Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ทำเนียบแหล่งเรียนรูั้้อำเภอเมือง2562

ทำเนียบแหล่งเรียนรูั้้อำเภอเมือง2562

Description: ทำเนียบแหล่งเรียนรูั้้อำเภอเมือง2562

Search

Read the Text Version

ทาเนียบแหล่งเรยี นรู้ กศน.อาเภอเมอื งหนองบวั ลาภู ก คานา พระราชบญั ญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และท่แี ก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับท่ี2) พ.ศ. 2545 มสี าระสาคญั ท่ีสรา้ งเสรมิ ความรูก้ ารเรยี นรู้ความใฝ่ รูก้ ารศึกษาค้นคว้า วจิ ยั อนั นาไปสู่สงั คมความรู้ (Knowledge Society) และสงั คมการเรยี นรู้ (Learning Society) ซ่งึ สะท้อนบทบาทของแหล่งการ เรยี นรู้ ในมาตรา ๒๕ รฐั ต้องส่งเสรมิ การดาเนินงานและการจดั ตงั้ แหล่งการเรยี นรู้ตลอดชีวติ ทุก รูปแบบ ได้แก่ ห้องสมุด พิพิธภณั ฑ์ หอศิลป์ สวนสตั ว์ สวนสาธารณะ สวนพฤกษศาสตร์ อุทยาน วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ศูนยก์ ารศกึ ษา และนันทนาการ แหล่งขอ้ มลู และแหล่งการเรยี นรอู้ ่นื อย่าง พอเพียง และมีประสิทธิภาพ การจดั กระบวนการเรยี นรู้ท่ีเน้นผู้เรยี นเป็ นสาคัญ ผู้เรียนต้องเห็น แบบอย่างท่ดี ไี ด้ฝึกการคดิ ได้เรยี นรจู้ ากประสบการณ์ตรงท่หี ลากหลาย ตรงตามความต้องการและมี ความสุขในการเรยี นรู้ ครู คณาจารย์ รจู้ กั ผู้เรยี นเป็นรายบุคคล เตรยี มการสอนและใชส้ ่อื ท่ผี สมผสาน ความรสู้ ากลกบั ภูมปิ ัญญาไทย จดั บรรยากาศใหเ้ อ้อื ต่อการเรยี นรู้ จดั หาและพฒั นาแหล่งการเรยี นรทู้ ่ี หลากหลาย เพ่อื พฒั นาความคดิ ของผูเ้ รยี นอยา่ งเป็นระบบและสรา้ งสรรค์ เป้าหมายการจดั การเรยี นรตู้ ้องมุ่งเน้นให้ผู้เรยี นไดศ้ กึ ษาค้นคว้าด้วยตนเองเป็นสาคญั เพ่อื ให้ นักเรยี นมที กั ษะในการแสวงหาความรจู้ ากแหล่งการเรยี นรแู้ ละส่อื ต่างๆอย่างกว้างขวาง สามารถนา ความรไู้ ปประยุกต์ใชก้ บั การเรยี นรใู้ นห้องเรยี นและชวี ติ ประจาวนั ไดเ้ ป็นอย่างดี เกดิ คุณลกั ษณะใฝ่รู้ ใฝ่ เรยี น เรยี นรู้ได้ด้วยตนเอง เป็นบุคคลแห่งการเรยี นรูแ้ ละรกั การเรยี นรตู้ ลอดชวี ติ การศึกษาค้นคว้า ดงั กลา่ วสามารถศกึ ษาไดจ้ ากแหล่งการเรยี นรทู้ งั้ ในสถานศกึ ษาและทอ้ งถน่ิ ดงั นนั้ สถานศกึ ษาตอ้ งจดั ให้ มีแหล่งการเรยี นรู้ทุกรูปแบบและหลากหลาย พร้อมทงั้ แนะนาผู้เรยี นให้ใช้แหล่งการเรยี นรู้ให้เกิด ประโยชน์ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเมอื งหนองบวั ลาภูจึงได้จดั ทา เอกสาร ฉบบั น้ีขน้ึ มาเพ่อื ใชใ้ นการศกึ ษาคน้ ควา้ เป็นแหล่งทร่ี วมขององคค์ วามรอู้ นั หลากหลายพรอ้ มท่ี จะใหผ้ ูเ้ รยี นเขา้ ไปศกึ ษาคน้ ควา้ ดว้ ยกระบวนการจัดการเรยี นรทู้ แ่ี ตกต่างกนั ของแต่ละบุคคล และเป็น การส่งเสรมิ การเรยี นรูต้ ลอดชวี ิตปลูกฝังให้ผู้เรยี นได้รู้และรกั ในท้องถิ่นของตน มองเห็นคุณค่าและ ตระหนกั ถงึ ปัญหาในชุมชนของตน พรอ้ มทจ่ี ะเป็นสมาชกิ ทด่ี ขี องชุมชนทงั้ ในปัจจบุ นั และอนาคต อธั ยาศยั กล่มุ งานสง่ เสรมิ การศกึ ษาตาม กศน. อาเภอเมอื งหนองบวั ลาภู ผจู้ ดั ทา หอ้ งสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ าร”ี อาเภอเมอื งหนองบวั ลาภู

ทาเนียบแหลง่ เรยี นรู้ กศน.อาเภอเมอื งหนองบวั ลาภู ก สารบญั หน้า เร่อื ง 1 3 แหล่งเรยี นร้ปู ระเภทสถานท่ี 4 5 ศาลสมเดจ็ พระนเรศวรมหาราช 6 ศาลสมเดจ็ พระนเรศวรมหาราช แหง่ ท่ี 2 ศาลหลกั เมอื งหนองบวั ลาภู (ศาลพระวอ-พระตา) 9 วดั ศรคี ณู เมอื ง วดั ถ้ากลองเพล 10 หอไตรวดั มหาชยั 11 11 9 12 พระบางวดั มหาชยั 12 วดั ธาตุหาญเทาว์ 13 13 10 15 วดั ป่าสามคั คสี ริ พิ ฒั นาราม (กุดโพนทนั ) วดั โพธศิ ์ รี (วดั หายโศก) 16 พระพุทธรตั นเอกโกเมนทร์ ศนู ยป์ ฏบิ ตั ธิ รรมหนองน้าเพชรมงคล 18 สพั พสงั วรเจดยี ์ ปโมทติ เจดยี ์ อาคารพพิ ธิ ภณั ฑห์ ลวงป่หู ลอด เจดยี ว์ ดั สริ สิ าลวนั ศาลเจา้ ป่หู ลุบ หอสองนาง หมบู่ า้ นหตั ถกรรมเครอ่ื งปัน้ ดนิ เผา บา้ นโคง้ สวรรค์ 15 ภหู นิ ลาดชอ่ ฟ้า วนอุทยานบวั บาน แหลง่ ท่องเทย่ี วเชงิ นิเวศพานน้อย 19 หอ้ งสมุดประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ าร”ี อาเภอเมอื งหนองบวั ลาภู

ทาเนียบแหลง่ เรยี นรู้ กศน.อาเภอเมอื งหนองบวั ลาภู ก อุทยานน้าตกเฒา่ โต้ 21 พพิ ธิ ภณั ฑห์ อยหนิ 150 ลา้ นปี 22 หนองบวั 23 ตลาดประชารฐั ลานคา้ ชุมชนบา้ นหว้ ยเดอ่ื 24 วดั ศรสี ระแกว้ พระอารามหลวง 25 แหล่งประวตั ศิ าสตรส์ มยั ทวารวดี 26 วดั สายทอง 27 วดั อุดมพฒั นาราม 28 แหล่งเรียนร้ปู ระเภทอาชีพ 30 ศนู ยก์ ารเรยี นรคู้ นตน้ แบบเศรษฐกจิ พอเพยี ง ในพระราชดารพิ ระเจา้ หลานเธอ 30 29 หน้า พระองคเ์ จา้ พชั รกติ ยิ าภา ณ เรอื นจาชวั่ คราวบา้ นหว้ ยเตย กลมุ่ วสิ าหกจิ ชุมชนขา้ วฮางงอก 33 ศนู ยเ์ รยี นรเู้ ทวาผา้ ไทย 34 สารบญั (ต่อ) 36 37 เร่ือง 39 40 กลุ่มวสิ าหกจิ ชมุ ชนกลมุ่ ปลกู ผกั อนิ ทรยี ์ บา้ นโพธศิ ์ รสี าราญ 41 32 42 ไรแ่ ทนคณุ 43 ศูนยเ์ รยี นรเู้ ศรษฐกจิ พอเพยี งนายเดโช ชาเทราช 44 ศูนยเ์ รยี นรเู้ ศรษฐกจิ พอเพยี ง นายคาผาย ฤทธเิ ์กตุ 35 กลุ่มวสิ าหกจิ ชมุ ชนศนู ยผ์ ลติ และจาหน่ายผลติ ภณั ฑพ์ น้ื เมอื ง บา้ นใหมแ่ หลมทอง กลมุ่ วสิ าหกจิ ชมุ ชนบา้ นใหมศ่ ลิ ามงคล ศูนยเ์ รยี นรกู้ ารเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพการผลติ สนิ คา้ เกษตร ตาบลหนองสวรรค์ กลุ่มวสิ าหกจิ ชุมชนกลมุ่ การทาไมก้ วาดทางมะพรา้ ว บา้ นลาดใต้ ศนู ยเ์ ศรษฐกจิ พอเพยี งบา้ นพนั ดอน กล่มุ วสิ าหกจิ ชมุ ชนกลุม่ ทาไมก้ วาด บา้ นโนนอุดม แหล่งเรียนร้ปู ระเภทบคุ คล นางสมจติ ร ตามลู นางบู่ เทพบรุ ี หอ้ งสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ าร”ี อาเภอเมอื งหนองบวั ลาภู

ทาเนยี บแหลง่ เรยี นรู้ กศน.อาเภอเมอื งหนองบวั ลาภู ก นายสมพร โภคานิตย์ 45 แผนทแ่ี หลง่ เรยี นรู้ กศน.อาเภอเมอื งหนองบวั ลาภู 26 25 แผนทจ่ี งั หวดั หนองบวั ลาภู หอ้ งสมุดประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ าร”ี อาเภอเมอื งหนองบวั ลาภู

ทาเนียบแหลง่ เรยี นรู้ กศน.อาเภอเมอื งหนองบวั ลาภู ก แหล่งเรียนร้ปู ระเภท สถานท่ี อาเภอเมอื งหนองบวั ลาภู เป็นอาเภอทจ่ี ดั ตงั้ ใหมพ่ รอ้ มการสถาปนา จงั หวดั หนองบวั ลาภู เมอ่ื วนั ท่ี ๑ ธนั วาคม ๒๕๓๖ ประกอบดว้ ย ๑๕ ตาบลคอื ตาบลลาภู ตาบลโพธชิ ์ ยั ตาบลหนองบวั ตาบล หวั นา ตาบลนาคาไฮ ตาบลนามะเฟือง ตาบลกุดจกิ ตาบลโนนขมน้ิ ตาบลโนนทนั ตาบลบา้ นขาม ตาบลบา้ นพรา้ ว ตาบลป่าไมง้ าม ตาบลหนองภยั ศูนย์ ตาบลหนองสวรรค์ และตาบลหนองหวา้ มแี หลง่ ทอ่ งเทย่ี วมากมายหลายแห่งทน่ี ่าสนใจดงั น้ี ศาลสมเดจ็ พระนเรศวรมหาราช ตงั้ อย่ทู ่ี สนามนเรศวร หน้าทว่ี ่าการอาเภอเมอื งหนองบวั ลาภู และอย่รู มิ หนองน้า “หนองบวั ” ท่ี อยใู่ จกลางเมอื ง ตามประวตั ศิ าสตรก์ ล่าววา่ ในสมยั กรงุ ศรอี ยธุ ยา พ.ศ.๒๑๑๒ ไทยเสยี กรงุ ศรอี ยธุ ยาครงั้ ท่ี ๑ ใหแ้ ก่พม่าตรงกบั สมยั พระเจา้ บุเรงนอง กษตั รยิ ก์ รุงหงสาวดี ได้มหี มายเกณฑใ์ ห้สมเดจ็ พระมหา ธรรมราชา ไปช่วยตเี มอื งเวยี งจนั ทน์ ในครงั้ น้ีสมเดจ็ พระนเรศวรไดร้ ่วมเสดจ็ ไปในกองทพั พระราชบดิ า เป็นครงั้ แรกสมทบกบั กองทพั พม่าไปตเี มอื งเวยี งจนั ทน์ เน่ืองจากพระเจา้ ไชยเชษฐาธริ าชยกทพั ไปตี เมอื งญวนแลว้ หายสาบสญู พระเจา้ บเุ รงนองเหน็ โอกาสจงึ ยกทพั ตโี ดยใหก้ องทพั กรงุ ศรอี ยุธยามาสมทบ สมเด็จพระมหาธรรมราชาและพระนเรศวรได้ยกทัพไปถึงหนองบัวลาภู เมืองหน้าด่านทางใต้ของ เวยี งจนั ทน์ ขณะนนั้ มพี ระชนมายุได้ ๑๙ พรรษา ครองเมอื งพษิ ณุโลกอยพู่ ระราชบดิ านากองทพั พกั แรม หอ้ งสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ าร”ี อาเภอเมอื งหนองบวั ลาภู

ทาเนียบแหล่งเรยี นรู้ กศน.อาเภอเมอื งหนองบวั ลาภู ก ทห่ี นองบวั ลาภู เน่ืองจากมที ศั นียภาพท่สี วยงาม มดี อกบวั หลวงขน้ึ เตม็ ท่หี นองน้าสวยงามมาก และหนองน้ามคี วามอุดมสมบูรณ์เหมาะแก่การตัง้ พกั แรมของกองทพั ทม่ี จี านวนมากโดยใช้น้าเพ่อื ด่มื เพ่อื ใช้ และดอกบวั หลวงกใ็ ชเ้ พ่อื ประกอบพธิ กี รรมทางศาสนา เพ่อื ความเป็นศริ มิ งคลแก่กองทพั เพ่อื เพม่ิ ขวญั กาลงั ใจในการออกศกึ ครงั้ น้ี พระนเรศวรทรงประชวรเป็นไขท้ รพษิ ระหวา่ งเดนิ ทพั พระเจา้ บุเรงนองเห็นว่าสงครามจวนจะเสรจ็ ส้นิ จงึ อนุญาตให้กลบั ไปรกั ษาพระองค์การท่ีสมเดจ็ พระนเรศวร มหาราช ได้เคยเสด็จมาประทับแรมท่ีเมืองหนองบัวลาภูเม่ือ พ.ศ.๒๑๑๗ นั้น ทาให้ช่ือเมือง หนองบัวลาภูได้จารกึ ไว้ในประวัติศาสตร์ไทย ดังนัน้ เพ่ือเป็นการเทิดพระเกียรติ วีรกษัตรยิ ์ไทย พระยาอุดรธานีศรโี ขมสาครเขต (จติ จติ ตยโสธร) อดตี เจา้ เมอื งอุดรธานีไดร้ ่วมใจกบั ชาวหนองบวั ลาภู สรา้ งศาลสมเดจ็ พระนเรศวรมหาราชไว้ ณ ดา้ นตะวนั ออกรมิ ฝัง่ หนองบวั ลาภู และสรา้ งรปู เหมอื นสมเดจ็ พระนเรศวรมหาราช ประทับยืน พระหัตถ์ซ้ายทรงพระแสงดาบท่ีออกแบบโดยช่างกรมศิลปากร พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ไดเ้ สดจ็ พระราชดาเนินทรงเปิดพระบรมราชานุสาวรยี แ์ หง่ น้ี เม่อื วนั ท่ี ๒๕ มกราคม ๒๕๑๑ หลงั จากนนั้ ทุกๆ ปี ชาวจงั หวดั หนองบวั ลาภูจะจดั งานพระราชพธิ บี วงสรวงดวงพระ วญิ ญาณสมเดจ็ พระนเรศวรมหาราช เพ่อื น้อมราลกึ ถงึ พระมหากรุณาธคิ ุณของพระองค์ท่าน เรยี กว่า “งานสกั การะสมเดจ็ พระนเรศวรมหาราชกาชาดหนองบวั ลาภ”ู หอ้ งสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ าร”ี อาเภอเมอื งหนองบวั ลาภู

ทาเนียบแหล่งเรยี นรู้ กศน.อาเภอเมอื งหนองบวั ลาภู ก ศาลสมเดจ็ พระนเรศวรมหาราช แห่งท่ี ๒ ศาลสมเดจ็ พระนเรศวร แห่งท่ี ๒ น้ี ตงั้ อย่ใู นบรเิ วณพพิ ธิ ภณั ฑ์หอยหนิ ๑๕๐ ลา้ นปี บา้ นหว้ ย เด่อื ตาบลโนนทนั อาเภอเมอื งหนองบวั ลาภู จงั หวดั หนองบวั ลาภู เป็นสถานท่ปี ระดษิ ฐานพระบรมรูป สมเดจ็ พระนเรศวรมหาราช องค์แรกของจงั หวดั หนองบวั ลาภู ทาการปั้นโดยกรมศลิ ปากร เม่อื ปี พ.ศ. ๒๕๑๑ จงั หวดั หนองบวั ลาภู ไดท้ าการบูรณะ และไดอ้ ญั เชญิ ออกไปประดษิ ฐานเพ่อื ใหน้ ักท่องเทย่ี วและ ประชาชนได้บูชาสกั การะ เม่อื วนั เสารท์ ่ี ๘ พฤศจกิ ายน ๒๕๔๖ และได้ก่อสรา้ งศาลแห่งน้ีเม่อื เดือน กุมภาพนั ธ์ ๒๕๔๙ แลว้ เสรจ็ เมอ่ื เดอื นมนี าคม ๒๕๔๙ และเมอ่ื วนั ท่ี ๗ เมษายน ๒๕๔๙ เวลา ๐๖.๓๙ น. ไดป้ ระกอบพธิ เี คลอ่ื นยา้ ยพระรปู หล่อองคส์ มเดจ็ พระนเรศวรมหาราช ขน้ึ ประทบั บนศาลหลงั ใหม่โดย การนาของพลตารวจตรพี งศช์ ยั สุขะหตุ ผบู้ งั คบั การตารวจภธู รจงั หวดั หนองบวั ลาภู หอ้ งสมุดประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ าร”ี อาเภอเมอื งหนองบวั ลาภู

ทาเนยี บแหล่งเรยี นรู้ กศน.อาเภอเมอื งหนองบวั ลาภู ก ศาลหลกั เมืองหนองบวั ลาภู (ศาลพระวอ-พระตา) ตงั้ อยู่ ณ บา้ นกลาง ตาบลลาภู อาเภอเมอื งหนองบวั ลาภู ศาลหลกั เมอื งเป็นศาลพระวอและพระ ตา ผสู้ รา้ งเมอื งหนองบวั ลาภู ตามประวตั ศิ าสตรก์ ล่าวว่า พระวอและพระตา เป็นพน่ี ้องร่วมบดิ า มารดา เดยี วกนั และพระตาไดถ้ ูกกองทพั พม่าและกองทพั เวยี งจนั ทน์ ฆ่าตายในสนามรบทเ่ี มอื งหนองบวั ลุ่มภู แห่งน้ี ศาลหลกั เมอื งได้ทาการก่อสรา้ งขน้ึ เพ่อื เป็นอนุสรณ์และราลกึ ถงึ คุณงามความดขี องพระวอพระ ตา ผู้มาสร้างบ้านแปงเมืองหนองบัวลุ่มภู มลี กั ษณะของศาลเป็นศาลาจตั ุรมุขทรงไทย มขี นาดและ สดั ส่วนสวยงามมาก รูปแบบการก่อสรา้ งเป็นแบบภาคกลาง จงึ มคี วามวจิ ติ รเป็นพิเศษ ในบรเิ วณมี ต้นมะขามขนาดใหญ่ตงั้ อย่นู อกกาแพงเมอื งทางด้านทศิ ตะวนั ตก หน้าศาลจะมถี นนตรงไปยงั โฮง เจา้ เมอื งหนองบวั ลาภู (จวนเจา้ เมอื งเดมิ ) ซง่ึ อย่หู ่างจากศาลหลกั เมอื งไปประมาณ ๕๐ เมตร จะมเี นินดนิ และต้นมะขามขนาดเดยี วกนั กบั ทศ่ี าลหลกั เมอื งเป็นทส่ี งั เกต เน้ือทป่ี ระมาณ ๒ ไร่ ปัจจบุ นั ไมม่ สี งิ่ ปลูก สรา้ งใดๆ ชาวเมอื งเลา่ ว่า เจา้ ทแ่ี รงจงึ ไมม่ ใี ครกลา้ ปลกู บา้ นเรอื นทอ่ี ยอู่ าศยั ในบรเิ วณนนั้ หอ้ งสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ าร”ี อาเภอเมอื งหนองบวั ลาภู

ทาเนียบแหลง่ เรยี นรู้ กศน.อาเภอเมอื งหนองบวั ลาภู ก วดั ศรีคณู เมอื ง วดั ศรคี ณู เมอื ง เดมิ ช่อื วดั คนชุมน้าออกบ่อ ปัจจบุ นั ตงั้ อยทู่ ่ี บา้ นเหนือ ถนนวรราชภกั ดี หม่ทู ่ี ๕ ตาบลลาภู อาเภอเมอื งหนองบวั ลาภู จงั หวดั หนองบวั ลาภู สงั กดั คณะสงฆฝ์ ่ายมหานกิ าย สรา้ งเมอ่ื ปี หอ้ งสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ าร”ี อาเภอเมอื งหนองบวั ลาภู

ทาเนียบแหลง่ เรยี นรู้ กศน.อาเภอเมอื งหนองบวั ลาภู ก พ.ศ.๒๓๑๐ เดมิ เป็นวดั โบราณทส่ี รา้ งในสมยั ทด่ี นิ แดนแถบน้ี เป็นทอ่ี ยขู่ องชาตขิ อม ละวา้ และลาว มี ซากอุโบสถเก่าแก่ มใี บเสมาหนิ เป็นหนิ ภเู ขา ปชู นยี วตั ถุมพี ระพทุ ธรปู อยใู่ นสถูปเรยี กวา่ “หลวงพ่อพระ ไชยเชษฐา” พระไชยเชษฐาวดั ศรีคณู เมือง เป็นพระพุทธรปู ศลิ ปะลา้ นชา้ ง ประดษิ ฐานในพระธาตุทม่ี ศี ลิ ปะคลา้ ยกบั พระธาตุศรสี องรกั จงั หวดั เลย สนั นษิ ฐานวา่ พระไชยเชษฐาธริ าชทรงสรา้ งไวใ้ นร่นุ เดยี วกบั พระไชยเชษฐาวดั ถ้าสุวรรณ คหู า ปัจจบุ นั วดั ศรคี ณู เมอื ง ไดส้ รา้ งศาลาครอบพระธาตุไวอ้ กี ชนั้ หน่งึ สาหรบั วดั ศรคี ณู เมอื งน้มี ซี าก เทวสถาน และเสมาหนิ ของขอมหนั หน้าไปทางประเทศกมั พชู า ซง่ึ สนั นษิ ฐานวา่ เป็นศูนยก์ ลางของ อาณาจกั รในสมยั ทส่ี รา้ งกรมศลิ ปากรไดบ้ รู ณะขน้ึ ใหมใ่ นปี ๒๕๕๑ บ่อน้าวดั ศรีคณู เมือง เป็นบอ่ น้าก่อดว้ ยอฐิ ขนาดเดยี วกบั กาแพงเมอื งนครเขอ่ื นขนั ธก์ าบแกว้ บวั บานขนาดเสน้ ผ่าน ศนู ยก์ ลาง ๒ เมตร ลกึ ประมาณ ๕๐ เมตร มนี ้าใสสะอาดตลอดปี สนั นิษฐานวา่ สรา้ งในสมยั พระเจา้ ไชย เชษฐาธริ าช พ.ศ .๒๑๐๖ ถอื ว่าเป็นบ่อน้าคบู่ า้ นค่เู มอื งเวลามพี ระราชพธิ แี ละพธิ สี าคญั จะนาน้าจากบ่อ แหง่ น้ไี ปใช้ อาทิ พระราชพธิ ถี อื น้าพระพพิ ฒั น์สตั ยา และพธิ เี สกน้าพระพทุ ธมนต์ ศกั ดสิ ์ ทิ ธิ ์ วดั ถา้ กลองเพล เป็นวดั ป่าท่มี ชี ่อื เสยี งของจงั หวดั ในบรเิ วณวดั มบี รรยากาศท่รี ่มร่นื และเงยี บสงบ สนั นิษฐานว่า เป็นวดั เก่าแก่ แต่ไม่มหี ลกั ฐานว่าสร้างมาตงั้ แต่ พ.ศ.ใด ต่อมาเป็นวดั รา้ ง จนกระเม่อื ปี พ.ศ.๒๕๐๑ หลวงป่ขู าว อนาลโย พระวปิ ัสสนาสายพระอาจารยห์ ลวงป่มู นั่ ภรู ทิ ตั ตะ เถระ ไดม้ าจาพรรษาอยทู่ ว่ี ดั ถ้ากลองเพล ไดอ้ าศยั วดั แห่งน้ีเป็นสถานทว่ี ปิ ัสสนากรรมฐาน โดยไดส้ รา้ งอุโบสถ ใชพ้ น้ื ท่จี ากหมู่ หอ้ งสมุดประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ าร”ี อาเภอเมอื งหนองบวั ลาภู

ทาเนียบแหล่งเรยี นรู้ กศน.อาเภอเมอื งหนองบวั ลาภู ก ก้อนหินขนาดใหญ่เป็นห้องโถงขนาดใหญ่ เพ่ือใช้บาเพ็ญสมณธรรม จนกระทงั่ มรณภาพในปี พ.ศ. ๒๕๒๖ สริ ริ วมอายไุ ด้ ๙๕ ปี ๕ เดอื น อยใู่ นเพศบรรพชติ ถงึ ๕๗ พรรษา พธิ พี ระราชทานเพลงิ ศพหลวง ป่ขู าวเม่อื วนั ท่ี ๑๑ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๒๗ โดยพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อย่หู วั และสมเดจ็ พระบรมราชนิ ีนาถ เสด็จพระราชดาเนินมาทรงประกอบพธิ ี วดั ถ้ากลองเพล ตงั้ อย่บู ้านถ้ากลองเพล อาเภอเมอื ง หนองบวั ลาภู บนทางหลวงหมายเลข ๒๑๐ เส้นทางหนองบวั ลาภู-อุดรธานี ออกจากตวั เมอื งไปทาง อุดรธานี ๑๓ กโิ ลเมตร เลย้ี วขวาเขา้ ไปอกี ๒ กโิ ลเมตร สามารถเดนิ ทางโดยรถโดยสารประจาทางสาย หนองบวั ลาภู - อุดรธานี อาคารเสนาสนะและอนุสรณ์สถาน ตลอดจนสงิ่ สาคัญท่ีสาคัญภายในวดั ประกอบดว้ ย พิพิธภณั ฑ์อฐั บริขาร หลวงป่ ูขาวอนาลโย เป็นพิพิธภณั ฑ์สร้างข้นึ เพ่อื เก็บอฐั แิ ละรวบรวมเคร่อื ง อฐั บรขิ ารของหลวงป่ ู ขาว สรา้ งดว้ ยหนิ แกรนิตทม่ี รี ปู ทรงสถาปัตยกรรมสมยั ใหมท่ ส่ี วยงาม โดยเฉพาะ อาคารแห่งน้ี พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ภมู พิ ลอดุลยเดช ไดพ้ ระราชทานพระราชทรพั ยส์ ่วนพระองค์ เป็นเงนิ ๑ ลา้ น ๔ แสนบาท เป็นปัจจยั สมทบทุนก่อสรา้ งอาคารหลงั น้ี จงึ มคี ุณค่าทางดา้ นสถาปัตยกรรม และคุณค่าทางด้านประวตั ศิ าสตรอ์ กี ด้วย เจดยี ห์ ลวงป่ ขู าว เป็นเจดยี ์ท่สี รา้ งขน้ึ เม่อื ใชบ้ รรจุอฐั หิ ลวงป่ ู ขาว สรา้ งอยบู่ นลานหนิ มบี นั ไดเป็นทางเดนิ ขน้ึ ไปสอู่ งคเ์ จดยี ์ หอ้ งสมุดประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ าร”ี อาเภอเมอื งหนองบวั ลาภู

ทาเนยี บแหลง่ เรยี นรู้ กศน.อาเภอเมอื งหนองบวั ลาภู ก มณฑปหลวงป่ ูขาว ป็นมณฑปจตุรมุขท่ีหลวงป่ ูขาวสร้างไว้ครงั้ ยงั มีชวี ติ อยู่เพ่ือใช้เป็นท่ี ประกอบพธิ สี งั ฆกรรม รอบๆ บรเิ วณ เงยี บสงบและรม่ รน่ื เจดยี ห์ ลวงป่ขู าวและมณฑปหลวงป่ขู าว ตงั้ อยู่ บนเสน้ ทางเดยี วกนั กบั เส้นทางท่ไี ปวดั ถ้ากลองเพล แต่จะถงึ ก่อนวดั ถ้ากลองเพล โดยมที างแยกทาง ซา้ ยมอื เขา้ ไปประมาณ300 เมตร วดั ถ้ากลองเพลน้ี มถี ้าเรยี กว่า “ถ้ากลองเพล” ซง่ึ เป็นทม่ี าของช่อื วดั มตี านานเล่ากนั ว่า ในถ้านนั้ มกี ลองเพลใหญ่ประจาถ้าหน่งึ ลกู มขี นาดใหญ่โตมาก ส่วนจะมมี าแต่สมยั ใดนนั้ ไม่มใี ครทราบคงจะมมี า นานนบั รอ้ ยปีขน้ึ ไป จนกลองเพลนัน้ มคี วามคร่าครา่ ผุพงั แตกกระจดั กระจายเป็นช้นิ ใหญ่ ช้นิ น้อย โดย ไม่มผี ู้ใดทาลาย พวกนายพรานเท่ยี วล่าเน้ือ เวลามาพกั นอนในถ้ายงั ได้อาศัยเศษไม้ท่แี ตกกระจดั กระจายจากกลองเพลมาหุงต้มรบั ประทานกนั ชาวบา้ นใกลเ้ คยี งบรเิ วณนนั้ จงึ ไดพ้ ากนั ใหช้ ่อื นามถ้านัน้ ว่า ถ้ากลองเพล ครนั้ ต่อมามพี ระธดุ งคก์ รรมฐานไปเทย่ี วบาเพญ็ ธรรมและพกั ในถ้านนั้ บอ่ ย ๆ จนถ้านนั้ กลายเป็นวดั คอื ทอ่ี ย่ขู องพระขน้ึ มา จงึ พากนั ใหน้ ามว่า “วดั ถ้ากลองเพล” จวบจนทุกวนั น้ี บรเิ วณถ้า กลองเพลในปัจจุบนั น้ี ประกอบด้วยป่ าไมท้ ่ยี งั มคี วามอุดมสมบูรณ์ เพงิ หนิ เพงิ ผา ท่รี ปู ร่างประหลาด และสวยงามมอี าณาเขตกวา้ งขวางนบั รอ้ ยไร่ตงั้ อยบู่ นเทอื กเขาภพู าน จงึ มที ศั นยี ภาพทง่ี ดงามมาก “แผน่ ดนิ ธรรมหลวงป่ขู าว “หมายถงึ แผ่นดนิ ของจงั หวดั หนองบวั ลาภู เป็นดนิ แดนแห่งธรรมะท่ี ครงั้ หน่ึงพระเถระท่มี ชี ่อื เสยี ง คอื “หลวงป่ ูขาว อนาลโย” ได้มาเผยแพร่ธรรมะในแผ่นดนิ น้ี และได้จา พรรษาตลอดมาท่ี “วดั ถ้ากลองเพล” จงึ เป็นท่รี จู้ กั ของพุทธศาสนิกชนโดยทวั่ ไปอย่างกว้างขวาง ชาว หนองบวั ลาภูจงึ ภาคภูมใิ จ ทห่ี ลวงป่ ขู าว ได้มาสรา้ งแผ่นดนิ แห่งธรรมะท่คี นทวั่ ไปเล่อื มใสศรทั ธาอย่าง แรงกลา้ จากอดตี จนถงึ ปัจจบุ นั หลวงป่ขู าว ฉายาว่า อนาลโย ซง่ึ มคี วามหมายวา่ ขาวบรสิ ทุ ธิ ์คอื กายกบั ใจของท่านบรสิ ุทธสิ ์ ม กับนามเดิมของท่านช่ือ “ขาว” โคระถาเกิดเม่ือวันท่ี 28 ธันวาคม พ.ศ. 2431 ณ บ้านบ่อชะแนง ตาบลหนองแก้ว อาเภออานาจเจรญิ (ปัจจุบนั จงั หวดั อานาจเจรญิ ) จงั หวดั อุบลราชธานี มพี ่นี ้องร่วม บดิ ามารดาเดยี วกนั 7 คน หลวงป่ ูขาวเป็นบุตรคนท่ี 4 ของ นายพวั่ และ นางลอด โคระถา เม่อื อายุประมาณ 20 ปี ไดส้ มรสกบั นางมี มบี ุตรธดิ า ด้วยกนั 7 คนภายหลงั การครองเพศฆราวาสไม่ ราบรน่ื เพราะภรรยาไม่ตงั้ อยใู่ นความสนั โดษ ทาใหค้ รอบครวั มปี ัญหาจงึ ตดั สนิ ใจออกบวช เม่อื เดอื น พฤษภาคม พ.ศ. 2462 ทว่ี ดั โพธศิ ์ รี บา้ นบ่อชะแนง ตาบลหนองแก้ว อาเภออานาจเจรญิ โดยมพี ระ ครพู ุฒศิ กั ดิ ์ เจา้ คณะอาเภออานาจเจรญิ เป็นพระอุปัชฌายอ์ ยจู่ าพรรษา เมอ่ื ศกึ ษาหลกั พระธรรมวนิ ัยท่ี วดั โพธศิ ์ รี ถงึ 6 ปี ด้วยความบรสิ ุทธใิ ์ จดงั ท่ตี งั้ ไว้ จงึ ตดั สนิ ใจกราบลาอุปัชฌาย์จารยอ์ อกเท่ียว ธุดงค์กรรมฐาน ในปี พ.ศ 2462 ได้ออกธุดงคไ์ ปทางภาคเหนือ ซ่งึ ในเวลานัน้ ท่านพระอาจารยม์ นั่ ภู หอ้ งสมุดประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ าร”ี อาเภอเมอื งหนองบวั ลาภู

ทาเนียบแหลง่ เรยี นรู้ กศน.อาเภอเมอื งหนองบวั ลาภู ก รทิ ตั ะเถระไดม้ าจาพรรษาอย่ทู างภาคเหนือ เชน่ กนั จงึ ไดร้ บั การอบรมสงั่ สอนจากพระอาจารยม์ นั่ เสมอ บางครงั้ ไดจ้ าพรรษาดว้ ย จงึ ทาใหบ้ ารมเี รม่ิ เกดิ ขน้ึ กบั หลวงป่ขู าวตามลาดบั จติ สงบไมค่ ดิ ถงึ กเิ ลสตณั หา ในอดตี ต่อไปจนถงึ พ.ศ. 2488 ไดเ้ ดนิ ทางกลบั มา จาพรรษาทว่ี ดั บ่อชะแนงบา้ นเกดิ ในระหว่าง พ.ศ. 2496 – 2500 ไดธ้ ดุ งคไ์ ปจาพรรษาทว่ี ดั หมอ้ ทอง จงั หวดั สกลนคร สุดทา้ ย ก่อนทจ่ี ะเขา้ จาพรรษาทว่ี ดั ถ้ากลองเพล อาเภอเมอื งหนองบวั ลาภู จงั หวดั หนองบวั ลาภู (เดมิ จงั หวดั อุดรธานี) บาเพญ็ ภาวนาบารมแี ก่กลา้ ยงิ่ เป็นทเ่ี คารพเล่อื มใสศรทั ธาของพุทธศาสนิกชนทวั่ ประเทศ จนทาใหว้ ดั ถ้ากลอง เพลเป็นทร่ี จู้ กั ของบุคคลทวั่ ไปอยา่ งกวา้ งขวาง หลวงป่ขู าว มรณภาพดว้ ยโรคชรา เมอ่ื วนั จนั ทรท์ ่ี 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2526 สริ อิ ายไุ ดค้ รบ 95 ปี 5 เดอื น ถงึ แมว้ ่าจะมรณภาพไปนานปีแลว้ กต็ าม แต่ช่อื เสยี งบารมแี ละคาสอนของหลวงป่ขู าว ยงั เป็นอมตะชวั่ นิรนั ดร “หลวงป่ ูขาว” จงึ เป็นสญั ลกั ษณ์แห่งดนิ แดนธรรมะท่ีชาวจงั หวดั หนองบวั ลาภู ภาคภูมใิ จ และรว่ มใจกนั ผนึกกาลงั ใหด้ นิ แดนแห่งน้ีเป็น“แผ่นดนิ ธรรมหลวงป่ ขู าว”สบื ทอดเป็นมรดก แก่ลกู หลาน ชาวจงั หวดั หนองบวั ลาภู ตลอดไป หอไตรวดั มหาชยั หอ้ งสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ าร”ี อาเภอเมอื งหนองบวั ลาภู

ทาเนียบแหลง่ เรยี นรู้ กศน.อาเภอเมอื งหนองบวั ลาภู ก ตงั้ อยดู่ า้ นทศิ เหนือภายในวดั มหาชยั เป็นสงิ่ ก่อสรา้ งสาหรบั เกบ็ รกั ษาพระไตรปิฎกคมั ภรี ใ์ บลาน หนังสอื หรอื เอกสารธรรมะต่างๆ สรา้ งประมาณปี พ.ศ.๒๔๔๕ – ๒๔๕๐ ผู้สรา้ งคอื พระอาจารยแ์ สง ธมั มธโี ร เจา้ อาวาสถอื ว่าเป็นห้องสมุดสาหรบั พระภกิ ษุสามเณร ลกั ษณะรูปทรงเป็นเรอื นไมย้ กพ้นื สูง กนั้ ฝา มรี ะเบยี งและลูกกรงกนั้ รอบๆ เดมิ หลงั คาจะมงุ ดว้ ยแป้นไม้ ก่อสรา้ งอย่กู ลางสระน้า เพ่อื ป้องกนั มอดปลวกหรอื แมลงต่างๆ ตดิ กบั ฝัง่ โดยใชส้ ะพานชกั เพอ่ื มใิ หม้ สี ง่ิ เชอ่ื มต่อระหวา่ งฝัง่ พระบางวดั มหาชยั พระบางวดั มหาชยั เป็นพระพุทธรูปปางห้ามญาติ จานวนหน่ึงคู่เป็นโบราณวตั ถุท่สี าคญั ของ จงั หวดั หล่อด้วยทองสดี อกบวบ มอี กั ษรจารกึ อย่ทู ่ฐี านเป็นภาษาขอม บอกช่อื ผูส้ รา้ งและวนั เดอื นปีท่ี สรา้ งอ่านได้ความว่า “สงั กาดไดร้ อ้ ยแปดสบิ ห้าตวั ปีกาเมด เดอื นย่ี แรม ๑๕ ค่า วนั หก แม่อวนพ่อ อวนผัวเมียมีศรทั ธาสร้างไว้ในพระศาสนา” เม่ือคานวณดูตามปีแล้วคงสร้าง เม่ือปี พ.ศ.๒๓๖๖ พระพทุ ธรปู ทงั้ สององคน์ ้ี ชาวหนองบวั ลาภเู คารพนบั ถอื มาก โดยเม่อื ถงึ เทศกาลสงกรานต์ จะมพี ธิ แี ห่พระพุทธรปู ทงั้ สององคร์ อบตวั เมอื งหนองบวั ลาภู เพ่อื ใหป้ ระชาชนไดส้ รงน้าและสกั การะบูชา เกดิ ความศริ มิ งคลต่อชวี ติ ปัจจุบนั พระบางประดษิ ฐาน ณ หอพระบาง วดั มหาชยั เปิดให้ประชาชนได้ สกั การะทุกวนั วดั ธาตหุ าญเทาว์ หอ้ งสมุดประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ าร”ี อาเภอเมอื งหนองบวั ลาภู

ทาเนียบแหลง่ เรยี นรู้ กศน.อาเภอเมอื งหนองบวั ลาภู ก ตงั้ อย่ตู าบลบา้ นขาม อาเภอเมอื งหนองบวั ลาภู สงั กดั คณะสงฆม์ หานิกายเดมิ เป็นวดั ฝ่ายคณะ ธรรมยุตสิ รา้ งเม่อื ปี พ.ศ. ๒๓๒๘ เคยเป็นวดั รา้ ง ต่อมาพระมหาสุตนั สุตาโณ พรอ้ มดว้ ยชาวบา้ นได้ บูรณะองค์ พระธาตุข้นึ ใหม่และได้เปล่ยี นช่ือวดั ใหม่เป็นวดั พระธาตุหาญเทาว์สงั กัดคณะสงฆ์ มหานิกายสาเหตุท่เี ปล่ยี นช่อื จากหนั เทาวม์ าเป็นหาญเทาวด์ ว้ ยเหตุว่าองค์พระธาตุได้ แสดงอทิ ธฤิ ทธิ ์ ปาฏหิ ารยิ ์ปรากฏดวงแก้วไฟใสสว่างข้นึ ทุกแรม ๑๕ ค่า จงึ ได้เปล่ยี นเป็นหาญเทาว์ จนถึงทุกวนั น้ี นอกจากน้ีภายในบรเิ วณพระธาตุดา้ นทศิ เหนือ มพี ระพุทธรปู ปนู ปั้นศลิ ปะลา้ นชา้ ง ซง่ึ เป็นทเ่ี คารพ บชู าของประชาชนทวั่ ไปเชน่ กนั วดั ป่ าสามคั คีสิริพฒั นาราม (กดุ โพนทนั ) ตงั้ อย่บู า้ นโนนบก ตาบลลาภู อาเภอเมอื งหนองบวั ลาภู จงั หวดั หนองบวั ลาภู เป็นวดั เก่าแก่มา แต่โบราณกาล มซี ากอุโบสถ และโบราณวตั ถุหลายชน้ิ โดยอายุสนั นิษฐานว่า คงจะสรา้ งสมยั เดยี วกบั เมอื งนครเขอ่ื นขนั ธก์ าบแก้วบวั บาน เพราะซากอฐิ และโบราณวตั ถุมอี ายุรุ่นราวคราวเดยี วกนั ปัจจุบนั มี หอ้ งสมุดประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ าร”ี อาเภอเมอื งหนองบวั ลาภู

ทาเนียบแหล่งเรยี นรู้ กศน.อาเภอเมอื งหนองบวั ลาภู ก เน้ือทป่ี ระมาณ ๒๐๐ ไร่ มพี น้ื ทป่ี ่าสมบูรณ์ สงบร่มรน่ื เหมาะต่อการเป็นสถานทว่ี ปิ ัสสนากรรมฐานอยา่ ง ยงิ่ วดั โพธ์ิศรี(วดั หายโศก) เดมิ ช่อื วดั พระราชศรสี ุมงั คห์ ายโศก ซง่ึ เป็นช่อื มาจาก พระราชศรสี ุมงั คห์ ายโศก ทป่ี ระดษิ ฐานท่ี อุโบสถวดั โพธศิ ์ รี บา้ นลาภู อาเภอเมอื ง จงั หวดั หนองบวั ลาภู สนั นิษฐานว่า เป็นพระพุทธรปู ท่สี รา้ งรุ่น เดยี วกนั กบั พระไชยเชษฐา วดั ถ้าสุวรรณคูหา และวดั ศรคี ูณเมอื ง สรา้ งประมาณปี พ.ศ. ๒๑๐๖ เป็น พระพุทธรปู ศกั ดสิ ์ ทิ ธทิ ์ ่เี จา้ เมอื งและชาวเมอื งเคารพนับถอื มาก ใชเ้ ป็นพระประธานในพธิ ถี อื น้าพพิ ฒั น์ สตั ยาและดม่ื น้าสาบานในอดตี พระพทุ ธรตั นเอกโกเมนทร์ ศนู ยป์ ฏิบตั ิธรรมหนองน้าเพชรมงคล หอ้ งสมุดประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ าร”ี อาเภอเมอื งหนองบวั ลาภู

ทาเนียบแหลง่ เรยี นรู้ กศน.อาเภอเมอื งหนองบวั ลาภู ก ตงั้ อยู่ศูนยป์ ฏบิ ตั ธิ รรมหนองน้าเพชรมงคล บ้านเพ็กเฟ้ือย-ห้วยเตย ตาบลหนองหว้า อาเภอ เมอื งหนองบวั ลาภู จงั หวดั หนองบวั ลาภู เป็นพระพุทธรปู ปางมารวชิ ยั หน้าตกั กวา้ ง ๖ เมตร สูง ๘.๒๐ เมตร ซ่งึ พระเจ้าหลานเธอพระองค์เจ้าพัชรกิติยาภา ทรงสร้างถวาย ทรงประทานนาม พรอ้ ม ประทานพระอนุญาตให้ใช้พระนามย่อประดษิ ฐานณฐานพระพุทธรูปและประทานพระบรมสารรี กิ ธาตุ บรรจใุ นพระเกศและทรงประกอบพธิ พี ทุ ธาภเิ ษก ในวนั ท่ี ๒๐ กุมภาพนั ธ์ พ.ศ.๒๕๕๓ สพั พสงั วรเจดีย์ ตงั้ อย่บู นท่พี กั สงฆภ์ ูหนิ กอง บ้านนาแค ตาบลหนองบวั อาเภอเมอื งหนองบวั ลาภู ซ่งึ ตงั้ อยู่ ณ บรเิ วณเชงิ เขาภพู าน โดยพระครปู รชี าญาณคุณ สรา้ งขน้ึ สาหรบั เป็นสถานทป่ี ฏบิ ตั ธิ รรมของพระสงฆ์ มี ความสูง ๓๐ เมตร กว้าง ๑๖ เมตร เรมิ่ ก่อสร้างเม่อื วนั ท่ี ๕ ธนั วาคม ๒๕๕๒ ซ่ึงพระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าพัชรกิติยาภา ทรงเป็นองค์ประธานเปิด และทรงบรรจุพระบรมสารรี กิ ธาตุ วันท่ี ๒๙ กรกฎาคม ๒๕๕๓ ปโมทิตเจดีย์ อาคารพิพิธภณั ฑห์ ลวงป่ หู ลอด หอ้ งสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ าร”ี อาเภอเมอื งหนองบวั ลาภู

ทาเนียบแหลง่ เรยี นรู้ กศน.อาเภอเมอื งหนองบวั ลาภู ก ปโมทติ เจดยี ์ เป็นเจดยี ์ ๓ ชนั้ มขี นาดกวา้ ง ๒๐ เมตร ความยาว ๔๒ เมตร ความสงู ๓๕ เมตร อย่ทู ่วี ดั ป่าศรสี ว่าง บ้านขาม ตาบลบา้ นขาม อาเภอเมอื ง จงั หวดั หนองบวั ลาภู ห่างจากตวั เมอื งไปทาง อาเภอโนนสงั ประมาณ ๑๐ กโิ ลเมตรภายในเจดยี ์ ประกอบดว้ ย ชนั้ ท่ี ๑ เป็นศาลาปฏบิ ตั ธิ รรมและหอ้ ง ประชุม ชนั้ ท่ี ๒ เป็นอาคารพพิ ธิ ภณั ฑข์ อง หลวงป่ หู ลอด ปโมทิโต ชนั้ ท่ี ๓ เป็นทป่ี ระดษิ ฐาน พระบรม สารรี กิ ธาตุ มพี ธิ เี ปิดใน ๒๙ มนี าคม พ.ศ.๒๕๔๖ โดยหลวงป่ ูหลอดเป็นประธานในพธิ อี ญั เชญิ พระ บรมสารกิ ธาตุ บรรจุในปโมทติ เจดยี ์ ทางวดั เปิดให้ผู้สนใจเข้าชมและสกั การะ ตงั้ แต่ เวลา ๐๙.๐๐ - ๑๖.๐๐ น. โดยหยดุ ทกุ วนั จนั ทรย์ กเวน้ วนั จนั ทรว์ นั นกั ขตั ฤกษ์ เจดียว์ ดั สิริสาลวนั เจดยี ว์ ดั สริ สิ าลวนั ตงั้ อยภู่ ายในวดั สริ สิ าลวนั ตาบลโนนทนั อาเภอเมอื งหนองบวั ลาภู เป็นเจดยี ์ ทส่ี รา้ งขน้ึ เพ่อื บรรจุอฐั ธิ าตุ หลวงป่ บู ุญมา ฐติ เปโต ซ่งึ หลวงป่ ไู ด้มรณภาพ เม่อื วนั ท่ี ๒๗ เม.ย.๒๕๒๓ โดยพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อย่หู วั ทรงเสดจ็ พระราชดาเนิน ทรงมาเป็นองคป์ ระธานในการประกอบพธิ ี พระราชทานเพลงิ ศพ เมอ่ื วนั ท่ี ๒๔ มนี าคม ๒๕๒๔ ศาลเจ้าป่ หู ลบุ หอ้ งสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ าร”ี อาเภอเมอื งหนองบวั ลาภู

ทาเนียบแหลง่ เรยี นรู้ กศน.อาเภอเมอื งหนองบวั ลาภู ก ตัง้ อยู่บริเวณดอนหัน บ้านห้วยเชียง รมิ ถนนหนองบัวลาภู-อุดรธานี ทางหลวงหมายเลข ๒๑๐ จากตวั เมอื งหนองบวั ลาภไู ปทางจงั หวดั อุดรธานี ประมาณ ๓ กโิ ลเมตร “ป่หู ลุบ” เป็นทเ่ี คารพและ ศรทั ธาของประชาชนทวั่ ไป เวลาขบั รถยนต์และรถจกั ยานยนต์ผ่านเส้นทางสายน้ี จะบบี แตรสามครงั้ เพ่อื ขอให้เดนิ ทางด้วยความปลอดภยั และประสบโชคดี บางทีมคี นไปอธษิ ฐานบนบานศาลกล่าวเพ่อื ขอให้ป่ ูหลุบได้ช่วยเหลอื เม่อื ประสบผลสาเรจ็ แลว้ ก็จะนาเหล้าไหไก่โตหรอื ไม่ก็หวั หมูไปถวายเป็น การแกบ้ น ปัจจบุ นั นิยมนาหมอลาชง่ิ หมอลาเพลนิ และภาพยนตรไ์ ปแกบ้ นในเวลากลางวนั ป่หู ลุบเป็นช่อื คนจรงิ ในอดตี เม่อื ประมาณ 200 ปี ทผ่ี ่านมา ปัจจบุ นั เป็นช่อื ศาลอนั เป็นทส่ี ถติ ของ ดวงวญิ ญาณตามความเช่อื ดงั้ เดมิ ของคนในทอ้ งถ่ิน ศาลป่ หู ลุบจะมอี ยู่ 3 แห่ง ใหญ่ๆ คอื ลาปางแห่ง หน่ึง ดงลานแห่งหน่ึง และอกี แห่งคอื หนองบวั ลาภู ประวตั คิ วามเป็นมาของป่หู ลุบ เดมิ นนั้ ท่านเป็น คนหล่มเก่า จงั หวดั เพชรบรู ณ์ มชี วี ติ อย่ใู นช่วงปี พ.ศ.2350-2390 เป็นผมู้ รี ปู ร่างใหญ่ แขง็ แรง กลา้ หาญ และมวี ชิ าอาคมดา้ นอย่ยู งคงกระพนั ท่านจงึ ถูกเลอื กเป็นหวั หน้าหม่บู ้าน อย่ตู ่อมาเกดิ ความขดั แยง้ กนั ในหมบู่ า้ นและหม่บู า้ นใกลเ้ คยี ง ท่านจงึ อพยพครอบครวั พรอ้ มญาตพิ น่ี ้องทใ่ี กลช้ ดิ รวมทงั้ กลมุ่ ของเทพ ชมภมู าสรา้ งบา้ นแปลงเมอื งใหม่ทบ่ี า้ นลาภู (เขตเทศบาลเมอื งหนองบวั ลาภู ) ต่อมาท่านเกดิ ขดั แยง้ กบั หอ้ งสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ าร”ี อาเภอเมอื งหนองบวั ลาภู

ทาเนยี บแหลง่ เรยี นรู้ กศน.อาเภอเมอื งหนองบวั ลาภู ก กลุ่มของเทพชมภู จงึ อพยพครอบครวั ไปอยู่บ้านโนนป่ าหว้าน (เขตอาเภอสุวรรณคูหา) วาระ สดุ ทา้ ยของชวี ติ ท่านไดข้ อเป็นใหญ่ในโลกแห่งวญิ ญาณตงั้ แต่เขตภพู านถงึ เทอื กเขาแดนลาว ความเช่อื ของคนมมี ากมายหลากหลายไม่จากดั เม่อื มเี หตุการณ์ต่างๆ เกดิ ขน้ึ ในหมบู่ ้านไมว่ ่าไปทามาหากนิ ตามวถิ ที างแห่งการคงอยู่ เม่อื มสี ง่ิ ไม่ดไี ม่งามเกดิ ขน้ึ ชาวบา้ นกจ็ ะขอขมาลาโทษ อยา่ ใหม้ เี วรกรรมต่อ กนั มหี ลายสาเหตุเน่ืองมาจากความเชอ่ื และความกลวั ผสมกนั เมอ่ื เกดิ เหตุการณ์ต่างๆขน้ึ กว็ ่าป่หู ลุบเข้า สงิ โดยมสี ่อื กลางระหว่างผกี บั คนนนั้ คอื \"นางเทยี ม เช่น ยายดาบา้ นวงั หมน่ื เทยี มว่าป่หู ลุบเขา้ สงิ เพ่อื มาอยกู่ บั เจา้ พระวอ พระตา จงึ รบั ป่หู ลุบไวเ้ พ่อื รกั ษาเขตแดนซง่ึ เหน็ ไดใ้ นปัจจบุ นั ตามทางหลวงแผ่นดนิ หมายเลข 210 อุดรธานี-หนองบวั ลาภู เม่อื รถทุกชนิดวง่ิ ผ่านจะบบี แตรเป็นสญั ญาณเพ่อื ความปลอดภยั ในชีวติ และทรพั ย์สิน ชาวหนองบวั ลาภูจดั งานบวงสรวงในวนั พุธและวนั พฤหสั บดีแรกของเดอื น 6 (ประมาณเดอื นพฤษภาคม) ของทกุ ปีบรเิ วณศาลพระวอพระตา และศาลเจา้ พอ่ ป่หู ลบุ หอสองนาง \"สองนาง\" หรอื หอสองนาง ตงั้ อยรู่ มิ หนองบวั ดา้ นทศิ ตะวนั ตกใกลต้ ลาดแม่สาเนียงซง่ึ ถอื วา่ เป็น สถานท่ี อกี แห่งหน่ึงท่เี กดิ ขน้ึ มาพรอ้ มกบั เมอื งหนองบวั ลาภู ตงั้ แต่อดตี จนถงึ ปัจจุบนั โดยทไ่ี ม่มผี ใู้ ดจะ ลบล้างหรอื ทาอย่างหน่ึงอย่างใดได้ ชาวเมอื งหนองบวั ลาภู ถอื ว่าเป็นส่วนหน่ึงคู่กบั ศาลพระวอพระตา โดยมตี านานเล่าถงึ “สองนาง” ทเ่ี ป็นหลานพระวอพระตา ทอ่ี ย่รู มิ หนองบวั ไดม้ าเฝ้ารกั ษาฆอ้ งเมอื ง \"มงิ่ หอ้ งสมุดประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ าร”ี อาเภอเมอื งหนองบวั ลาภู

ทาเนยี บแหลง่ เรยี นรู้ กศน.อาเภอเมอื งหนองบวั ลาภู ก เมอื ง\" ของพระวอพระตา ซ่ึงเป็นฆ้องขนาดใหญ่มากไม่สามารถจะเอาไปได้ เม่อื คราวพ่ายศึกทาง เวยี งจนั ทน์ ท่านจงึ ให้คนเอาไปฝังไว้ในหนองบวั เพ่อื ท่จี ะไม่ใหท้ างเวยี งจนั ทน์เอาคนื ไป แล้วมอบให้ หลานฝาแฝดหญงิ ของท่านมารกั ษาฆอ้ งไว้ในโลกแห่งนามธรรม ซ่งึ ฝาแฝด ผูพ้ ่ชี ่อื \"คาส\"ี คนน้องช่อื \"คาใส\" จงึ เป็นทม่ี าของ หอสองนาง หม่บู ้านหตั ถกรรมเครื่องปัน้ ดินเผา บ้านโค้งสวรรค์ บ้านโค้งสวรรคเ์ ป็นหมู่บ้านขนาดเลก็ ตงั้ อยู่รมิ ทางหลวงหมายเลข ๒๑๐ อยู่ห่างจากตวั เมอื ง หนองบวั ลาภู ๑๘ กโิ ลเมตร ขน้ึ กบั ตาบลโนนทนั อาเภอเมอื งหนองบวั ลาภู ชุมชนเกดิ จากการยา้ ยถน่ิ ฐานของชาวโคราช ซง่ึ ไดน้ าภมู ปิ ัญญาการปั้นหมอ้ มาเผยแพร่ เดมิ ทเี ป็นพน้ื ทป่ี ่า ชาวบา้ นเรียกว่า “มอม หาตนั ” และไดเ้ ขา้ มาตงั้ ชุมชนครงั้ แรกเม่อื ปี พ.ศ.๒๕๐๐ โดยนายพรมกบั นางไหล จงชนะคดี สภาพท่ี อย่อู าศยั มหี นองน้าสาธารณะท่มี ดี นิ เหนียวเหมาะแก่การปั้นหมอ้ การปั้นหมอ้ ของชาวบา้ นจะเป็นงาน หตั ถกรรมท่ใี ช้มอื และความชานาญในการทา กรรมวธิ กี ารผลติ เป็นศิลปหตั ถกรรมแบบดงั้ เดิม เป็น เอกลกั ษณ์ทโ่ี ดดเด่นเฉพาะในทอ้ งท่ี เคร่อื งปั้นดนิ เผาทส่ี าคญั คอื แจกนั แอ่งน้า หมอ้ ดนิ หรอื หมอ้ แกง อ่อม ฯลฯ สว่ นแจกนั ขนาดใหญ่ช่างปัน้ จะทาสง่ พ่อคา้ บา้ นเชยี ง อาเภอหนองหาน จงั หวดั อุดรธานี ภหู ินลาดช่อฟ้า หอ้ งสมุดประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ าร”ี อาเภอเมอื งหนองบวั ลาภู

ทาเนียบแหล่งเรยี นรู้ กศน.อาเภอเมอื งหนองบวั ลาภู ก ภูหินลาดช่อฟ้ า ตัง้ อยู่ท่ีเทือกเขาภูพานคา บ้านภูพานคา ตาบลโนนทัน อาเภอเมือง หนองบวั ลาภู เป็นอาณาบรเิ วณของป่าดบิ และลานหนิ กวา้ งใหญ่ ผนื ป่ายงั อุดมสมบรู ณ์ มคี วามงดงาม ของพนั ธุไ์ มป้ ่ าชนิดต่างๆ มกี ้อนหนิ ขนาดน้อย ใหญ่รปู รา่ งลกั ษณะแปลกตาเป็นรอ่ งคล้ายถูกน้าเซาะ กดั กรอ่ นมาเป็นเวลานาน จนก่อใหเ้ กดิ โขดหนิ รปู ร่างคลา้ ยช่อฟ้าและโพรงถ้า สามารถเดนิ ชมดอกไมป้ ่า ทเ่ี กาะเกย่ี วกบั ผนังของหนิ และสามารถมองเหน็ ทศั นียภาพของตวั จงั หวดั หนองบวั ลาภู และเข่อื นหว้ ย หลวง จงั หวดั อุดรธานีไดอ้ ย่างชดั เจน และเคยเป็นสถานทพ่ี านกั และศูนยบ์ ญั ชาการของนิสติ นกั ศกึ ษา และผรู้ ว่ มพฒั นาชาตไิ ทย ในการต่อสทู้ างการเมอื ง เมอ่ื ปี พ.ศ.๒๕๑๙ ในอดตี ทผ่ี า่ นมา และมปี ระวตั ิ เก่ียวกับสถานท่ีต่างๆ ในการต่อสู้และดารงชีวิตของผู้ร่วมพัฒนาชาติไทย ท่ีน่าสนใจและ มีประวตั ิ เก่ียวกบั ทบั ต่างๆ ประกอบด้วย ทบั บนั เทิง ทบั สามสบิ สองอ่าง ทบั ถ้าใหญ่ ทบั กกบก ทบั สูง ทบั โรงแรม ทบั ววิ ฒั น์ ทบั พยาบาล ทบั ซาบก ฯลฯ และยงั มสี ถานทน่ี ่าสนใจอกี หลายแห่ง คอื ลานตาหมาก ฮอ็ ต ซานกยงู ลานกลางภูหนิ ลาดช่อฟ้า ถ้าเวที และถ้าวทิ ยุ เอกสาร จงึ เป็นสถานทท่ี างประวตั ศิ าสตรท์ ่ี น่าศกึ ษาและพฒั นาเป็นแหล่งท่องเท่ยี วของ จงั หวดั อกี แห่งหน่ึง และมีสถปู ภซู าง (อนุสรณ์สถานผูร้ ว่ ม พฒั นาชาติไทย) ท่ีบ้านห้วยเด่ือ ตาบลโนนทัน เป็นสถานท่ีเก็บอัฐิของ ผู้ร่วมพัฒนาชาติไทย ท่ี เสยี ชวี ติ ในการต่อสแู้ ละจากการเจบ็ ป่วย ประมาณสองรอ้ ยกวา่ คน ในเขตเทอื กเขา ภพู านคา กาเนิดนกั ปฏวิ ตั แิ หง่ ภชู ่อฟ้า แนวคดิ ของพรรคคอมมวิ นิสตฯ์ เรม่ิ แพรข่ ยายไปตามหมบู่ า้ นชนบท รวดเรว็ ราวไฟลามทุ่ง ตงั้ แต่ปีพ.ศ. 2501 ในยุคของจอมพลสฤษดิ ์ ธนะรชั ต์ ซ่ึงทารฐั ประหารยดึ อานาจ ในวนั ท่ี 20 ตุลาคม 2501 แล้วใช้มาตรการรุนแรงปราบปรามผู้ท่มี คี วามคดิ เห็นทางการ เมอื งแตกต่าง สงั่ ประหารชวี ติ และจบั กุมบุคคลแบบเหว่ยี งแห โดยใช้ขอ้ หามกี ารกระทาอนั เป็น คอมมวิ นสิ ตพ์ .ศ.2504 รฐั บาลเรมิ่ ใชแ้ ผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาตฉิ บบั ทห่ี น่ึง ซง่ึ เน้นการสรา้ ง ถนนหนทางทวั่ ประเทศ ดว้ ยหวงั ว่าหนทางทส่ี ะดวกสบาย จะทาใหท้ างการสามารถเขา้ ถงึ ประชาชน ในท้องถน่ิ ทุรกนั ดารได้มากข้นึ และถนนท่เี ป็นตวั นาทางความเจรญิ ทางวตั ถุ จะทาให้คอมมวิ นิสต์ หายไป แต่ความคาดหวงั ดงั กล่าวกลบั พลกิ ผนั โดยสน้ิ เชงิ การสรา้ ง ถนนหนทางกลบั ยงิ่ เหมอื นปทู าง หอ้ งสมุดประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ าร”ี อาเภอเมอื งหนองบวั ลาภู

ทาเนียบแหลง่ เรยี นรู้ กศน.อาเภอเมอื งหนองบวั ลาภู ก สะดวก ให้กับการเผยแพร่แนวความคิดของพรรคคอมมิวนิสต์ ช่วงท่ีสร้างถนนสายอุดรธานี – หนองบวั ลาภู ไดเ้ ปิดรบั คน ทอ้ งถนิ่ ซง่ึ ส่วนใหญ่เป็นชาวนาเขา้ มาเป็นกรรมกรสรา้ งทางทาให้ชาวนาท่ี อยกู่ นั อยา่ งกระจดั กระจายไดม้ โี อกาสรวมกลุม่ กนั ไดม้ โี อกาส ใกลช้ ดิ ผปู้ ฎบิ ตั งิ านของพรรคคอมมวิ นสิ ต์ซง่ึ เป็นนายช่างจงึ ไดเ้ รยี นรเู้ รอ่ื งการเมอื งไดม้ องเหน็ โครงสรา้ ง สงั คมทงั้ ระบบเข้าใจแจง้ ว่าความทุกขย์ ากของตวั เองเก่ยี วกบั การเมอื งเช่นไรทาให้เกดิ การต่นื ตวั ทาง การเมอื งอย่างกว้างขวางภูหนิ ลาดช่อฟ้า ณ.วนั น้ีกลายเป็นแหล่งท่องเท่ียวทางธรรมชาติท่มี ที วิ ทศั น์ สวยงาม วนอทุ ยานบวั บาน หอ้ งสมุดประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ าร”ี อาเภอเมอื งหนองบวั ลาภู

ทาเนียบแหล่งเรยี นรู้ กศน.อาเภอเมอื งหนองบวั ลาภู ก วนอทุ ยานบวั บาน ตงั้ อย่บู นเทอื กเขาภูพาน ตาบลหนองบวั อาเภอเมอื งหนองบวั ลาภูจงั หวดั หนองบวั ลาภู ทางเขา้ บรเิ วณบา้ นภูพานทอง เขา้ ไปประมาณ ๔ กโิ ลเมตร ห่างจากตวั เมอื ง ๗ กโิ ลเมตร เป็นหน่วยงานในสงั กดั กรมอุทยานแห่งชาติ สตั วป์ ่ า และพนั ธุพ์ ชื มเี น้ือทป่ี ระมาณ ๒,๐๐๐ ไร่ มแี หล่ง ท่องเท่ยี วทส่ี วยงามหลายแห่ง เช่น ผาชมเมอื ง ลานหมาจอก ธารน้าตก ถ้าพระ และโขดหนิ เมอื งเก่า เป็นต้น มีแนวเขตติดต่อกับแหล่งท่องเท่ียวเชิงนิเวศภูพานน้อย ลักษณะภูมิประเทศเป็นภูเขา สามารถมองเหน็ ทศั นียภาพของจงั หวดั หนองบวั ลาภทู ่สี วยงามทงั้ กลางวนั และกลาง คนื ปัจจบุ นั แหล่ง ท่องเทย่ี วแห่งน้ีสามารถพฒั นาดา้ นการท่องเทย่ี วให้เป็นแหล่ง เรยี นรทู้ างธรรมชาติ เป็นสถานท่ดี าเนิน กิจกรรมต่างๆ จากทงั้ หน่วยงานราชการและนักท่องเท่ยี ว เช่นการเข้าค่ายอบรมและพกั แรมมหี ้อง ประชุมบา้ นพกั ไวบ้ รกิ ารสอบถามขอ้ มลู แหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศภพู านน้อย หอ้ งสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ าร”ี อาเภอเมอื งหนองบวั ลาภู

ทาเนียบแหลง่ เรยี นรู้ กศน.อาเภอเมอื งหนองบวั ลาภู ก แหล่งท่องเท่ียวเชิงนิเวศภูพานน้อย ตัง้ อยู่ท่ีเทือกเขาภูพาน ตาบลหนองบัว อาเภอเมอื ง หนองบวั ลาภู จงั หวดั หนองบวั ลาภู ทอดตวั ยาวจากทศิ ตะวนั ออกของอาเภอเมอื งหนองบวั ลาภูไปทาง ทศิ ใต้สู่เทอื กเขาภูเก้าอาเภอโนนสงั มพี ้นื ท่ปี ระมาณ 35,000 ไร่ จากการตรวจสอบหลกั ฐานพบว่าอยู่ นอกเขตพน้ื ทป่ี ่าสงวนป่าอนุรกั ษ์และเขตพน้ื ทธ่ี นารกั ษ์แต่ยงั คงมสี ภาพพน้ื ทภ่ี เู ขาและป่าไมเ้ บญจพรรณ ตาม พ.ร.บ.ป่ าไม้ พ.ศ.2484 ซ่ึงเป็นหน้าท่ีของผู้ว่าราชการทางเข้าบรเิ วณบ้านภูพานทอง เข้าไป ประมาณ ๕ กโิ ลเมตร ห่างจากตวั เมอื ง ๘ กโิ ลเมตร เป็นแหล่งท่องเทย่ี วทางธรรมชาตทิ ส่ี วยงาม มี ความหลากหลายทางชวี ภาพ มภี มู ปิ ระเทศทส่ี ามารถมองเหน็ ทวิ ทศั น์จงั หวดั หนองบวั ลาภไู ดท้ งั้ หมด มี จดุ ชมทวิ ทศั น์ทส่ี รา้ งดว้ ยไมใ้ นบรเิ วณหน้าผา และมอี กี หลายจุดทส่ี วยงามแตกต่างกนั ไป จุดเดน่ ภายใน แหล่งท่องเท่ยี วจะมหี อดูดาว ท่จี งั หวดั หนองบวั ลาภูไดส้ รา้ งไว้รองรบั นักท่องเท่ยี วท่สี นใจในการดูดาว และยงั ชมดาวบนดนิ ยามค่าคนื ท่เี กดิ จากแสงไฟฟ้าระยบิ ระยบั ของตวั เมอื ง มลี กั ษณะเหมอื นมองดู ดาวบนฟ้า สนใจสอบถามขอ้ มูลเพมิ่ เติมได้ท่ี อบจ.หนองบวั ลาภู โทร. ๐-๔๒๓๑- ๒๘๗๐-๑ ภูพานน้อยมสี ภาพพ้นื ท่เี ป็นภูเขาและป่ าไมเ้ บญจพรรณ จุดเด่นของเทอื กเขาภูพานน้อยคอื มี พน้ื ทส่ี ่วนหน่ึงอยู่ใกล้ตวั เมอื งทาให้ดูมเี สน่หแ์ ละท้าทายความนึกคดิ ทอ่ี ยากจะเหน็ ภาพภูมปิ ระเทศอนั เป็นทม่ี าของคาว่า \"หนองบวั ลาภู\" จงึ ไดร้ เิ รม่ิ จดั ทมี สารวจประกอบดว้ ยเจา้ หน้าทป่ี ่ าไม้ หมอยาสมุนไพร พน้ื บา้ นและพรานทอ้ งถน่ิ พบว่ามสี ภาพเป็นป่าเตง็ รงั 60 % ป่าเบญจพรรณ 40 % คอื เป็นป่าผลดั ใบมี พชื สมนุ ไพรมากมายมคี วามหลากหลายทางชวี ภาพเหมาะแก่การอนุรกั ษ์ไวเ้ พ่อื การศกึ ษาต่อมาจงั หวดั หนองบวั ลาภูเหน็ ว่าพน้ื ทภ่ี พู านน้อยมศี กั ยภาพทน่ี ่าจะพฒั นาเป็นแหล่งท่องเทย่ี วเชงิ นิเวศไดจ้ งึ ไดจ้ ดั ทา โครงการพฒั นาขน้ึ โดยใชง้ บประมาณจากโครงการพฒั นาตามยุทธศาสตรก์ ารพฒั นาจงั หวดั (CEO)ทา การปรบั ปรุงถนนทางข้นึ และพฒั นาเส้นทางศึกษาธรรมชาติ จดั บรเิ วณพ้นื ท่บี รกิ ารและนันทนาการ สรา้ งลานชมววิ ห้องสุขาและสง่ิ อานวยความสะดวกพน้ื ฐานปัจจุบนั สามารถให้บรกิ ารนักเรยี น ลูกเสอื เนตรนารี เข้าค่ายพกั แรมและมนี ักท่องเทย่ี วสามารถมาเท่ยี วชมได้ทงั้ ในเวลากลางวนั และกลางคนื ภู พานน้อยเป็นสนิ ทรพั ยท์ างธรรมชาตทิ ช่ี าวจงั หวดั หนองบวั ลาภดู แู ลรกั ษาเพ่อื การดารงอยอู่ ยา่ งพอเพยี ง ของทุกชวี ติ โดยมพี นั ธกจิ ทส่ี าคญั คอื 1. ดูแลรกั ษาและฟ้ืนฟูสภาพทรพั ยากรป่ าไมแ้ ละระบบนิเวศให้มคี วามอุดมสมบูรณ์ยงิ่ ขน้ึ ตาม แนวพระราชดารฯิ อนั เป็นท่มี าของ \"โครงการป่ ารกั ษ์น้า\" ด้วยการสรา้ งฝายต้นน้าตามโครงการ 80 พรรษา 80 ตน้ ฝาย และโครงการหน่งึ คน หน่งึ ตน้ หน่งึ ฝน ใหป้ รากฏผลอยา่ งเป็นรปู ธรรม หอ้ งสมุดประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ าร”ี อาเภอเมอื งหนองบวั ลาภู

ทาเนยี บแหล่งเรยี นรู้ กศน.อาเภอเมอื งหนองบวั ลาภู ก 2. เสรมิ สร้างและพฒั นาให้เป็นแหล่งเรยี นรูศ้ ึกษาหาความรทู้ างธรรมชาตแิ ละระบบนิเวศแก่ เยาวชน นักเรยี น นักศึกษา และประชาชนทวั่ ไป จดั ให้มเี ส้นทางศึกษาธรรมะ (ตามรอยธรรม) และ เส้นทางศกึ ษาธรรมชาติจดั สรา้ งฐานกจิ กรรมลูกเสอื -เนตรนารี รวมทงั้ สนับสนุนการนันทนาการ เช่น กจิ กรรมรอบกองไฟ การฝึกอบรมต่างๆ 3. พฒั นาเป็นแหล่งท่องเท่ียวเชงิ นิเวศ และการกีฬา ให้บรกิ ารพ่ีน้องประชาชนชาวจงั หวดั หนองบวั ลาภู และนกั ท่องเทย่ี ว ไดข้ น้ึ มาพกั ผ่อนหย่อนใจในท่ามกลางบรรยากาศของธรรมชาตทิ บ่ี รสิ ุทธิ ์ และไดช้ มทศั นียภาพความเป็นหนองบวั ลุ่มภูไดใ้ นทุกฤดูกาล รวมทงั้ การจดั กจิ กรรม เดนิ /วง่ิ มาราธอน และการแขง่ ขนั จกั รยานเสอื ภเู ขา เป็นตน้ 4. พฒั นาให้เป็นศูนยเ์ รยี นรเู้ ศรษฐกจิ พอเพยี งตามแนวพระราชดารฯิ ด้วยการจดั นิทรรศการ/ สาธติ การประกอบอาชพี และการดารงชวี ติ อย่างพอเพยี ง ปัจจยั สาคญั แห่งความสาเรจ็ ตามพนั ธกจิ ท่ี กล่าวขา้ งต้น คอื ความรว่ มมอื รว่ มใจและความมุ่งมนั่ ของพ่นี ้องชาวจงั หวดั หนองบวั ลาภู ท่จี ะทาให้ \"ภู พานน้อย\" เป็นศูนย์เรยี นรู้ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง เป็นศูนย์การท่องเท่ียวและกีฬาและเป็นศูนย์ ฝึกอบรมและนนั ทนาการอนั จะเป็นแหลง่ ทุนทางปัญญา ทุนสงั คม และทุนทางเศรษฐกจิ ทเ่ี ป็นสนิ ทรพั ย์ ทางธรรมชาตขิ องชาวจงั หวดั หนองบวั ลาภูทุกคน หอ้ งสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ าร”ี อาเภอเมอื งหนองบวั ลาภู

ทาเนียบแหล่งเรยี นรู้ กศน.อาเภอเมอื งหนองบวั ลาภู ก อทุ ยานน้าตกเฒ่าโต้ อุทยานน้าตกเฒ่าโต้ ตงั้ อยู่รมิ ทางหลวงหมายเลข ๒๑๐ (หนองบวั ลาภู – อุดรธานี) จากตวั เมอื งไปทางจงั หวดั อุดรธานี ประมาณ ๓ กิโลเมตร ทางลงไปน้าตกอยู่ ใกล้เคยี งกบั ศาลเจ้า “ป่ ูหลุบ” น้าตกเฒ่าโต้ เป็นน้าตกทเ่ี หมาะในการพกั ผ่อนหยอ่ นใจ มคี วามรม่ รน่ื เตม็ ไปดว้ ยป่าไมน้ านาพรรณ และ โขดหนิ รปู ต่าง ๆ สวยงามตานานน้าตกเฒ่าโต้ มอี ยู่ว่า เนินนานกาลก่อน ยอ้ นรอยถอยหลงั ครงั้ หน่ึง เฒ่าโต้ คนโตถน่ิ น้ี มศี กั ดมิ ์ ศี รี เป็นท่รี จู้ กั สาวเคยคุ้น มคี ุณธรรม จาใจเดนิ ป่ า พรานไพรหนา หาเลย้ี ง ชวี ติ คดิ อยากท่องเทย่ี ว เลย้ี วและชมเขา พบสาวเลย้ี งสตั วล์ ดั และเลม็ หญ้า อยกู่ ลางไพรหนา ปีนผาหา หน่อไม้ ไดเ้ รยี นล่อต่อรกั ฮกั ชวนสนุก ทุกคนเฮฮา ตามประสาชาวดง นวลอนงคเ์ อ่ยเออ้ื น กบั เพ่อื น สองคน ดลใจใหท้ า้ ทาย หมายเป็นค่คู รอง ถา้ เฒา่ โต้หมายปอง ใหก้ ระโดดเหวลกึ ถา้ แมน้ ปลอดภยั ได้เมยี ดงั ใจนึก ตาเฒ่าจงึ ตงั้ ท่า เลยผวากระโดด โลดแล่นตกผา เพราะ ด้ามพรา้ สะพาย ดนั กาย กระทุง้ ดนิ กระแสสนิ พดั พา ตาเฒา่ ตกอบั หว่างกลางไพรพฤกษ์ รอดตายมา รสู้ กึ ว่า ตนปลอดภยั จงึ ได้ ทวงสญั ญา สองแมก่ านดา จงึ มอบกายา เป็นเมยี ตาเฒา่ เฝ้าปรนนิบตั ิ ประวตั มิ มี าใหส้ มญาน้าตกเฒา่ โต้ แห่งน้แี ห่งน้พี ง่ึ ฉงน\" หอ้ งสมุดประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ าร”ี อาเภอเมอื งหนองบวั ลาภู

ทาเนยี บแหลง่ เรยี นรู้ กศน.อาเภอเมอื งหนองบวั ลาภู ก พิพิธภณั ฑห์ อยหิน ๑๕๐ ล้านปี ตงั้ อยู่ท่บี ้านห้วยเด่อื ตาบลโนนทนั จดั แสดงเก่ยี วกบั วากฟอสซลิ หอยอายุราว ๑๔๐ – ๑๕๐ ลา้ นปี ซ่งึ คน้ พบจานวนมากท่บี รเิ วณหน้าผาสูงชนั มสี ภาพท่สี มบูรณ์ และยงั ค้นพบซากกระดูกจระเข้ โบราณ เศษหนิ จาไมกา้ และแรธ่ าตุบางชนิดอกี ดว้ ย ภายในบรเิ วณยงั สามารถชมอาคารแสดงนิทรรศการ กระดกู ไดโนเสารท์ ข่ี ดุ พบอย่ใู น ชนั้ หนิ เหนือชนั้ ทพ่ี บซากหอยหนิ ๒ เมตร เป็นกระดกู ขาหน้าส่วนบนทงั้ ซา้ ยและขวา ขาหลงั และอกี หลายชน้ิ และภายในอาคารยงั มหี ุ่นยนต์ไดโนเสารเ์ คล่อื นไหวได้ ๘ จดุ ตวั แรกในประเทศไทย เป็นไดโนเสารต์ ระกูลทเี รก็ ซ์ ขนาดเท่าตวั จรงิ ขนาดยาวกว่า ๗ เมตร สูง ๓ เมตร โดยเปิดให้ชมทุกวนั นอกจากน้ีภายในพน้ื ทย่ี งั เป็นทต่ี งั้ ของศาลสมเดจ็ พระนเรศวรมหาราช แห่งท่ี๒ไว้ ใหผ้ มู้ าเยอื นไดส้ กั การะบชู าอกี ดว้ ย การเดินทาง ใชท้ างหลวงหมายเลข ๒๑๐ (หนองบวั ลาภู – อุดรธานี ) กโิ ลเมตรท่ี ๘๘ ห่าง จากตวั เมอื งหนองบวั ลาภู ๑๐ กโิ ลเมตร ทางเขา้ ทางเดยี วกนั กบั ท่ที าการขององคก์ ารบรหิ ารส่วนตาบล โนนทนั หอ้ งสมุดประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ าร”ี อาเภอเมอื งหนองบวั ลาภู

ทาเนียบแหลง่ เรยี นรู้ กศน.อาเภอเมอื งหนองบวั ลาภู ก เม่อื ปี พ.ศ. 2537 ชาวบา้ นหว้ ยเดอ่ื ไดเ้ กบ็ ซากดกึ ดาบรรพห์ อยสองฝาไหลเ่ ขาบรเิ วณเหมอื งหนิ รา้ งมาขายในราคา กโิ ลกรมั ละ 2- 20 บาท ในระยะแรก ชาวบา้ นสามารถขดุ เกบ็ ซากหอยดงั กล่าวไดโ้ ดย จากบรเิ วณหนิ ผุในสภาพเป็นตวั ๆ ฝังอย่ใู นดนิ บางบรเิ วณท่มี นี ้าไหลชะลา้ งดนิ ออกไปจะเหน็ ซากหอย โผล่กระจดั กระจายอย่ทู วั่ ไป ซากหอยท่พี บบางตวั มคี วามสมบูรณ์สวยงามราคาสูงถงึ ตวั ละ 1,500 บาท กม็ ตี ่อมาเม่อื มผี ู้คนเขา้ ไปขุดหามากขน้ึ ซากหอยดกึ ดาบรรพก์ ห็ มดไป เหลอื แต่ทฝ่ี ังอย่ใู นชนั้ ซากดกึ ดา บรรพ(์ ฟอสซลิ ) ซง่ึ เป็นหนิ แขง็ ทย่ี งั ไม่ผสุ ลายยากทจ่ี ะสกดั เอาซากหอยดกึ ดาบรรพอ์ อกมาได้ และ สภาพซากหอยไม่สมบูรณ์ จงึ มรี าคาไมส่ ูง แต่เน่ืองจากยงั มผี ุต้ ้องการซ้อื ซากหอยดกึ ดาบรรพเ์ หล่าน้ี อยู่ จงึ ยงั คงมชี าวบา้ นเขา้ ไปขุดและสกดั เอาซากหอยดกึ ดาบรรพอ์ อกมาขายกนั อย่เู นืองๆประกอบกบั ในช่วงเวลาดงั กล่าวมหี นังสอื พมิ พ์หลายฉบบั ได้เสนอข่าวเก่ียวกับการขุดหาซากหอยดกึ ดาบรรพ์ท่ี บรเิ วณบา้ นหว้ ยเดอ่ื จงึ เป็นสาเหตุทม่ี ผี สู้ นใจเดนิ ทางเขา้ มาดแู หลง่ หอยดกึ ดาบรรพม์ ากยงิ่ ขน้ึ หนองบวั หนองบวั เป็นหนองน้าขนาดใหญ่ อย่บู รเิ วณหน้าท่วี ่าการอาเภอเมอื งหนองบวั ลาภู ตดิ สนาม สมเด็จพระนเรศวรมหาราช มนี ้าขงั ตลอดปี เป็นสถานท่พี กั ผ่อนหย่อนใจและออกกาลงั กายของชาว หนองบวั ลาภู มเี น้ือท่ี ประมาณ ๑๓๕ ไร่ ภายในบรเิ วณ ดา้ นทศิ ตะวนั ออกของหนองบวั เป็นทต่ี งั้ ของ “ศาลสมเดจ็ พระนเรศวรมหาราช” ดา้ นทศิ ตะวนั ตก จะเป็นทต่ี งั้ “หอสองนาง” ภายในพน้ื ทจ่ี ะเป็นสถานท่ี หอ้ งสมุดประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ าร”ี อาเภอเมอื งหนองบวั ลาภู

ทาเนยี บแหล่งเรยี นรู้ กศน.อาเภอเมอื งหนองบวั ลาภู ก จดั แสดงดอกบวั สายพนั ธต์ ่าง ๆ ไวใ้ หศ้ กึ ษาและเทย่ี วชมอย่างสวยงาม และในบรเิ วณรอบหนองบวั ดา้ น สนามนเรศวรมหาราช เป็นท่ีตงั้ ของรา้ นอาหารประเภทไก่ย่าง ส้มตา ปลาเผา ท่ผี ู้คนนิยมไปนัง่ รบั ประทาน ตลาดประชารฐั ลานค้าชมุ ชนบ้านห้วยเด่ือ ตลาดจาหน่ายสนิ ค้าพ้นื บ้านตามฤดูกาล ท่ชี าวบ้านนามาวางขาย เช่น หน่อไม้ เห็ด ของป่ า ผลไม้ และสนิ ค้าด้านการเกษตรของทอ้ งถน่ิ ตามฤดูกาล เป็นทส่ี นใจและนิยมจากผคู้ นทผ่ี ่านไปมาเป็น หอ้ งสมุดประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ าร”ี อาเภอเมอื งหนองบวั ลาภู

ทาเนยี บแหลง่ เรยี นรู้ กศน.อาเภอเมอื งหนองบวั ลาภู ก อย่างดี สรา้ งรายได้แก่ชุมชน ตงั้ อย่รู มิ ถนนหนองบวั ลาภู – อุดรธานี บา้ นห้วยเด่อื ตาบลโนนทนั หา่ งจากตวั เมอื งหนองบวั ลาภู ๑๑ กโิ ลเมตร วดั ศรสี ระแก้วพระอารามหลวง 1. ท่ตี งั้ วดั ศรสี ระแก้ว ตงั้ อยู่เลขท่ี 145 หมู่ 2 บ้านเหล่าโพธิช์ ยั ตาบลนามะเฟือง อาเภอเมอื ง จงั หวดั หนองบวั ลาภู สงั กดั มหานกิ าย มเี น้อื ท่ี 10 ไร่ 2 งาน 70 ตารางวา ตามโฉนดทด่ี นิ เลขท่ี 9131 2. ประวตั คิ วามเป็นมา วดั ศรสี ระแก้วได้เรม่ิ สรา้ งมาตงั้ แต่ปี พ.ศ. 2472 โดยมพี ระอธกิ ารศรี โฆสโก เป็นประธาน ฝ่ ายสงฆ์ นายอ่อนสา แก้วประสิทธิ ์ นายแก้ว สารพี นั ธ์ ร่วมกนั บรจิ าคท่ดี นิ และเป็นประธานฝ่ าย ฆราวาส ในการสรา้ งวดั ดว้ ยเหตุน้ีจงึ ไดใ้ ชช้ ่อื ของคนทงั้ สองมารวมกนั เพ่อื ใหเ้ ป็นเกยี รตแิ ก่คนทงั้ สอง ในการตงั้ ช่อื วดั ว่า วดั ศรสี าแก้ว ต่อมามกี ารกร่อนเสยี งคา คอื สา (เป็นภาษาถนิ่ มคี วามหมายว่า หอ้ งสมุดประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ าร”ี อาเภอเมอื งหนองบวั ลาภู

ทาเนยี บแหล่งเรยี นรู้ กศน.อาเภอเมอื งหนองบวั ลาภู ก สระ) เป็นสระ + แก้ว เป็น ศรสี ระแก้ว ซ่งึ มคี วามหมายว่า แกว้ บรสิ ุทธิ ์ หรอื แก้วแห่งความดี หรอื สถานทฟ่ี อกใหเ้ กดิ คุณงาม ความดไี ดร้ บั พระราชทานวสิ ุงคามสมี าเม่อื วนั ท่ี 15 มกราคม 2513 ไดร้ บั ขอขน้ึ ทะเบยี น จากกรมการศาสนา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ท่ี ศธ.0303/5890 ลงวนั ท่ี 22 พฤษภาคม 2544 ตามหนงั สอื ของกรมการศาสนา 3. ความสาคญั / เน้อื หาการเรยี นรู้ 1. ประวตั ศิ าสตร์ 2. ศลิ ปะสถาปัตยกรรม 3. ประเพณวี ฒั นธรรม 4. ผรู้ บั ผดิ ชอบ ชอ่ื นายอาพร ศรดี าราช โทรศพั ท0์ 98-0615998 ทอ่ี ยู่ บา้ นเลขท่ี 234หมู่ 9 ตาบลนามะเฟือง อาเภอเมอื ง จงั หวดั หนองบวั ลาภู 39000 5. ภาพแหลง่ เรยี นรู้ แหล่งประวตั ิศาสตรส์ มยั ทวารวดี 1. ทต่ี งั้ บา้ นเลขท่ี - หมทู่ ่ี 9 ตาบลนามะเฟือง อาเภอเมอื ง จงั หวดั หนองบวั ลาภู 2. ประวตั คิ วามเป็นมา แหล่งประวตั ศิ าสตรส์ มยั ทวารวดเี ป็นบ้านพกั ของนายอุดม บุญน้อม ผขู้ ุดคน้ พบวตั ถุโบราณซง่ึ เป็นวตั ถุโบราณประเภทภาชนะของใช้ โครงกระดกู มนุษย์ กาไล สรอ้ ยลกู ปัด เขาสตั วเ์ ขย้ี วหมตู นั เลบ็ หอ้ งสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ าร”ี อาเภอเมอื งหนองบวั ลาภู

ทาเนียบแหล่งเรยี นรู้ กศน.อาเภอเมอื งหนองบวั ลาภู ก เสอื โครง่ เลบ็ เม่น ปากนกแกง ถ้วยน้าชา โซ่ตรวน ข้ีเหลก็ ไหล เงนิ ก้อน ลกู กระสุน กรอกยา เหลก็ แหลมคลา้ ย ส่วนปลายของอาวุธโบราณ พวกหอก ดาบ ขวาน และวตั ถุโบราณอกี จานวนมาก ทงั้ ในสภาพทแ่ี ตกหกั และบางชน้ิ อยใู่ นสภาพสมบรู ณ์ดี 3. ความสาคญั / เน้อื หาการเรยี นรู้ ประวตั ศิ าสตรช์ ุมชนโบราณ 4. ผรู้ บั ผดิ ชอบ ชอ่ื นายอุดมบุญน้อม โทรศพั ท0์ 81-9750442 ทอ่ี ยู่ บา้ นนามะเฟือง หมทู่ ่ี 9 ตาบลนามะเฟือง อาเภอเมอื ง จงั หวดั หนองบวั ลาภู 39000 5. ภาพแหลง่ เรยี นรู้ วดั สายทอง 1. ท่ีตัง้ บ้านเลขท่ี - หมู่ท่ี 6 บ้านหนองผา ตาบลหนองหว้า อาเภอเมอื งหนองบัวลาภู จงั หวดั หนองบวั ลาภู 2. ประวตั คิ วามเป็นมา หอ้ งสมุดประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ าร”ี อาเภอเมอื งหนองบวั ลาภู

ทาเนยี บแหลง่ เรยี นรู้ กศน.อาเภอเมอื งหนองบวั ลาภู ก บา้ นหนองผา เรม่ิ มกี ารปลูกบา้ นสรา้ งเรอื นครงั้ แรก โดยพ่อเตอ้ื ย (ไมท่ ราบนามสกุล) พ่อหนู ยะ รี พ่อคาหมา สมสะอาด ไดม้ าหาคล้องชา้ งเหน็ ว่าสถานท่นี ้ีเหมาะแก่การสรา้ งหมู่บ้านจงึ ได้ชกั ชวน เพ่อื นบ้าน ยา้ ยมาจากอาเภอภูเขยี ว จงั หวดั ชยั ภูมิ ประมาณ 10 ครอบครวั เมอ่ื ปี พ.ศ ประมาณ 2470 เหตุทช่ี ่อื บา้ นหนองผา เพราะมหี นองแห่งหน่งึ และในหนองนนั้ มไี ขผ่ าเยอะใหช้ าวบา้ นไดก้ นิ ตลอดทงั้ ปีจงึ ไดต้ งั้ ช่อื ว่า บา้ นหนองผาตงั้ แต่นัน้ มา เป็นธรรมเนียมเม่อื มกี ารยา้ ยถน่ิ ฐานใหม่ เน่ืองด้วยเป็นชาว พุทธตงั้ แต่กาเนดิ จงึ หาทเ่ี พ่อื สรา้ งวดั เพ่อื เป็นทย่ี ดึ เหน่ียวทางดา้ นจติ ใจ จงึ ไดร้ บั บรจิ าคทด่ี นิ แปลง หน่ึงจากพ่อสายทอง เพอ่ื เป็นสถานทส่ี รา้ งวดั จงึ ไดใ้ หเ้ กยี รตแิ ก่เจา้ ของทจ่ี งึ ไดต้ งั้ ช่อื วดั ว่า วดั สาย ทอง ตงั้ แต่นนั้ มาจนถงึ ปัจจบุ นั 3. ความสาคญั / เน้อื หาการเรยี นรู้ โบราณสถาน แหล่งเรยี นรู้ในท้องถิ่น ส่ิงแวดล้อมทางธรรมชาติ และแหล่งท่องเทียวทาง วฒั นธรรม 4. ผรู้ บั ผดิ ชอบ วดั สายทอง ทอ่ี ยู่ บา้ นหนองผา หมทู่ ่ี 6 ตาบลหนองหวา้ อาเภอเมอื ง จงั หวดั หนองบวั ลาภู 39000 5. ภาพแหล่งเรยี นรู้ หอ้ งสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ าร”ี อาเภอเมอื งหนองบวั ลาภู

ทาเนยี บแหลง่ เรยี นรู้ กศน.อาเภอเมอื งหนองบวั ลาภู ก วดั อดุ มพฒั นาราม 1. ทต่ี งั้ หมทู่ ่ี 3 ตาบล หนองภยั ศูนย์ อาเภอเมอื งหนองบวั ลาภู จงั หวดั หนองบวั ลาภู 2. ประวตั คิ วามเป็นมา วดั อุดมพฒั นาราม เป็นสานักปฏบิ ตั ธิ รรมประจาจงั หวดั หนองบวั ลาภู แห่งท่ี 2 เป็นสถานท่ี ปฏบิ ตั ธิ รรมและใหบ้ รกิ ารสงั คมในดา้ นพระพุทธศาสนา 3. ความสาคญั / เน้อื หาการเรยี นรู้ ศาสนพธิ ี การปฏบิ ตั ธิ รรม การรกั ษาศลี 4. ผรู้ บั ผดิ ชอบ ชอ่ื นางนพรตั น์ สกุล บวั ศรี โทรศพั ท์ 085 - 4956150 ทอ่ี ยู่ กศน. ตาบลหนองภยั ศนู ย์ ตาบลหนองภยั ศนู ย์ อาเภอเมอื งหนองบวั ลาภู จงั หวดั หนองบวั ลาภู 5. ภาพแหลง่ เรยี นรู้ วดั อดุ มพฒั นาราม 1. ทต่ี งั้ หมทู่ ่ี 9 ตาบล หนองภยั ศนู ย์ อาเภอเมอื งหนองบวั ลาภู จงั หวดั หนองบวั ลาภู 2. ประวตั คิ วามเป็นมา วดั อรญั ญเขต ตงั้ อยู่บ้านหนองภยั ศูนย์ หมู่ 9 เป็นวดั ประจาหม่บู ้านท่ชี าวบ้านให้ความเคารพ นับถอื เม่อื ถงึ วนั สาคญั ต่างๆ ในพระพุทธศาสนาชาวบ้านจะมาประกอบพิธรี ่วมกนั เป็นศูนยจ์ ติ ใจท่ี สาคญั ของชาวบา้ น 3. ความสาคญั / เน้อื หาการเรยี นรู้ ศาสนพธิ ี การปฏบิ ตั ธิ รรม การรกั ษาศลี 4. ผรู้ บั ผดิ ชอบ ช่อื นางนพรตั น์ สกุล บวั ศรี โทรศพั ท์ 085 - 4956150 ทอ่ี ยู่ กศน. ตาบลหนองภยั ศนู ย์ ตาบลหนองภยั ศูนย์ อาเภอเมอื งหนองบวั ลาภู จงั หวดั หนองบวั ลาภู หอ้ งสมุดประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ าร”ี อาเภอเมอื งหนองบวั ลาภู

ทาเนียบแหลง่ เรยี นรู้ กศน.อาเภอเมอื งหนองบวั ลาภู ก 5. ภาพแหล่งเรยี นรู้ แหล่งเรียนร้ปู ระเภท อาชีพ ศนู ยก์ ารเรยี นร้คู นต้นแบบเศรษฐกิจพอเพียง ในพระราชดาริพระเจ้าหลานเธอ พระองคเ์ จ้าพชั ร กิติยาภา ณ เรอื นจาชวั่ คราวบ้านห้วยเตย 1. ทต่ี งั้ บา้ นหว้ ยเตย หมทู่ ่ี 3 ตาบลหนองหวา้ อาเภอเมอื งหนองบวั ลาภู จงั หวดั หนองบวั ลาภู 2. ประวตั คิ วามเป็นมา ศูนยก์ ารเรยี นรคู้ นตน้ แบบเศรษฐกจิ พอเพยี ง ในพระราชดารพิ ระเจา้ หลานเธอ พระองคเ์ จา้ พชั ร กติ ิยาภา ณ เรอื นจาชวั่ คราวบ้านห้วยเตย กรมราชทณั ฑ์ กระทรวงยุติธรรม ได้มกี ารก่อตงั้ เรอื นจา ชวั่ คราว เม่อื ปี พ.ศ.2559 โดยเจ้าคณะจงั หวดั หนองบวั ลาภู จดั ทาโครงการเรอื นจาวถิ ีธรรม เป็นท่ี ฝึกงาน ประกอบด้วยกิจกรรมการเกษตร ทานา ปลูกผักและพืชไร่ ประมง และปศุสตั ว์ โดยกรม ราชทณั ฑ์ กระทรวงยุติธรรม ประกาศให้วดั พชั รกิติยาภาราม เป็นพ้ืนท่ีจดั ตัง้ เรอื นจาชวั่ คราว เพ่ือ พจิ ารณานักโทษชนั้ ดที ใ่ี กลพ้ ้นโทษมาฝึกอาชพี และศกึ ษาธรรมอย่างถ่องแท้ เม่อื พน้ โทษออกไปแลว้ จะ ไดเ้ ป็นคนดขี องสงั คมและ ประกอบอาชพี สุจรติ 3. ความสาคญั / เน้อื หาการเรยี นรู้ เป็นแหล่งเรยี นรคู้ นตน้ แบบเศรษฐกจิ พอเพยี งในพระราชดาริ พระเจา้ หลานเธอ พระองคเ์ จา้ พชั ร กติ ยิ าภา ณ เรอื นจาชวั่ คราวบา้ นหว้ ยเตย กรมราชทณั ฑ์ กระทรวงยตุ ธิ รรม 4. ผรู้ บั ผดิ ชอบ เรอื นจาชวั่ คราวบา้ นหว้ ยเตย กรมราชทณั ฑ์ กระทรวงยตุ ธิ รรม ทอ่ี ยู่ บา้ นหว้ ยเตย หมทู่ ่ี 3ตาบลหนองหวา้ อาเภอเมอื ง จงั หวดั หนองบวั ลาภู 39000 5. ภาพแหล่งเรยี นรู้ หอ้ งสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ าร”ี อาเภอเมอื งหนองบวั ลาภู

ทาเนียบแหลง่ เรยี นรู้ กศน.อาเภอเมอื งหนองบวั ลาภู ก กล่มุ วิสาหกิจชมุ ชนข้าวฮางงอก 1. ทต่ี งั้ เลขท่ี 213 หมทู่ ่ี 2 ตาบล นาคาไฮ อาเภอเมอื งหนองบวั ลาภู จงั หวดั หนองบวั ลาภู 2. ความสาคญั / เน้อื หาการเรยี นรู้ เป็นแหล่งเรยี นรดู้ า้ นการแปรรปู ผลติ ภณั ฑข์ า้ ว 3. ผรู้ บั ผดิ ชอบ ช่อื นางสุบรรณ ปัตวงษ์ โทรศพั ท์ 094-539-5369 ทอ่ี ยู่ 213 หมู่ 2 ตาบล นาคาไฮ อาเภอ เมอื ง จงั หวดั หนองบวั ลาภู 4. ภาพแหล่งเรยี นรู้ ศนู ยเ์ รียนร้เู ทวาผา้ ไทย 1. ทต่ี งั้ เลขท่ี 264 หมทู่ ่ี 2 ตาบล นาคาไฮ อาเภอเมอื งหนองบวั ลาภู จงั หวดั หนองบวั ลาภู หอ้ งสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ าร”ี อาเภอเมอื งหนองบวั ลาภู

ทาเนียบแหล่งเรยี นรู้ กศน.อาเภอเมอื งหนองบวั ลาภู ก 2. ประวตั คิ วามเป็นมา กลุ่มทอผ้าเทวาผ้าไทย เป็นกจิ การผลติ และจาหน่ายผ้าไทยทอมอื จากวตั ถุดบิ ธรรมชาติ เรมิ่ ก่อตงั้ เมอ่ื วนั ท่ี 14 กุมภาพนั ธ์ 2557 โดยนายกติ ติ พนั ธุ์ สุทธสิ าเป็นประธานกลุ่มคนแรก จากการคดิ ต่อ ยอด เชงิ พาณิชยด์ ว้ ยการนาผา้ ทอขดิ สลบั กบั หมอ่ี อกจาหน่าย ในปี 2557 ไดจ้ ดทะเบยี น OTOP และเขา้ ร่วมการขายสนิ คา้ ในทต่ี ่างๆ จนมกี ลุ่มลูกค้าใหค้ วามสนใจมากขน้ึ เรอ่ื ย ๆ โดยลกั ษณะเด่นของ ผา้ ทอมอื คอื ผา้ น่ิม มนี ้าหนกั กลนิ่ หอม สะอาด และไมม่ สี ารตกคา้ งซง่ึ เกดิ จากการนาผา้ ทอ มอื ไปหมกั น้าซาวขา้ วผวั หลงมากกว่า 5 ชวั่ โมง ทงั้ น้ไี ดม้ กี ารคดิ นวตั กรรมใหม่ในการทอผา้ คอื ทอผา้ 2 หน้า โดยหน้าหน่ึงคอื ขดิ ยกดอก ทงั้ ผนื และอกี หน้าหน่ึงเป็นมดั หม่ี ทอในผนื เดยี วกนั เป็นแห่งแรกท่มี ี การผลติ ผ้าขดิ สองหน้า ปัจจุบนั มสี มาชกิ กลุ่ม 60 คน มรี ะดบั การพฒั นาผลติ ภณั ฑข์ องกรมการพฒั นา ชุมชนระดบั A และมผี ลติ ภณั ฑป์ ระเภทผ้าและเคร่อื งแต่งกายผ่านการคดั สรรสุดยอดผลติ ภณั ฑ์ OTOP ปี 2559 ผลติ ภณั ฑ์ “ผา้ ไหม มดั หม”่ี ไดร้ ะดบั 5 ดาว โดยมชี ่องทางการกระจายสนิ คา้ ไปจาหน่วย ยงั สถานทต่ี ่างๆ รวมถงึ ประเทศเพ่อื นบา้ น 3. ความสาคญั / เน้อื หาการเรยี นรู้ เป็นแหล่งเรยี นรดู้ า้ นหตั ถกรรมการทอผา้ โดยเฉพาะผา้ ทท่ี อดว้ ยเทคนิคพเิ ศษใหด้ า้ นหน่งึ เป็น ยกดอกและอกี ดา้ นเป็นมดั หม่ี ซง่ึ ถอื เป็นลายสขิ สทิ ธจิ ์ นไดร้ บั รางวลั นวตั กรรมผา้ ทอ 4. ผรู้ บั ผดิ ชอบ ช่อื กติ ตพิ นั ธ์ สทุ ธสิ า โทรศพั ท์ 086-972-9784 เลขท่ี 264 หมทู่ ่ี 2 ตาบล นาคาไฮ อาเภอ เมอื ง จงั หวดั หนองบวั ลาภู 5. ภาพแหลง่ เรยี นรู้ หอ้ งสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ าร”ี อาเภอเมอื งหนองบวั ลาภู

ทาเนียบแหล่งเรยี นรู้ กศน.อาเภอเมอื งหนองบวั ลาภู ก กล่มุ วิสาหกิจชมุ ชนกล่มุ ปลกู ผกั อินทรีย์ บ้านโพธ์ิศรีสาราญ 1. ทต่ี งั้ บา้ นเลขท่ี 314 หมทู่ ่ี 13 ตาบลหวั นา อาเภอเมอื งหนองบวั ลาภู จงั หวดั หนองบวั ลาภู 2. ประวตั คิ วามเป็นมา กลุ่มวสิ าหกจิ ชุมชนบ้านโพธศิ ์ รสี าราญ ตาบลหวั นา อาเภอเมอื งหนองบวั ลาภู เกดิ จากแนวคดิ ของการนาหลกั การของเศรษฐกิจพอเพยี งมาประยุกต์ใชก้ บั การผลติ ผกั อนิ ทรยี ์ โดยอาศยั การบรหิ าร จดั การทรพั ยากรของเกษตรกรในรปู แบบการพง่ึ พาตนเองใหม้ ากทส่ี ุด ซง่ึ เป็นการดาเนินการกจิ กรรมท่ี เกดิ จากความต้องการของประชาชนโดยแทจ้ รงิ ในปี 2554 เกดิ การรวมกลุ่มของสมาชกิ ในหม่บู ้านใน การใชพ้ น้ื ทส่ี าธารณะ กุดตาแมวซง่ึ เป็นการใชพ้ น้ื ทบ่ี รเิ วณรอบๆ ขอบสระในการปลูกผกั อนิ ทรยี ์ เพ่ือเป็นอาชพี เสรมิ ให้กับคนในชุมชน โดยจดั สรรพ้ืนท่ีปลูกผกั คนละ 5 เมตร สมาชิก 46 คน โดย เทศบาลตาบลหวั นาจดั ทาท่อส่งน้าและตดิ ตัง้ ก๊อกสาหรบั ให้สมาชกิ ผลผลติ ใชบ้ รโิ ภคในครวั เรอื น ลด รายจ่าย และขายเป็นรายได้เสรมิ ท่ตี ลาดเทศบาลชุมชน โพธศิ ์ รสี าราญ โดยได้จดทะเบยี นเป็นกลุ่ม วสิ าหกจิ ชมุ ชนผกั อนิ ทรยี โ์ พธศิ ์ รสี าราญ เมอ่ื ปี 2558 3. ความสาคญั / เน้อื หาการเรยี นรู้ แหล่งทอ่ งเทย่ี วเชงิ เกษตรการปลกู ผกั อนิ ทรยี ์ การทาป๋ ยุ หมกั ชวี ภาพ หอ้ งสมุดประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ าร”ี อาเภอเมอื งหนองบวั ลาภู

ทาเนยี บแหลง่ เรยี นรู้ กศน.อาเภอเมอื งหนองบวั ลาภู ก 4. ผรู้ บั ผดิ ชอบ ช่อื นางประดบั สมณะ โทรศพั ท์091-0568544 ทอ่ี ยู่ บา้ นเลขท่ี 314 หมทู่ ่ี 13 ตาบลหวั นาอาเภอเมอื ง จงั หวดั หนองบวั ลาภู 39000 5. ภาพแหลง่ เรยี นรู้ ไร่แทนคณุ 1. ทต่ี งั้ บา้ นเลขท่ี - หมทู่ ่ี 13 ตาบลหวั นา อาเภอเมอื งหนองบวั ลาภู จงั หวดั หนองบวั ลาภู 2. ประวตั คิ วามเป็นมา ไร่แทนคุณ เป็นแปลงเกษตรผสมผสานของ นายประดษิ ฐ์ ประโคถานัง ขา้ ราชการบานาญ ซ่งึ ได้เกษียณอายุราชการแล้วลงมาบารุงรกั ษาอย่างจรงิ จงั เม่อื ปี พ.ศ. ๒๕๕๗ มกี ารปลูกไม้ยนื ต้น หลายประเภทใหผ้ ลผลติ หมนุ ในรอบปี เชน่ ฝรงั่ เสาวรส พุทราสามรส แกว้ มงั กร และผกั สวนครวั 3. ความสาคญั / เน้อื หาการเรยี นรู้ แหลง่ ทอ่ งเทย่ี วเชงิ เกษตร และเป็นแหลง่ เรยี นรเู้ กย่ี วกบั การปลกู ผกั อนิ ทรยี ์ การทาป๋ ยุ หมกั ชวี ภาพ การขยายพนั ธุพ์ ชื การปลกู ไมผ้ ล หอ้ งสมุดประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ าร”ี อาเภอเมอื งหนองบวั ลาภู

ทาเนยี บแหล่งเรยี นรู้ กศน.อาเภอเมอื งหนองบวั ลาภู ก 4. ผรู้ บั ผดิ ชอบ ชอ่ื นายประดษิ ฐ์ ประโคถานงั โทรศพั ท์ 089-8625128 ทอ่ี ยู่ บา้ นโพธศิ ์ รสี าราญ หมทู่ ่ี 13 ตาบลหวั นา อาเภอเมอื ง จงั หวดั หนองบวั ลาภู 39000 5. ภาพแหล่งเรยี นรู้ ศนู ยเ์ รยี นร้เู ศรษฐกิจพอเพียงนายเดโช ชาเทราช 1. ทต่ี งั้ บา้ นเลขท่ี 66 หม่ทู ่ี 1 ตาบลหวั นา อาเภอเมอื งหนองบวั ลาภู จงั หวดั หนองบวั ลาภู 2. ประวตั คิ วามเป็นมา ศูนยเ์ รยี นรเู้ ศรษฐกจิ พอเพยี งเป็นแปลงเกษตรผสมผสานของ นายเดโช ชาเทราช สมาชกิ สภา เทศบาลตาบลหวั นา ซ่งึ ได้มกี ารปลูกไม้ยนื ต้น และไมผ้ ลหลายประเภทให้ผลผลติ หมุนในรอบปี เช่น กลว้ ย ผกั หวาน เป็นตน้ หอ้ งสมุดประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ าร”ี อาเภอเมอื งหนองบวั ลาภู

ทาเนียบแหล่งเรยี นรู้ กศน.อาเภอเมอื งหนองบวั ลาภู ก 3. ความสาคญั / เน้อื หาการเรยี นรู้ แหล่งทอ่ งเทย่ี วเชงิ เกษตร และเป็นแหลง่ เรยี นรเู้ กย่ี วกบั การทาป๋ ยุ หมกั ชวี ภาพ การขยายพนั ธุ์ พชื การเลย้ี งมดแดง การปลกู ผกั หวาน เป็นตน้ 4. ผรู้ บั ผดิ ชอบ ช่อื นายเดโช ชาเทราช โทรศพั ท์ 086-2317102 ทอ่ี ยบู่ า้ นหวั นา หมทู่ ่ี 1 ตาบลหวั นา อาเภอเมอื งหนองบวั ลาภู จงั หวดั หนองบวั ลาภู 39000 5. ภาพแหล่งเรยี นรู้ ศนู ยเ์ รียนรเู้ ศรษฐกิจพอเพียงนายคาผาย ฤทธ์ิเกตุ 1. ทต่ี งั้ หมทู่ ่ี 2 ตาบลนามะเฟือง อาเภอเมอื งหนองบวั ลาภู จงั หวดั หนองบวั ลาภู 2. ประวตั คิ วามเป็นมา หอ้ งสมุดประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ าร”ี อาเภอเมอื งหนองบวั ลาภู

ทาเนยี บแหล่งเรยี นรู้ กศน.อาเภอเมอื งหนองบวั ลาภู ก ศูนยเ์ รยี นรเู้ ศรษฐกจิ พอเพยี งเป็นแปลงเกษตรผสมผสานของ นายคาผาย ฤทธเิ ์ กตุ บา้ นเหล่า โพธชิ ์ ยั ตาบลนามะเฟือง ซง่ึ ไดม้ กี ารปลูกหน่อไมฝ้ รงั่ และผกั ผลไมห้ ลายประเภทใหผ้ ลผลติ หมนุ ในรอบ ปี เชน่ กลว้ ย ผกั สวนครวั ต่างๆ เป็นตน้ 3. ความสาคญั / เน้อื หาการเรยี นรู้ แหล่งทอ่ งเทย่ี วเชงิ เกษตร และเป็นแหลง่ เรยี นรู้ เกย่ี วกบั การทาป๋ ยุ หมกั ชวี ภาพ การขยายพนั ธุ์ พชื การเลย้ี งปลา การปลกู หนอไมฝ้ รงั่ เป็นตน้ 4. ผรู้ บั ผดิ ชอบ ช่อื นายคาผาย ฤทธเิ ์กตุ โทรศพั ท์ 081-9750442 ทอ่ี ยบู่ า้ นนามะเฟือง หมทู่ ่ี 1 ตาบลนามะเฟือง อาเภอเมอื งหนองบวั ลาภู จงั หวดั หนองบวั ลาภู 39000 5. ภาพแหล่งเรยี นรู้ กล่มุ วิสาหกิจชุมชนศนู ยผ์ ลิตและจาหน่ายผลิตภณั ฑพ์ ื้นเมือง บ้านใหม่แหลมทอง หอ้ งสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ าร”ี อาเภอเมอื งหนองบวั ลาภู

ทาเนยี บแหล่งเรยี นรู้ กศน.อาเภอเมอื งหนองบวั ลาภู ก 1. ท่ีตงั้ ศูนย์ผลติ และจาหน่ายผลติ ภณั ฑ์พ้ืนเมอื ง บ้านใหม่แหลมทอง อาเภอเมอื งหนองบวั ลาภู จงั หวดั หนองบวั ลาภู 2. ประวตั คิ วามเป็นมา กลุ่มวสิ าหกจิ ชุมชนบา้ นใหมแ่ หลมทอง ไดม้ กี ารรวมกลุ่มกนั เมอ่ื ปี พ.ศ.2557 รวมกลุ่มผทู้ ส่ี นใจ ทอผ้าพ้นื เมอื งและผลติ ภณั ฑ์จากการจกั สานและผลติ ภณั ฑ์อ่นื ๆ ทาให้คนในชุมชนใชเ้ วลาว่างให้เกิด ประโยชน์สรา้ งอาชพี ในชุมชนทาใหค้ นในชุมชนมรี ายไดไ้ วใ้ ชจ้ า่ ยในครอบครวั 3. ความสาคญั / เน้อื หาการเรยี นรู้ แหล่งเรยี นรเู้ ชงิ หตั ถกรรม 4. ผรู้ บั ผดิ ชอบ ชอ่ื นางคาพอง ผางน้าคา โทรศพั ท์ 061-0723669 ทอ่ี ยู่ ศูนยผ์ ลติ และจาหน่ายผลติ ภณั ฑ์พ้นื เมอื ง บ้านใหม่แหลมทอง อาเภอเมอื งหนองบวั ลาภู จงั หวดั หนองบวั ลาภู 39000 5. ภาพแหลง่ เรยี นรู้ หอ้ งสมุดประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ าร”ี อาเภอเมอื งหนองบวั ลาภู

ทาเนียบแหล่งเรยี นรู้ กศน.อาเภอเมอื งหนองบวั ลาภู ก กล่มุ วิสาหกิจชุมชนบ้านใหม่ศิลามงคล 1. ทต่ี งั้ บา้ นเลขท่ี 9 หม่ทู ่ี 10 ตาบลหนองสวรรค์ อาเภอเมอื งหนองบวั ลาภู จงั หวดั หนองบวั ลาภู 2. ประวตั คิ วามเป็นมา กลุ่มวสิ าหกจิ ชุมชนบ้านใหม่ศิลามงคล ได้มกี ารรวมกลุ่มกนั เม่อื ปี พ.ศ.2549 เพ่อื สบื สานภูมิ ปัญญาทอ้ งถน่ิ ในดา้ นการทอผา้ โดยมผี า้ ฝ้ายลายขดิ ผา้ ทอพน้ื เมอื ง ทส่ี บื ทอดกนั มายาวนานตงั้ แต่สมยั บรรพบุรุษ จวบจนปัจจุบนั สาหรบั ลายผา้ ขดิ ท่สี บื ทอดกนั มานัน้ เป็นผา้ ขดิ ทม่ี ลี วดลายงดงาม โดดเด่น เช่น การทอผ้า คลุมไหล่เชงิ ชา้ งจะมลี วดลาย จานวน 3 ลาย คอื ลายหน่ึงผา้ คลุมไหล่เชงิ ชา้ ง ลายสอง ผา้ พนั คอลายขดิ และลายสามลายขดิ สลบั หม่ี ซ่งึ เป็นลายท่นี ิยมมากท่สี ุดเพราะลวดลายจะมขี นาด เลก็ กวา่ ลายสองและลายสาม 3. ความสาคญั / เน้อื หาการเรยี นรู้ กระแสผา้ ไทย ผา้ พน้ื เมอื ง นับวนั ไดร้ บั ความนิยมกนั เพมิ่ มากขน้ึ ไปทุกหยอ่ มหญ้า ทาใหอ้ าชพี ทอผ้ากลับมาคึกคกั กันอีกครงั้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งคนทอผ้าได้มีแนวคิดใหม่ๆ จนสร้างงานท่ีเป็น เอกลกั ษณ์ ดงึ ดูดใจคนซ้ือได้เป็นอย่างดี ผ้าท่ีทอของกลุ่มมเี อกลกั ษณ์อย่างหน่ึงคอื การย้อมสจี าก ธรรมชาติ อย่างเช่นการยอ้ มเปลอื กประดู่ ท่ไี ด้รบั ความนิยมจากผู้สวมใส่ว่าเป็นสที ่งี ดงาม ส่วนการ ดาเนินงานนัน้ ได้รวมกลุ่มชาวบ้าน มารวมตวั กนั โดยแต่ละคนกจ็ ะนาไปทอท่บี า้ นของใครของมนั แลว้ นาผา้ ทท่ี อเสรจ็ มารวมกนั เพ่อื นาไปจดั จาหน่าย โดยมกี ลุ่มรา้ นคา้ ใหญ่ในตวั เมอื งหนองบวั ลาภมู ารบั ไปจาหน่าย และส่วนหน่ึงไดร้ บั การสนบั สนุนจาก ธนาคารเพ่อื การเกษตรและสหกรณ์การเกษตร ใหน้ า ผา้ ทท่ี อไดไ้ ปจาหน่ายในงานออกรา้ นต่างๆ งานโอทอ้ ปประจาปีทาใหล้ กู คา้ เป็นทร่ี จู้ กั มากขน้ึ อกี ทงั้ ยงั ไดเ้ พมิ่ ลวดลายใหม่ๆลงไปเสรมิ กบั ลายขิดดงั้ เดมิ ทาให้เอกลกั ษณ์ของผนื ผา้ ยงั คงอยู่ และ ทาใหผ้ า้ มคี วามน่าสนใจ น่าสวมใส่มากขน้ึ โดยมแี บบผา้ ผนื ผา้ พนั คอ และชุดสาเรจ็ รปู นอกจากน้ียงั ได้ ส่งเสรมิ ใหเ้ ยาวชนในหม่บู า้ นไดเ้ ขา้ มาเป็นส่วนหน่ึงของกลุ่มทอผา้ เพ่อื สบื ทอดอาชพี การทอผา้ ใหค้ งอยู่ จากรายไดท้ ง่ี ดงามเฉลย่ี เดอื น 10,000 บาท เป็นอย่างน้อย ทาใหห้ ลายคนหนั มาทอผา้ มากขน้ึ จนกลายมาเป็นงานประจาจากเดมิ ทท่ี านากใ็ หผ้ ู้ชายท่เี ป็นสามที านาไป เสรจ็ สน้ิ จากทานากม็ า ช่วยปัน่ ดา้ ยสาหรบั ใชใ้ นการทอเป็นการใช้ว่างให้เกดิ ประโยชน์อกี ทางหน่ึงนามาซง่ึ รายได้และความสุขท่ีไม่ต้องจากถ่ินฐานไปไหน อาชพี ทอผ้า นอกจากน้ียงั เป็นการสร้าง ความรกั สามคั คี และสรา้ งรายไดใ้ หก้ บั ชมุ ชนและครวั เรอื น แก้ไขปัญหาความยากจนแลว้ ยงั ช่วยสรา้ งงาน สรา้ ง อาชพี ใหก้ บั คนในชมุ ชน สะทอ้ นใหเ้ หน็ ถงึ การเป็นชมุ ชนทเ่ี ขม้ แขง็ ต่อไป 4. ผรู้ บั ผดิ ชอบ ชอ่ื นางบุญเพง็ ชยั เอก โทรศพั ท์ 098-8132958 ทอ่ี ยู่ บา้ นเลขท่ี 9 หม่ทู ่ี 10 ตาบลหนองสวรรค์ อาเภอเมอื งหนองบวั ลาภู จงั หวดั หนองบวั ลาภู 39000 5. ภาพแหลง่ เรยี นรู้ หอ้ งสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ าร”ี อาเภอเมอื งหนองบวั ลาภู

ทาเนียบแหล่งเรยี นรู้ กศน.อาเภอเมอื งหนองบวั ลาภู ก หอ้ งสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ าร”ี อาเภอเมอื งหนองบวั ลาภู

ทาเนยี บแหล่งเรยี นรู้ กศน.อาเภอเมอื งหนองบวั ลาภู ก ศนู ยเ์ รียนร้กู ารเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร ตาบลหนองสวรรค์ 1. ทต่ี งั้ บา้ นเลขท่ี 153 หมทู่ ่ี 7 บา้ นศลิ ามงคล ตาบลหนองสวรรค์ อาเภอเมอื งหนองบวั ลาภู จงั หวดั หนองบวั ลาภู 2. ประวตั คิ วามเป็นมา นายทรงเดช บุญอุ้ม ประธานศูนยเ์ รยี นรกู้ ารเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพการผลติ สนิ คา้ เกษตร อาศยั อยู่ บา้ นเลขท่ี ๑๕๓ หมทู่ ่ี ๗ บา้ นหนิ ลบั ตาบล หนองสวรรค์ อาเภอเมอื งหนองบวั ลาภู จงั หวดั หนองบวั ลาภู จบการศกึ ษาชนั้ ประถมปีท่ี ๔ สมรสแลว้ มบี ตุ ร ๔ คน ไดท้ าการเกษตรแบบสวนผสมผสาน ความใฝ่รจู้ งึ ได้ไปศึกษาดูงานจากหลายแห่งในเร่อื งของการเกษตรทฤษฎีใหม่และได้นาแนวคิดทฤษฎีใหม่ของ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อย่หู วั มาเป็นแนวทางในการดาเนินงาน ในปี ๒๕๔๑ ไดร้ บั ความช่วยเหลอื จาก หน่วยงานเกษตรจงั หวดั สนับสนุนสระเก็บน้าขนาด ๕ ไร่ ปัจจุบนั แปลงเกษตรของนายทรงเดช เป็น แปลงสาธติ และเป็นแหล่งเรยี นรเู้ กษตรทฤษฎใี หม่ และเศรษฐกจิ พอเพยี งของจงั หวดั นายทรงเดชมพี น้ื ท่ี ทงั้ หมด ๑๐๐ ไร่ ไดแ้ บง่ พน้ื ทป่ี ลกู ป่า ๒๕ ไร่ นาขา้ ว ๒๐ ไร่ แหล่งน้า ๒๐ ไร่ แปลงน้า ๕ ไร่ โดยส่วน ทเ่ี หลอื เป็นไมย้ นื ตน้ และทอ่ี ยอู่ าศยั 3. ความสาคญั / เน้อื หาการเรยี นรู้ 1. การทานาแบบหยอดและผลติ ขา้ วอนิ ทรยี ์ เพ่อื ลดต้นทุนในการผลติ การทานาหยอดช่วยลด คา่ ใชจ้ า่ ยในการตกกลา้ การเตรยี มแปลงปักดา การปักดา และช่วยประหยดั น้า กาจดั วชั พชื พนั ธุป์ นได้ ง่าย ต้นขา้ วแขง็ แรง มกี ารให้น้าแบบเปียกสลบั แห้ง ใส่ป๋ ุยตามค่าวเิ คราะห์ดนิ มกี ารตดั พนั ธุ์ปน ระยะ แตกกอ ระยะตงั้ ทอ้ งและระยะออกรวง 2. การเลย้ี งปลากนิ พชื ช่วยลดตน้ ทุนการผลติ เรอ่ื งอาหารปลา โดยการทาน้าเขยี วแพลงกต์ อน ใหป้ ลากนิ แทน 3. การปลกู ผกั ปลอดสารพษิ 4. การปลกู ผกั ไมเ้ ศรษฐกจิ (ธนาคารตน้ ไม)้ หอ้ งสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ าร”ี อาเภอเมอื งหนองบวั ลาภู

ทาเนยี บแหลง่ เรยี นรู้ กศน.อาเภอเมอื งหนองบวั ลาภู ก 4. ผรู้ บั ผดิ ชอบ ชอ่ื นายทรงเดช บญุ อุม้ โทรศพั ท์ 087-0616891 5. ภาพแหล่งเรยี นรู้ วิสาหกิจชุมชนกลุ่มการทาไม้กวาดทางมะพร้าว บ้านลาดใต้ 1. ทต่ี งั้ หมทู่ ่ี 1 ตาบลป่าไมง้ าม อาเภอเมอื งหนองบวั ลาภู จงั หวดั หนองบวั ลาภู 2. ประวตั คิ วามเป็นมา กลุ่มการทาไม้กวาดทางมะพรา้ วบ้านลาดใต้ จดั ตงั้ ขน้ึ เพ่อื เป็นการสบื ทอดภูมปิ ัญญาท้องถ่ิน ลดรายจ่ายและเพมิ่ รายได้ในชุมชนตลอดจนให้ความรู้ ความเขา้ ใจ และพฒั นาอาชพี ให้กบั ประชาชน กลุ่มเป้าหมายและผู้สนใจในตาบลให้สามารถนาไปประกอบเป็นอาชพี เพ่อื ก่อใหเ้ กดิ รายได้กบั ตนเอง และครอบครวั เป็นการสรา้ งอาชพี ใหเ้ กดิ ความมนั่ คงต่อไป 3. ความสาคญั / เน้อื หาการเรยี นรู้ แหล่งเรยี นรเู้ ชงิ หตั ถกรรม 4. ผรู้ บั ผดิ ชอบ ชอ่ื นางบวั คา สเี ทา ทอ่ี ยู่ บา้ นลาดใต้ หมทู่ ่ี 1 ตาบลป่าไมง้ าม อาเภอเมอื ง จงั หวดั หนองบวั ลาภู 5. ภาพแหล่งเรยี นรู้ หอ้ งสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ าร”ี อาเภอเมอื งหนองบวั ลาภู

ทาเนียบแหล่งเรยี นรู้ กศน.อาเภอเมอื งหนองบวั ลาภู ก ศนู ยเ์ ศรษฐกิจพอเพียงบา้ นพนั ดอน 1. ทต่ี งั้ หมทู่ ่ี 9 ตาบลบา้ นพรา้ ว อาเภอเมอื งหนองบวั ลาภู จงั หวดั หนองบวั ลาภู 2. ประวตั คิ วามเป็นมา ศูนยเ์ รยี นรเู้ ศรษฐกจิ พอเพยี ง เป็นแปลงเกษตรผสมผสานของบ้านพนั ดอน หมู่ 9 ตาบลบา้ น พรา้ ว เดมิ เป็นโรงเรยี นบา้ นพนั ดอนท่สี อนในระดบั ประถมศกึ ษา และโรงเรยี นบ้านพนั ดอนแห่งน้ีไดถ้ ูก ยุบลงเน่ืองจากเป็นโรงเรยี นขนาดเล็ก องค์การบรหิ ารส่วนตาบลบ้านพร้าวได้เล็งเห็นว่าสถานท่ีน้ี เหมาะสมในการทา แหล่งเรยี นรซู้ ง่ึ ไดม้ กี ารปลกู ผกั ปลกู เหด็ ฟาง ทาเป็นโรงเรอื นเหด็ และผกั ผลไม้ หลายประเภทใหผ้ ลผลติ หมนุ ในรอบปี เชน่ กลว้ ย ผกั สวนครวั ต่างๆ เป็นตน้ 3. ความสาคญั / เน้อื หาการเรยี นรู้ แหล่งเรียนรู้และท่องเท่ียวเชิงเกษตรและเป็ นแหล่งเรียนรู้เก่ียวกับการทาโรงเรือนเห็ด การขยายพนั ธุพ์ ชื การปลกู ผกั สวนครวั เป็นตน้ 4. ผรู้ บั ผดิ ชอบ ช่อื นายสมเดช ศริ วิ งศ์ ทอ่ี ยบู่ า้ นพนั ดอน หมทู่ ่ี 9 ตาบลบา้ นพรา้ ว อาเภอเมอื งหนองบวั ลาภู จงั หวดั หนองบวั ลาภู 39000 5. ภาพแหลง่ เรยี นรู้ หอ้ งสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ าร”ี อาเภอเมอื งหนองบวั ลาภู

ทาเนียบแหล่งเรยี นรู้ กศน.อาเภอเมอื งหนองบวั ลาภู ก กล่มุ วิสาหกิจชมุ ชนกล่มุ ทาไม้กวาด บ้านโนนอดุ ม 1. ทต่ี งั้ บา้ นเลขท่ี 85 หมทู่ ่ี 8 ตาบลกุดจกิ อาเภอเมอื งหนองบวั ลาภู จงั หวดั หนองบวั ลาภู 2. ประวตั คิ วามเป็นมา กลุ่มวสิ าหกจิ ชุมชนบา้ นโนนอุดม ไดม้ กี ารรวมกลุ่มกนั เมอ่ื ปี พ.ศ.2557 รวมกลมุ่ ผทู้ ส่ี นใจในการ ทาไมก้ วาด รณรงค์ให้ประชาชนในชุมชนลดรายจ่าย-เพม่ิ รายไดใ้ นครวั เรอื นเพ่อื เพมิ่ คุณภาพชวี ติ ท่ดี ี ของคน ในชมุ ชนใหม้ รี ายได้ 3. ความสาคญั / เน้อื หาการเรยี นรู้ แหลง่ เรยี นรเู้ ชงิ หตั ถกรรม 4. ผรู้ บั ผดิ ชอบ ชอ่ื นายดวง ชนะเทพ โทรศพั ท์ 093-4645977 ทอ่ี ยู่ บา้ นเลขท่ี 85 หมทู่ ่ี 8 ตาบลกุดจกิ อาเภอเมอื ง จงั หวดั หนองบวั ลาภู 39000 5. ภาพแหลง่ เรยี นรู้ หอ้ งสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ าร”ี อาเภอเมอื งหนองบวั ลาภู