Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บริบทของครูในยุค New normal

บริบทของครูในยุค New normal

Published by manatchaya umuran, 2022-01-28 14:45:23

Description: บริบทของครูในยุค New normal

Search

Read the Text Version

บรบิ ทของครู ในยคุ New normal นางสาวมณัฐชยา อ้มุ อรุ าน 64121070121

สารบัญ Chapter 1 บทสัมภาษณ์ คุณครูวิลัลย์ดา วงค์ผดั ศ์ Chapter 2 Mindset Chapter 3 กฎหมายท่ีเกี่ยวข้อง กับวิชาชีพครู

01 บทสมั ภาษณ์ คณุ ครวู ิลัลย์ดา วงค์ผัดศ์

“การเชื่อม่ันและเหน็ คณุ ค่าในตัวนกั เรียน เปน็ ส่ิงท่คี รคู วรมี” คุณครูวิลัลย์ดา วงค์ผัดศ์

การจดั การเรยี นการสอนของครใู น ยุค New normal น้นั เปน็ อยา่ งไร? เน่ืองจากโรงเรียนได้จดั กจิ กรรมการเรียนการ สอนแบบ On-site ใช้รูปแบบผสมผสาน(On-air, On-hand, On-demand และ On-line) โดยสลบั วนั มาเรียนของชาย- หญงิ (วันเวน้ วนั ) ทาให้ครูจาเปน็ ต้องปรับเนือ้ หาให้กระชบั ขนึ้ แตย่ ังคงหลกั สตู รเดมิ อาจสอดแทรกความรู้เพิม่ เลก็ น้อย และ มสี อื่ การสอนท่มี สี ีสนั มีภาพประกอบ เพื่อให้น่าสนใจ เช่น ออกแบบบัตรคาศัพทพ์ ร้อมติดรูป ใบงานความรู้ หรือคลปิ วดิ ีโอสัน้ ๆ เพ่อื ดึงดูดความสนใจของนกั เรียน และเนอ่ื งจาก นกั เรียนไมส่ ามารถมสี ว่ นรว่ มในหอ้ งเรียนได้พร้อมกันทกุ คน ดงั นนั้ ในสว่ นของภาระงานหรือการบา้ นจึงต้องสอ่ื สารใหเ้ ขา้ ใจ ง่ายและชดั เจน เพ่ือให้นักเรียนสามารถเข้าใจได้ตรงกนั และทา การบ้านได้เสร็จสมบรู ณ์ อีกทง้ั หมั่นประเมนิ ผลนกั เรียน เชน่ การซกั ถาม การทดสอบ การให้ Feedback แก่นกั เรียนและ ผปู้ กครอง เพอ่ื ตรวจสอบความแน่ใจว่านักเรียนนั้นมีความรู้ ความเขา้ ใจในการเรียนตรงตามวตั ถุประสงค์หรือไม่

ข้อดีของการเรียน On-site แบบผสมผสาน (Blended leaning) 1 เกิดการเว้นระยะห่างทางสังคม เพราะปริมาณนักเรียนท่ีต้องมาเรียนท่ีสถานศึกษา น้ันลดลงคร่ึงหนึ่ง ซึ่งเป็นมาตรการสาคัญของทางโรงเรียนในการป้องกันการระบาด ของโรคโควิด-19 2 นักเรียนมีช่องทางในการเรียนรู้อย่างหลากหลาย เนื่องจากมีการประยุกต์ใช้ส่ือ การเรียนรู้ท่ีมีอยู่หลากหลายรูปแบบในการจัดการเรียนการสอน ทาให้นักเรียนได้ เรียนรู้ส่งิ ใหม่ ๆ อยู่เสมอ 3 นกั เรียนมีโอกาสท่ีจะพบปะและทากจิ กรรมการเรยี นรู้ร่วมกนั ในห้องเรยี น เพยี ง การเรียนในหอ้ งเรียนนั้นจะลดปริมาณลง แต่จะเน้นการทากจิ กรรมการเรียนรู้ ร่วมกัน ฝกึ ทักษะ และสรุปบทเรียน เพ่อื ใหน้ กั เรียนเขา้ ใจเนอ้ื หาได้มากข้ึน

ข้อเสยี ของการเรยี น On-site แบบผสมผสาน (Blended leaning) 1 มคี วามลา่ ชา้ ในเน้อื หา เนือ่ งจากเปน็ การเรียนแบบผสมผสานโดยสลบั ชาย-หญิง จึงทาใหผ้ ้สู อนจาเป็นตอ้ งสอนเนื้อหาเดมิ 2 ครั้ง 2 นักเรยี นมีส่วนร่วมในการเรียนรูไ้ ม่พร้อมกนั เน่อื งจากเป็นการเรียนแบบสลับชาย-หญิง ทาใหก้ ารเรียนการสอนแต่ละคร้ัง นักเรียนไม่สามารถโต้ตอบพร้อมกันทุกคน 3 ความไม่พรอ้ มในด้านเทคโนโลยี เนื่องจากนกั เรียนแตล่ ะคนมสี ภาพแวดลอ้ มที่แตกต่างกนั

ความคิดรวบยอดสาคญั ของชนั้ เรียนทส่ี งั เกต การเรียนการสอนในครั้งนผี้ ู้สอนได้เปิด โอกาสให้ผู้เรียนได้มอี ิสระในการคดิ หาคาตอบด้วย ตนเอง เพ่อื เปน็ การกระตุ้นให้ผ้เู รียนเกิดกระบวนการ คดิ วิเคราะห์ และสง่ เสริมการใช้ความคิดอย่างมี วจิ ารณญาณ จากนนั้ จึงตงั้ คาถามโดยจะใหผ้ ู้เรียน ยกมอื ตอบตามความสมัครใจ เพอ่ื ทดสอบความ เขา้ ใจของผู้เรียน เมื่อผ้เู รียนสามารถตอบคาถามได้ ถกู ตอ้ ง ครูจึงให้แรงเสริมทางบวก เชน่ การชมเชย การปรบมอื ฯ หากผู้เรียนไม่สามารถตอบคาถามนนั้ ได้ ครูจะไม่ตาหนิผ้เู รียน แตจ่ ะสอบถามวา่ ไม่เขา้ ใจใน ส่วนไหน และจะเร่ิมอธิบายใหมจ่ นกว่าผู้เรียนจะเขา้ ใจ ซ่ึงวิธีน้ีถือเป็นวิธีการสอนทีด่ ี เพราะเป็นการเรียนการ สอนท่มี ุ่งเนน้ ผู้เรียนเป็นสาคญั

02 Mindset

What is Mindset? กรอบความคิด ความเช่อื หรือ ทัศนคตทิ ่ชี ี้นาพฤติกรรมของคน กรอบความคดิ ของคน ๆ หน่งึ จะ เป็นแบบใดขึน้ กบั การสะสมประสบการณแ์ ละ สิ่งแวดล้อมของบุคคลคนนั้นมาตัง้ แตเ่ ด็ก

Growth mindset คืออะไร? คอื ความเช่ือ (belief) ของบคุ คลท่ีมตี อ่ ตนเองวา่ ความฉลาด ความสาเร็จ และความสามารถ ด้านต่าง ๆ ของตนเองนนั้ สามารถเรียนรู้ และพัฒนา ตนเองไปสคู่ วามสาเร็จไดต้ ามทต่ี อ้ งการ ดว้ ยการ ฝึกฝนและสงั่ สมประสบการณ์ ประกอบกับการใช้ กระบวนการเรียนรู้ตา่ ง ๆ ดว้ ยความมุ่งม่นั อตุ สาหะ และพยายาม

Fixed mindset คืออะไร? กรอบความคิดหรือทศั นคติแบบ ดงั เดิม หรือยึดติดอยู่ในกรอบ เดมิ ๆ เกรงกลวั ความผดิ พลาด ไมก่ ล้าเสยี่ ง แม้มีปัจจัยหลาย ๆ อยา่ งสนับสนุนในเชิงบวก

Growth mindset ความสาเร็จมาจาก ความผดิ พลาดคือบทเรียนท่ี ความพยายาม สอนใหเ้ ราไม่ทาผดิ ซ้าอีก มองการเรยี นรู้เปน็ คาแนะนา หรอื คาตชิ มจาก โอกาสแห่งการเติบโต ผู้อนื่ ชว่ ยใหเ้ ราแก้ไข และปรับปรุงตนเองได้ อยา่ งตรงจดุ Fixed mindset ความสาเรจ็ มาจาก ความผดิ พลาด คือ พรสวรรค์ ความไม่เอาไหนของตวั เราเอง ความลม้ เหลวคือ คาแนะนา หรือคาตชิ ม ข้อจากัดในชวี ิต จากผอู้ ืน่ คอื การใหร้ ้าย หรอื การประจานตนเอง

Growth mindset ของผูส้ อน - เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ตอบคาถาม หรือแสดงความคิดเห็นของตนเอง โดยไม่จาเป็นว่าคาตอบต้องถูกต้องเสมอไป เป็นเพียงการให้ผู้เรียนได้ใช้ ทกั ษะกระบวนการคิดวิเคราะห์ตามความเขา้ ใจของตนเอง - ช่ืนชมในความพยายามของผู้เรียน ยกตัวอย่าง ในคาบเรียนภาษาอังกฤษ คุณครูให้นักเรียนออกแบบผังเมืองของตนเอง ซ่ึงนักเรียนแต่ละคนได้แสดง ความคิดเห็นของตนเอง โดยครูได้พูดว่า “ครูชอบที่เด็ก ๆ แต่ละคนคิดได้ หลากหลายแบบ” หรือ “ความคิดน้ีสร้างสรรค์มากเลย” และในคาบสอบคาศัพท์ (เขียนตามคาบอก) นักเรียนได้คะแนนดีขึ้น ครูจึงชื่นชมว่า “การสอบวันน้ีเด็ก ๆ พยายามไดด้ มี าก มพี ัฒนาการข้ึนทกุ คนเลย”

แนวทางการเสริมสร้าง Growth mindset ในหอ้ งเรยี น 1 ให้ผู้เรียนเปน็ เจ้าของการเรียนรู้ของตนเอง เปิดโอกาสให้ผู้เรียนกาหนดเปา้ หมายและวธิ กี ารเรียนรู้ของตนเองใหม้ ากท่ีสดุ เทา่ ท่ีจะทาได้ 2 การออกแบบกจิ กรรมการเรยี นรู้ มุ่งเน้นให้ผู้เรียนใช้กระบวนการเรียนรู้แบบร่วมมือมากกว่าการแข่งขัน และการสะท้อนคิดให้ ผู้เรียนมองเห็นความก้าวหนา้ ในการเรียนรู้ของตนเองในแตล่ ะช่วงของกิจกรรมการเรียนรู้ 3 การจดั กระบวนการเรียนรู้ เปิดพื้นท่ีให้ผู้เรียนคิด และตัดสินใจเลือกใช้วิธีการเรียนรู้ของตนเอง ให้เวลาแก่ผู้เรียน ตลอดจนใหผ้ ู้เรียนได้แลกเปลย่ี นเรียนรู้เกีย่ วกบั กระบวนการเรียนรู้ การแก้ปัญหา การใช้ความพยายาม ของตนเองกับเพือ่ นร่วมชัน้ เรียนหรือบุคคลอ่ืน

แนวทางการเสริมสรา้ ง Growth mindset ในห้องเรยี น 4 การประเมนิ ผลการเรียนรู้ เปดิ โอกาสใหผ้ เู้ รียนประเมินตนเอง และนาไปสะท้อนคิดให้เห็นว่าความสาเร็จ ในการเรียนรู้ เกิดจากการมีกระบวนการเรียนรู้ท่ีดี ประกอบกับความมุ่งมั่น พยายาม หรือ นาข้อผดิ พลาดมาปรับปรุงและพัฒนากระบวนการเรียนรู้ของตนเองต่อไป 5 การให้ข้อมูลยอ้ นกลบั (Feedback) ผู้สอนไม่ใช้อคติส่วนตัวในการให้ข้อมูลย้อนกลับ แต่จะสอดแทรกการกระตุ้น แรงจูงใจของผู้เรียนให้เห็นว่าความสาเร็จเกิดมาจากการใช้ความมุ่งมั่น พยายาม อีกทั้ง แสดงความยินดีต่อความสาเร็จเล็ก ๆ นอ้ ย ๆ ของผ้เู รียน

03 กฎหมายท่ีเกี่ยวข้อง กับวิชาชพี ครู

มาตรฐานวิชาชพี ทางการศกึ ษา หมายถึง ข้อกาหนดเกย่ี วกบั คุณลักษณะ และคณุ ภาพทพ่ี งึ ประสงค์ในการประกอบวชิ าชีพ ทางการศกึ ษา ซึง่ ผู้ประกอบวชิ าชีพทางการศกึ ษา ต้องประพฤตปิ ฏบิ ตั ติ าม ประกอบดว้ ย มาตรฐาน ความรู้และประสบการณ์วชิ าชีพ มาตรฐานการ ปฏิบตั ิงานและมาตรฐานการปฏิบตั ิตน

ข้อบงั คับคุรสุ ภา ว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2562 1 มาตรฐานความรแู้ ละ ประสบการณว์ ิชาชพี ขอ้ กาหนดเก่ียวกับความรู้ และประสบการณ์ ในการจัดการเรียนรู้ หรือการจัดการศึกษา ซึ่งผู้ประกอบ วิชาชีพทางการศึกษา รวมท้ังผู้ต้องการประกอบวิชาชีพ ทางการศึกษา ต้องมีเพียงพอที่สามารถนาไปใช้ในการ ประกอบวิชาชพี ได้

2 มาตรฐานการปฏิบตั ิงาน 3 มาตรฐานการปฏิบตั ิตน ข้อกาหนดเกี่ยวกับคุณลักษณะ หรือการ จ ร ร ย า บ ร ร ณ ข อ ง วิ ช า ชี พ ที่ ก า ห น ด ข้ึ น เ ป็ น แสดง พฤติกรรมการปฏิบัติงานและการพัฒนางาน ซึ่ง แบบแผน ในการประพฤติปฏิบัติตน ซ่ึงผู้ประกอบวิชาชีพ ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา รวมท้ังผู้ต้องการ ทางการศึกษา รวมทั้งผู้ต้องการประกอบวิชาชีพทางการ ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องปฏิบัติตาม เพ่ือให้ ศึกษา ต้องยึดถือปฏิบัติตาม เพ่ือรักษาและส่งเสริมเกียรติ เกิดผลตามวัตถุประสงค์ และเป้าหมายการเรียนรู้ หรือ คุณช่ือเสียง และฐานะของผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา การจัดการศึกษา รวมทั้งต้องฝึกฝนพัฒนาตนเองให้มี ใหเ้ ป็นท่ีเชื่อถือศรัทธาแกผ่ ู้รับบริการและสังคม อันจะนามา ทกั ษะ หรือความชานาญสูงขนึ้ อยา่ งต่อเนอื่ ง ซ่งึ เกยี รติ และศักด์ศิ รีแห่งวชิ าชีพ

มาตรฐานความรแู้ ละ ประสบการณ์วิชาชีพ ผูป้ ระกอบวชิ าชพี ครู ต้องมีคณุ วฒุ ไิ มต่ า่ กวา่ ปริญญาตรีทางการศึกษา หรือเทียบเทา่ หรือมีคุณวุฒอิ น่ื ท่คี รุ ุสภารบั รอง โดยมมี าตรฐานความรู้และประสบการณ์วิชาชีพ ดงั ต่อไปนี้ มาตรฐานความรู้ ตอ้ งมคี วามรอบรู้และเข้าใจในเร่ือง ดงั ต่อไปนี้ 1. การเปล่ียนแปลงบริบทของโลก สงั คม และ 4. การวัด ประเมนิ ผลการเรียนรู้ และการวิจยั แนวคดิ ของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง เพื่อแก้ปัญหาและพฒั นาผู้เรียน 2. จติ วิทยา พัฒนาการ จิตวิทยาการศกึ ษา และ 5. การใชภ้ าษาไทย ภาษาอังกฤษเพื่อการสอื่ สาร จติ วิทยา ให้คาปรึกษา ในการวเิ คราะหแ์ ละพัฒนา และการใช้เทคโนโลยีดจิ ิทัลเพอ่ื การศกึ ษา ผู้เรียนตามศักยภาพ 6. การออกแบบและการดาเนนิ การเกยี่ วกับงาน 3. เนอ้ื หาวชิ าท่ีสอน หลักสูตร ศาสตร์การสอน ประกันคณุ ภาพการศึกษา และเทคโนโลยดี ิจทิ ัลในการจัดการเรียนรู้

มาตรฐานความรแู้ ละ ประสบการณว์ ิชาชพี มาตรฐานประสบการณว์ ิชาชีพ ผา่ นการปฏิบตั กิ ารสอนในสถานศกึ ษา ตามหลกั สูตรปริญญาทาง การศึกษาเป็นเวลาไมน่ อยกว่าหนึ่งปี และผ่านเกณฑ์การประเมิน ปฏบิ ตั กิ ารสอน ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเง่อื นไขท่ี คณะกรรมการครุ ุสภากาหนด ดงั ต่อไปนี้ 1. การฝกึ ปฏบิ ตั วิ ิชาชีพระหว่างเรียน 2. การปฏิบตั กิ ารสอนในสถานศึกษาใน สาขาวิชาเฉพาะ ท้งั น้ี รายละเอียดของ มาตรฐานความรู้และประสบการณ์วชิ าชีพให้ เป็นไปตามทีค่ ณะกรรมการคุรุสภากาหนด

มาตรฐานการปฏิบัติงาน ผ้ปู ระกอบวิชาชพี ครู ตอ้ งมมี าตรฐานการปฏบิ ัตงิ าน ดงั นี้ การปฏิบัติหนา้ ทีค่ รู 1. มุ่งม่ันพฒั นาผู้เรียน ดว้ ยจิตวิญญาณความเปน็ ครู 2. ประพฤตตนเปน็ แบบอยา่ งท่ดี ี มคี ณุ ธรรม จริยธรรม และมีความเป็นพลเมืองทเ่ี ข้มแขง็ 3. ส่งเสริมการเรียนรู้ เอาใจใส่ และยอมรับความแตกต่างของผูเ้ รียนแตล่ ะบคุ คล 4. สร้างแรงบันดาลใจผ้เู รียนให้เป็นผู้ใฝ่เรียนรู้ และผสู้ ร้างนวัตกรรม 5. พฒั นาตนเองใหม้ คี วามรอบรู้ ทันสมยั และทนั ตอ่ การเปล่ยี นแปลง

มาตรฐานการปฏิบตั ิงาน การจดั การเรียนรู้ 1. พัฒนาหลักสตู รสถานศึกษา การจัดการเรียนรู้ ส่ือ การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้ 2. บรู ณาการความรู้ และศาสตร์การสอน ในการวางแผนและจดั การเรียนรู้ทีส่ ามารถ พัฒนาผู้เรียนใหม้ ปี ญั ญารู้คดิ และมคี วามเป็นนวัตกรรรม 3. ดแู ล ช่วยเหลือ และพัฒนาผเู้ รียนเปน็ รายบุคคลตามศักยภาพ สามารถรายงานผลการ พัฒนาคณุ ภาพผ้เู รียนได้อย่างเปน็ ระบบ 4. จัดกจิ กรรมและสร้างบรรยากาศการเรียนรู้ ให้ผู้เรียนมีความสุขในการเรียน โดยตระหนกั ถึงสขุ ภาวะของผู้เรียน 5. วิจยั สร้างนวัตกรรม และประยกุ ต์ใช้เทคโนโลยี ดิจทิ ัลให้เกดิ ประโยชน์ต่อการเรียนรู้ ของผู้เรียน 6. ปฏบิ ตั ิงานร่วมกบั ผ้อู น่ื อย่างสร้างสรรค์และมสี ว่ นร่วมในกจิ กรรมการพัฒนาวิชาชพี

ความสมั พนั ธก์ บั ผปู้ กครองและชมุ ชน 1. ร่วมมอื กับผปู้ กครองในการพฒั นาและแกป้ ัญหา ผูเ้ รียนใหม้ ีคณุ ลักษณะท่ีพึงประสงค์ 2. สร้างเครือขา่ ยความร่วมมอื กับผู้ปกครองและ ชมุ ชน เพอ่ื สนบั สนนุ การเรียนรู้ทมี่ คี ุณภาพของผู้เรียน 3. ศกึ ษา เขา้ ถึงบริบทของชมุ ชน และสามารถอยู่ ร่วมกันบนพ้ืนฐานความแตกต่างทางวัฒนธรรม 4. ส่งเสริม อนรุ ักษ์วัฒนธรรม และภูมิปัญญาทอ้ งถนิ่

มาตรฐานการปฏิบัติตน ขอ้ บงั คบั ครุ ุสภาวา่ ด้วยจรรณยาบรรณวชิ าชพี พ.ศ. 2556 จรรณยาบรรณตอ่ ตนเอง มีวนิ ัยในตนเอง พฒั นาตนเองด้านวชิ าชพี บุคลกิ ภาพ และวสิ ยั ทศั น์ ใหท้ นั ต่อการ พัฒนาทางวทิ ยาการ เศรษฐกิจ สงั คมและการเมืองอย่เู สมอ จรรณยาบรรณตอ่ วิชาชีพ ผูป้ ระกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องรัก ศรัทธา ซื่อสตั ยส์ ุจริต และรับผดิ ชอบต่อวชิ าชีพ เปน็ สมาชิกที่ดีขององค์กรวชิ าชีพ

จรรณยาบรรณตอ่ ผ้รู ับบริการ - ผปู้ ระกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องรัก เมตตา เอาใจใส่ ชว่ ยเหลอื สง่ เสริม ใหก้ าลงั ใจแก่ศิษย์ และผ้รู ับบริการตาม บทบาทหน้าที่โดยเสมอหน้า – ผูป้ ระกอบวชิ าชพี ทางการศึกษา ต้องส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ ทกั ษะ และนสิ ัยทถ่ี กู ต้องดงี ามแก่ศิษยแ์ ละผรู้ ับบรกิ าร ตามหน้าท่ี อยา่ งเต็มความสามารถดว้ ยความบริสุทธ์ิใจ – ผูป้ ระกอบวชิ าชพี ทางการศึกษา ต้องประพฤติปฏิบตั ิตนเป็น แบบอยา่ งทด่ี ี ทั้งทางกาย วาจาและจติ ใจ – ผูป้ ระกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องไมก่ ระทาตนเปน็ ปฏปิ ักษ์ ต่อความเจริญ ทางกาย สติปญั ญา จติ ใจ อารมณแ์ ละสังคมของ ศษิ ย์และผูร้ ับบริการ – ผูป้ ระกอบวชิ าชพี ทางการศึกษา ต้องใหบ้ ริการดว้ ยความ จริงใจและเสมอภาค โดยไมเ่ รียกรับหรือยอมรับผลประโยชนจ์ าก การใชต้ าแหนง่ หนา้ ท่โี ดยมชิ อบ

จรรณยาบรรณตอ่ ผรู้ ่วมประกอบวิชาชีพ ผูป้ ระกอบวชิ าชพี ทางการศึกษาพึงชว่ ยเหลือเก้อื กลู ซึ่งกนั และกนั อย่างสร้างสรรค์ โดยยึดม่ันในระบบคุณธรรม สร้าง ความสามคั คใี นหมู่คณะ จรรณยาบรรณตอ่ สังคม ผู้ประกอบวชิ าชีพทางการศึกษา พงึ ประพฤตปิ ฏิบัติ ตน เป็นผู้นาในการอนุรักษ์ และพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม ศาสนา ศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญา ส่ิงแวดล้อมรักษาผลประโยชน์ ของ ส่วนรวมและยึดม่ันในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริย์ทรงเปน็ ประมุข

วิเคราะห์พฤติกรรมครูตาม จรรณยาบรรณวิชาชีพ 1 จรรณยาบรรณต่อตนเอง 2 จรรณยาบรรณต่อวิชาชพี - มีความรับผิดชอบ มวี นิ ยั ในตนเอง - อทุ ศิ ตนในการสอนเพอ่ื สง่ เสรมิ ให้ ตรงตอ่ เวลา บุคลิกภาพดี พูดจาสุภาพ นกั เรียนทกุ คนได้รบั ความรู้ในทกุ ด้าน มีเหตุผลและมคี วามเปน็ ประชาธปิ ไตย - ต้งั ใจปฏิบัตหิ นา้ ทขี่ องตน มีความ - มีการพัฒนาตนเอง แสวงหาความรู้ มุ่งมนั่ และทุ่มเทด้วยจติ และวิญญาณใน ใหม่ ๆ อย่างตอ่ เน่ืองและสม่าเสมอ การทางาน - ประพฤตแิ ละปฏิบัติตนอย่างเหมาะสม - มีความภาคภูมิใจในความเปน็ ครู เพื่อเปน็ แบบอยา่ งทด่ี ใี หแ้ กน่ ักเรียน - สามารถปฏบิ ตั ิงานตามหนา้ ท่ีทไี่ ด้รับ มอบหมายได้สาเร็จลลุ ว่ งตามเปา้ หมาย

วิเคราะห์พฤติกรรมครูตาม จรรณยาบรรณวิชาชีพ 3 จรรณยาบรรณต่อผรู้ บั บริการ - ใหค้ าปรึกษาและช่วยเหลอื นักเรียนดว้ ยความรักและความเมตตา อย่างเต็มกาลงั ความสามารถ - ดแู ลเอาใจใส่ คอยอบรมความประพฤติ และปลูกฝ่ งั คา่ นยิ มอันดีงาม ใหแ้ กน่ กั เรียน - เสริมสร้างความภาคภูมใิ จให้แก่นักเรียนดว้ ยการรับฟงั ความ คิดเห็น ยกยอ่ ง ชมเชย และให้กาลงั ใจอยา่ งกลั ยาณมติ ร - สง่ เสริมให้นักเรียนสามารถแสวงหาความรูไ้ ด้ด้วยตนเองจาก สอ่ื อุปกรณ์ และแหลง่ เรียนรู้อย่างหลากหลาย - ใชห้ ลกั การและเหตผุ ลในการตัดสินใจและแก้ปัญหา และปฏบิ ตั ิตาม ความคดิ เหน็ ทีม่ เี หตผุ ลโดยนกึ ถึงประโยชนข์ องสว่ นรวมเป็นหลกั

วิเคราะห์พฤติกรรมครตู าม จรรณยาบรรณวิชาชพี 4 จรรณยาบรรณต่อผู้รว่ ม 5 จรรณยาบรรณตอ่ สงั คม ประกอบวิชาชพี - จดั กจิ กรรมส่งเสริมให้นกั เรียนเกดิ การเรียนรู้และสามารถดาเนนิ ชีวิต - แสดงออกถงึ ความจริงใจ ตามหลกั เศรษฐกิจพอเพยี ง เอื้อเฟ้ อื เผือ่ แผ่ มีนา้ ใจกับผอู้ นื่ - เปน็ ผู้มีคณุ ธรรม จริยธรรม และ - คอยใหค้ วามชว่ ยเหลอื ผอู้ ่นื ใน จรรยาบรรณในวิชาชีพ เพื่อเป็น ยามทผ่ี อู้ ืน่ เดอื ดร้อน แบบอย่างทีด่ ใี หแ้ ก่นักเรียนและสังคม - มคี วามสามคั คีในหมู่คณะ - เปน็ กัลยาณมิตรทด่ี ีกับผู้ร่วม ประกอบวิชาชีพอยู่เสมอ

THANK YOU


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook