Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สารานุกรมสำหรับเยาวชนเล่ม 3 ตอนโครงสร้างการเมืองไทย

สารานุกรมสำหรับเยาวชนเล่ม 3 ตอนโครงสร้างการเมืองไทย

Description: จากเว็บไซต์ senate.go.th
หนังสือ,เอกสาร,บทความที่นำมาเผยแพร่นี้ใช้เพื่อการศึกษาเท่านั้น

Search

Read the Text Version

โครงสรา้ งการเมอื งไทย ลำดบั ของโครงสรา้ งการเมอื งไทย โครงสรา้ งของการปกครองตามระบอบประชาธปิ ไตยของไทย ประกอบด้วยลำดบั ทสี่ ำคญั ๆ ดงั นี้ ๑. พระมหากษัตริย์ ทรงดำรงอยู่ในฐานะอันเป็นที่เคารพ สกั การะ ผใู้ ดจะละเมดิ หรอื ฟอ้ งรอ้ งพระมหากษตั รยิ ใ์ นทางใด ๆ ไมไ่ ด้ พระองค์ทรงดำรงตำแหน่งประมุขแห่งรัฐ ดำรงตำแหนง่ จอมทัพไทย ทรงเปน็ พทุ ธมามกะ ทรงเปน็ เอกอคั รศาสนปู ถมั ภก และพระราชทาน เคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ เป็นต้น การเมืองไทยในบรบิ ทความเชือ่ มโยงกับภาคสว่ นอื่น 21

๒. รัฐสภา เป็นองค์กรที่ใช้อำนาจนิติบัญญัติ มักจะ ประกอบด้วย สภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภา มีอำนาจหน้าท่ีในการ ตรากฎหมาย ควบคมุ การบรหิ ารราชการแผน่ ดนิ การใหค้ วามเหน็ ชอบ ในเรอื่ งสำคญั ตา่ ง ๆ รวมทงั้ การใหค้ วามเหน็ ชอบบคุ คลดำรงตำแหนง่ ในองค์กรตามรฐั ธรรมนญู และถอดถอนบุคคลออกจากตำแหนง่ ๓. คณะรัฐมนตรี หรือคณะรัฐบาล เป็นคณะบุคคลซ่ึง พระมหากษตั รยิ ท์ รงแตง่ ตงั้ ประกอบดว้ ย นายกรฐั มนตรคี นหนง่ึ และ รฐั มนตรอี น่ื อกี ไมเ่ กนิ จำนวนทกี่ ำหนดไวใ้ นรฐั ธรรมนญู เพอื่ ทำหนา้ ท่ี บริหารประเทศ หรือที่เรียกวา่ การบริหารราชการแผ่นดนิ 22 สารานุกรมการเมอื งไทยสำหรับเยาวชน เล่มท่ี ๓

๔. ศาล เป็นองค์กรที่ใช้อำนาจตุลาการให้เป็นไปตาม รัฐธรรมนญู และกฎหมาย ทำหน้าท่ใี นการพิจารณาพิพากษาคดคี วาม ตา่ ง ๆ เพื่อให้เกิดความยุตธิ รรมแกค่ กู่ รณี ทั้งน้ี รฐั ธรรมนูญบญั ญตั ิไว้ ชัดเจนว่าผู้พิพากษาและตุลาการมีอิสระในการพิจารณาพิพากษา อรรถคดี การเมอื งไทยในบรบิ ทความเช่อื มโยงกับภาคสว่ นอ่ืน 23

การจัดระเบียบบรหิ ารราชการแผน่ ดินของไทย การบรหิ ารราชการแผน่ ดนิ คอื การกำหนดนโยบายและทศิ ทาง ว่าจะจัดการปกครองประเทศในด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง การปกครอง การตา่ งประเทศ ไปในแนวทางใดและใชว้ ธิ กี ารใด เพอื่ ให้ เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ประชาชน เพ่ือลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน และลดภารกจิ ทไ่ี มจ่ ำเปน็ เปน็ การกระจายภารกจิ และทรพั ยากรใหแ้ ก่ ท้องถิน่ กระจายอำนาจการตัดสนิ ใจ รวมทง้ั อำนวยความสะดวกและ ตอบสนองความตอ้ งการของประชาชน 24 สารานุกรมการเมืองไทยสำหรบั เยาวชน เลม่ ท่ี ๓

การบริหารราชการแผ่นดินของไทยในอดีต ระยะท่ี ๑ ยุคอาณาจักรสุโขทัย (พ.ศ. ๑๗๖๑ - ๑๙๘๑) การปกครองหวั เมอื งในอาณาจกั ร สุโขทัยสมัยพ่อขุนรามคำแหงมหาราช แบง่ ออกเป็น ๓ ประเภท คือ ๑. หัวเมอื งชน้ั ใน ๒. หวั เมืองชน้ั นอก ๓. เมอื งประเทศราช ระยะที่ ๒ ยุคกรุงศรีอยุธยาจนถึงก่อนสมัยสมเด็จพระบรม ไตรโลกนาถ สมัยสมเด็จพระรามาธิบดีท่ี ๑ (พระเจ้าอู่ทอง) ทรงวางระบบการปกครอง ส่วนกลางแบบ “จตุสดมภ์” ตามแบบ ของขอม ประกอบด้วย เมือง วัง คลัง และนา โดยมีกษัตริย์เป็นผู้ปกครองสูงสุด และมีเสนาบดี ๔ คน คือ ขุนเมือง ขนุ วงั ขนุ คลงั และขนุ นา เปน็ ผู้ชว่ ย มหี นา้ ทดี่ ังน้ี ๑. เมือง มีหน้าที่รับผิดชอบเมืองหลวงในทุกกิจการ ดูแลสถานท่ีสำคัญรักษาความสงบในราชธานี มีกองตระเวนและ ศาลข้ึนอยูใ่ ต้การบังคบั บัญชา มศี าลนครบาลสำหรบั การพพิ ากษาคดี ในพระนคร และดูแลเสภาพระนคร การเมืองไทยในบริบทความเชื่อมโยงกับภาคส่วนอ่นื 25

๒. วัง มีหน้าที่รับผิดชอบเก่ียวกับราชสำนักบังคับกิจการใน พระราชวงั ดแู ลพระราชฐาน ควบคมุ การรบั จา่ ยในวงั และรบั ผดิ ชอบ งานพระราชพธิ ี ๓. คลัง มีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการควบคุมรายรับ รายจ่าย มีหน้าท่ีรับผิดชอบดูแลการค้าสำเภา ติดต่อการค้ากับ ต่างประเทศ และดูแลรับรองคณะทูตจากต่างประเทศและควบคุม ดูแลชาวตา่ งชาตทิ เ่ี ขา้ มาอาศยั อยใู่ นอยธุ ยา ๔. นา มีหน้าท่ีรับผิดชอบเก่ียวกับด้านการเกษตร ทำการ ตรวจการทำไร่นา ออกสิทธิ์ท่ีนา เก็บภาษี เป็นผลผลิตจากเกษตรกร และเกบ็ สว่ นแบ่งขา้ วมาไว้ในฉางหลวง สว่ นการปกครองสว่ นภมู ภิ าคหรอื หวั เมอื งตา่ งๆนน้ั ในระยะแรก สมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๑ ทรงเลียนแบบการปกครองของสุโขทัย คือ มหี ัวเมืองชัน้ ใน ชนั้ นอก และหัวเมืองประเทศราช 26 สารานกุ รมการเมอื งไทยสำหรบั เยาวชน เล่มที่ ๓

ระยะท่ี๓การปฏริ ปู การปกครองแผน่ ดนิ ในสมยั สมเดจ็ พระบรม ไตรโลกนาถ ในสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ได้ทำการปฏิรูป การปกครองหัวเมือง ให้มีลักษณะการรวมอำนาจไว้ที่ศูนย์กลาง (เมืองหลวง) มากขึน้ โดยทำการขยายอาณาเขตให้หัวเมอื งชน้ั ในใหม้ ี อาณาเขตทีก่ ว้างขวางข้นึ กว่าเดมิ จดั แบ่งหัวเมืองชัน้ นอก ออกเป็น ๓ รูปแบบย่อย ได้แก่ หัวเมอื งชั้นเอก หวั เมอื งชั้นโท หวั เมืองชัน้ ตรี การเมอื งไทยในบริบทความเชอื่ มโยงกบั ภาคสว่ นอนื่ 27

ในการจัดลำดับน้ี จะจัดลำดับตามขนาดและความสำคัญของ เมือง โดยส่วนกลางจะส่งขุนนางหรือพระราชวงศ์ไปทำการปกครอง กรณีของหัวเมืองประเทศราช ในสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ นั้นยงั ปล่อยให้มอี ิสระในการปกครองเชน่ เดิมดงั ทผ่ี า่ นมาในอดีต นอกจากนี้ สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถได้ทรงปรับปรุง ระบบบริหารข้ึนใหม่ซ่ึงเรียกว่า “การปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน” โดยแยกการบริหารออกเป็นการบริหารฝ่ายพลเรือนและการบริหาร ฝ่ายทหาร มีสมุหนายกเป็นผู้รับผิดชอบด้านพลเรือน บริหารกิจการ เกี่ยวกับเมือง วัง คลัง และนา และมีสมุหกลาโหมรับผิดชอบด้าน การทหารและการปอ้ งกนั ประเทศโดยทง้ั สมหุ นายกและสมหุ กลาโหม ตอ้ งมอี ัครมหาเสนาบดีเปน็ ผ้บู ังคบั บัญชาและมอี ำนาจเหนอื เสนาบดี จตุสดมภ์ ระยะท่ี ๔ ยุคการปกครองแบบมณฑลเทศาภิบาล ในสมยั รตั นโกสนิ ทร์พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ได้มีการปฏิรูปการปกครองแผ่นดินครั้งใหญ่โดยยกเลิกตำแหน่ง อัครมหาเสนาบดี ๒ ตำแหน่ง ซงึ่ ไดแ้ ก่ สมหุ นายก และสมุหกลาโหม รวมทั้งยกเลิกจตุสดมภ์ และได้จัดระเบียบการบริหารราชการใน รปู แบบใหม่โดยแบง่ การบรหิ ารราชการออกเปน็ “กระทรวง”ตามแบบ นานาประเทศที่เจริญแล้ว จำนวน ๑๒ กระทรวง แต่ละกระทรวง มีเสนาบดที ำหนา้ ทบี่ ริหารกระทรวง 28 สารานุกรมการเมอื งไทยสำหรบั เยาวชน เล่มท่ี ๓

ในส่วนการบริหารราชการบริหารส่วนภูมิภาคนั้น ได้จัดการ ปกครองในรปู แบบ “มณฑลเทศาภบิ าล” ซง่ึ การปกครองในรปู แบบน้ี ส่วนกลางจะจัดส่งข้าราชการส่วนกลาง (ข้าราชการสังกัดกระทรวง) ออกไปบริหารราชการในท้องท่ีต่าง ๆ เพ่ือให้การบริหารราชการ เกดิ ความทั่วถึง การเมอื งไทยในบรบิ ทความเชอื่ มโยงกับภาคสว่ นอน่ื 29

การบริหารราชการแบบมลฑลเทศาภิบาล จะมีการแบ่ง การปกครองประเทศที่มีขนาดลดหลัน่ กันเปน็ ลำดบั ได้แก่ มณฑล มขี ้าหลวงเทศาภิบาลเปน็ ผู้ปกครอง เมอื ง(จงั หวดั ) มเี จา้ เมอื ง(ผวู้ า่ ราชการจงั หวดั )เปน็ ผปู้ กครอง อำเภอ มนี ายอำเภอเปน็ ผ้ปู กครอง ตำบล มีกำนนั เป็นผ้ปู กครอง หมูบ่ า้ น มีผ้ใู หญบ่ า้ นเปน็ ผู้ปกครอง ระยะท่ี ๕ ยคุ หลัง พ.ศ. ๒๔๗๕ ภายหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง ในปี พ.ศ. ๒๔๗๕ ได้มี การยกเลิก “มณฑล” ในปี พ.ศ. ๒๔๗๖ ต่อมาในปี พ.ศ. ๒๔๙๕ รัฐบาลได้ออกพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๔๙๕ โดยพระราชบัญญัตินี้ก่อให้เกิดความเปลี่ยนแปลง เก่ียวกับจังหวัด โดยบัญญัติว่า จังหวัดมีฐานะเป็นนิติบุคคล อำนาจในการบรหิ ารในจงั หวัดเปน็ ของผู้วา่ ราชการจงั หวัด สว่ นกรมการจงั หวดั ซง่ึ เดมิ เปน็ ผมู้ อี ำนาจหนา้ ทบี่ รหิ ารราชการ แผน่ ดนิ ในจงั หวดั ไดก้ ลายเปน็ คณะเจา้ หนา้ ทท่ี ปี่ รกึ ษาของผวู้ า่ ราชการ จังหวัด และภายหลังได้มีการแก้ไขปรับปรุงกฎหมายว่าด้วยระเบียบ บริหารราชการแผ่นดินตามประกาศคณะปฏิวัติ ฉบับท่ี ๒๑๘ ลงวันท่ี ๒๙ กันยายน ๒๕๑๕ จึงได้มีการจัดระเบียบบริหารราชการ ส่วนภูมภิ าคเป็นจงั หวัด และอำเภอ 30 สารานกุ รมการเมอื งไทยสำหรับเยาวชน เล่มที่ ๓

การจัดระเบียบบริหารราชการแผ่นดินในปัจจุบัน (พ.ศ. ๒๕๕๘) การจดั ระเบยี บบรหิ ารราชการออกเปน็ สองสว่ นหรอื สามสว่ น นั้น ขึ้นอยู่กับการกำหนดทิศทางหรือนโยบายในการบริหารราชการ แผ่นดินของแต่ละประเทศ หรือขึ้นอยู่กับนโยบายของรัฐบาล สภาพภูมิประเทศ รวมทั้งประวัติศาสตร์ทางการเมืองการปกครอง ของประเทศ ปจั จบุ นั (พ.ศ. ๒๕๕๘) การจดั ระเบยี บบรหิ ารราชการแผน่ ดนิ ของไทยเป็นไปตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ ซ่ึงเป็นพระราชบัญญัติท่ีกำหนดสาระเก่ียวกับ การบริหารราชการแผ่นดิน ได้จัดระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน ออกเป็น ๓ สว่ น ไดแ้ ก่ ๑. การบรหิ ารราชการส่วนกลาง ๒. การบรหิ ารราชการสว่ นภมู ภิ าค ๓. การบริหารราชการส่วนท้องถ่นิ โดยทั้ง ๓ ส่วนล้วนอยู่ในการควบคุมดูแลของคณะรัฐมนตรี ซ่ึงหน้าท่ีรับผิดชอบบริหารราชการแผ่นดิน อันครอบคลุมไปถึงการ กำหนดนโยบายเพอื่ ใหข้ า้ ราชการนำไปปฏบิ ตั ิ การอำนวยความสะดวก และการใหบ้ รกิ ารสาธารณะแกป่ ระชาชนตามกฎหมาย นโยบาย และ คำส่ังของคณะรัฐมนตรีซึ่งเปน็ ผบู้ งั คบั บญั ชา การเมืองไทยในบริบทความเช่อื มโยงกับภาคส่วนอื่น 31

การบรหิ ารราชการส่วนกลาง การบรหิ ารราชการสว่ นกลาง เปน็ การบรหิ ารราชการแผน่ ดนิ ตามหลกั การรวมอำนาจทรี่ วมอำนาจการตดั สนิ ใจ การกำหนดนโยบาย การวางแผน การจัดสรรงบประมาณ การควบคุมตรวจสอบ และ การบริหารราชการในกิจการสำคัญไว้ให้เป็นภาระความรับผิดชอบ ของหน่วยงานต่าง ๆ ที่สงั กดั ราชการบรหิ ารส่วนกลาง การจัดระเบียบบริหารราชการส่วนกลางตามพระราชบัญญัติ ระเบยี บบรหิ ารราชการแผน่ ดนิ พ.ศ.๒๕๓๔ไดจ้ ำแนกออกเปน็ ๔สว่ น คือ สำนักนายกรัฐมนตรี กระทรวง ทบวง กรม หรือส่วนราชการท่ี เรียกชื่ออย่างอื่นที่มีฐานะเป็นกรมซึ่งสังกัดหรือไม่สังกัดสำนักนายก รัฐมนตรี กระทรวง หรือทบวง ส่วนราชการดังกล่าวนี้มีฐานะเป็น นิติบคุ คล 32 สารานกุ รมการเมอื งไทยสำหรับเยาวชน เล่มที่ ๓

การจัดระเบียบบรหิ ารราชการสว่ นกลาง การบรหิ ารราชการสว่ นกลางประกอบดว้ ย สำนกั นายกรฐั มนตรี กระทรวง ทบวง กรม สำนักนายกรัฐมนตรี มีฐานะเป็นกระทรวง อยู่ภายใต้การ บงั คบั บญั ชาของนายกรฐั มนตรี มอี ำนาจหนา้ ทเ่ี กยี่ วกบั ราชการทวั่ ไป ของนายกรัฐมนตรีและคณะรัฐมนตรี มีหน้าท่ีเกี่ยวกับการทำ งบประมาณแผ่นดินและราชการอ่ืนตามท่ีมีกฎหมายกำหนดให้เป็น อำนาจและหน้าท่ีของสำนักนายกรัฐมนตรีหรือส่วนราชการซึ่ง สังกัดสำนักนายกรัฐมนตรีหรือราชการอื่น ๆ ซ่ึงมิได้อยู่ภายใต้ อำนาจและหน้าทข่ี องกระทรวงหน่ึงกระทรวงใดโดยเฉพาะ การเมอื งไทยในบรบิ ทความเชอ่ื มโยงกับภาคส่วนอนื่ 33

กระทรวง ตามพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ.๒๕๔๕ไดก้ ำหนดใหม้ กี ระทรวงตา่ งๆนอกเหนอื จากสำนกั นายก รฐั มนตรรี วม ๑๙ กระทรวง กระทรวงตา่ ง ๆ เหลา่ นอี้ ยภู่ ายใตก้ ารดแู ล บังคับบญั ชาของรัฐมนตรวี ่าการกระทรวง ๑. กระทรวงกลาโหม ๒. กระทรวงการคลงั ๓. กระทรวงการต่างประเทศ ๔. กระทรวงการท่องเทยี่ วและกีฬา ๕. กระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนษุ ย์ ๖. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ๗. กระทรวงคมนาคม ๘. กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม ๙. กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สาร ๑๐. กระทรวงพลังงาน ๑๑. กระทรวงพาณชิ ย์ ๑๒. กระทรวงมหาดไทย ๑๓. กระทรวงยุติธรรม 34 สารานุกรมการเมอื งไทยสำหรบั เยาวชน เลม่ ที่ ๓

๑๔. กระทรวงแรงงาน ๑๕. กระทรวงวัฒนธรรม ๑๖. กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๑๗. กระทรวงศกึ ษาธิการ ๑๘. กระทรวงสาธารณสุข ๑๙. กระทรวงอตุ สาหกรรม อำนาจหน้าทขี่ องกระทรวง กระทรวงต่าง ๆ มีหน้าที่โดยท่ัวไป คือ การกำหนดนโยบาย และวางแผนดำเนินงานของกระทรวง รวมท้ังกำกับ เร่งรัด ติดตาม การดำเนนิ งานตามแผนและนโยบายทก่ี ำหนดไว้ ทบวง หมายถึง ส่วนราชการท่ีมีสภาพและปริมาณงาน ยังไม่เหมาะสมที่จะจัดต้ังเป็นกระทรวง กฎหมายกำหนดให้สามารถ จัดต้ังเป็นทบวงได้ก่อน โดยจะสังกัดสำนักนายกรัฐมนตรี หรือ กระทรวงใดก็ได้ หรือจะจัดต้ังโดยให้มีรัฐมนตรีว่าการทบวงเป็น ผู้บังคับบัญชาข้าราชการและรับผิดชอบการปฏิบัติราชการของ ทบวงก็ไดเ้ ช่นเดียวกัน การเมอื งไทยในบรบิ ทความเช่ือมโยงกบั ภาคส่วนอน่ื 35

กรม หมายถึง ส่วนราชการลำดับรองจากกระทรวง ส่วนราชการระดับกรมในกระทรวงต่าง ๆ อาจจำแนกได้เป็น ๓ ประเภท และเรยี กชอ่ื แตกตา่ งกัน คือ ๑. สำนักงานรัฐมนตรี มีหน้าท่ีเก่ียวข้องกับราชการทาง การเมืองของกระทรวง มีเลขานุการรัฐมนตรีดูแลรับผิดชอบข้ึนตรง ต่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวง ๒. สำนักงานปลัดกระทรวง มีหน้าท่ีเกี่ยวข้องกับราชการ ประจำทวั่ ไปของกระทรวง และราชการอนื่ ทมี่ ไิ ดก้ ำหนดใหเ้ ปน็ หนา้ ท่ี ของกรมใดกรมหน่ึงในสังกัดกระทรวงโดยเฉพาะ รวมทั้งการกำกับ เร่งรัด ติดตามผลการปฏิบัติราชการของส่วนราชการในกระทรวง ทง้ั น้ี โดยอยู่ภายใต้การควบคมุ ดแู ลของปลัดกระทรวง ๓. กรม มีอำนาจหน้าที่เก่ียวกับราชการส่วนใดส่วนหนึ่ง ของกระทรวงหรือตามกฎหมายว่าด้วยอำนาจหน้าที่ของกรม ท้ังนี้ อยู่ภายใต้การรับผิดชอบของอธิบดี หรือตำแหน่งที่เรียกชื่อ เปน็ อย่างอ่นื สำหรับส่วนราชการระดบั กรมท่เี รยี กชื่อเปน็ อยา่ งอืน่ 36 สารานกุ รมการเมอื งไทยสำหรับเยาวชน เลม่ ที่ ๓

สว่ นราชการระดบั กรมที่เปน็ อิสระ สำหรบั สว่ นราชการทไ่ี มส่ งั กดั สำนกั นายกรฐั มนตรี กระทรวง หรอื ทบวงและมฐี านะเปน็ กรมตามพระราชบญั ญตั ปิ รบั ปรงุ กระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. ๒๕๔๕ กำหนดใหม้ ี ๙ หนว่ ยงาน ดงั นี้ ๑. สำนักราชเลขาธิการ ๒. สำนกั พระราชวงั ๓. สำนักงานพระพทุ ธศาสนาแหง่ ชาติ ๔. สำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพ่ือการประสานงาน โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ๕. สำนกั คณะกรรมการวจิ ัยแหง่ ชาติ ๖. ราชบัณฑติ ยสถาน ๗. สำนักงานตำรวจแหง่ ชาติ ๘. สำนักงานป้องกนั และปราบปรามการฟอกเงนิ ๙. สำนกั งานอยั การสูงสดุ โดยส่วนราชการในลำดับท่ี ๑ - ๗ อยู่ในบังคับบัญชาของ นายกรัฐมนตรี สำหรับส่วนราชการในลำดับท่ี ๘ และ ๙ อยู่ใน บังคบั บญั ชาของรัฐมนตรวี า่ การกระทรวงยตุ ิธรรม การเมืองไทยในบรบิ ทความเช่อื มโยงกบั ภาคสว่ นอ่นื 37

การบริหารราชการส่วนภมู ภิ าค การบรหิ ารราชการสว่ นภมู ภิ าคเปน็ การบรหิ ารราชการแผน่ ดนิ ตามหลกั การแบง่ อำนาจราชการบรหิ ารสว่ นกลางจะมอบอำนาจหนา้ ที่ ในกิจการบางอย่างให้แก่ราชการบริหารส่วนภูมิภาค มีอำนาจ ตดั สนิ ใจในขอบเขตตามทจี่ ะมอบหมายใหต้ ามพระราชบญั ญตั ริ ะเบยี บ บริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ มาตรา ๕๑ บัญญัติให้การจัด ระเบียบบริหารราชการส่วนภูมิภาคมีสองรูปแบบ คือ จังหวัดและ อำเภอ การจดั ระเบยี บบริหารราชการสว่ นภมู ภิ าค การบริหารราชการส่วนภูมิภาค ประกอบด้วย จังหวัด และ อำเภอ จงั หวดั เกดิ จากการรวมทอ้ งทหี่ ลาย ๆ อำเภอตงั้ ขนึ้ เปน็ จงั หวดั มีฐานะเปน็ นิตบิ ุคคล ในปจั จุบนั (พ.ศ. ๒๕๕๘) มีจงั หวัดรวมทัง้ สิน้ ๗๗จงั หวดั (กรงุ เทพมหานครเปน็ องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ รปู แบบ 38 สารานุกรมการเมอื งไทยสำหรบั เยาวชน เล่มท่ี ๓

พเิ ศษ แต่มีฐานะเทยี บเทา่ กับจงั หวดั ) จังหวัดสุดทา้ ยของประเทศไทย ทเ่ี พง่ิ ประกาศจดั ตงั้ คอื จงั หวดั บงึ กาฬ ผบู้ งั คบั บญั ชาสงู สดุ ของจงั หวดั เรยี กวา่ “ผวู้ ่าราชการจงั หวดั ” อำเภอ เปน็ หนว่ ยบรหิ ารราชการรองจากจงั หวดั ตามพระราช บญั ญตั ริ ะเบียบบริหารราชการแผ่นดนิ พ.ศ. ๒๕๓๔ ในอดีตยังมีการแบ่งเขตการปกครองออกเป็นกิ่งอำเภอใน กรณีที่เขตอำเภอกว้างขวางแต่จำนวนประชาชนยังไม่มากพอที่จะต้ัง เป็นอำเภอตามพระราชบัญญัติลักษณะปกครองท้องท่ี พุทธศักราช ๒๔๕๗ จะแบ่งพ้ืนที่ต้ังเป็นก่ิงอำเภอ การบริหารราชการของ กง่ิ อำเภอนน้ั นอกจากมีนายอำเภอท้องที่เป็นผูบ้ งั คบั บัญชาแล้ว จะมี ปลัดอำเภอผู้เป็นหัวหน้าประจำกิ่งอำเภอ รับผิดชอบในการบริหาร ราชการรองจากนายอำเภอ และปฏิบัติราชการแทนนายอำเภอใน เวลาท่นี ายอำเภอมไิ ดม้ าอย่ทู กี่ ิ่งอำเภอ ปลดั อำเภอ ผเู้ ปน็ หวั หนา้ ประจำกงิ่ อำเภอเปน็ ขา้ ราชการในสงั กดั กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ต่อมาในปี ๒๕๕๐ ได้มีการ ยกฐานะกิง่ อำเภอขึน้ เป็นอำเภอท้ังหมด การเมอื งไทยในบรบิ ทความเชอ่ื มโยงกบั ภาคส่วนอนื่ 39

การบรหิ ารราชการส่วนทอ้ งถน่ิ เป็นรูปแบบการจัดระเบียบบริหารราชการแผ่นดินตามหลัก การกระจายอำนาจการปกครองคอื สว่ นกลางไดก้ ระจายอำนาจทางการ ปกครองและการบริหารให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบ ต่าง ๆ เพื่อดำเนินการจัดทำบริการสาธารณะให้แก่ประชาชนภายใต้ ขอบเขตของกฎหมาย ความสำคญั ของการบริหารราชการส่วนทอ้ งถน่ิ การบริหารราชการส่วนท้องถิ่นเป็นการแบ่งเบาภาระของ รัฐบาล เพื่อให้เกิดความท่ัวถึงในการให้บริการสาธารณะและแก้ไข ปัญหาหรือตอบสนองความต้องการของประชาชน และเป็นการ ตอบสนองความต้องการของประชาชนในท้องถ่ินอย่างแท้จริงและ รวดเรว็ ทงั้ ยงั เปน็ การประหยดั งบประมาณคา่ ใชจ้ า่ ยของรฐั บาล เพราะ องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินมีรายได้บางส่วนซ่ึงเป็นของตนเองเพื่อ การพฒั นาทอ้ งถนิ่ ประการสำคญั การบรหิ ารราชการสว่ นทอ้ งถนิ่ หรอื การปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นการให้ความรู้ความเข้าใจในหลักการ และรปู แบบของการปกครองระบอบประชาธิปไตย 40 สารานุกรมการเมอื งไทยสำหรับเยาวชน เล่มที่ ๓

การจัดระเบียบบริหารราชการส่วนท้องถน่ิ ตามพระราชบญั ญตั ริ ะเบยี บบรหิ ารราชการแผน่ ดนิ พ.ศ. ๒๕๓๔ มาตรา ๗๐ ได้กำหนดให้จัดระเบียบบริหารราชการส่วนท้องถิ่นไว้ ๔ รูปแบบ ดงั น้ี ๑. องคก์ ารบริหารส่วนจงั หวัด ๒. เทศบาล ๓. องค์การบริหารส่วนตำบล การเมอื งไทยในบรบิ ทความเช่ือมโยงกบั ภาคส่วนอน่ื 41

๔. ราชการส่วนท้องถ่ินอื่นตามที่มีกฎหมายกำหนด มีอยู่ ๒ รูปแบบ คอื (๑) กรุงเทพมหานคร ตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหาร ราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. ๒๕๒๘ (๒) เมืองพัทยา ตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการ เมอื งพทั ยา พ.ศ. ๒๕๔๒ ตารางแสดงจำนวนองค์กรปกครองส่วนทอ้ งถ่ิน ประเภท จำนวน หน่วย องคก์ ารบรหิ ารสว่ นจังหวัด ๗๖ แหง่ เทศบาล ๒,๒๘๓ แห่ง เทศบาลนคร ๓๐ แหง่ อองงคค์ก์กกเเเรามททรปรอืศศบงุกงบบเรคทพิหาารพลลทั าอมตเรยมงสำาหสือบ ่วา่วงลนนน คตทรำอ้ บ งลถ ่ินรปู แบบพเิ ศษ ๕๒๑,,๔๗๐๒๑๑๙๘๒ ๒๑ แแแแแแหหหหหห่ง่่ง่งง่ง่ง รวม ๗,๘๕๓ แห่ง ทม่ี า:สว่ นวจิ ยั และพฒั นาระบบรปู แบบและโครงสรา้ ง,สำนกั พฒั นาระบบ รปู แบบและโครงสรา้ ง กรมสง่ เสริมการปกครองทอ้ งถนิ่ , ๙ มิถุนายน ๒๕๕๗ 42 สารานกุ รมการเมืองไทยสำหรับเยาวชน เลม่ ที่ ๓