Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore chapter1 (1)

chapter1 (1)

Published by parichadttt59, 2017-07-31 11:23:13

Description: chapter1 (1)

Search

Read the Text Version

บทท่ี 1 ความรู้พืน้ ฐานเก่ียวกบั คอมพิวเตอร์

1 บทท่ี 1ความรู้พนื้ ฐานเก่ยี วกับคอมพวิ เตอร์

2 สารบญั หน้าบทท่ี 1 ความรู้พ้ืนฐานเกี่ยวกบั คอมพิวเตอร์ ....................................................................................................................... 01.1 คอมพิวเตอร์ หมายถึง.................................................................................................................................................. 3 1.2 คุณสมบตั ิของคอมพิวเตอร์....................................................................................................................................3 1.2.1 ความเป็นอตั โนมตั ิ (Self Acting)..................................................................................................................3 1.2.2 ความเร็ว (Speed)...........................................................................................................................................3 1.2.3 ความเชื่อถือ (Reliable)..................................................................................................................................3 1.2.4 ความถูกตอ้ งแมน่ ยา (Accurate).....................................................................................................................3 1.2.5 เก็บขอ้ มูลจานวนมาก ๆ ได้ (Store massive amounts of information) ..........................................................3 1.2.6 ยา้ ยขอ้ มูลจากที่หน่ึงไปยงั อีกทีหน่ึงไดอ้ ยา่ งรวดเร็ว (Move information) .....................................................3 1.2.7 ทางานซ้าๆได้ (Repeatability) .......................................................................................................................4 1.3 ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์..............................................................................................................................4 1.3.1 อุปกรณ์นาขอ้ มูลเขา้ (Input Device)..............................................................................................................4 1.3.2 อุปกรณ์ประมวลผล (Processing Device)......................................................................................................5 1.3.3 หน่วยเก็บขอ้ มูลสารอง (Secondary Storage Device)....................................................................................6 1.3.4 อุปกรณ์แสดงผล (Output Device)................................................................................................................7 1.4 ประโยชน์ของคอมพิวเตอร์ ....................................................................................................................................7 1.4.1 งานธุรกิจ .......................................................................................................................................................8 1.4.2 งานวทิ ยาศาสตร์ การแพทย์ และงานสาธารณสุข..........................................................................................8 1.4.3 งานคมนาคมและสื่อสาร ...............................................................................................................................8 1.4.4 งานวศิ วกรรมและสถาปัตยกรรม ..................................................................................................................8 1.4.5 งานราชการ....................................................................................................................................................8 1.4.6 การศึกษา .......................................................................................................................................................8 1.5 ประเภทของคอมพวิ เตอร์ ......................................................................................................................................8 1.5.1 ตามลกั ษณะการใชง้ าน..................................................................................................................................9 1.5.2 ตามขนาดและความสามารถ..........................................................................................................................9 1.6 องคป์ ระกอบของคอมพวิ เตอร์ .............................................................................................................................10 1.6.1 ฮาร์ดแวร์ (Hardware) ..................................................................................................................................11 1.6.2 ซอฟตแ์ วร์ (Software)..................................................................................................................................11 1.6.3 บุคลากร (People ware) ...............................................................................................................................12 1.6.4 ขอ้ มูล/สารสนเทศ (Data/Information) ........................................................................................................12

3บทท่ี 1 ความรู้พนื้ ฐานเก่ยี วกับคอมพวิ เตอร์1.1 คอมพวิ เตอร์ หมายถงึ คอมพิวเตอร์ คอื อปุ กรณ์อิเลก็ ทรอนกิ ส์ท่ีทางานตามชดุ คาสงั่ อยา่ งอตั โนมตั ิ โดยจะทาการคานวณเปรียบเทียบทางตรรกกบั ข้อมลู และให้ผลลพั ธ์ออกมาตามต้องการ โดยมนษุ ย์ไมต่ ้องเข้าไปเกี่ยวข้องในการประมวลผล1.2 คุณสมบัตขิ องคอมพวิ เตอร์ ปัจจบุ นั นีค้ นสว่ นใหญ่นิยมนาคอมพิวเตอร์มาใช้งานต่าง ๆ มากมาย ซ่งึ ผ้ใู ช้สว่ นใหญ่มกั จะคดิ ว่าคอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือท่ีสามารถทางานได้สารพัด แต่ผู้ท่ีมีความรู้ทางคอมพิวเตอร์จะทราบว่า งานที่เหมาะกับการนาคอมพิวเตอร์มาใช้อย่างย่ิงคือการสร้าง สารสนเทศ ซึง่ สารสนเทศเหล่านนั้ สามารถนามาพิมพ์ออกทางเคร่ืองพิมพ์สง่ ผา่ นเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์ หรือจดั เก็บไว้ใช้ในอนาคตก็ได้ เนื่องจากคอมพวิ เตอร์จะมีคณุ สมบตั ติ า่ ง ๆ คอื 1.2.1 ความเป็ นอัตโนมัติ (Self Acting) การทางานของคอมพวิ เตอร์จะทางานแบบอตั โนมตั ภิ ายใต้คาสงั่ ท่ีได้ถกู กาหนดไว้ ทางานดงั กลา่ วจะเร่ิมตงั้ แตก่ ารนาข้อมลู เข้าสรู่ ะบบ การประมวลผลและแปลงผลลพั ธ์ออกมาให้อย่ใู นรูปแบบที่มนษุ ย์เข้าใจได้ 1.2.2 ความเร็ว (Speed) คอมพวิ เตอร์ในปัจจบุ นั นีส้ ามารถทางานได้ถงึ ร้อยล้านคาสง่ั ในหนงึ่ วนิ าที 1.2.3 ความเช่ือถือ (Reliable) คอมพิวเตอร์ทกุ วนั นีจ้ ะทางานได้ทงั้ กลางวนั และกลางคืนอยา่ งไมม่ ีข้อผิดพลาดและไมร่ ู้จกั เหนด็ เหนื่อย 1.2.4 ความถูกต้องแม่นยา (Accurate) วงจรคอมพิวเตอร์นนั้ จะให้ผลของการคานวณที่ถกู ต้องเสมอหากผลของการคานวณผดิ จากที่ควรจะเป็น มกั เกิดจากความผิดพลาดของโปรแกรมหรือข้อมลู ที่เข้าสโู่ ปรแกรม 1.2.5 เก็บข้อมูลจานวนมาก ๆ ได้ (Store massive amounts of information) ไมโครคอมพิวเตอร์ในปัจจบุ นัจะมีท่ีเก็บข้อมลู สารองที่มีความสงู มากกวา่ หนึ่งพนั ล้านตวั อกั ษร และสาหรับระบบคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่จะสามารถเก็บข้อมลู ได้มากกวา่ หนง่ึ ล้าน ๆ ตวั อกั ษร 1.2.6 ย้ายข้อมูลจากทห่ี นึ่งไปยงั อีกทีหนึ่งได้อย่างรวดเร็ว (Move information) โดยใช้การติดตอ่ สื่อสารผา่ นระบบเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์ซงึ่ สามารถสง่ พจนานกุ รมหนงึ่ เลม่ ในรูปของข้อมลู อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ ไปยงั เคร่ืองคอมพวิ เตอร์ที่อยไู่ กลคนซีกโลกได้ในเวลาเพียงไมถ่ งึ หนงึ่ วินาที ทาให้มีการเรียกเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์ท่ีเชื่อมกนั ทวั่ โลกในปัจจบุ นั วา่ทางดว่ นสารสนเทศ (Information Superhighway)

4 1.2.7 ทางานซ้าๆได้ (Repeatability) ช่วยลดปัญหาเรื่องความอ่อนล้าจากการทางานของแรงงานคนนอกจากนีย้ ังลดความผิดพลาดต่างๆได้ดีกว่าด้วย ข้อมูลที่ประมวลผลแม้จะยุ่งยากหรือซบั ซ้อนเพียงใดก็ตาม จะสามารถคานวณและหาผลลพั ธ์ได้อยา่ งรวดเร็ว1.3 ส่วนประกอบของคอมพวิ เตอร์ จาแนกหน้าที่ของฮาร์ดแวร์ต่างๆ สามารถแบ่งเป็นส่วนสาคญั 4 ประเภท คือ อุปกรณ์นาข้อมูลเข้า (InputDevice) อปุ กรณ์ประมวลผล (Processing Device) หน่วยเก็บข้อมลู สารอง (Secondary Storage Device) อปุ กรณ์แสดงผล (Output Device) รูปท่ี 1 แสดงวงจรการทางานของคอมพวิ เตอร์ 1.3.1 อุปกรณ์นาข้อมูลเข้า (Input Device) รูปท่ี 2 อปุ กรณ์นาเข้าแบบตา่ งๆ ทีพ่ บเหน็ ในปัจจบุ นั

5 เป็นอปุ กรณ์ที่เก่ียวข้องกบั การนาเข้าข้อมลู หรือชดุ คาสง่ั เข้ามายงั ระบบเพ่ือให้คอมพิวเตอร์ประมวลผลตอ่ ไปได้ซง่ึ อาจจะเป็น ตวั เลข ตวั อกั ษร ภาพนิง่ ภาพเคล่ือนไหว เสียง เป็นต้น 1.3.2 อุปกรณ์ประมวลผล (Processing Device)อปุ กรณ์ประมวลผลหลกั ๆ มีดงั นี ้ 1.3.2.1 ซีพยี ู (CPU-Central Processing Unit) หนว่ ยประมวลผลกลางหรือซีพียู เรียกอีกชื่อหนง่ึ วา่โปรเซสเซอร์ (Processor) หรือ ชปิ (Chip) นบั เป็นอปุ กรณ์ท่ีมีความสาคญั มากที่สดุ ของฮาร์ดแวร์ เพราะมีหน้าท่ีในการประมวลผลข้อมูลที่ผู้ใช้ป้อนเข้ามาทางอุปกรณ์นาเข้าข้อมูลตามชุดคาสั่งหรือโปรแกรมที่ผู้ใช้ต้องการใช้งาน หน่วยประมวลผลกลาง 1.3.2.2 หน่วยความจาหลัก (Main Memory) หรือเรียกว่า หน่วยความจาภายใน (InternalMemory) สามารถแบง่ ออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่ - รอม (Read Only Memory - ROM) เป็นหนว่ ยความจาที่มีโปรแกรมหรือข้อมลู อยแู่ ล้วสามารถเรียกออกมาใช้งานได้แตจ่ ะไมส่ ามารถเขียนเพิม่ เตมิ ได้ และแม้วา่ จะไมม่ ีกระแสไฟฟ้าไปเลีย้ งให้แก่ระบบข้อมลูก็ไมส่ ญู หายไป - แรม (Random Access Memory) เป็นหน่วยความจาท่ีสามารถเก็บข้อมลู ได้เม่ือมีกระแสไฟฟ้าหลอ่ เลีย้ งเทา่ นนั้ เมื่อใดไมม่ ีกระแสไฟฟา้ มาเลีย้ งข้อมลู ที่อยใู่ นหนว่ ยความจาชนิดนีจ้ ะหายไปทนั ที 1.3.2.3 เมนบอร์ด (Main board) เป็นแผงวงจรตอ่ เช่ือมอปุ กรณ์ที่เก่ียวข้องกับการทางานของคอมพวิ เตอร์ทงั้ หมด ถือได้วา่ เป็นหวั ใจหลกั ของ พีซีทกุ เครื่อง เพราะจะบอกความสามารถของเคร่ืองว่าจะใช้ซีพียอู ะไรได้บ้าง มีประสทิ ธิภาพเพียงใด สามารถรองรับกบั อปุ กรณ์ใหมไ่ ด้หรือไม่ รูปท่ี 3 เมนบอร์ด หรือแผงวงจรหลกั

6 1.3.2.4 ซิปเซ็ต (Chip Set) ซิปเซ็ตเป็นชิปจานวนหน่ึงหรือหลายตวั ท่ีบรรจวุ งจรสาคญั ๆ ที่ช่วยการ ทางานของซีพียู และติดตงั้ ตายตวั บนเมนบอร์ดถอดเปลี่ยนไม่ได้ ทาหน้าท่ีเป็นตวั กลางประสานงานและควบคมุ การ ทางานของหน่วยความจารวมถึงอปุ กรณ์ตอ่ พว่ งตา่ งทงั้ แบบภายในหรือภายนอกทกุ ชนิดตามคาสง่ั ของซีพียู เช่น SiS, Intel, VIA, AMD เป็นต้น 1.3.3 หน่วยเกบ็ ข้อมูลสารอง (Secondary Storage Device) เนื่องจากหน่วยความจาหลกั มีพืน้ ที่ไม่เพียงพอในการเก็บข้อมูลจานวนมากๆ อีกทงั้ ข้อมูลจะหายไปเมื่อปิด เคร่ือง ดงั นนั้ จาเป็นต้องหาอปุ กรณ์เก็บข้อมลู ที่มีขนาดใหญ่ขนึ ้ เชน่ 1.3.3.1 ฮาร์ดดิสก์ (Hard Disk) เป็นฮาร์ดแวร์ท่ีทาหน้าท่ีเก็บข้อมูลในเครื่องคอมพิวเตอร์ ทงั้โปรแกรมใช้งานต่างๆ ไฟล์เอกสาร รวมทงั้ เป็นท่ีเก็บระบบปฏิบตั ิการที่เป็นโปรแกรมควบคุมการทางานของเครื่องคอมพิวเตอร์ด้วย 1.3.3.2 ฟล็อบปี้ดิสก์ (Floppy Disk) เป็นอปุ กรณ์บนั ทกึ ข้อมลู ที่มีขนาด 3.5 นิว้ มีลกั ษณะเป็นแผน่ กลมบางทาจากไมลาร์ (Mylar) สามารถบรรจขุ ้อมลู ได้เพียง 1.44 เมกะไบต์ เทา่ นนั้ ีี 1.3.3.3 ซีดี (Compact Disk - CD) เป็นอปุ กรณ์บนั ทกึ ข้อมลู แบบดจิ ิทลั เป็นส่ือท่ีมีขนาดความจสุ งู เหมาะสาหรับบนั ทกึ ข้อมลู แบบมลั ตมิ ีเดยี ซีดรี อมทามาจากแผน่ พลาสตกิ กลมบางที่เคลือบด้วยสารโพลีคาร์บอเนต (Poly Carbonate) ทาให้ผวิ หน้าเป็นมนั สะท้อนแสง โดยมีการบนั ทกึ ข้อมลู เป็นสายเดียว (Single Track) มีขนาด เส้นผา่ ศนู ย์กลางประมาณ 120 มลิ ลิเมตร ปัจจบุ นั มีซีดีอยหู่ ลายประเภท ได้แก่ ซีดีเพลง (Audio CD) วีซีดี (Video CD - VCD) ซีด-ี อาร์ (CD Recordable - CD-R) ซีด-ี อาร์ดบั บลิว (CD-Rewritable - CD-RW) และ ดวี ีดี (Digital Video Disk - DVD) ส่ือเก็บข้อมูลอ่ืนๆ 1) รีมูฟเอเบิลไดร์ฟ (Removable Drive) เป็นอปุ กรณ์เก็บข้อมลู ท่ีไมต่ ้องมีตวั ขบั เคลื่อน (Drive) สามารถ พกพาไปไหนได้โดยตอ่ เข้ากบั เคร่ืองคอมพวิ เตอร์ด้วย Port USB ปัจจบุ นั ความจขุ องรีมฟู เอเบลิ ไดร์ฟ มีตงั้ แต่ 8 , 16 , 32 , 64 , 128 จนถงึ 1024 เมกะไบต์ ทงั้ นีย้ งั มีไดร์ฟลกั ษณะเดียวกนั เรียกในชื่ออ่ืนๆ ได้แก่ Pen Drive , Thump Drive , Flash Drive 2) ซบิ ไดร์ฟ (Zip Drive) เป็นสื่อบนั ทกึ ข้อมลู ท่ีจะมาแทนแผน่ ฟล็อปปีด้ สิ ก์ มีขนาดความจุ 100 เมกะไบต์ ซง่ึ การใช้งานซปิ ไดร์ฟจะต้องใช้งานกบั ซิปดสิ ก์ (Zip Disk) ความสามารถในการเก็บข้อมลู ของซิปดสิ ก์จะเก็บข้อมลู ได้ มากกวา่ ฟล็อปปีด้ สิ ก์ 3) Magnetic optical Disk Drive เป็นส่ือเก็บข้อมูลขนาด 3.5 นิว้ ซ่ึงมีขนาดพอๆ กับ ฟล็อบปีด้ สิ ก์ แตข่ นาดความจมุ ากกวา่ เพราะว่า MO Disk drive 1 แผน่ สามารถบนั ทกึ ข้อมลู ได้ตงั้ แต่ 128 เมกะไบต์ จนถงึ ระดบั 5.2 กิกะไบต์

7 4) เทปแบค็ อัพ (Tape Backup) เป็นอปุ กรณ์สาหรับการสารองข้อมลู ซงึ่ เหมาะกบั การสารองข้อมลู ขนาดใหญ่มากๆ ขนาดระดบั 10-100 กิกะไบต์ 5) การ์ดเมมโมรี (Memory Card) เป็นอปุ กรณ์บนั ทกึ ข้อมลู ท่ีมีขนาดเล็ก พฒั นาขนึ ้ เพื่อนาไปใช้กบั อปุ กรณ์เทคโนโลยีแบบตา่ งๆ เชน่ กล้องดจิ ิทลั คอมพิวเตอร์มือถือ (Personal Data Assistant - PDA) โทรศพั ท์มือถือ 1.3.4 อุปกรณ์แสดงผล (Output Device) คืออุปกรณ์สาหรับแสดงผลลพั ธ์ที่ได้จากการประมวลผลของคอมพิวเตอร์ และเป็นอุปกรณ์ส่งออก (Outputdevice) ทาหน้าท่ีแสดงผลลพั ธ์เมื่อซีพียทู าการประมวลผล รูปท่ี 4 แสดงอปุ กรณ์แสดงผลข้อมลู แบบตา่ งๆ 1.3.4.1 จอภาพ (Monitor) เป็นอปุ กรณ์แสดงผลลพั ธ์ที่เป็นภาพ ปัจจบุ นั แบง่ ออกเป็น 2 ชนดิ คือ จอภาพแบบ CRT (Cathode Ray Tube) และ จอภาพแบบ LCD (Liquid Crystal Display) 1.3.4.2 เคร่ืองพมิ พ์ (Printer) เป็นอปุ กรณ์ที่ทาหน้าที่แสดงผลลพั ธ์ในรูปของอกั ขระหรือรูปภาพท่ีจะไปปรากฏอยบู่ นกระดาษ แบง่ ออกเป็น 4 ประเภท ได้แก่ เคร่ืองพิมพ์ดอตเมตริกซ์ (Dot Matrix Printer) เครื่องพิมพ์แบบพน่ หมกึ (Ink-Jet Printer) เครื่องพิมพ์แบบเลเซอร์ (Laser Printer) และพลอ็ ตสเตอร์ (Plotter) 1.3.4.3 ลาโพง (Speaker) เป็นอุปกรณ์แสดงผลลพั ธ์ท่ีอยู่ในรูปของเสียง สามารถเชื่อมต่อกับคอมพวิ เตอร์ผา่ นแผงวงจรเกี่ยวกบั เสียง (Sound card) ซงึ่ มีหน้าที่แปลงข้อมลู ดจิ ติ อลไปเป็นเสียง1.4 ประโยชน์ของคอมพวิ เตอร์ จากการท่ีคอมพิวเตอร์มีลกั ษณะเดน่ หลายประการ ทาให้ถกู นามาใช้ประโยชน์ตอ่ การดาเนินชีวิตประจาวนั ในสงั คมเป็นอยา่ งมาก ท่ีพบเห็นได้บอ่ ยท่ีสดุ ก็คือ การใช้ในการพิมพ์เอกสารตา่ งๆ เช่น พิมพ์จดหมาย รายงาน เอกสารตา่ งๆ ซ่ึงเรียกวา่ งานประมวลผล (Word processing) นอกจากนีย้ งั มีการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ในด้านตา่ งๆ อีกหลายด้าน ดงั ตอ่ ไปนี ้

8 1.4.1 งานธุรกจิ เชน่ บริษทั ร้านค้า ห้างสรรพสนิ ค้า ตลอดจนโรงงานตา่ งๆ ใช้คอมพิวเตอร์ในการทาบญั ชีงานประมวลคา และตดิ ตอ่ กบั หนว่ ยงานภายนอกผา่ นระบบโทรคมนาคม นอกจากนีง้ านอตุ สาหกรรม สว่ นใหญ่ก็ใช้คอมพวิ เตอร์มาชว่ ยในการควบคมุ การผลิต และการประกอบชนิ ้ สว่ นของอปุ กรณ์ตา่ งๆ เชน่ โรงงานประกอบรถยนต์ซง่ึ ทาให้การผลิตมีคณุ ภาพดีขนึ ้ บริษัทยงั สามารถรับ หรืองานธนาคาร ท่ีให้บริการถอนเงินผา่ นต้ฝู ากถอนเงินอตั โนมตั ิ(ATM) และใช้คอมพวิ เตอร์คิดดอกเบีย้ ให้กบั ผ้ฝู ากเงิน และการโอนเงินระหวา่ งบญั ชี เชื่อมโยงกนั เป็นระบบเครือขา่ ย 1.4.2 งานวิทยาศาสตร์ การแพทย์ และงานสาธารณสุข สามารถนาคอมพิวเตอร์มาใช้ในนามาใช้ในส่วนของการคานวณท่ีคอ่ นข้างซบั ซ้อน เช่น งานศกึ ษาโมเลกลุ สารเคมี วิถีการโคจรของการสง่ จรวดไปส่อู วกาศ หรืองานทะเบียน การเงิน สถิติ และเป็นอปุ กรณ์สาหรับการตรวจรักษาโรคได้ ซึ่งจะให้ผลท่ีแม่นยากว่าการตรวจด้วยวิธีเคมีแบบเดมิ และให้การรักษาได้รวดเร็วขนึ ้ 1.4.3 งานคมนาคมและส่ือสาร ในสว่ นที่เก่ียวกบั การเดนิ ทาง จะใช้คอมพิวเตอร์ในการจองวนั เวลา ที่นงั่ ซ่งึ มีการเชื่อมโยงไปยงั ทกุ สถานีหรือทกุ สายการบินได้ ทาให้สะดวกต่อผ้เู ดินทางที่ไม่ต้องเสียเวลารอ อีกทงั้ ยงั ใช้ในการควบคมุ ระบบการจราจร เชน่ ไฟสญั ญาณจราจร และ การจราจรทางอากาศ หรือในการส่ือสารก็ใช้ควบคมุ วงโคจรของดาวเทียมเพ่ือให้อยใู่ นวงโคจร ซง่ึ จะชว่ ยสง่ ผลตอ่ การสง่ สญั ญาณให้ระบบการส่ือสารมีความชดั เจน 1.4.4 งานวิศวกรรมและสถาปัตยกรรม สถาปนิกและวิศวกรสามารถใช้คอมพิวเตอร์ในการออกแบบ หรือจาลองสภาวการณ์ ตา่ งๆ เช่น การรับแรงสน่ั สะเทือนของอาคารเมื่อเกิดแผ่นดนิ ไหว โดยคอมพิวเตอร์จะคานวณและแสดงภาพสถานการณ์ใกล้เคียงความจริง รวมทงั้ การใช้ควบคมุ และติดตามความก้าวหน้าของโครงการตา่ งๆ เช่นคนงาน เครื่องมือ ผลการทางาน 1.4.5 งานราชการ เป็นหนว่ ยงานที่มีการใช้คอมพวิ เตอร์มากท่ีสดุ โดยมีการใช้หลายรูปแบบ ทงั้ นีข้ นึ ้ อย่กู บับทบาทและหน้าท่ีของหนว่ ยงานนนั้ ๆ เชน่ กระทรวงศกึ ษาธิการ มีการใช้ระบบประชมุ ทางไกลผา่ นคอมพิวเตอร์ ,กระทรวงวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้จดั ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อเชื่อมโยงไปยงั สถาบนั ตา่ งๆ, กรมสรรพากรใช้จดั ในการจดั เก็บภาษี บนั ทกึ การเสียภาษี เป็นต้น 1.4.6 การศึกษา ได้แก่ การใช้คอมพวิ เตอร์ทางด้านการเรียนการสอน ซึง่ มีการนาคอมพิวเตอร์มาชว่ ยการสอนในลกั ษณะบทเรียน CAI หรืองานด้านทะเบียน ซึ่งทาให้สะดวกตอ่ การค้นหาข้อมลู นกั เรียน การเก็บข้อมลู ยืมและการสง่ คนื หนงั สือห้องสมดุ1.5 ประเภทของคอมพวิ เตอร์ เคร่ืองคอมพิวเตอร์ แบง่ ออกเป็นหลายประเภท ขนึ ้ อยกู่ บั เกณฑ์ท่ีใช้ในการแบง่

9 เกณฑ์ท่ใี ช้จาแนก ประเภทคอมพวิ เตอร์ตามลกั ษณะการใช้งาน - แบบใช้งานทว่ั ไป (General purpose computer) - แบบใช้งานเฉพาะ (Special purpose computer)ตามขนาดและความสามารถ - ซูเปอร์คอมพวิ เตอร์ (Supercomputer) - เมนเฟรมคอมพวิ เตอร์ (Mainframe computer) - มินคิ อมพิวเตอร์ (Minicomputer) - ไมโครคอมพิวเตอร์ (Microcomputer) - คอมพิวเตอร์มือถือ (Handheld computer) 1.5.1 ตามลักษณะการใช้งาน 1.5.1.1 แบบใช้งานท่วั ไป (General Purpose Computer) หมายถงึ เคร่ืองประมวลผลข้อมลู ท่ีมีความยืดหยนุ่ ในการทางาน (Flexible) โดยได้รับการออกแบบให้สามารถประยุกต์ใช้ในงานประเภทตา่ งๆ ได้โดยสะดวก โดยระบบจะทางานตามคาสง่ั ในโปรแกรมที่เขียนขนึ ้ มา และเม่ือผ้ใู ช้ต้องการให้เครื่องคอมพวิ เตอร์ทางานอะไร ก็เพียงแตอ่ อกคาสงั่ เรียกโปรแกรมท่ีเหมาะสมเข้ามาใช้งาน โดยเราสามารถเก็บโปรแกรมไว้หลายโปรแกรมในเครื่องเดียวกนั ได้ เชน่ ในขณะหนง่ึ เราอาจใช้เคร่ืองนีใ้ นงานประมวลผลเก่ียวกบั ระบบบญั ชี และในขณะหนง่ึ ก็สามารถใช้ในการออกเชค็ เงินเดือนได้ เป็นต้น 1.5.1.2 แบบใช้งานเฉพาะด้าน (Special Purpose Computer) หมายถงึ เคร่ืองประมวลผลข้อมลู ท่ีถกู ออกแบบตวั เคร่ืองและโปรแกรมควบคมุ ให้ทางานอยา่ งใดอยา่ งหนงึ่ เป็นการเฉพาะ (Inflexible) โดยทว่ั ไปมกั ใช้ในงานควบคมุ หรืองานอตุ สาหกรรมที่เน้นการประมวลผลแบบรวดเร็ว เชน่เครื่องคอมพวิ เตอร์ควบคมุ สญั ญาณไฟจราจร คอมพวิ เตอร์ควบคมุ ลิฟต์ หรือคอมพวิ เตอร์ควบคมุ ระบบอตั โนมตั ใิ นรถยนต์ เป็นต้น 1.5.2 ตามขนาดและความสามารถ เป็นการจาแนกประเภทของคอมพวิ เตอร์ท่ีพบเห็นได้มากที่สดุ ในปัจจบุ นั ซงึ่ สามารถแบง่ ออกได้ดงั นี ้ 1.5.2.1 ซุปเปอร์คอมพวิ เตอร์ (Super Computer) หมายถึง เครื่องประมวลผลข้อมลู ท่ีมีความสามารถในการประมวลผลสงู ท่ีสดุ โดยทวั่ ไปสร้างขนึ ้ เป็นการเฉพาะเพื่องานด้านวิทยาศาสตร์ท่ีต้องการการประมวลผลซับซ้อน และต้องการความเร็วสูง เช่น งานวิจยั ขีปนาวุธ งานโครงการอวกาศสหรัฐ (NASA) งานสื่อสารดาวเทียม หรืองานพยากรณ์อากาศ เป็นต้น 1.5.2.2 เมนเฟรมคอมพวิ เตอร์ (Mainframe computer)

10 เมนเฟรมคอมพิวเตอร์เป็นเคร่ืองคอมพวิ เตอร์ขนาดใหญ่ ทางานร่วมกบั อปุ กรณ์หลายๆ อยา่ งด้วยความเร็วสงูใช้ในงานธุรกิจขนาดใหญ่ มหาวิทยาลยั ธนาคารและโรงพยาบาลเมนเฟรมคอมพวิ เตอร์ สามารถเก็บข้อมลู ที่มีปริมาณมาก ๆ เชน่ ในการสงั่ จองท่ีนง่ั ของสายการบนิ ที่บริษัททวั ร์รับจองในแตล่ ะวนั นอกจากนีย้ งั สามารถเชื่อมโยงใช้งานกบัเครื่องเทอร์มนิ ลั (Terminal) หลาย ๆ เครื่อง ในระยะทางไกลกนั ได้ เชน่ ระบบเอท่ีเอ็ม (ATM) การประมวลผลข้อมลู ของระบบเมนเฟรมนีม้ ีผ้ใู ช้หลาย ๆ คนในเวลาเดยี วกนั (Multi-user) สามารถประมวลผลโดยแบง่ เวลาการใช้ซีพียู (CPU)โดยผา่ นเครื่องเทอร์มินลั การประมวลผลแบบแบง่ เวลานีเ้รียกวา่ Time sharing 1.5.2.3 มนิ ิคอมพวิ เตอร์ (Mini Computer) ธุรกิจและหน่วยงานที่มีขนาดเล็กไม่จาเป็ นต้ องใช้ คอมพิวเตอร์ ขนาดเมนเฟรมซึ่งมีราคาแพงผ้ผู ลติ คอมพวิ เตอร์จงึ พฒั นาคอมพิวเตอร์ให้มีขนาดเล็กและมีราคาถกู ลง เรียกวา่ เคร่ืองมินิคอมพิวเตอร์ โดยมีลกั ษณะพิเศษในการทางานร่วมกับอุปกรณ์ประกอบรอบข้างท่ีมีความเร็วสงู ได้ มีการใช้แผ่นจานแม่เหล็กความจสุ งู ชนิดแข็ง(Harddisk) ในการเก็บรักษาข้อมูล สามารถอ่านเขียนข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว หน่วยงานและบริษัทที่ใช้คอมพิวเตอร์ขนาดนี ้ได้แก่ กรม กอง มหาวิทยาลยั ห้างสรรพสนิ ค้า โรงแรม โรงพยาบาล และโรงงานอตุ สาหกรรมตา่ งๆ 1.5.2.4 ไมโครคอมพวิ เตอร์ (Microcomputer) เป็นเคร่ืองคอมพิวเตอร์ท่ีมีขนาดเล็กท่ีสุด ราคาถูกท่ีสุด ใช้งานง่าย และนิยมมากที่สุดราคาของเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์จะอยใู่ นชว่ งประมาณหม่ืนกว่า ถึง แสนกวา่ บาท ในวงการธุรกิจใช้ไมโครคอมพิวเตอร์กบั งานทกุ ๆอย่าง ไมโครคอมพิวเตอร์มีขนาดเล็กพอท่ีจะตงั้ บนโต๊ะ (Desktop) หรือ ใส่ลงในกระเป๋ าเอกสาร เชน่ คอมพิวเตอร์วางบนตกั (Lap top) หรือโน้ตบ๊กุ (Note book) ไมโครคอมพิวเตอร์สามารถทางานในลกั ษณะประมวลผลได้ด้วยตนเองโดยไมต่ ้องเชื่อมโยงกบั คอมพิวเตอร์เครื่องอ่ืนเรียกวา่ ระบบแสตนอโลน (Standalone system)มีไว้สาหรับใช้งานสว่ นตวัจงึ เรียกเคร่ืองไมโครคอมพิวเตอร์ได้อีกช่ือหนง่ึ วา่ คอมพิวเตอร์สว่ นบคุ คลหรือเคร่ืองพีซี (PC:Personal Computer) และสามารถนาเคร่ืองไมโครคอมพิวเตอร์มาเชื่อมต่อกับเคร่ืองไมโครคอมพิวเตอร์เคร่ืองอ่ืน ๆ หรือเชื่อมต่อกับเครื่องเมนเฟรม เพื่อขยายประสทิ ธิภาพเพิม่ ขนึ ้ ทาให้เคร่ืองไมโครคอมพิวเตอร์เป็นที่นิยมใช้กนั แพร่หลายอยา่ งรวดเร็ว 1.5.2.5 คอมพวิ เตอร์มือถอื (Handheld Computer) เป็นคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดเลก็ ท่ีสดุ เม่ือเทียบกบั คอมพิวเตอร์ประเภทอื่นๆ อีกทงั้ สามารถพกพาไปยงั ที่ตา่ งๆ ได้ง่ายกวา่ เหมาะกบั การจดั การข้อมลู ประจาวนั การสร้างปฏิทินนดั หมาย การดหู นงั ฟังเพลงรวมถึงการรับสง่ อีเมล์ บางรุ่นอาจมีความสามารถเทียบเคียงได้กบั ไมโครคอมพิวเตอร์ เชน่ ปาล์ม พ็อกเก็ตพีซี เป็นต้น นอกจากนีโ้ ทรศพั ท์มือถือบางรุ่นก็มีความสามารถใกล้เคยี งกบั คอมพิวเตอร์มือถือในกลมุ่ นีใ้ นแง่ของการรันโปรแกรมจดั การกบั ข้อมลู ทว่ั ไปโดยใช้ระบบปฏิบตั กิ าร Symbian หรือไมก่ ็ Linux1.6 องค์ประกอบของคอมพวิ เตอร์ เครื่องคอมพิวเตอร์ที่เราเห็นๆ กนั อย่นู ีเ้ ป็นเพียงองค์ประกอบส่วนหน่ึงของระบบคอมพิวเตอร์เท่านนั้ แต่ถ้าต้องการให้เครื่องคอมพิวเตอร์แตล่ ะเครื่องสามารถทางานได้อยา่ งมีประสิทธิภาพตามท่ีเราต้องการนนั้ จาเป็นต้องอาศยั

11องค์ประกอบพืน้ ฐาน 4 ประการมาทางานร่วมกัน ซ่ึงองค์ประกอบพืน้ ฐานของระบบคอมพิวเตอร์ประกอบไปด้วยฮาร์ดแวร์ (Hardware) ซอฟตแ์ วร์ (Software) บคุ ลากร (People ware) ข้อมลู / สารสนเทศ (Data/Information) 1.6.1 ฮาร์ดแวร์ (Hardware) หมายถึง อุปกรณ์ตา่ งๆ ท่ีประกอบขนึ ้ เป็นเคร่ืองคอมพิวเตอร์ มีลกั ษณะเป็นโครงร่างสามารถมองเห็นด้วยตาและสมั ผสั ได้ (รูปธรรม) เช่น จอภาพ คีย์บอร์ด เคร่ืองพิมพ์ เมาส์ เป็นต้น ซ่ึงสามารถแบ่งออกเป็นสว่ นต่างๆ ตามลกั ษณะการทางาน ได้ 4 หนว่ ย คือ หน่วยรับข้อมลู (Input Unit) หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit:CPU) หน่วยแสดงผล (Output Unit) หนว่ ยเก็บข้อมลู สารอง (Secondary Storage) โดยอปุ กรณ์แตล่ ะหน่วยมีหน้าที่การทางานแตกตา่ งกนั 1.6.2 ซอฟต์แวร์ (Software) หมายถึง สว่ นท่ีมนษุ ย์สมั ผสั ไมไ่ ด้โดยตรง (นามธรรม) เป็นโปรแกรมหรือชดุ คาสง่ั ที่ถกู เขียนขนึ ้ เพ่ือสงั่ ให้เคร่ืองคอมพิวเตอร์ทางาน ซอฟต์แวร์จึงเป็นเหมือนตวั เช่ือมระหวา่ งผ้ใู ช้เคร่ืองคอมพิวเตอร์และเคร่ืองคอมพิวเตอร์ ถ้าไม่มีซอฟตแ์ วร์เราก็ไมส่ ามารถใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ทาอะไรได้เลย ซอฟตแ์ วร์สาหรับเคร่ืองคอมพิวเตอร์สามารถแบง่ ได้ ดงั นี ้ 1.6.2.1 ซอฟต์แวร์สาหรับระบบ (System Software) คือ ชดุ ของคาสงั่ ท่ีเขียนไว้เป็นคาสง่ั สาเร็จรูปซงึ่ จะทางานใกล้ชิดกบั คอมพิวเตอร์มากที่สดุ เพื่อคอยควบคมุ การทางานของฮาร์ดแวร์ทกุ อยา่ ง และอานวยความสะดวกให้กบั ผ้ใู ช้ในการใช้งาน ซอฟตแ์ วร์หรือโปรแกรมระบบที่รู้จกั กนั ดกี ็คือ DOS, Windows, UNIX, Linux รวมทงั้โปรแกรมแปลคาสงั่ ที่เขียนในภาษาระดบั สงู เชน่ ภาษา Basic, FORTRAN, Pascal, COBOL, C เป็นต้น นอกจากนี ้โปรแกรมท่ีใช้ในการตรวจสอบระบบเชน่ Norton’s Utilities ก็นบั เป็นโปรแกรมสาหรับระบบด้วยเชน่ กนั 1.6.2.2 ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software) คือ ซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมที่สงั่ คอมพวิ เตอร์ทางานตา่ งๆ ตามท่ีผ้ใู ช้ต้องการ ไมว่ า่ จะด้านเอกสาร บญั ชี การจดั เก็บข้อมลู เป็นต้น ซอฟตแ์ วร์ประยกุ ตส์ ามารถจาแนกได้เป็น 2 ประเภท คือ - ซอฟต์แวร์สาหรับงานเฉพาะด้าน คือ โปรแกรมซง่ึ เขียนขนึ ้ เพื่อการทางานเฉพาะอยา่ งท่ีเราต้องการบางท่ีเรียกวา่ User’s Program เชน่ โปรแกรมการทาบญั ชีจา่ ยเงินเดือน โปรแกรมระบบเชา่ ซือ้ โปรแกรมการทาสินค้าคงคลงั เป็นต้น ซงึ่ แตล่ ะโปรแกรมก็มกั จะมีเง่ือนไข หรือแบบฟอร์มแตกตา่ งกนั ออกไปตามความต้องการ หรือกฎเกณฑ์ของแตล่ ะหน่วยงานที่ใช้ ซงึ่ สามารถดดั แปลงแก้ไขเพ่ิมเตมิ (Modifications) ในบางสว่ นของโปรแกรมได้ เพื่อให้ตรงกบัความต้องการของผ้ใู ช้ และซอฟต์แวร์ประยกุ ต์ที่เขียนขนึ ้ นีโ้ ดยสว่ นใหญ่มกั ใช้ภาษาระดบั สงู เป็นตวั พฒั นา - ซอฟต์แวร์สาหรับงานทวั่ ไป เป็นโปรแกรมประยกุ ต์ท่ีมีผ้จู ดั ทาไว้ เพ่ือใช้ในการทางานประเภทตา่ งๆทว่ั ไป โดยผ้ใู ช้คนอื่นๆ สามารถนาโปรแกรมนีไ้ ปประยกุ ต์ใช้กบั ข้อมลู ของตนได้ แตจ่ ะไมส่ ามารถทาการดดั แปลง หรือแก้ไขโปรแกรมได้ ผ้ใู ช้ไมจ่ าเป็นต้องเขียนโปรแกรมเอง ซง่ึ เป็นการประหยดั เวลา แรงงาน และคา่ ใช้จา่ ยในการเขียนโปรแกรม นอกจากนี ้ยงั ไมต่ ้องใช้เวลามากในการฝึกและปฏิบตั ิ ซงึ่ โปรแกรมสาเร็จรูปนี ้มกั จะมีการใช้งานในหนว่ ยงาน

12ท่ีขาดบคุ ลากรที่มีความชานาญเป็นพเิ ศษในการเขียนโปรแกรม ดงั นนั้ การใช้โปรแกรมสาเร็จรูปจงึ เป็นส่ิงท่ีอานวยความสะดวกและเป็นประโยชน์อยา่ งยง่ิ ตวั อยา่ งโปรแกรมสาเร็จรูปท่ีนิยมใช้ได้แก่ MS-Office, Lotus, AdobePhotoshop, SPSS, Internet Explorer และ เกมส์ตา่ งๆ เป็นต้น 1.6.3 บุคลากร (People ware) หมายถงึ บคุ ลากรในงานด้านคอมพิวเตอร์ ซงึ่ มีความรู้เกี่ยวกบั คอมพิวเตอร์ สามารถใช้งาน สง่ั งานเพ่ือให้คอมพิวเตอร์ทางานตามท่ีต้องการ แบง่ ออกได้ 4 ระดบั ดงั นี ้ 1.6.3.1 ผู้จัดการระบบ (System Manager) คือ ผ้วู างนโยบายการใช้คอมพวิ เตอร์ให้เป็นไปตามเปา้ หมายของหนว่ ยงาน 1.6.3.2 นักวิเคราะห์ระบบ (System Analyst) คอื ผ้ทู ่ีศกึ ษาระบบงานเดมิ หรืองานใหมแ่ ละทาการวเิ คราะห์ความเหมาะสม ความเป็นไปได้ในการใช้คอมพิวเตอร์กบั ระบบงาน เพ่ือให้โปรแกรมเมอร์เป็นผ้เู ขียนโปรแกรมให้กบั ระบบงาน 1.6.3.3 โปรแกรมเมอร์ (Programmer) คอื ผ้เู ขียนโปรแกรมสงั่ งานเครื่องคอมพวิ เตอร์เพ่ือให้ทางานตามความต้องการของผ้ใู ช้ โดยเขียนตามแผนผงั ที่นกั วเิ คราะห์ระบบได้เขียนไว้ 1.6.3.4 ผู้ใช้ (User) คอื ผ้ใู ช้งานคอมพวิ เตอร์ทว่ั ไป ซง่ึ ต้องเรียนรู้วธิ ีการใช้เคร่ือง และวิธีการใช้งานโปรแกรม เพื่อให้โปรแกรมท่ีมีอยสู่ ามารถทางานได้ตามท่ีต้องการเน่ืองจากเป็นผ้กู าหนดโปรแกรมและใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์ มนษุ ย์จงึ เป็นตวั แปรสาคญั ในอนั ท่ีจะทาให้ผลลพั ธ์มีความนา่ เชื่อถือ เน่ืองจากคาสง่ั และข้อมลู ท่ีใช้ในการประมวลผลได้รับจากการกาหนดของมนษุ ย์ (People ware) ทงั้ สนิ ้ 1.6.4 ข้อมูล/สารสนเทศ (Data/Information) ข้อมูล (Data) เป็นองคป์ ระกอบท่ีสาคญั อยา่ งหนงึ่ การทางานของคอมพิวเตอร์จะเกี่ยวข้องกบั ข้อมลู ตงั้ แตก่ ารนาข้อมูลเข้าจนกลายเป็นข้อมลู ท่ีสามารถใช้ประโยชน์ต่อได้หรือที่เรียกวา่ สารสนเทศ (Information) ซ่งึ ข้อมลู เหล่านี ้อาจจะเป็นได้ทงั้ ตวั เลข ตวั อกั ษร และข้อมลู ในรูปแบบอื่นๆ เชน่ ภาพ เสียง เป็นต้น ข้อมลู ที่จะนามาใช้กบั คอมพิวเตอร์ได้นนั้ โดยปกตจิ ะต้องมีการแปลงรูปแบบหรือสถานะให้คอมพิวเตอร์เข้าใจก่อน จึงจะสามารถเอามาใช้งานในการประมวลผลต่างๆ ได้เราเรียกสถานะนีว้ ่า สถานะแบบดิจิตอล ซึ่งมี 2 สถานะเทา่ นนั้ คือ เปิ ด(1) และ ปิ ด(0) ………………………………………………………………………………………………………………


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook