Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore งานebookครูณัฐรินีย์แก้แล้ว

งานebookครูณัฐรินีย์แก้แล้ว

Published by pakteematadtasoy, 2021-01-28 19:38:36

Description: งานebookครูณัฐรินีย์แก้แล้ว

Search

Read the Text Version

เร่ืองระบบเศรษฐกจิ และหน่วยเศรษฐกจิ ผู้จดั ทำ น.ส พลอยชมพู สวสั ดี เลขท2ี่ 1 น.ส พญิ ำดำ สร้อยพำน เลขที่23 น.ส วลิ ำสินี ทดั ธสอย เลขท2ี่ 5 น.ส สุกฤตตำ ปลอดประเสริฐ เลขท2ี่ 8 น.ส สุพชิ ญำ สำยจนั ทร์ เลขท2่ี 9 น.ส อนุสรำ เพชร แก้ว เลขท3ี่ 0 ช้ันมธั ยมศึกษำปี ท่ี4/6 เสนอ คุณครู ณฐั รินีย์ สมนึก

คำนำ หนังสื ออิเล็กทรอนิกส์ (E-BOOK)เล่ มนี้จัดทำขึ้นเพื่อผู้อ่ ำนได้ ทรำบข้ อมมูล เก่ียวกบั ระบบเศรษฐกิจและหน่วยเศรษฐกิจเช่น ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม ระบบเศรษฐกจิ แบบวำงแผนจำกส่วนกลำง ระบบเศรษฐกิจแบบผสม และอื่นๆ หวงั ว่ำผู้อ่ำนจะได้รับประโยชน์จำกหนังสืออเิ ลก็ ทรอนิกส์ไม่มำกน็ ้อย คณะผู้จดั ทำ 23/1/2564

ระบบเศรษฐกจิ แบบวำงแผนจำกส่วนกลำง 1-4 5-7 ระบบเศรษฐกจิ แบบผสม 8-11 หน่วยเศรษฐกจิ 12-14 ควำมสัมพนั ธ์ระหว่ำงหน่วยเศรษฐกิจ 15-19 บรรณำนุกรม 20

1 ระบบเศรษฐกจิ แบบทุนนิยม

2 แบบของทุนนิยมรวมถึงทุนนิยมปล่อยใหท้ ำไป ทุนนิยมแบบสวสั ดิกำรและทุนนิยมโดยรัฐ โดยแต่ละแบบเนน้ ระดบั กำร พ่ึงพำตลำด หน่วยงำนธุรกิจท่ีรัฐเป็นเจำ้ ของและกำรรวมนโยบำยทำงสงั คมแตกต่ำงกนั กำรที่แต่ละตลำดมีควำมเป็น อิสระมำกเพียงไร ตลอดจนกฎนิยำมกรรมสิทธ์ิส่วนบุคคลมีขอบเขตเป็นอยำ่ งไรน้นั เป็นเรื่องของกำรเมืองและนโยบำย หลำยรัฐใชร้ ะบบที่เรียกวำ่ เศรษฐกิจแบบผสมทุนนิยม ซ่ึงหมำยควำมถึงกำรผสมระหวำ่ งส่วนที่มีกำรวำงแผนจำก ส่วนกลำงและขบั เคลื่อนโดยตลำด ทุนนิยมมีอยภู่ ำยใตร้ ะบอบกำรปกครองหลำยระบอบ ในหลำยเวลำ สถำนท่ี และวฒั นธรรม หลงั ระบบฟิ วดลั เสื่อมลง ทุนนิยมไดก้ ลำยมำเป็นระบบเศรษฐกิจหลกั ในโลกตะวนั ตก ต่อมำ ในคริสตศ์ ตวรรษท่ี 20 ทุนนิยมไดเ้ อำชนะกำรทำ้ ทำย จำกเศรษฐกิจที่มีกำรวำงแผนจำกส่วนกลำงและปัจจุบนั เป็นระบบเด่นทวั่ โลก โดยมีเศรษฐกิจแบบผสมเป็นรูปแบบหลกั ในประเทศอุตสำหกรรมตะวนั ตกมุมมองทำงเศรษฐกิจต่ำง ๆ เนน้ ส่วนหน่ึงท่ีเฉพำะของทุนนิยมในนิยำมท่ีให้ ควำมสำคญั นกั เศรษฐศำสตร์ปล่อยใหท้ ำไปและเสรีนิยมเนน้ ระดบั ซ่ึงรัฐบำลไม่ควบคุมตลำดและควำมสำคญั ของ กรรมสิทธ์ิในทรัพยส์ ิน นกั เศรษฐศำสตร์แบบคลำสสิกใหม่และนกั มหเศรษฐศำสตร์แบบเคนส์เนน้ ควำมจำเป็นที่ตอ้ งมี กำรกำกบั ของรัฐบำลเพื่อป้องกนั กำรผกู ขำดและเพอื่ ลดผลกระทบของวฏั จกั รรุ่งเรืองและตกต่ำ (boom and bust) นกั เศรษฐศำสตร์แบบมำกซ์เนน้ บทบำทของกำรสะสมทุน กำรแสวงหำประโยชนแ์ ละค่ำจำ้ งแรงงำน นกั เศรษฐศำสตร์ กำรเมืองส่วนใหญ่เนน้ กรรมสิทธ์ิส่วนบุคคลเช่นกนั นอกเหนือไปจำกควำมสมั พนั ธ์ของอำนำจ คำ่ จำ้ งแรงงำน ชนช้นั และเอกลกั ษณ์ของทุนนิยมในฐำนะกำรสร้ำงประวตั ิศำสตร์

3 ประวตั ขิ องทุนนิยม ทฤษฎีเกี่ยวกบั ทุนนิยมถูกพฒั นำข้ึนในยคุ คริสตศ์ ตวรรษท่ี 18, 19 และ 20 ทุนนิยมคือระบบที่ใหค้ ุณค่ำกบั กำรที่ รำคำถูกตดั สินในตลำดเสรี นน่ั คือโดยกำรคำ้ ท่ีเป็นผลมำจำกกำรตกลงดว้ ยควำมสมคั รใจของผซู้ ้ือและผขู้ ำย ควำมคิดเชิงตลำด จิต วญิ ญำณของผปู้ ระกอบกำร และควำมเขำ้ ใจเก่ียวกบั ทรัพยส์ ินและสัญญำท่ีชดั เจนและบงั คบั ไดต้ ำมกฎหมำย ทฤษฎีเหล่ำน้ีโดยทวั่ ไป จะพยำยำมอธิบำยวำ่ ทำไมทุนนิยมระหวำ่ งช่วงคริสตศ์ ตวรรษท่ี 16 ถึง 19 ท่ีสำคญั เช่น สิทธิของบุคคลหรือกลุ่มบุคคลที่จะสำมำรถทำ กำรไดแ้ บบ \"นิติบุคคล\" (หรือบรรษทั ) ในกำรซ้ือและขำยสินทรัพย์ และที่ดิน, แรงงำน, เงินตรำ ในตลำดเสรี (ดู กำรคำ้ ), และสำมำรถ วำงใจไดว้ ำ่ รัฐจะสำมำรถบงั คบั ใหเ้ กิดกำรเคำรพสิทธิทรัพยส์ ินส่วนบุคคล แทนท่ีจะตอ้ งพ่งึ กำรคุม้ ครองแบบศกั ดินำระบบทุนนิยมกบั ปัญหำควำมเหล่ือมล้ำเป็นควำมทำ้ ทำยของกำรดำเนินนโยบำยเศรษฐกิจมำตลอด เพรำะสำมำรถส่งผลกระทบกวำ้ งขวำง ท้งั ต่อคนใน สังคมและควำมยง่ั ยนื ของระบบทุนนิยม ปัญหำคือระบบทุนนิยมสำมำรถสร้ำงกำรเติบโตของเศรษฐกิจไดด้ ี แต่เรื่องกำรกระจำยผลที่ เกิดจำกกำรเติบโต ในแง่ของรำยไดท้ ่ีเกิดข้ึนใหก้ บั กลุ่มคนต่ำงๆ ในเศรษฐกิจน้นั ทำไดไ้ ม่ดี คือ คนส่วนนอ้ ยไดป้ ระโยชนม์ ำกจำกกำร เติบโตของเศรษฐกิจ ขณะที่คนส่วนใหญ่ไม่ไดป้ ระโยชนอ์ ยำ่ งที่ควร เกิดปัญหำควำมเหลื่อมล้ำที่คนจำนวนนอ้ ยร่ำรวยมำก แต่คนส่วน ใหญ่มีแค่พออยพู่ อกินหรือไม่กย็ ำกจน และยงิ่ เศรษฐกิจเติบโต ช่องวำ่ งระหวำ่ งคนรวยกบั คนจนกย็ งิ่ มีมำกข้ึน หมำยถึงปัญหำควำม เหล่ือมล้ำรุนแรงข้ึน กรณีของประเทศไทย ซ่ึงระบบเศรษฐกิจทำงำนอยภู่ ำยใตร้ ะบบทุนนิยม ประเทศเรำกม็ ีปัญหำควำมเหล่ือมล้ำมำก เป็นอนั ดบั ตน้ ๆ ของโลก เป็นปัญหำสำคญั ของสงั คม ซ่ึงถำ้ ไม่พยำยำมแกไ้ ข ควำมรุนแรงของปัญหำอำจเป็นควำมเสี่ยงต่อควำม สมำนฉนั ท์

4 ข้อดขี องระบบเศรษฐกจิ แบบทุนนิยม 1.เอกชนมีเสรีภำพในกำรเลือกต้งั เลือกตดั สินใจในกำรดำเนินกิจกรรมทำงเศรษฐกิจ 2.กำไรและระบบกรรมสิทธ์ิในทรัพยส์ ินเป็นแรงจูงใจในกำรทำงำนทำใหเ้ ป็นไปอยำ่ งมี ประสิทธิภำพ 3.สินคำ้ มีคุณภำพและมีมำตรฐำน ข้อเสียของระบบเศรษฐกจิ แบบทุนนิยม 1.ก่อใหเ้ กิดปัญหำกำรเหล่ือมล้ำอนั เนื่องมำจำกควำมสำมำรถท่ีแตกต่ำงกนั ในแต่ละบุคคลโดย พ้ืนฐำนทำใหก้ ำรหำรำยไดไ้ ม่เท่ำกนั 2.ในหลำยๆกรณีกลไกทำงกำรตลำดยงั ไม่ใช่เครื่องมือท่ีมีประสิทธิภำพเพยี งพอสำหรับกำรจดั สรร ทรัพยำกรในระบบเศรษฐกิจ 3.กำรใชร้ ะบบกำรแข่งขนั หรือกลไกรำคำอำจทำใหเ้ กิดกำรใชท้ รัพยำกรทำงเศรษฐกิจอยำ่ งสิ้นเปลือง

5 ระบบเศรษฐกจิ แบบส่วนกลำง

6 ระบบเศรษฐกิจแบบส่วนกลำง เป็นระบบเศรษฐกิจที่รัฐเป็นเจำ้ ของปัจจยั กำรผลิต วำงแผนและควบคุมกำรผลิตบำงประเภท โดยเฉพำะกำรผลิตที่เป็นผลประโยชนร์ ่วมกนั ของประชำชน เช่น กำรสำธำรณูปโภค ต่ำงๆ สถำบนั กำรเงิน ป่ ำไม้ เอกชนถูกจำกดั เสรีภำพในกิจกรรมทำงเศรษฐกิจโดยเฉพำะส่วนท่ีเป็นผลประโยชนข์ องส่วนรวม ดำเนินกำรไดเ้ พียงอุตสำหกรรมและเกษตรกรรม ขนำดยอ่ ม ท้งั น้ีเพอื่ แกไ้ ขปัญหำควำมแตกต่ำงดำ้ นฐำนะระหวำ่ งคนรวยและคนจน ลกั ษณะสำคญั ของระบบเศรษฐกิจแบบสงั คมนิยม ไดแ้ ก่ - รัฐคุมกำรดำเนินกิจกรรมทำงเศรษฐกิจทุกรูปแบบ - ไม่มีกำรแข่งขนั เกิดข้ึน -รัฐสง่ั กำรผลิตคนเดียว -มีกำรวำงแผนจำกส่วนกลำง ระบบเศรษฐกิจแบบส่วนกลำง เป็นระบบเศรษฐกิจที่รัฐเขำ้ ไปควบคุมกำรดำเนินกิจกรรมทำงเศรษฐกิจ โดยมีจุดมุ่งหมำยใหเ้ กิดควำม ยตุ ิธรรมในกำรกระจำยผลผลิตแก่ประชำชน นอกจำกน้ีรัฐบำลยงั เป็นผตู้ ดั สินใจในกำรแกป้ ัญหำพ้นื ฐำนทำงเศรษฐกิจ โดยมีกำรวำง แผนกำรดำเนินงำนทำงเศรษฐกิจจำกส่วนกลำง ในระบบเศรษฐกิจแบบน้ีรัฐบำลจะเป็นเจำ้ ของปัจจยั กำรผลิตส่วนใหญ่ แต่ยงั คงให้ เอกชนมีสิทธิในกำรถือครองทรัพยส์ ินส่วนตวั อำทิ ที่พกั อำศยั

หลกั กำรสำคญั ของระบบเศรษฐกิจแบบส่วนกลำง หรือระบบเศรษฐกิจแบบวำงแผน มีหลกั ท่ีสำคญั 7 2 ประกำร คือ 1.กรรมสิทธ์ิในปัจจยั กำรผลิตเป็นขององคก์ ำรหรือหน่วยงำนสำธำรณะ (คือรัฐบำลและองคก์ ำร บริหำรต่ำงๆ) ท้งั น้ีเพ่ือใหก้ ิจกรรมผลิตสำคญั ท่ีมีขนำดใหญ่อยภู่ ำยใตก้ ำรควบคุมดำเนินกำรใน วถิ ีทำงที่จะยงั ผลประโยชนแ์ ก่ส่วนรวม 1กรรมสิทธ์ิในปัจจยั กำรผลิตเป็นขององคก์ ำรหรือหน่วยงำนสำธำรณะ (คือรัฐบำลและองคก์ ำร บริหำรต่ำงๆ) ท้งั น้ีเพื่อใหก้ ิจกรรมผลิตสำคญั ท่ีมีขนำดใหญอ่ ยภู่ ำยใตก้ ำรควบคุมดำเนินกำรใน วถิ ีทำงท่ีจะยงั ผลประโยชน์แก่ส่วนรวม 2.รัฐเป็นผดู้ ำเนินกำรกิจกรรมทำงเศรษฐกิจท่ีสำคญั ไดแ้ ก่ กำรดำเนินกำรเกี่ยวกบั ปัญหำพ้นื ฐำนทำง เศรษฐกิจของชำติท้งั ดำ้ นกำรผลิตและกำรจำหน่ำย ท้งั ในระดบั นโยบำยและกำรปฏิบตั ิเป็นงำน หนำ้ ที่ของรัฐ โดยมีเป้ำหมำยใหบ้ รรลุแผนเศรษฐกิจรวมของชำติ เพ่ือยกมำตรฐำนควำมเป็นอยขู่ อง ประชำชนใหด้ ีข้ึน

8 ระบบเศรษฐกจิ แบบผสม

9 เศรษฐกจิ แบบผสม เป็นระบบเศรษฐกิจซ่ึงท้งั ภำคเอกชนและรัฐช้ีนำเศรษฐกิจ ซ่ึงสะทอ้ นลกั ษณะของท้งั เศรษฐกิจแบบ ตลำดและเศรษฐกิจท่ีมีกำรวำงแผน เศรษฐกิจแบบผสมส่วนมำกอำจอธิบำยได้ว่ำเป็ นเศรษฐกิจแบบตลำดที่มีกำร ควบคุมดูแลอยำ่ งเขม้ แขง็ และกำรจดั หำสินคำ้ สำธำรณะของรัฐบำล เศรษฐกิจแบบผสมบำงแห่งยงั มีลกั ษณะรัฐวิสำหกิจ โดยท่ัวไป เศรษฐกิจแบบผสมมีลักษณะคือ เอกชนเป็ นเจ้ำของปัจจัยกำรผลิต ควำมเด่นของตลำดสำหรับกำร ประสำนงำนเศรษฐกิจ และวิสำหกิจแสวงผลกำไรและกำรสะสมทุนที่เหลือเป็ นปัจจยั ขบั หลกั มูลเบ้ืองหลงั กิจกรรม เศรษฐกิจ รัฐบำลจะถืออิทธิพลเศรษฐกิจมหภำคโดยออ้ มเหนือลำวเศรษฐกิจผ่ำนนโยบำยกำรคลงั และกำรเงินซ่ึงออกแบบมำเพื่อ รับมือภำวะเศรษฐกิจตกต่ำและแนวโนม้ ของทุนนิยมต่อวิกฤตกำรณ์กำรเงินและกำรว่ำงงำน ร่วมกบั มีบทบำทในกำร แทรกแซงซ่ึงสนับสนุนสวสั ดิกำรสังคม[2] ซ่ึงไม่เหมือนกบั เศรษฐกิจแบบตลำดเสรี ต่อมำ เศรษฐกิจแบบผสมบำง ประเทศไดข้ ยำยขอบเขตให้รวมบทบำทสำหรับกำรวำงแผนเศรษฐกิจช้ีนำและหรือภำควิสำหกิจสำธำรณะขนำดใหญ่ ดว้ ยไม่มีนิยำมระบบเศรษฐกิจแบบผสมอยำ่ งเดียว โดยนิยำมหลำกหลำยว่ำเป็นกำรผสมตลำดเสรีกบั กำรแทรกแซงของ รัฐ หรือกำรผสมวิสำหกิจสำธำรณะและเอกชน หรือเป็นกำรผสมระหว่ำงตลำดและกำรวำงแผนเศรษฐกิจ จุดแขง็ หรือ จุดอ่อนเปรียบเทียบของแต่ละส่วนในเศรษฐกิจของชำติอำจต่ำงกนั ไดม้ ำกแลว้ แต่ประเทศ

ลกั ษณะที่สำคญั ของระบบเศรษฐกิจแบบผสม มีดงั น้ี 10 เอกชนและรัฐบำลมีส่วนร่วมกนั ในกำรวำงแผนเศรษฐกิจของประเทศวำ่ จะเป็นกำรผลิตสินคำ้ และบริกำรอะไร ปริมำณ มำกนอ้ ยเท่ำใด และกำรกระจำยสินคำ้ และบริกำรที่ผลิตไดไ้ ปสู่ใครอยำ่ งไรบำ้ ง ท้งั น้ีต้งั อยบู่ นพ้ืนฐำนของกำรร่วมมือกนั ท้งั ภำคเอกชนและภำครัฐบำล ท้งั เอกชนและรัฐบำลสำมำรถจะเป็นเจำ้ ของปัจจยั ในกำรผลิตสินคำ้ และบริกำรอยำ่ งเสรี แต่อำจมีกำรจำกดั สิทธิเสรีภำพ ในกำรผลิตสินคำ้ และบริกำรบำงประเภทท่ีรัฐบำลพจิ ำรณำแลว้ เห็นวำ่ หำกปล่อยใหเ้ อกชนดำเนินงำนอำจไม่ปลอดภยั ต่อ ควำมมนั่ คงของชำติ หรือเอกชนอยใู่ นฐำนะท่ีเหมำะสมซ่ึงจะดำเนินงำนไดเ้ พรำะอำจจะขำดแคลนเงินทุน ขำดเจำ้ หนำ้ ที่ ผเู้ ชี่ยวชำญ ฯลฯ กิจกรรมดงั กล่ำวน้ี เช่น กิจกรรมสำธำรณูปโภค สำธำรณูปกำร กำรรักษำควำมปลอดภยั กำรป้องกนั ประเทศ เป็นตน้ กลไกรำคำยงั เป็นส่ิงที่สำคญั ในกำรกำหนดรำคำสินคำ้ และบริกำรต่ำงๆ ในระบบเศรษฐกิจแบบผสมน้ี แต่รัฐบำลยงั มี อำนำจในกำรเขำ้ ไปแทรกแซงภำคเอกชนเพื่อกำหนดรำคำสินคำ้ ใหม้ ีเสถียรภำพและเกิดควำมเป็นธรรมท้งั ผผู้ ลิตและ ผบู้ ริโภค รัฐจะคอยใหค้ วำมคุม้ ครองและควำมช่วยเหลือ ตลอดจนอำนวยควำมสะดวกแก่ผปู้ ระกอบกำรในภำคเอกชนดว้ ยกำร สร้ำงพ้ืนฐำนทำงดำ้ นเศรษฐกิจ เช่น กำรสร้ำงถนน สะพำน สนำมบิน ฯลฯ ไวค้ อยอำนวยประโยชนต์ ่อเอกชนในกำร ดำเนินธุรกิจ

ขอ้ ดีของระบบเศรษฐกิจแบบผสม 11 เป็นการยกฐานะของคนในสงั คมใหเ้ ท่าเทียมกนั และเป็นการแลกเปล่ียนแปลงจากทนุ นิยมเป็นแบบสงั คมนิยม โดยสนั ติ วิธีทางรฐั สภารายไดถ้ กู นามาเฉล่ยี ใหผ้ ทู้ างานตามกาลงั งานท่ีไดก้ ระทา มใิ ช่ตามความจาเป็นแรงจงู ใจในการทางานจึง ดีกว่าเอกชนยังมีบทบาททางเศรษฐกิจ มีการแข่งขัน สินค้าจึงมีคุณภาพสูงผู้บริโภคมีโอกาสเลือกสิ นค้าได้มาก พอสมควรความไมเ่ ท่าเทียมในรายได้ และทรพั ยส์ นิ มนี อ้ ย ขอ้ เสียระบบเศรษฐกิจแบบผสม ระบบน้ีมีกำรวำงแผนเพียงบำงส่วน จึงอำจจะไม่มีประสิทธิภำพเพียงพอในกรณีท่ีตอ้ งกำรเร่งรัดพฒั นำเศรษฐกิจอย่ำง รวดเร็ว เช่น ยำมสงครำมกำรควบคุมกิจกรรมทำงเศรษฐกิจบำงส่วนโดยรัฐ เป็ นเครื่องกีดขวำงเสรีภำพของเอกชนกำร วำงแผนจำกส่วนกลำงเพื่อประสำนประโยชน์ของรัฐบำลเขำ้ กบั เอกชนใหเ้ กิดผลดีแก่ส่วนรวมอยำ่ งแทจ้ ริงทำไดย้ ำกนกั ธุรกิจขำดควำมมน่ั ใจในกำรลงทุน เพรำะไม่แน่ใจว่ำในอนำคตกิจกรรมของตนจะถูกโอนเป็ นของรัฐหรือไม่กำร บริหำรงำนอุตสำหกรรมของรัฐมีประสิทธิภำพไม่ดีไปกวำ่ สมยั ที่อยใู่ นมือของเอกชน

12

13 หน่วยเศรษฐกจิ Economic unit หน่วยเศรษฐกิจ หมำยถึง บุคคลหรือองคก์ รต่ำง ๆ ซ่ึงเป็นผปู้ ระกอบกิจกรรมทำงเศรษฐกิจและกิจกรรมอื่น ๆ ที่เก่ียวขอ้ งกบั กำรดำเนิน ชีวติ ทำงเศรษฐกิจ หน่วยเศรษฐกิจประกอบดว้ ย 3 กลุ่ม ใหญ่ ๆ แต่ละหน่วยมีองคป์ ระกอบ หนำ้ ที่ และเป้ำหมำย แตกต่ำงกนั ดงั น้ี หน่วยครัวเรือน Household unit หน่วยครัวเรือน หมำยถึง หน่วยเศรษฐกิจที่ประกอบดว้ บุคคลต้งั แต่หน่ึงคนข้ึนไป มีกำรตดั สินใจในกำรใชท้ รัพยำกรธรรมชำติ หรือ ปัจจยั ทำงดำ้ นกำรเงิน เพื่อใหไ้ ดป้ ระโยชนแ์ ก่ตนหรือกลุ่มตนมำกที่สุด มีบทบำทในกำรดำเนินกิจกรรมทำงเศรษฐกิจเบ้ืองตน้ เป็นท้งั ผผู้ ลิตและผบู้ ริโภค ครัวเรือนเป็นผรู้ ิเร่ิมกิจกรรมกำรผลิตและกำรบริโภค โดยผลิตสิ่งท่ีสมำชิกของครอบครัวมีควำมจำเป็นและมีควำม ตอ้ งกำรที่จะบริโภคหน่วยครัวเรือนอำจเป็นเจำ้ ของปัจจยั กำรผลิต คือ ผูม้ ีปัจจยั กำรผลิตชนิดต่ำง ๆ ไดแ้ ก่ ที่ดิน แรงงำน ทุน และกำร ประกอบกำร ซ่ึงอำจมีเพียงชนิดเดียวหรือหลำยชนิดกต็ ำม เจำ้ ของปัจจยั จะนำปัจจยั กำรผลิตท่ีตนมีอยใู่ หผ้ ูผ้ ลิตเพ่ือไปผลิตเป็นสินคำ้ หรือบริกำร โดยไดร้ ับค่ำตอบแทนในรูป ค่ำเช่ำ ค่ำจำ้ ง ดอกเบ้ีย หรือ กำไรเปา้ หมายของเจา้ ของปัจจยั การผลิต คือ รายไดส้ ทุ ธิสงู สดุ หรือ หน่วยครวั เรือน ทาหนา้ ท่ีเป็นผูบ้ ริโภค คือ ผูใ้ ชป้ ระโยชนจ์ ากสินคา้ หรือบริการเพ่ือตอบสนองความต้องการ เป้าหมายของ ผบู้ รโิ ภค คือ ความพงึ พอใจสงู สดุ สมาชิกของหน่วยครวั เรอื น อาจทาหนา้ ท่ีทงั้ เจา้ ของปัจจยั การผลิต และเป็นผบู้ รโิ ภคไปพรอ้ ม ๆ กนั อย่างไรก็ตามหนา้ ท่ีของหน่วยครวั เรือนจะตอ้ งพยายามหารายไดม้ าไวส้ าหรบั จบั จ่ายใชส้ อย ส่วนแหล่งท่ีมาของรายไดข้ ึน้ อย่กู ับ ลกั ษณะของกิจกรรมทางเศรษฐกิจ

หน่วยธุรกจิ Business Firm unit 14 หน่วยธุรกิจ Business Firm unit คือ บุคคลหรือองคก์ ำรท่ีมีบทบำทในกำรผลิตหรือบริกำรสินคำ้ เพอ่ื แสวงหำผลกำไรและสนองควำม ตอ้ งกำรและควำมพึงพอใจของผคู้ นในสงั คม หรือ บุคคลหรือกลุ่มบุคคลที่ทำหนำ้ ท่ีเอำปัจจยั กำรผลิตต่ำง ๆ มำผสมผสำนผลิตเป็น สินคำ้ หรือบริกำรแลว้ นำไปจำหน่ำยจ่ำยแจกหรือขำยใหแ้ ก่ผบู้ ริโภค หน่วยธุรกิจประกอบดว้ ยสมำชิก 2 กลุ่มใหญ่ ๆ คือ ผผู้ ลิตและ ผขู้ ำย ซ่ึงหน่วยธุรกิจบำงหน่วย ทำหนำ้ ท่ีท้งั ผผู้ ลิตและผขู้ ำย หรือทำหนำ้ ที่เพยี งอยำ่ งเดียว เป้ำหมำยของผผู้ ลิต คือ แสวงหำกำไรสูงสุด หรือมีส่วนแบ่งกำรตลำดมำกที่สุดในธุรกิจน้นั หรือกำรมีช่ือเสียงเป็นที่ยอมรับ หรือธุรกิจมีอตั รำกำรเจริญเติบโตอยใู่ นอตั รำสูงข้ึนเรื่อย ๆ เป็นตน้ หน่วยรัฐบำล Government unit หน่วยรัฐบำล Government Agency หมำยถึง หน่วยงำนของรัฐ หรือ ส่วนรำชกำรต่ำง ๆ ท่ีจดั ต้งั เพ่ือดำเนินกำรของรัฐบำล มีบทบำท สำคญั ในกำรดำเนินกิจกรรมทำงเศรษฐกิจของแต่ละประเทศ โดยมุ่งประโยชน์ กำรกินดีอยดู่ ี ของประชำชนเป็นเป้ำหมำยหลกั มีหนำ้ ที่ เชื่อมควำมสัมพนั ธ์กบั หน่วยอ่ืน ๆ ในระบบเศรษฐกิจ ซ่ึงบทบำท หนำ้ ท่ี ควำมสัมพนั ธ์ดงั กล่ำว จะมีมำกนอ้ ยเพียงใดข้ึนอยกู่ บั ระบบ เศรษฐกิจ ถำ้ เป็นระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม บทบำทหนำ้ ที่ของหน่วยรัฐบำลโดยเฉพำะทำงดำ้ นเศรษฐกิจจะมีค่อนขำ้ งจำกดั แต่ถำ้ เป็นระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยมหรือแบบคอมมิวนิสต์ รัฐบำลจะมีบทบำทค่อนขำ้ งมำก อย่ำงไรกต็ ำมบทบำทหน้ำท่ีของหน่วย รัฐบำล พอสรุปได้ดังน้ี1.เป็ นท้ังผูผ้ ลิต ผูบ้ ริโภค และเจ้ำของปัจจยั กำรผลิตในระบบเศรษฐกิจ 2.อำนวยควำมสะดวกในด้ำน ปัจจยั พ้นื ฐำน เช่น บริกำรดำ้ นสำธำรณูปโภค (บริกำรไฟฟ้ำ น้ำประปำ โทรศพั ท์ ฯลฯ) และสำธำรณูปกำร (กำรซ่อม สร้ำง บำรุงถนน ฯลฯ) ใหแ้ ก่ประชำชน 3.จดั หำรำยไดโ้ ดยกำรเกบ็ ภำษจี ำกประชำชน เพื่อไวใ้ ชจ้ ่ำยในกำรบริหำรและพฒั นำประเทศ 4.รักษำควำมสงบ เรียบร้อยของบำ้ นเมือง ระงบั และตดั สินขอ้ พิพำทและป้องกนั ประเทศ

15

16 ควำมสัมพนั ธ์ของหน่วยเศรษฐกจิ ในทำงทฤษฎี บุคคลในระบบเศรษฐกิจมีหนำ้ ที่เป็นท้งั ผผู้ ลิต ผผู้ ลิตโภค และ เป็น เจำ้ ของปัจจยั กำรผลิต แต่ในทำงปฏิบตั ิกำรแบ่งหนำ้ ท่ีแบบน้ีจะแยกจำกกนั โดย เดด็ ขำดไดย้ ำก เพรำะบุคคลคนเดียวอำจทำหนำ้ ท่ีเป็นท้งั ผผู้ ลิต ผบู้ ริโภค และ เป็น เจำ้ ของปัจจยั กำรผลิตร่วมกนั ไปดว้ ย ซ่ึงหนำ้ ที่ตำ่ งๆ ดงั กลำ่ วมีควำมสมั พนั ธ์กนั เป็น วงจรเศรษฐกิจ ดงั น้ี 1. ควำมสมั พนั ธ์ของหน่วยเศรษฐกิจอยำ่ งง่ำยแบบไม่มีรัฐบำล 2. ควำมสัมพนั ธ์ของหน่วยเศรษฐกิจแบบปิ ดมีรัฐบำล 3. ควำมสัมพนั ธ์ของหน่วยเศรษฐกิจแบบเปิ ด

17

18

19

บรรณำนุกรม 20 Narutzy.//(2563).//ระบบเศรษฐกจิ แบบทุนนิยม.//สืบคน้ เมื่อ 24 มกรำคม พ.ศ2564,/จำก https://th.m.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%97%E0 ดร.บณั ฑิต นิจถำวร.//(2562).//ระบบเศรษฐกจิ แบบทุนนิยมกบั ควำมเหล่ือมลำ้ .//สืบคน้ เม่ือ 24 มกรำคม พ.ศ2564,/จำก https://www.thaipost.net/main/detail/50546 jantorn_sitthisang.//(2563).//ระบบเศรษฐกจิ แบบวำงแผนส่วนกลำง.//สืบคน้ เมื่อ 24 มกรำคม พ.ศ2564,/จำก https://sites.google.com/site/porjantorn/rabb- Narutzy.//(2563).//ระบบเศรษฐกจิ แบบผสม.//สืบคน้ เม่ือ 24 มกรำคม พ.ศ2564,/จำก https://th.m.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%80%E0 Chalengsak Chuaorrawan .//(2562).//หน่วยเศรษฐกจิ .//สืบคน้ เมื่อ 24 มกรำคม พ.ศ2564,/จำก http://210.86.210.116/chalengsak/m5/economic/un it/unit2/521economic_unit.html Grouch.//(2562).//ระบบเศรษฐกจิ แบบผสม.//สืบคน้ เม่ือ 24 มกรำคม พ.ศ2564,/จำก https://th.m.wikibooks.org/wiki/%E0%B8%A3%E0

เร่ืองระบบเศรษฐกจิ และหน่วยเศรษฐกจิ ผู้จดั ทำ น.ส พลอยชมพู สวสั ดี เลขท2ี่ 1 น.ส พญิ ำดำ สร้อยพำน เลขที่23 น.ส วลิ ำสินี ทดั ธสอย เลขที่25 น.ส สุกฤตตำ ปลอดประเสริฐ เลขท2ี่ 8 น.ส สุพชิ ญำ สำยจนั ทร์ เลขท2่ี 9 น.ส อนุสรำ เพชร แก้ว เลขท3ี่ 0 ช้ันมธั ยมศึกษำปี ท4่ี /6 เสนอ คุณครู ณฐั รินีย์ สมนึก


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook