั เพราะเชอื กจะไม่ยดื ตวั ขณะท�ำ การยกของหนกั ท�ำ ใหย้ กวตั ถไุ ดท้ นั ทีทันใด ดงั นน้ั จงึ หา้ มนำ�เชอื กยืดตัว หรือเชอื กปีนเขาไปใช้ในงานโรยตวั หรอื ก้ภู ยั เด็ดขาด เชอื กในปจั จบุ นั ถกู ผลติ ขนึ้ จากเสน้ ใยทแ่ี ตกตา่ งกนั เชน่ ไนลอ่ น โพลเี อสเตอร์ โพลโี พพลี นี เคปลาร์ เปน็ ตน้ ซึ่งเชือกจากเส้นใยธรรมชาติไม่ควรนำ�มาใช้ในงานกู้ภัย หรืออุปกรณ์ทุกประเภท รวมท้ัง ห่วงเหล็กปากเปิด และ หว่ งเลขแปด กถ็ กู ออกแบบมาเพอื่ ใชง้ านกบั เชอื กทม่ี ปี ลอกหมุ้ แกนใน หากใชอ้ ปุ กรณก์ ภู้ ยั กบั เชอื กใยธรรมชาตผิ ลลพั ธ์ ทีไ่ มค่ าดคิด อาจน�ำ ไปส่กู ารบาดเจบ็ ถงึ ชวี ติ ได้ ไนลอน (Nylon) เป็นเสน้ ใยสงั เคราะหช์ นดิ แรกของโลก และเปน็ เสน้ ใยหลกั ในการผลติ เชือกในปัจจุบนั ทถี่ กู คดิ คน้ ขน้ึ โดยบรษิ ทั ดปู องท์ ในปี พ.ศ.๒๔๘๑ เนอื่ งจากความขาดแคลนเสน้ ใยธรรมชาติ ในชว่ งสงครามโลกครงั้ ที่ ๒ ดปู องทจ์ งึ ผลิตเชอื กไนลอนเปน็ รายแรก โครงสรา้ งของไนลอน งา่ ยตอ่ การขยายตัวใหย้ าว โดยยงั คงรักษาคณุ สมบตั ิ ของเชอื กไวท้ ุกประการ ซง่ึ เป็นคุณสมบัติทไี่ มม่ ีอย่ใู นเส้นใยธรรมชาติ ตงั้ แตน่ น้ั มากม็ ีการศึกษาวิจยั ด้านโครงสรา้ ง การผลิตและวัสดใุ นการผลิตเชอื กมากยิ่งขนึ้ ไนลอน มคี วามทนทานตอ่ การขดู ขดี และยงั มคี ณุ สมบตั ผิ อ่ นแรงตกกระทบ ซงึ่ ไมม่ อี ยใู่ นเสน้ ใยอน่ื ๆ เชอื กไนลอน ไม่ทนต่อกรด แตท่ นต่อดา่ ง เม่อื เชอื กเปยี กน�้ำ จะสามารถดูดซบั นำ้�ไวไ้ ด้ประมาณ ๗ % และจะสญู เสยี ความทนทาน ไปประมาณ ๑๐-๑๕ % คงสภาพแม้อยู่ในอุณหภูมิ ๑๐๐ องศาเซลเซียส และจะเร่ิมละลายตัวที่อุณหภูมิ ๒๑๕ องศาเซลเซยี ส คมู่ อื การใชเ้ ชือก 21

โพลีเอสเตอร์ (Polyester) เป็นเส้นใยที่แข็งแกร่งและทนต่อการสึกหรอได้ดีเย่ียมโพลีเอสเตอร์ มีข้อ ไดเ้ ปรยี บกวา่ ไนลอนหลายประการ รวมถงึ อตั ราการดดู ซบั น�ำ้ ทนี่ อ้ ยกวา่ ๑ % และจะเสยี ความทนทานไปเพยี ง ๒ % เมอื่ เปียกนำ้�และยังทนตอ่ รงั สีอุลตร้าไวโอแลต ได้ดีกวา่ ไนลอนอีกดว้ ย ในทางกลับกนั โพลีเอสเตอร์ทนตอ่ กรด แตไ่ ม่ ทนตอ่ ดา่ ง มคี ณุ สมบตั ผิ อ่ นแรงตกกระทบไดน้ อ้ ยมาก จงึ ไมส่ มควรน�ำ ไปใชใ้ นเชงิ กฬี า โพลเี อสเตอรค์ งสภาพแมอ้ ยใู่ น อุณหภมู ิ ๑๐๐ องศาเซลเซียส และจะเรมิ่ ละลายตวั ทอ่ี ณุ หภูมิ ๒๕๔ องศาเซลเซียส ซงึ่ ตามแบบฉบบั แลว้ เชือกเพ่อื งานกู้ภัยในปจั จุบนั ปลอกหุ้มมักทำ�จากโพลีเอสเตอร์โดยมีไนลอนเปน็ แกนในแทบทัง้ ส้ิน โพลีโพพีลีน (Polypropylene) และโพลีเอทีลีน (Polyethylene) ถูกใช้มากในงานกู้ภัยทางน้ำ� จากคุณสมบัติเบากวา่ นำ้� ท�ำ ให้ลอยตวั แต่อ่อนไหวต่อรงั สอี ลุ ตร้าไวโอแลต และไมท่ นต่อการขดู ขีดจงึ ไมค่ วรน�ำ ไปใช้ ในงานโรยตวั และปีนเขา เคปลาร์ (Kevlar) มีความทนทานต่ออุณหภูมิสูงได้เป็นอย่างดี และแข็งแกร่งเป็นเลิศ ซ่ึงทนความร้อน ได้ถึง ๔๒๗ องศาเซลเซียส ทนตอ่ แรงดึงได้มากกวา่ เหลก็ ถึง ๗ เท่า แต่ไมท่ นตอ่ แรงขดู ขดี และไม่ยืดหยุน่ ซึง่ ท�ำ ให้ แตกหกั ไดง้ า่ ยจึงไม่เหมาะในงานกภู้ ัย สเปคตรา้ (Spectra) หรอื โพลีเอททลี นี ชนิดความหนาแน่นสงู มีคณุ สมบตั ขิ องเส้นใยใกล้เคียงกับ เคปลาร์ ทนต่อแรงดงึ ได้มากกวา่ กวา่ เหล็กถงึ ๑๐ เทา่ แตม่ จี ุดหลอมเหลวต่ำ�มาก ซง่ึ ในอุณหภมู ิ ๖๖ องศาเซลเซียส จากการ โรยตวั ปกติ ก็สามารถเกิดอันตรายร้ายแรงข้นึ ได้ จึงไมค่ วรใช้เป็นเชือก เพ่อื การโรยตวั อยา่ งเดด็ ขาด ความสามารถในการรับน้ำ�หนักของเชือกกู้ภัย เชอื กก้ภู ัย มคี วามแข็งแรงทนทานมาก ตามขนาดและนำ้�หนกั ของเชือก การเลอื กใช้ให้เหมาะสมกับการใชง้ าน เป็นส่ิงสำ�คัญ สำ�หรับพิกัดน้ำ�หนักการใช้งานของเชือกในเกณฑ์ท่ีปลอดภัยถูกกำ�หนดด้วยสูตร ๑๐/๑ เท่า ของ จดุ ทเี่ ชอื กไมส่ ามารถรบั น�้ำ หนกั ได้ ส�ำ หรบั งานกภู้ ยั พกิ ดั ดงั กลา่ วจะตอ้ งเพม่ิ เปน็ ๑๕/๑ เทา่ ของจดุ ทเี่ ชอื กไมส่ ามารถ รบั น้�ำ หนกั ได้ ตวั อย่าง เชือกมพี กิ ดั รับนำ�้ หนกั ที่ ๓,๐๐๐ กิโลกรัม สามารถรบั น้ำ�หนักได้ท่ี ๓,๐๐๐/๑๐ เท่ากับ ๓๐๐ กิโลกรัม ส�ำ หรบั งานกูภ้ ัย พกิ ัดสงู สดุ ของการรับน�้ำ หนักจะอยทู่ ี่ ๓,๐๐๐/๑๕ เท่ากบั ๒๐๐ กโิ ลกรมั เชอื กสว่ นใหญ่ จะเสือ่ มสภาพจากการเสียดสี หรือขูดขดี ดงั นัน้ เชือกทีท่ นทานต่อการขูดขดี จะชว่ ยยืดอายุ การใชง้ านของเชอื กใหน้ านขน้ึ และวสั ดกุ นั ขอบเชอื ก จะชว่ ยเพม่ิ ความปลอดและอายกุ ารใชง้ านของเชอื ก ยง่ิ ถา้ เชอื ก โคง้ งอไดย้ ากมากเทา่ ไหร่ เชอื กนนั้ กจ็ ะมคี วามทนทานตอ่ การเสยี ดสมี ากขน้ึ เทา่ นนั้ ในการทดสอบเชอื กคงตวั (Static rope) หรือเชือกกภู้ ัย มคี ณุ สมบัตใิ นการทนทานต่อการเสยี ดสหี รือขดู ขีด ได้ดีกว่าเชอื กยืดตัวหรอื เชอื กปนี เขา อายกุ ารใชง้ านของเชอื กมผี ลตอ่ ความแขง็ แรงเชน่ เดยี วกนั เชอื กทใ่ี ชง้ านหนกั จะเสยี ความแขง็ แรง ไป ๓ - ๕ % ในแต่ละปีจึงเป็นเร่ืองสำ�คัญมาก ในการตรวจสอบว่าเชือกหมดอายุหรือไม่ การใช้เชือกที่หมดอายุ อาจก่อให้เกิด อนั ตรายถงึ ชวี ติ ได้ 22 คู่มอื การใช้เชอื ก

การบำ�รงุ รกั ษาเชือกใหม่ ก่อนการตัดเชือก บริเวณท่ีจะตัดควรใช้แถบรัดท่ีหดตัวด้วยความร้อน “Heat Shrink tubing” หุ้มไว้ ถ้าไม่มีสามารถใช้เทปพันโดยรอบ และควรตัดเชือกด้วยเคร่ืองตัดความร้อน “Thermal Cutter” ซ่ึงตัดโดยอาศัย ความรอ้ นสงู และสมานเนอื้ เชือกในเวลาเดยี วกัน การใช้ความร้อนตัดเชือก จะละลายส่วนปลายเขา้ ด้วยกัน ป้องกัน ปัญหาปลายเชือกแตก อยา่ ใช้มีดธรรมดาในการตดั เชอื กเปน็ อนั ขาด กอ่ นการใชง้ านครง้ั แรก เชอื กใหมค่ วรไดร้ บั การตรวจสอบ เพอ่ื รบั ประกนั วา่ ไมม่ สี ว่ นใดเสยี หาย และปลายเชอื กไดร้ บั การหมุ้ สมานอย่างถูกต้อง หลังการตรวจเช็ค ควรทำ�เครื่องหมายระบุ ความยาว วันเริ่มใชง้ าน และขอ้ มลู สำ�คัญอืน่ ๆ การเขยี นลงบน เชือกโดยตรง ควรใชป้ ากกา ทม่ี ีหมึกผสมด้วยแอลกอฮอล์เท่านัน้ เพื่อป้องกันความเสียหายของตัวเชือก ควรจดรายละเอียด การใช้งานลงในสมุดบันทึก “Logbook” เพื่อระบุข้อมูลสำ�คัญ ของเชือกในอนาคต เป็นธรรมชาติของเชือกใหม่ ที่จะคอ่ นข้างลื่น อนั เนื่องมาจากกระบวนการผลิต สารท่ีเคลอื บไวน้ ้ี จะช่วย ป้องกันเชอื กและทำ�ให้เชอื กนมุ่ หากสารเคลอื บหลดุ ออก เชือกจะเรม่ิ แห้ง และอายกุ ารใช้งานจะคอ่ ย ๆ ลดลง เพอ่ื ชะลอความเส่ือมออกไป จงึ ไมค่ วรล้าง ซักล้าง หรอื จุ่มเชือกลงน�้ำ ก่อนเริม่ ใชง้ านครั้งแรก ระหว่างการใช้งานครัง้ แรก เสน้ แกนในและปลอกหมุ้ เชอื ก จะหดตัวเขา้ หากัน ในข้ันนี้ การล้างเชอื กครั้งแรก จึงเป็นผลดี เพราะจะทำ�ให้เชือกหดตัว หากเป็นเชือกไนลอนจะหดลงประมาณ ๑๐ เปอร์เซ็นต์ จนถึงจุดคงตัวใน การใชง้ าน การหดตวั จากการลา้ ง เมอ่ื เชอื กหดรดั แกนแลว้ จะชว่ ยท�ำ ใหส้ ง่ิ สกปรก แพรเ่ ขา้ ถงึ แกนในของเชอื กไดย้ าก เชอื กใหม่ ควรจะผ่านการโรยตัว - ลา้ ง - ทำ�ให้แห้ง และตรวจสภาพ ๒ - ๓ คร้ัง เพ่ือให้เชือกอย่ตู วั กอ่ นน�ำ ไป ใช้งานหนัก การตรวจสภาพเชือก ไม่มีการทดสอบ ท่ีสามารถบอกได้ ๑๐๐ % ถึงสภาพของเชือกว่าเป็นอย่างไร การตัดสินใจเปลี่ยนเชือก จะต้องขึ้นอยู่กับประสบการณ์ของผู้ใช้ การตรวจเช็ค ต้องทำ�โดยใช้สายตา และสัมผัสเพ่ือตรวจดูความเสียหาย ของเชือก หลงั จากการใชง้ านแตล่ ะครง้ั ควรตรวจสภาพเชอื ก เพอื่ ใหม้ น่ั ใจวา่ ปลอดภยั ตอ่ การใชง้ านในอนาคต เชอื ก สามารถถูกตดั หรือเกดิ ความเสียหายได้งา่ ย จากสันขอบของหนิ และริมทม่ี คี วามคม การโรยตวั ด้วยความเรว็ กอ่ ให้ เกิดความร้อนอย่างมากมาย อันเนอ่ื งมาจากการเสยี ดสี ซง่ึ สามารถทำ�ลายเชือกไดอ้ ย่างรวดเร็ว จึงควรตรวจสภาพ เชอื กวา่ ไม่มีรอยขาด เส้นใยเสยี หาย เกิดจุดอ่อนจุดกระด้าง ผิวเชอื กถูกเคลอื บ เปลี่ยนสี สีซดี หรือขนาดของเส้น ผา่ ศนู ยก์ ลางมกี ารเปลยี่ นแปลง ซงึ่ หากพบสง่ิ เหลา่ นี้ แสดงวา่ ถงึ เวลาเปลย่ี นเชอื ก ถา้ เชอื กถกู กระชากอยา่ งแรงหลายครง้ั จากน�้ำ หนักทีต่ กลงมากะทันหนั ควรเปล่ียนเชือก เพื่อเหตุผลด้านความปลอดภัยเชน่ กนั คมู่ อื การใช้เชอื ก 23

เชือกควรมีการเปล่ียนทกุ ๆ ๕ ปี แม้จะถกู ใช้งานเปน็ ครง้ั คราวกต็ าม และเปล่ยี นทุก ๆ ๑ - ๒ ปีหากมี การใชง้ านเปน็ ประจำ� อายสุ งู สดุ ของเชอื กแบบสงั เคราะห์ คอื ๑๐ ปี และสมดุ บนั ทกึ ควรเกบ็ ไวป้ ระจำ�เชอื กแตล่ ะเสน้ และควรลงรายละเอยี ด การใชง้ านแต่ละครั้ง โดยระบปุ ระเภทการใชง้ าน และสภาพของเชือกหากไม่แน่ใจในสภาพ ของเชอื ก ควรเปลย่ี นเชอื กใหม่ทนั ที เชือกเก่าควรจะทำ�ลาย เพอ่ื ป้องกนั การนำ�กลบั มาใช้โดยบงั เอิญ การลา้ งท�ำ ความสะอาดเชอื ก เชอื ก ควรจะตอ้ งลา้ งอยา่ งสม่ำ�เสมอ โดยเฉพาะเม่ือใช้งานในพ้ืนทส่ี กปรก สงิ่ สกปรก คอื ตัวกดั กรอ่ นและ สร้างความเสียหาย ให้กับเชือกหากไม่ได้รับการขจัดให้หมดไป ในการล้างเชือก ควรใช้อุปกรณ์ล้างเชือกซึ่งผลิตข้ึน เพื่อทำ�ความสะอาดเชือกโดยเฉพาะ อุปกรณ์ล้างเชือกเหล่าน้ี จะต่อเข้ากับสายยางและใช้การพ่นละอองฝอยของน้ำ� ในการช�ำ ระลา้ งสง่ิ สกปรก อปุ กรณล์ า้ งเชอื ก จะหนบี ยดึ ทต่ี วั เชอื ก และปลอ่ ยน�้ำ เขา้ ไปลา้ งทกุ ดา้ นของเชอื ก สบื เนอ่ื งจาก การพน่ ละอองน�ำ้ ดา้ นในของอปุ กรณจ์ ะหุม้ ดว้ ยขนแปรงอ่อนนุ่ม ที่จะคอ่ ย ๆ ขดั ในขณะทต่ี วั เชือก จะถกู ดึงผา่ น เครือ่ งล้างไปอยา่ งช้า ๆ หลังจากที่ส่ิงสกปรกส่วนใหญ่ ถูกชำ�ระไปแล้ว ควรแช่เชือกในผงซักฟอกอย่างอ่อน เพื่อทำ�ความสะอาด สารสงั เคราะห์ น�้ำ ยาซกั ลา้ งหรือน้ำ�ยาฟอกขาว สามารถทำ�อนั ตราย และไมค่ วรนำ�มาใช้ในการท�ำ ความสะอาดเชอื ก หลงั จากแชเ่ ชอื กในผงซกั ฟอกออ่ น ๆ แลว้ ควรนำ�เชือกกลับมาผ่านเคร่ืองล้าง เพื่อขัดเอาสาร ซกั ฟอกออกจากตวั เชอื กอีกครงั้ หน่งึ และข้นั สุดทา้ ย คือ การน้ำ�เชือกแชใ่ นน้ำ�ที่เจือจางดว้ ย น�ำ้ ยาปรับผ้านุ่ม เพียงเล็กน้อย ซึ่งจะช่วยหล่อล่ืน และยืดอายุของ เชือกให้ยาวข้ึน การตากเชือกควรนำ�ผ่ึงลมในท่ีร่ม ไมค่ วรตากเชือกใหแ้ หง้ กลางแดด  เพราะรงั สอี ลุ ตร้า ไวโอแลต ในแสงแดดสามารถท�ำ ลายเชอื กได้ การเกบ็ รักษาเชอื กกภู้ ัย เชอื กควรถกู เกบ็ ไว้ในทเี่ ย็นและแหง้ และปราศจากนำ�้ มนั กรดแบตเตอรี่ หรือสารเคมอี ่ืน ๆ ทส่ี ามารถท�ำ อนั ตรายตอ่ เชอื กได้ และแมว้ า่ เชอื กจะไมถ่ กู สมั ผสั โดยตรง ตอ่ สารเคมเี หลา่ นน้ั ไอหรอื ควนั กย็ งั สามารถกดั กรอ่ นเชอื ก ไดแ้ นะน�ำ ใหเ้ กบ็ เชือกไว้ในถงุ เก็บเชอื ก เพราะเชือกควรวางในถุงเชือก แบบไมต่ อ้ งขดเป็นเกลียว ถงุ เชือกจ�ำ เป็นจะ ต้องใหญ่เพียงพอ ท่ีจะเลย่ี งการอัดแน่นอยใู่ นถุง ซึ่งจะทำ�ให้กลายเปน็ ปมเงอ่ื นขนาดใหญ่ การกดทับเชอื ก จะทำ�ให้ อายกุ ารใชง้ านของเชอื กสนั้ ลง ไม่แนะน�ำ ใหท้ ำ�เชือกเป็นห่วงโซ่ โดยใช้เงอ่ื นแบบโอเวอร์แฮนด์ (Overhand) เพ่อื เก็บ เชอื กในระยะยาว หว่ งโซบ่ นเชอื ก จะบงั คบั ใหเ้ กดิ แรงบบี ซง่ึ จะลดอายกุ ารใชง้ านของเชอื กลงได้ และเชอื กทเ่ี กบ็ ไวใ้ นถงุ ควรยา้ ยออกจากถงุ อยา่ งสม�่ำ เสมอ ทางเลอื กในการเกบ็ เชอื ก กค็ อื การขดเชอื กเปน็ วง เรยี กวา่ “Mountaineering-style” โดยแขวนไว้กบั เสา ซงึ่ วิธีนี้ลมจะพดั ผ่านรอบ ๆ เชือก เปน็ การป้องกนั ความอบั ชื้นและเช้ือรา เสาทีแ่ ขวนเชอื กควร ทำ�ดว้ ยพลาสตกิ เสาไมห้ รือโลหะ สามารถดกั เก็บความชืน้ ซ่งึ จะกอ่ ให้เกดิ ราท�ำ ใหเ้ ชือกดสู กปรก ไมค่ วรวางสัมผสั โดยตรงกบั คอนกรีต เพราะคอนกรีตมีสภาพเป็นกรด ท�ำ ให้เชอื กสกปรกและเส่ือมสภาพไดง้ ่าย 24 คู่มือการใชเ้ ชอื ก

แนะนำ�ให้หน่วยกู้ภัย หนึ่ง ๆ มีมาตรฐานในการใช้เชือก ชนิดเดียวกัน ขนาดเดียวกัน และเลือกยี่ห้อท่ี พึงพอใจ การใช้งานปะปนท้ังขนาดและชนิดของเชือก จะเพิ่มความยากให้กับงานที่ยากอยู่แล้วให้มากย่ิงข้ึน ถ้าต้อง เลอื กใช้เชือกหลายชนิด และสปี นกนั ควรระบขุ นาดและสีใหเ้ ห็นชัดเจน ส�ำ หรบั เชอื กกู้ภัย แนะน�ำ ใหใ้ ช้ขนาด ๑๒.๕ มิลลิเมตร และควรมีการสลับปลายเชือก ในการใช้งานเป็นระยะ ๆ เพื่อยืดอายุและเป็นการกระจายการใช้งาน ไดอ้ ยา่ งทัว่ ถึง ขณะใช้งาน ไม่ควรปล่อยให้เชือกแตะพื้นและเหยียบเชือก ถ้าเป็นไปได้ควรใช้ผ้าใบรองส่วนปลายสุด ของเชอื ก จากการสมั ผสั ดนิ โดยตรง การเหยยี บเชอื กเทา่ กบั เปน็ การผลกั ดนั ใหส้ ง่ิ สกปรก เขา้ ถงึ แกนในของเชอื ก และ สง่ ผลให้เกดิ การสึกหรอจากภายใน ซ่ึงเป็นอันตรายอยา่ งมาก และไม่สามารถตรวจสอบได้อย่างชดั เจน ประเภทการลอ็ คของหว่ งเหลก็ ปากเปดิ หว่ งเหล็กปากเปดิ (Karabiner) เปน็ อปุ กรณท์ ใ่ี ชย้ ึดเกยี่ วระหว่างเชอื กบคุ คลหรอื ฮาเนส กับเชอื กโรยตัว โดยตรง หรือควบคู่กับห่วงเหล็กเลขแปด ในการใช้งานควรคำ�นึงถึงอัตราการรับน้ำ�หนักของอุปกรณ์ วัสดุท่ีใช้และ ระบบล็อคทแี่ ตกต่างกัน และสามารถแบ่งลักษณะการล็อคของปากเปิดได้ ดงั นี้ ๑. ลอ็ คอตั โนมตั ิ (Auto log) เปน็ หว่ งเหลก็ ปากเปดิ ทน่ี ยิ มใชก้ นั โดยแพรห่ ลายเพราะงา่ ยตอ่ การเปดิ และ ปิดปาก เมื่อต้องการจะใช้งานเพียงแค่บิดล็อคไปทางซ้ายก็สามารถเปิดปากได้เลย และเม่ือปล่อยมือออกจากล็อค ปากเปดิ กจ็ ะปดิ และลอ็ คโดยทนั ที หว่ งเหลก็ ปากเปดิ ประเภทนไี้ มค่ วรนำ�มาใชก้ บั การโรยตวั หากไมม่ หี ว่ งเหลก็ เลขแปด ร่วมด้วย โดยเฉพาะผทู้ ่ีถนดั โรยตวั ทางด้านซา้ ยจะเป็นอนั ตรายอยา่ งยิ่ง นยิ มใชก้ บั การปนี เขามากกว่า คู่มอื การใชเ้ ชือก 25

๒. แบบล็อคเกลียว (Manual) เป็นหว่ งเหลก็ ปากเปิดอีกประเภทหนึง่ ท่ีนิยมใชก้ นั โดยแพร่หลายในงาน ปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั เพราะถอื วา่ เปน็ หว่ งเหลก็ ทใี่ ชง้ านงา่ ยและมคี วามปลอดภยั สงู ในการใชง้ านถา้ ตอ้ งการ จะเปิดปากก็ให้หมุนเกลียวไปทางซ้าย และเมื่อจะล็อคปากเปิดก็ให้หมุนเกลียวไปทางขวา สามารถใช้ได้ส�ำ หรับผู้ที่ โรยตัวทางดา้ นซ้ายและดา้ นขวา ๓. กงึ่ ลอ็ ค (Semi) เปน็ หว่ งเหลก็ ปากเปดิ ทม่ี คี วามปลอดภยั ในการใชง้ านสงู สดุ เพราะมกี ารลอ็ คของปากเปดิ ถึงสองชั้นแต่ไม่นิยมใช้กันมากนักเพราะยากต่อการล็อค จะต้องใช้มือทั้งสองข้าง และจะเสียเวลาในการทำ�งาน วิธีการล็อคก็ให้ดันปลอกเล่ือนขึ้นด้านบนแล้วหมุนปลอกไปทางขวา และเม่ือต้องการจะปลดล็อคก็ให้ดันปลอกข้ึน ดา้ นบนแล้วหมนุ ปลอกไปทางซ้าย สามารถใช้ไดส้ �ำ หรบั ผู้ทโี่ รยตวั ทางดา้ นซา้ ยและดา้ นขวา 26 คู่มือการใช้เชอื ก

๔. แบบไมม่ ลี อ็ ค (snap ring) เปน็ หว่ งเหลก็ ปากเปดิ ทไ่ี มน่ ยิ มใชง้ านโรยตวั เพราะมคี วามปลอดภยั นอ้ ยมาก เนอ่ื งปากเปดิ นน้ั ไมม่ ลี อ็ คสามารถเปดิ ปากไดต้ ลอดเวลา แตจ่ ะใชก้ บั งานประเภทอปุ กรณแ์ ละเครอ่ื งมอื มากกวา่ เพอ่ื ความคลอ่ งตวั และรวดเรว็ ลักษณะของหว่ งเหลก็ ปากเปดิ หว่ งเหลก็ ปากเปดิ นน้ั มลี กั ษณะแตกตา่ งกนั มากมายหลายแบบ ดงั นน้ั ผใู้ ชจ้ งึ มคี วามจ�ำ เปน็ ทจี่ ะตอ้ งรวู้ า่ เรา จะทำ�งานประเภทไหน โรยตวั หรือปนี เขา เพ่ือจะได้จดั หาห่วงเหล็กปากเปดิ มาใชไ้ ด้ถูกกับงานและจะใช้งานไดอ้ ย่าง ปลอดภัย ห่วงเหลก็ ปากเปดิ ท่ีใช้กันโดยทว่ั มลี ักษณะดังน้ี ๑. รูปตัวโอ ห่วงเหล็กปากเปิดลักษณะนี้นิยมใช้กันโดยแพร่หลายในงานโรยตัว ที่ไม่มีห่วงเหล็กเลขแปด เพราะรปู ตวั โอนน้ั จะไม่มมี มุ ที่เป็นเหล่ยี ม เมอ่ื เชอื กโรยตัวเล่ือนไปจากตำ�แหนง่ ปกติ เชอื กกจ็ ะสามารถเล่ือนกลับมา ท่เี ดิม คอื ต�ำ แหน่งท�ำ งานปกติ ทีน่ กั กู้ภยั สามารถควบคุมการโรยตวั ได้ ๒. รปู คางหมู หว่ งเหลก็ ปากเปดิ ลกั ษณะนไ้ี มน่ ยิ มใชก้ นั ในงานโรยตวั แตถ่ า้ จะใชต้ อ้ งใชค้ กู่ บั หว่ งเหลก็ เลขแปด เพราะรปู คางหมู นน้ั จะมมี มุ ทเ่ี ปน็ เหลยี่ มเมอื่ เชอื กโรยตวั เลอื่ นไปจากตำ�แหนง่ ปกตเิ ชอื กกไ็ มส่ ามารถกลบั มาทเ่ี ดมิ ได้ หว่ งเหล็กปากเปิดลักษณะนี้นยิ มใชก้ นั ในงานปีนเขาเพราะสะดวกต่อการเกาะเก่ยี วกบั ตะขอ คมู่ ือการใชเ้ ชอื ก 27

การผกู เชือกบคุ คลในการโรยตัว เม่ือต้องการจะทำ�การโรยตัว อุปกรณ์ท่ีสำ�คัญอย่างหน่ึงก็คือ สายคาดรัดสำ�เร็จรูป มาใช้ในการผูกเอว แต่ถ้าหากนักกู้ไม่สามารถจัดหาภัยสายคาดรัดสำ�เร็จรูปมาได้ ก็สามารถใช้เชือกบุคคลมาผูกรอบเอวหรือที่เรียกว่า ผูก Swiss Seat ก็ได้ การผกู นน้ั มีวิธีการ ดังน้ี ๑. น�ำ เชอื กบุคคลทมี่ คี วามยาวประมาณ ๔ เมตร เส้นผ่าศนู ย์กลาง ๑๐ - ๑๒.๕ มิลลิเมตรมาพบั เป็นสองทบ น�ำ เอาสว่ นท่ีเปน็ ก่ึงกลางของเชอื กหรือทพ่ี ับทาบเข้ากับสะโพกทางดา้ นขวา (คนถนัดขวา) ๒. ผูกรอบสะโพกดว้ ยเงอื่ นพิรอดเร่มิ จากขวาทบั ซ้าย แลว้ สอดเชอื กลอดขาไปด้านหลงั 28 คู่มือการใชเ้ ชือก

๓. สอดเชอื กจากทางด้านนอกเข้าไปด้านในตวั แลว้ ดงึ ส่วนปลายออกไปข้างลำ�ตัว ๔. น�ำ ปลายเชอื กทางด้านขวาสอดใต้เชือกเสน้ แรกแลว้ นำ�ไปผูกเง่อื นพริ อดดา้ นขา้ งลำ�ตวั ๕. จับห่วงเหล็กปากเปดิ หนั ปากเปดิ เขา้ หาตวั ขอเกี่ยวขึน้ ดา้ นบน ค่มู อื การใชเ้ ชือก 29



วทิ ยาลยั ป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัย กรมป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั กระทรวงมหาดไทย


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook