Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การเตรียมและฉีดยาเข้าหลอดเลือดดำผ่าน-Haparin-lockNSS-lock (1)

การเตรียมและฉีดยาเข้าหลอดเลือดดำผ่าน-Haparin-lockNSS-lock (1)

Published by pornnipa juangthong, 2021-08-15 13:05:21

Description: การเตรียมและฉีดยาเข้าหลอดเลือดดำผ่าน-Haparin-lockNSS-lock (1)

Search

Read the Text Version

+ การเตรียมและฉีดยาเขา้ หลอดเลอื ดดํา ผา่ น HAPARIN LOCK , NSS LOCK

สารบัญ 1 การฉีดยาเข้าทางหลอดเลือดดาํ (INTRAVENOUS INJECTION) 2 การฉีดยาเข้าหลอดเลือดดาํ โดยผ่านชุด HEPARIN LOCK 3 การฉีดยาเข้าหลอดเลือดดาํ โดยผ่านชุด NORMAL SALINE LOCK 4 ตารางแสดงการเปรียบเทียบระหว่าง NSS LOCK กับ HEPARIN LOCK

คาํ จาํ กดั ความ (DEFINITION) การฉดี ยาเขา้ หลอดเลอื ดดาํ เปนการฉดี ยาหรอื สารนาํ เขา้ ทางหลอดเลอื ดดาํ ของผปู้ วย วตั ถุประสงค์ (Objective) 1. ใหผ้ ู้ปวยไดร้ บั ยาตามแผนการรกั ษาอย่างถูกต้อง 2. ใหย้ าในกรณที ไี ม่สามารถให้ยาวิถที างอืนได้ 3. ให้ยาออกฤทธเิ ร็วในกรณผี ปู้ วยภาวะวิกฤตหรอื ฉุกเฉนิ

อุปกรณ์ (EQUIPMENT) 1. บันทกึ การให้ยาผู้ปวย (Medication record) 2. ยาทีจะใหต้ ามแผนการรกั ษา 3. เขม็ ปลอดเชือ (Dispysuable needle) ขนาดเบอร์ 23-24 สําหรับฉีดยาและขนาดเบอร์ 18 สําหรับผสมและ / หรือดูดยา 4. กระบอกฉีดยาปลอดเชือ (Syringe) 5. แอลกอฮอล์ 70% 6. สําลีปลอดเชือบรรจุในภาชนะปลอดเชือ 7. ถงุ มอื สะอาด 8. ชามรปู ไตสําหรับใส่ของทีใชแ้ ลว้ ถาดใส่เครืองใชห้ รือรถเขน็

การประเมิน (ASSESSMENT) 1. สอบถามประวตั กิ ารแพ้ยาของผูป้ วย 2. ตรวจสอบความถกู ตอ้ งของชือ-สกุล ผู้ปวย ชนิดของยา ขนาดยา วิถีทางการให้ยา เวลาทใี ห้และวันหมด อายุของยาทีจะใหผ้ ้ปู วย 3. ประเมนิ บรเิ วณทีจะให้ยามลี ักษณะบวมแดงมีการอกั เสบของหลอดเลอื ดดาํ หรอื ไมเ่ นอื งจากลักษณะดังกลา่ ว มีผลตอ่ การดดู ซมึ ของยาทาํ ให้ผู้ปวยไม่สุขสบายเกิดภาวะแทรกซ้อนหรอื อาการข้างเคียงจากการให้ยาได้ 4. ประเมนิ ความรู้เกยี วกบั การได้รับยาของผปู้ วยเพือวางแผนให้สุขศึกษาเกียวกับวัตถปุ ระสงคแ์ ละอาการข้าง เคียงยาแก่ผู้ปวย 5. กรณที ียามผี ลต่อสัญญาณชีพประเมนิ สัญญาณชีพของผปู้ วยก่อนและหลังให้ยา 6. กรณีทใี หย้ าลดปวดประเมินความปวดของผู้ปวยกอ่ นและหลงั การให้ยาตามแนวทางการประเมนิ ความปวด

ข้อวินิจฉัยการพยาบาล (NURSING DIAGNOSIS) 1. มีความรู้ไม่เพียงพอเกียวกับยาทีได้รับ (IDEFICIENT KNOWLEDGE) 2. เสียงต่อการเกิดอาการแพ้ยา (RISK FOR ALLERGY RESPONSE) 3. เสียงต่อการเกิดการติดเชือ (RISK FOR INFECTION) 4. เสียงต่อการเกิดการอักเสบของหลอดเลือดดํา (RISK FIOR PHLEBITIS) 5. มีความวิตกกังวล (ALIXIETY)

การให้ยาทางหลอดเลือดดํา 1. การฉดี ยาเข้าทาง Intravenous lock เปนการให้ยาผา่ นเขม็ ทีใส่คาไว้ ในหลอดเลอื ดดาํ ทใี ช้จกุ ยางปด (Injection ใช้สําหรับฉดี ยาโดยใช้นาํ เกลอื 0.99%์NSS ถือปองกันเลอื ดอดุ ตันปลายเขม็ ) 2. การฉีดยาเขา้ ทางชดุ ให้สารนาํ Normal sline เปนการให้ยาทาง หลอดเลอื ดดาํ โดยผู้ปวยได้รับสารนําทางหลอดเลือดก่อนจึงฉดี ยาสายให้ สารนาํ ตรงบรเิ วณจุกยางหรือข้อตอ่ ยางแล้วแตช่ นดิ ของชดุ ใหส้ าร

ขันตอนการปฏิบัติ (IMPLEMENTATION) ขนั เตรียม 1. ตรวจสอบบนั ทึกการใหย้ าผ้ปู วยกับแผนการรกั ษาของผปู้ วยแต่ละรายใหต้ รงกนั เกียวกับ - มกี ารตรวจสอบการใหย้ าโดยพยาบาล 2 คน ตรวจสอบ ชอื -สกลุ ผปู้ วย วนั เดือนปเกิด กับ ปาย ขอ้ มอื (Patient identification band) เพือยืนยันตวั บคุ คลก่อนทจี ะใหย้ า ไมใ่ ชห้ มายเลขเตยี งหรือ หอ้ งเปนตวั บง่ ชี - ชือยา ขนาดของยา วิถีทางใหย้ า เวลาทีให้ยาและวนั ทยี กเลกิ หากมีขอ้ สงสัยให้ตรวจสอบกบั แผนการรักษา และ/หรือแพทยผ์ ู้สังการรักษา) 2. ล้างมือให้สะอาด หรอื ใช้ Waterless 20-30 วนิ าที กอ่ นจัดเตรียมของใช้ เพือปองกนั การแพร่ กระจายเชอื โรค 3. เตรียมยาทีจะให้ โดยดชู ือ ขนาด วธิ กี ารใช้ยา วันผลิต วนั หมดอายุของยา โดยตรวจสอบกับใบ บนั ทกึ การให้ถูกต้อง เตรยี มกระบอกฉีดยาบรรจุนาํ เกลอื 0.9%NSS 5ml

ขันปฏบิ ตั ิ ขันตอนการปฏิบัติ (IMPLEMENTATION) 1.ตรวจสอบชอื -สกุลผูป้ วย 2.ลา้ งมอื ให้สะอาด ใช้ Waterless 20-30 วนิ าที และใส่ถงุ มือก่อนฉีดยา 3.เชด็ จุกยางดว้ ยสําลแี อลกอฮอล์ 70% ปลอ่ ยให้แหง้ เพือลดเชือโรคในบรเิ วณทแี ทงเขม็ 4.ไล่อากาศออกจากกระบอกฉดี ยาบรรจุนําเกลือ0.9%NSS แทงเขม็ ผ่านจกุ ยางดึงลูกสูบขนึ เลก็ นอ้ ยจะเหน็ เลือดไหลยอ้ นกลบั เข้ามาในกระบอกฉดี ยา ฉดี นาํ เกลือ0.9%NSS เข้าไปช้าๆ 1-2 มล.แล้วดงึ เข็มออก 5.กรณีทีไม่มีเลือดไหลย้อน ให้ฉดี นําเกลือ0.9%NSS 2 มล. อยา่ งช้าๆ ถ้าสามารถฉีดได้และผปู้ วยไม่มีอาการ ปวด บวมบรเิ วณทีแทงเข็ม สามารถใหย้ าได้ แตถ่ ้าขณะฉดี มีแรงต้านผู้ปวยมอี าการปวด บวมใหเ้ ปลียน ตาํ แหน่งทใี ห้ยาใหม่

ขันตอนการปฏิบัติ (IMPLEMENTATION) 6. เชด็ จุกยางดว้ ยสําลแี อลกอฮอล์ 70% ปล่อยให้แห้ง 7. ไลอ่ ากาศออกจากกระบอกฉีดยาทีเตรียมไวต้ ามแผนการรักษาแทงเข็มกระบอก ฉีดยาผา่ นจุกยางฉดี ยาเขา้ ไปอยา่ งช้าๆสังเกตอาการผูป้ วยขณะไดร้ บั ยาฉดี เมอื ยา หมดครงึ เข็มออกจากจุกยาง 8. เช็ดจุกยางด้วยสําลแี อลกอฮอล์ 70% ปลอ่ ยให้แหง้ 9. ฉดี นําเกลือ0.9%NSS เขา้ ไปชา้ ๆ 1-2-มล. แลว้ ดึงเขม็ ออก 10. ทงิ เขม็ ฉีดยาในกลอ่ งทงิ เข็มและทงิ กระบอกฉดี ยาในทที งิ ขยะติดเชือ 11. ถอดถงุ มือล้างมอื ใหส้ ะอาด 12. ลงชือผใู้ หย้ าและผตู้ รวจสอบการให้ยาในใบบนั ทึกการให้ยาและบันทึกรายงาน การฉดี ยาเขา้ ทางหลอดเลือดดาํ / อาการของผูป้ วยในแบบบันทกึ ทางการพยาบาล

การประเมินผล (EVALUATION) 1. ผูป้ วยได้รับยาถูกตอ้ งตามหลักการฉีดยา เขา้ ทางหลอดเลือดคํา 2. ผู้ปวยไมม่ ีอาการ ไมพ่ ึงประสงค์จากการ ฉดี ยาเข้าทางหลอดเลือดคํา 3. ผ้ปู วยมคี วามรู้ ความเขา้ ใจเกียวกับผล ของขาและอาการขา้ งเคยี งทอี าจเกดิ ขึนจาก ยาทไี ด้รบั

การบันทึก (DECUMENTATION) 1. บันทกึ ชนิดของขา ขนาดของยา วถิ ที างทีให้ วนั -เวลาทีใหย้ าในแบบบันทกึ การให้ยาของผปู้ วย ลงชอื พยาบาลผู้ให้ยาและพยาบาลผ้ตู รวจสอบการให้ยาหลงั ไห้ยาทนั ที 2.บนั ทึกการฝาระวัง การสังเกตอาการข้างเคยี งจากการดยาเข้าทางหลอด เลอื ดดาํ ในแบบบันทึกทางการพยาบาล (nurse's note)

การฉีดยาเข้าหลอดเลือดดําโดยผ่านชุด HEPARIN LOCK HEPARIN LOCK หรือ ทีในปจจุบันนิยมใช้เปน NORMAL SALINE LOCK แทนนัน เปนชุดอุปกรณ์ขนาดเล็กทีใส่คาหลอดเลือดดาํ ไว้สําหรับให้ยาทางหลอด เลือดดาํ เปนระยะ ๆ ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ ส่วนทีเปนเข็มพลาสติค (MEDICUT หรือ IV CATH หรือ INTRAVENOUS CATHETER) ใส่คาไว้ ในหลอดเลือดดํา อีกส่วนเปนรูปทรงกระบอกปลายข้างหนึงต่อกับเข็ม อีกปลายเปนจุกยางปดไว้เพือใช้สําหรับแทงเข็มเพือฉีดยา (MEDICATION PORT หรือ INJECTION PLUG) หรือ อาจใช้สาย EXTENTION TUB ขนาดเล็กและสัน แทนจุกยางดังกล่าว

เข็มพลาสติค (MEDICUT หรือ IV CATH หรือ INTRAVENOUS CATHETER) ใส่คาไว้ในหลอดเลือดดํา จุกยางสําหรับแทงเข็มเพื อฉีดยา (MEDICATION PORT หรือ INJECTION PLUG)

ลักษณะ ชุด HEPARIN LOCKแบบต่อสาย EXTENTION ทีแทงเสร็จแล้ว ในชุด HEPARIN LOCK จะใส่ HEPARIN SOULUTION 10 – 100 UNIT/CC. เมือผสมเสร็จแล้วจะแบ่งใช้ครังละ 1.0 - 2.0 CC หรือ NORMAL SALINE SOLUTION (NSS) ครังละ 1-3 CC ฉีด LOCK ไม่ให้เลือดแข็งตัว หลังเสร็จสินการฉีดยา

วิธีการฉีดยาเข้าหลอดเลือดดาํ โดยผ่านชุด HEPARIN LOCK 1. เตรยี มกระบอกฉีดยาบรรจุ heparin ตามวธิ ผี สมข้างต้นจํานวน 2 cc (ไลอ่ ากาศออกจนหมด ) 2. เตรยี มกระบอกฉดี ยาบรรจุ 0.9%NSS จํานวน 2 cc (ไลอ่ ากาศออกจนหมด ) 3. ทําความสะอาด injection plug ด้วยสําลี alcohol70 % ปล่อยให้แห้ง 4. ฉีด 0.9%NSS เข้า injection plug 1 cc. เพือไล่ heparin เกา่ และทดสอบว่า clot หรือไม่ ถา้ ฉีดยาก ฝด ผดิ ปกติ ห้ามใช้แรงดันฉีดเขา้ ไป ให้สงสัยว่าเกิด clot ให้ off แลว้ แทงใหม่ 5. ถ้าไม่มีปญหา ให้ ฉีดยาเข้าทาง injection plug จนหมดตามขนาดทีผู้ปวยตอ้ งไดร้ ับ 6. ฉดี 0.9%NSS เขา้ injection plug 1 cc. เพือไล่ยา 7. แลว้ ฉีด heparin เขา้ injection plugเพือ lock

วธิ กี ารฉดี ยาเขา้ หลอดเลอื ดดํา โดยผา่ นชดุ NORMAL SALINE LOCK เขม็ ฉดี ยาชนดิ ล็อค (NSS Lock) หมายถึง อุปกรณ์สําหรบั ให้ยาเปนครังคราวทใี ชส้ ารละลายนาํ เกลอื หลอ่ หลอดเลือดดาํ ไว้ 1. เตรียมกระบอกฉดี ยาบรรจุ 0.9%NSS 3 cc. ไลอ่ ากาศออกจนหมด 2. ทําความสะอาด injection plug ด้วยสําลี alcohol70 % ปล่อยใหแ้ ห้ง 3. ฉีด 0.9%NSS เข้า injection plug 1 cc. เพือทดสอบว่า clot หรอื ไม่ ถ้าฉีดยาก ฝด ผดิ ปกติ หา้ มใชแ้ รงดนั ฉดี 4. เข้าไป ให้สงสัยว่าเกดิ clot ให้ off แล้วแทงใหม่ 5. ถา้ ไมม่ ีปญหา ให้ ฉีดยาเข้าทาง injection plug จนหมดตามขนาดทีผปู้ วยตอ้ งไดร้ บั 6. ฉดี 0.9%NSS เขา้ injection plug 2 cc. เพือไลย่ า และ lock

การเข้าถึงกรณีทีใช้ NORMAL SALINE LOCK ถา้ มีการฉดี ยาห่างกนั เกิน 6-8 ชวั โมง อาจทําให้ clot ได้ จะตอ้ งฉีด 0.9%NSS ทกุ 6-8 ชวั โมง (ทังนขี ึนอยูก่ ับวา่ เรา assessment แล้วพบวา่ ผปู้ วยมีภาวะเสียงต่อการ clot ง่าย อาจจะต้อง flush หรือ ฉีด0.9%NSS ทุก 6 ชวั โมง แตถ่ ้าผูป้ วยปกติกฉ็ ีด ทกุ 8 ชวั โมงได้ โดยควร run เวลาฉีด 0.9%NSS ใน medication record ไวเ้ พือกนั ลมื และเปน หลักฐานว่าพยาบาลได้ใหก้ ารดแู ลในเรอื งนเี ปนอย่างดี

ตารางแสดงการเปรียบเทียบระหว่าง NSS LOCK กับ HEPARIN LOCK NSS LOCK HEPARIN LOCK มีอัตราการแพ้ น้อยมาก - มีอัตราการแพ้สูง - เกิดผลข้างเคียงจากขาได้บ่อย มี EFLECTIVENESS การเกิด PHLEBITIS ไม่ต่างกับ มีโอกาสเกิด PHLEBITIS ได้ HEPARIN LOCK เสียค่าใช้จ่ายมาก การสินเปลืองน้อย ประหยัดค่าใช้จ่ายมากกว่า

ตารางแสดงการเปรียบเทียบระหว่าง NSS LOCK กับ HEPARIN LOCK NSS LOCK HEPARIN LOCK การจัดเก็บง่าย ต้องเก็บในตู้เย็นเท่านัน ไม่พบปญหาเรืองความคลาดเคลือนทางยา -อาจเกิด INTERACTION กับยาอืน -พบความคลาดเคลือนทางยาบ่อย การเตรียมไม่ยุ่งยาก - การเตรียมยุ่งยากกว่า NSS LOCK - อาจเกิดการปนเปอนในขวดทีผสมไว้

จัดทาํ โดย นางสาวนฤมล ดวงตา เลขที 23 รหสั ประจําตวั 63118301048 หอ้ ง A นางสาววนสิ รา อัปการตั น์ เลขที 46 รหสั ประจาํ ตัว 63118301094 ห้อง A นางสาววลิ าณี ไชยราช เลขที 49 รหสั ประจาํ ตัว 63118301103 หอ้ ง A นางเปรมปยะ บญุ พา เลขที 29 รหัสประจาํ ตัว 63118301063 หอ้ ง B นางสาวพรนิภา จวงทอง เลขที 31 รหสั ประจาํ ตัว 63110301066 หอ้ ง B นางสาวพิมพกานต์ หารลํายอง เลขที 36 รหสั ประจาํ ตวั 63110301073 หอ้ ง B นางสาวรชั ฎาพร กาํ จดั ภัย เลขที 45 รหัสประจําตวั 63118301085 หอ้ ง B นางสาววราพร ซ้อนกลนิ เลขที 50 รหัสประจําตวั 63118301097 ห้อง B

THANK YOU


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook