Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือดำเนินงานบรรณารักษ์อาสา

คู่มือดำเนินงานบรรณารักษ์อาสา

Description: คู่มือดำเนินงานบรรณารักษ์อาสา

Search

Read the Text Version

ค่มู อื การดาเนินงานบรรณารักษอ์ าสา กศน.อาเภอทับปดุ ประจาปงี บประมาณ 2565

ค่มู อื การดาเนินงานบรรณารักษอ์ าสา กศน.อาเภอทับปดุ ประจาปงี บประมาณ 2565

สารบญั หน้า 1 เรอ่ื ง 3 บทท่ี 1 บทนา 7 บทท่ี 2 ความสาคญั และบทบาทหนา้ ทขี่ องห้องสมุดประชาชน 17 บทท่ี 3 บทบาทหน้าท่ีบรรณารักษอาสา บทที่ 4 แนวทางการจดั กิจกรรมส่งเสรมิ การอ่าน 4 แนวทาง คู่มอื การดาเนินงานบรรณารกั ษ์อาสา กศน.อาเภอทบั ปุด ประจาปีงบประมาณ 2565

บทท่ี 1 บทนา การอาน คือกระบวนการที่ผอู านรับรูขอมูลขาวสารซึ่งเป็นความรู้ ความคิด ความรูสึก และความ คดิ เห็นท่ีผูเขยี นถายทอดออกมาเปนลายลักษณอักษร การท่ีผอู านจะเขาใจสารไดมากนอยเพียงใด ขึ้นอยูกับ ประสบการณและความสามารถในการใชค้ วามคิด การอ่านมีความสาคัญตอชีวิต มนุษยทุกชวงวัย หรือต้ังแต่ เกิดจนตาย การอานจึงเปนประโยชนตอการดาเนินชีวิตในทุกๆด าน เน่ืองจากผอู านจะไดรับความรู พัฒนาความคิด ใหเกิดความสขุเกิดปญญา สูการพัฒนาตนเองใหมีคุณภาพตลอดทั้ง การพัฒนาสังคม และ ประเทศชาติ จากการสารวจการอานหนังสือของคนไทยใน ป พ.ศ.2548 เฉลี่ยคนไทยอานหนังสือปละ 5 เลม ตอคนในขณะ ทค่ี นมาเลเซยี อานหนังสือปละ 40 เลมตอคน คนสิงคโปรอานปละ 40- 50 เลมตอคน และคน เวียดนามอาน หนังสือคนละ 60 เลมตอคน รัฐบาลจึงมีนโยบายสงเสริมการอานของคนไทย ตามมติของ รฐั มนตรี ในวันท่ี 5 สงิ หาคม พ.ศ. 2552 เห็นชอบใหการอานเปนวาระแหงชาติ ซึ่งไดกาหนดป พ.ศ. 2552 - 2561 เปนทศวรรษแหงการอาน และใหวันที่ 2 เมษายน ของทุกป ซึ่งเปนวันคลายวันพระราชสมภพของ สมเด็จพระกนษิ ฐาธิราชเจา้ กรมสมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี เปนวันรักการอาน ซ่ึงทุก ฝายทัง้ ภาครฐั ภาคเอกชนและภาคประชาชนจะตองช่วยกนั ดาเนนิ การใหคนไทยอา่ น หนังสือเพ่ิมมากข้ึน นับ จากป พ.ศ. 2552 ถึงปจจุบัน การอานของคนไทยไดเพ่ิมข้ึน แตเม่ือเปรียบเทียบกับ ประเทศเพื่นนบานตาม สถติ ิดังกลาวกนับวา่ ยงั นอยอยูมาก สถาบันสานักงาน กศน. ไดมนี โยบายสงเสริมการอาน โดยใชหองสมุดประชาชนในการขับเคลื่อนเพ่ือ ใหการอานครอบคลุมทุกพ่ืนที่ และทั่วถึง ทุกกลุมเปาหมาย โดยเร่ิมต้ังแตเด็กปฐมวัย ซ่ึงเปนจุดเนนในป งบประมาณ 2559 วยั เรยี น วยั ทางา ตลอดท้ังวัยสูงอายุ ปัจจุบันสานักงาน กศน. มีแหล่งการเรียนรู้ประเภท ห้องสมุดประชาชนท่วั ประเทศ รวมทง้ั สิน้ 920 แห่ง แบง่ เป็น ห้องสมดุ ประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” 105 แห่ง ห้องสมุดประชาชน จังหวัด 69 แห่ง หอสมุดรัชมัลคลาภิเษก วังไกลกังวล หัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 1 แห่ง และหอ้ งสมดุ ประชาชนอาเภอ 745 แหง่ บรรณารักษ มหี นา้ ท่ปี ฏิบตั ิงานในหองสมดปุ ระชาชน ทงั้ งานการจัดหาและคัดเลือกหนังสือ จัดระบบ หนังสอื จดั บรกิ าร และจัดกิจกรรมสงเสริมการอาน ใหกบั กลมุ่ เปาหมายทุกชวงวัย ซ่ึงมีกิจกรรมที่หลากหลาย ทั้ง การจัดกิจกรรมในหองสมุด กิจกรรมเคล่ือนที่ไปยังชุมชน โดยเฉพาะเด็กปฐมวัยที่จะตองสรางหรือปลูก ฝงนิสัยรัก การอ่าน ซ่ึงสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ไดทรง พระราชทาน 10 กลวิธสี รางนิสัยรกั การอ่านเปนแนวทาง ในการจัดกจิ กรรมในสถานศกึ ษา คอื คู่มือการดาเนินงานบรรณารกั ษอ์ าสา กศน.อาเภอทับปุด ประจาปงี บประมาณ 2565

1.) ใชเวลาสบาย ๆ ของครอบครัวเพื่อสงเสรมิ การอาน 2.) เลือกหนงั สอื ดีที่ เด็กสนกุ 3.) ใหเด็กรูเรื่องราวหลากหลายจากพาหุวัฒนธรรม 4.) มีกิจกรรมพฒั นาทกั ษะความคิด 5.) ใช้ทักษะนาฏการในการเลา 6.) ใชกิจกรรมศิลปะเชือ่ มโยงจากการอาน 7.) สอนใหรูจกั สกัดความรู 8.) ตอยอดจากประสบการณ ของผูเรียน 9.) นาเดก็ สโู ลกวรรณคดี 10.) พฒั นาทักษะไพรชั ภาษาสโู ลกกวาง และยงั ทรงพระราชวิจารณหนังสือ ไทยท่ีนาอานสาหรับเด็ก และเยาวชนไทย 6 เร่ือง ประกอบดวย พระอภัยมณี รามเกียรต์ิ อิเหนา พระราชพิธี 12 เดือน กาพยเห่เรือ เจา้ ฟ้าก้งุ ห้องสมุดในสังกัดกศน.อาเภอทับปดุ มีนโยบายในการขบั เคลือ่ นการสงเสริมการอานโดยใชแนวทางใน การจัด กจิ กรรมสงเสรมิ การอาน 4 แนวทาง คอื คอื 1.กิจกรรมสงเสริมการอานในหองสมุดประชาชน 2. กิจกรรมสงเสรมิ การ อานบา้ นหนังสือชมุ ชน 3. กิจกรรมสงเสรมิ การอานเคลอ่ื นที่ (รถโมบายเคล่ือนท่ี) 4.กจิ กรรมสงเสริมการอ่านในศูนย์พฒั นาเด็กเล็ก และไดมอบใหบรรณารักษหองสมุดประชาชน และ ครู กศน.ตาบล จดั กจิ กรรมสงเสรมิ การอานโดยใช 4 แนวทางในการจดั กจิ กรรม การปฏิบัติงานในหองสมุดประชาชน หรือ หองสมุดใน กศน.ตาบลและการจัดกิจกรรมสงเสริมการ อ่านตามแนวทางดังกล่าว เป็นงานท่ีต้องมีผู้ช่วยในการปฏิบัติงาน เพื่อใหงานบรรลุเปาหมายจึงตองมี บรรณารักษอาสา เปนผชู วยในการดาเนินงาน ซ่ึงบรรณารักษอาสาของ กศน.อาเภอทับปุด จะไดมาจาก นักศึกษาจาก กศน.ตาบลต างๆท่ีจิตอาสาสมัครใจช วยงานบรรณารักษ ทั้งงานพ้ืนฐานห้องสมุด งานบริการ และงานจัด กิจกรรมสง่ เสริมการอ่านทั้ง 4แนวทาง ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอทับปุด ไดจัดทาคมู ือบรรณารักษอาสา เพื่อใหบรรณารกั ษอาสาไดใชเปนคูมือ ปฏิบัติงาน ตลอดทั้งใหมีความรูความเขาใจในงานหองสมุดประชาชน เพื่อปฏิบัติงานห องสมุดประชาชน และ การจัดกิจกรรมส งเสริมการอ่านท้ัง 4 แนวทางดังกล่าว ได้ประสบความสาเร็จ คู่มอื การดาเนินงานบรรณารักษอ์ าสา กศน.อาเภอทับปดุ ประจาปงี บประมาณ 2565

บทที่ 2 ความสาคญั และบทบาทหน้าที่ของหอ้ งสมุดประชาชน หองสมุดประชาชน เปนแหลงเรียนรูที่รวบรวมทรัพยากรสารสนเทศทุกประเภท ท่ีให ความรู ทกุ สาขาวชิ า รวมทั้งสารคดี และบนั เทงิ ภูมิปญญาท้องถิ่น ข้อมูลข่าวสารท่ีทันโลกทันเหตุการณ ซ่ึงมีท้ังวัสดุ ตีพิมพ์และไม่ตีพิมพ์ เช่น โสตทัศนวัสดุ ส่ืออิเลคทรอนิกส์ มีการคัดเลือกจัดหาเข้ามามาอย่างทันสมัย สอดคลองกบั ความ ต้องการและความสนใจของผู้ใช้ มีบรรณารกั ษ์เปนผดู าเนนิ งานและจัดบริการตาง ๆ อย่าง เป็นระบบ เพ่ือให้บริการประชาชนในท้องถิ่นเพ่ือศึกษาค้นคว้าหาความรโู ดยไมจากัด เพศ วัย และระดับ การศกึ ษา ความรูทกุ สาขาวิชา โดยมี วัตถุประสงคเบื้องต้น ของหองสมดุ 5 ประการ (จุมพจน วนิชกุล.2545 : ออนไลน อางอิง ในสุทธลิ กั ษณ อาพนั วงศ 2515 : 2-3) คือ 1. เพื่อการศึกษา (Education) 2. เพอื่ ความรู (Information) 3. เพ่ือความซาบซงึ้ ในศิลปและความงามตา่ ง ๆ (Inspirtion) 4. เพอ่ื การคน้ ควาวจิ ยั (Research) 5. เพ่ือความบนั เทิงและการพกั ผ่อนหยอนใจ (Recreation) จดั ตั้งข้นึ โดยหนวยงานของรัฐใหเปนสวนหนึง่ ของบริการทางการศกึ ษา ซง่ึ รัฐมหี นา้ ท่ีต้องดาเนินการ ท้งั นมี้ ไิ ดจากดั สทิ ธขิ องภาคเอกชน หรอื องคการตาง ๆ ท่ีมีศรัทธาจัดขึ้น เพื่อบริการสังคม หองสมุดประชาชน มี หนา ที่เก็บรวบรวมวัสดุสารนิเทศต่างๆ ไดแก หนังสือ วารสาร เอกสาร ส่ิงพิมพ โสตทัศนวัสดุ ฐานขอมูล ตลอดจน สารนิเทศในรูปแบบอ่ืน ๆ หองสมดุ ประชาชนจึงเปนแหลงความรแู ละขาวสารท่ีทันตอเหตุการณและ ความ เคล่ือนไหวของสังคม ท่ีทุกคนมีสิทธิเขาศึกษาคนควาไวตลอดเวลา ตลอดจน สงเสริมและเผยแพร วฒั นธรรมของ ชุมชนและประเทศ ความสาคัญของห้องสมุด การศึกษาในปจจุบัน มุงใหผู้เรียนมีโอกาสค้นคว้าหาความรู้จากแหล่งการเรียนรู้อ่ืนๆ มาประกอบ ความรู ท่ไี ดร้ บั จากการเรยี นในชน้ั ผูเรียนจะต้องหาความรู้เพิ่มเติม โดยการเข้าใช้ห้องสมุดเพื่อควาหาความรู เพิ่มขน้ึ ความสาคญั ของหองสมุดอาจประมวลได ดงั น้ี 1. หองสมดุ เปนที่รวมของทรพั ยากรสารสนเทศตางๆทีผ่ ู้ใชสามารถคนควาหาความรทู ุกสาขาวิชา ที่มี การเรียนการสอนในสถาบนั การศึกษาน้นั 2. หองสมุด เปนทท่ี ่ที ุกคนจะเลือกอ่านหนังสือ และคนควาหาความรูต่างๆ ไดโดยอิสระ ตามความ สนใจของแตละบุคคล 3. ห้องสมุดช่วยให้ผู้ใช้ห้องสมุดพอใจท่ีจะอ่านหนังสือต่างๆโดยไมรจักจบส้ิน เปนการชวยปลูกฝัง นสิ ัย รักการอา่ น คมู่ อื การดาเนินงานบรรณารักษ์อาสา กศน.อาเภอทับปุด ประจาปีงบประมาณ 2565

4. ชวยใหผใู ชห้ อ้ งสมดุ มีความรู้ทันสมยั อยู่เสมอ 5. ชว่ ยใหผ้ ้ใู ชห้ ้องสมุดมนี สิ ัยรกั การคน้ ควาหาความรดู้ ้วยตนเอง 6. ชว่ ยใหร้ จู้ กั ใช้เวลาว่างใหเ้ ป็นประโยชน์ 7. ห้องสมดุ จะชวยใหผูใชหองสมุดรับรใู นสมบัติสาธารณะ รูจักใชและระวงั รักษาอย่างถกู ตอ้ ง บทบาทหน้าท่ีของหองสมดปุ ระชาชนในสังกดั สานักงาน กศน. 1. งานบรหิ ารท่วั ไป 1.1 จดั ทาแผนการดาเนนิ งานและการพัฒนาหอ้ งสมดุ ประชาชน 1.2 ร่างโต้ตอบหนงั สือ 1.3 จัดทาทะเบียนสอื่ ความรู้ วสั ดุ ครภุ ัณฑใ์ หถ้ ูกตอ้ งตามระเบียบและเปน็ ปัจจุบัน 1.4 อานวยความสะดวกแก่ผู้ใชบ้ รกิ ารทงั้ ภายในและภายนอกห้องสมดุ 1.5 บารงุ รักษาซอ่ มแซมสถานท่ี วสั ดุ ครภุ ณั ฑ์อุปกรณ์ 1.6 ประสานงาน ประชมุ ปรกึ ษาหารอื คณะกรรมการหอ้ งสมดุ ประชาชน เครือขา่ ยและองค์กร ท้องถิ่น 1.7 ประสานงาน สง่ เสรมิ สนบั สนุนเครอื ข่ายในการจัดบริการการอา่ น การศกึ ษาคน้ ควา้ หาความรู้ ของ ศนู ยก์ ารเรียนชุมชน 1.8 ประชาสัมพันธ์การบริการ กจิ กรรม ห้องสมุดหลากหลายรปู แบบอย่างท่งั ถึงทกุ กลุม่ เป้าหมาย 1.9 จดั ทา จดั เก็บสถิติการให้บรกิ ารการดาเนินการ 1.10 จัดทารายงานผลการดาเนินงาน 2. งานเทคนิคห้องสมดุ 2.1 ศึกษาวิเคราะห์สารวจความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย 2.2 จดั หา รวบรวม คัดเลือกสื่อความรเู้ พ่อื สนองความตอ้ งการของกลมุ่ เปา้ หมาย - ส่อื สิ่งพิมพ์ - สือ่ โทรทัศน์ - สื่ออเิ ลคทรอนกิ ส์ เชน่ CD-ROM CAI - วดี ที ัศน์ - เทปเสยี ง 2.3 ประทบั ตรา ลงทะเบยี น สื่อความรู้ 2.4 วิเคราะหเ์ นือ้ หา จดั หมวดหมู่สอ่ื ความรู้ 2.5 จัดทาระบบสืบค้นตามหลักวิชาการทถ่ี ูกต้องรวมท้งั แนะนาการใช้บรกิ าร - บตั รรายการ - โปรแกรมคอมพวิ เตอรห์ ้องสมุด ค่มู อื การดาเนินงานบรรณารักษอ์ าสา กศน.อาเภอทบั ปุด ประจาปงี บประมาณ 2565

- บัตรดรรชนีวารสาร - บัตรกฤตภาค 2.6 จัดทา Homepage เพือ่ เผยแพร่และใหบ้ รกิ าร 2.7 ตรวจสอบความพรอ้ มของส่อื - ตดิ บตั รยมื - ตดิ ซองบตั ร - ตดิ บัตรกาหนดสง่ 2.8 นาสื่อขึน้ ชัน้ บริการ ดูแลเก็บสื่อให้เปน็ ระเบียบเรยี บร้อยตลอดเวลา 2.9 ซอ่ มแซม เยบ็ เลม่ บารุงรกั ษาสือ่ วัสดุ อุปกรณท์ ีช่ ารดุ เสยี หายใหพ้ รอ้ มบรกิ ารตลอดเวลา 2.10 จัดนิทรรศการ 3. งานบริการ 3.1 บรกิ ารยืม – คืนสื่อความรู้ 3.2 บรกิ ารสบื คน้ สอ่ื ความรดู้ ้วย - คอมพิวเตอร์ - อนิ เทอรเ์ นต็ - บัตรรายการ 3.3 บริการการอ่าน การศกึ ษาค้นควา้ จากสอื่ ความรู้ ทกุ ประเภท 3.4 บรกิ ารสื่ออเิ ลคทรอนคิ ส์ทุกประเภท - วดี ีทัศน์ - เทปเสียง - CAI CD-ROM 3.5 บริการการเรยี นรูก้ ารสืบคน้ และทดสอบความรู้ ด้วยตนเองจาก - CD - ROM - เครอื ขา่ ยอินเตอร์เน็ต 3.6 บริการขอ้ มูลทอ้ งถนิ่ 3.7 บริการเอกสารงานวิจยั 3.8 บรกิ ารชว่ ยค้นควา้ ตอบคาถาม 3.9 บรกิ ารจดั ทาบรรณานุกรม บรรณนทิ ศั น์ 3.10 บริการให้คาแนะนาการใชห้ อ้ งสมุด 3.11 เป็นวิทยากรเก่ียวกับงานห้องสมุดประชาชนใหก้ บั ศนู ยก์ ารเรียนชมุ ชนและหน่วยงานต่างๆ 3.12 บริการรับบรจิ าค จัดหา แลกเปลี่ยน ยืม ส่อื ความรู้ระหวา่ งหอ้ งสมุดกบั หน่วยงานอน่ื ๆ 3.13 จดั บรกิ ารหมุนเวียนสื่อเคลื่อนทไ่ี ปยัง ศนู ย์การเรียน คู่มอื การดาเนินงานบรรณารกั ษอ์ าสา กศน.อาเภอทับปดุ ประจาปงี บประมาณ 2565

3.14 จดั บริการแบบเรียนชดุ วิชา ส่ือประกอบการ เรยี นอ่นื ๆ ของนักศกึ ษาการศึกษานอกโรงเรียน ไปยงั กลมุ่ นักศกึ ษาในศูนย์การเรียนชุมชน 3.15 จดั บริการร่วมกับอาเภอเคล่อื นที่ จังหวดั เคลอื่ นท่ี 4. งานกิจกรรมห้องสมุด 4.1 จัดกิจกรรมสง่ เสรมิ การอ่าน การศกึ ษาค้นคว้าในรูปแบบทีห่ ลากหลายสาหรบั กลมุ่ เป้าหมายทกุ ประเภท เช่น เดก็ เยาวชน ผู้ใหญ่ ผู้สงู อายุ คนพิการ นกั ศึกษา กศน. อย่างตอ่ เนื่องตลอดปี 4.2 จดั นทิ รรศการวันสาคัญ หนังสือใหม่ เหตกุ ารณส์ าคัญ เช่น เด็กเยาวชน ผ้ใู หญ่ ผูส้ งู อายุ คนพิการ นักศกึ ษา กศน. อยา่ งตอ่ เน่อื งตลอดปี 4.3 จัดนทิ รรศการวนั สาคญั หนงั สอื ใหม่ เหตุการณส์ าคญั 4.4 จัดชมรมนกั อา่ นหรอื ชมรมเก่ยี วกบั การอ่านการศกึ ษาค้นคว้าหาความรู้ 4.5 ประสานงาน ใหค้ วามรว่ มมอื สง่ เสรมิ สนบั สนุนกบั หน่วยงานเครือขา่ ย องค์กรท้องถ่นิ ในการ จัดกิจกรรมส่งเสริมความรู้ 5. วชิ าการ 5.1 จดั ทาเอกสารคู่มือการปฏบิ ัติงานห้องสมุดประชาชน 5.2 จัดทาเอกสารคูม่ อื ในการใชห้ ้องสมดุ ประชาชน 5.3 จัดทาเอกสารให้ความรว่ มมือเกีย่ วกบั - งานวจิ ยั - งานทดลองเกี่ยวกับหอ้ งสมดุ ประชาชน 5.4 ผลิตสื่อท้องถิ่น 5.5 จดั ทาทาเนียบภมู ปิ ัญญาทอ้ งถน่ิ คู่มือการดาเนินงานบรรณารักษ์อาสา กศน.อาเภอทับปุด ประจาปีงบประมาณ 2565

บทที่ 3 บทบาทหน้าทบ่ี รรณารักษอาสา บรรณารกั ษ์อาสา บรรณารักษอาสา คือ ผูที่สมัครใจทางานชวยเหลือหรือทาหนาท่ีแทนบรรณารักษ ในดานบริการ หอ้ งสมุด ดานการจัดกิจกรรมสงเสริมการอาน หรืองานอื่นๆท่ีเกี่ยวข้องกับการอานและหองสมุด เพ่ือใหเด็ก เยาวชนและ ประชาชนในชุมชนไดป้ ระโยชนใ์ นเรอ่ื งของการอานโดยไม่หวังผลตอบแทนเปนเงิน หรือ สงิ่ อื่น บทบาทหน้าท่ขี องบรรณารักษ์อาสา 1.ชวยปฏิบัติงานพื้นฐานของหองสมุดประชาชน เชน งานเตรียมหนังสือ งานจัดหนังสือขึ้นช้ัน งานบริการยมื – คนื งานพิมพ์ งานลงขอ้ มูล คัดเลือกหนงั สือบรจิ าค และงานจดั กิจกรรมห้องสมุด 2. ชวยงานจัดกิจกรรมสง่ เสรมิ การอา่ นทัง้ 4 แนวทาง 3. งานอนื่ ๆทบี่ รรณารักษ์มอบหมาย งานพน้ื ฐานของหอ้ งสมุดประชาชน ข้นั ตอนและวธิ ีการปฏบิ ัติบตั ิงาน 1. งานเตรยี มหนังสอื งานเตรียมหนังสือ หมายถึงการนาเอาหนังสือ ของหองสมุดท่ีไดรับใหมมาจัดทาใหเขากับ ระบบ การบริการของห้องสมุด เพ่ือใหความสะดวกรวดเร็ว และคลองตัว แกผรับบริการและผู้ใช้บริการ มี 12 ข้นั ดังน้ี 1.1 ตรวจสอบความเรียบร้อย เมื่อหนังสือถูกส่งมายังฝ่ายจัดเตรียม บรรณารักษ์จะต้อง ตรวจสอบความเรยี บรอ้ ย ดงั ต่อไปน้ี 1.1.1 หนังสืออย่ใู นสภาพดี ไมฉีกขาด อยู่ครบทกุ หนา ไมกลบั หัวกลบั หาง 1.1.2 หากมีคาผิด และใบแกคาผิดอยู่ จะต้องแก้คาผดิ ลงในหนังสอื เสียกอ่ น แต่ถา้ ผิดมากไมส่ ามารถแกไ้ ขไดห้ มด ใหปะตดิ ไวกับหนังสือกอนหน้าปกใน 1.2 ประทับตรา ตราท่ีใชป้ ระทบั ควรเป็น ตรายางที่มขี นาดเหมาะสม แล้วแตหองสมุด แตละแหง จะเปนผู้สินใจวาจะใช้ขนาดไหน ใหเหมาะสมกับหนังสือท่ีมีอยูในหองสมุด การประทับตราควร จะตอ้ งกระทากบั หนังสอื ทุกเลม และควรมีเกณฑ์ในการประทบั ตรา ในหนาตาง ๆ ของหนังสือดังนี้ 1.2.1 ปกหน้า (สาหรับหนงั สือทไี่ มม่ ปี กใน) 1.2.2 หนาปกใน 1.2.3 หนาลับเฉพาะ (บรรณารักษค์ วรกาหนดเลขหน้าเปนการเฉพาะของหองสมุด) 1.2.4 ดานหลงั หน้าปกใน 1.2.5 หนาสดุ ท้ายของหนงั สือ คมู่ ือการดาเนินงานบรรณารกั ษ์อาสา กศน.อาเภอทบั ปุด ประจาปีงบประมาณ 2565

การประทบั ตราของหองสมุด มักประทับตรากลางหนากระดาษ ดานบนของหนังสือ ถาเปนตรายาง สีเ่ หลี่ยมผนื ผา้ มักประทับตรากลางหนากระดาษดานลางของหนังสือ ในการประทับตราหนังสือ สาหรับตรา ทุกประเภท มหี ลกั ทค่ี วรคานงึ ถงึ คอื 1. หลกี เลี่ยงการประทบั ตวั อักษร หรือขอความ 2. ควรประทบั ไมใ่ ห้กลบั หัว กลับหาง และมีความสมดุลกัน 3. ควรประทับใหชดั เจน 1.3 ลงทะเบียนหนังสอื หรอื ลงขอมลู หนงั สือ การลงทะเบียนหนังสือ เป นการทาบัญชีพัสดุหองสมุดอยางหนึ่ง แตปจจุบันสานักงาน กศน. มีนโยบายใหหองสมุดประชาชนทุกแหงใชโปรแกรมระบบเชื่อมโยงแหลงการเรียนรู (Learning Resources Linkage System) ซง่ึ ไมไดใชการลงทะเบยี นในสมดุ ทะเบยี น แบบสมยั กอน แตจะใชการลงขอมูลตามรายการ ใน โปรแกรม โดยรายการดังนี้ 1. เลขทะเบียนหนงั สอื หรือรหสั หนงั สอื หนงั สอื ทุกเลมจะตองมีเลขทะเบียนหรือรหัสหนังสือ ของตนเองจะซ้ากนั ไม่ได้ แม้จะเปน็ เรื่องเดยี วกนั 2. วันทรี่ ับหนังสือ 3. คานาหนา้ นาม มีดังนี้ 3.1 คานาหนาชอ่ื สาหรับคนไทย เชน นาย นางสาว อาจารย ฯลฯ สาหรับชาวตาง ชาตทิ ่ีใช ภาษาอังกฤษ เช่น Mr. Mrs Miss 3.2 คาท่ีแสดงฐานันดรศักด์ิ แห่งเชอื้ เชน ม.จ., ม.ร.ว. และคา แสดงบรรดาศักดิ์ เชน พระยา, หลวง 3.3 ช่อื หนวยราชการ องค์การ สมาคม กระทรวง กรม สานักงาน ฯลฯ 4. นามผู้แต่ง คอื ชื่อผแู ตงและนามสกลุ ไม่มี คานาหนา้ 5. นามปากกา หมายถงึ นามแฝงของนักเขยี น 6. ช่ือหนงั สือ ลงช่อื หนังสือทปี่ รากฏในหน้าปกใน 7. เลขหมหู นังสือ คือ เลขท่ีแยกตามประเภทหรอื เน้ือหาของหนังสือ ตามระบบการจัดหมวด หมู หนังสือ ซ่ึง หองสมุดประชาชนของสานักงาน กศน. ใชระบบทศนิยมดิวอ้ี ซึ่งบรรณารักษอาสาจะตอง ทราบเปนพื้นฐานเบอ้ื งต้น 8. ระบบทศนิยมดิวอี้ (Dewey Decimal Classification) เรียกย่อๆว่า D.C. หรือ D.D.C เปนระบบ การจัดหมวดหมูหนังสือ ในห้องสมุดที่นิยมระดับหนึ่ง คิดค้นขึ้นโดยชาวอเมริกัน เมลวิล ดิวอี้ ในขณะท่ีเขากาลงั เป็นผชู้ ว่ ยบรรณารกั ษท์ ี่วทิ ยาลยั อยู่ท่วี ทิ ยาลยั แอมเฮอร์ส (Amherst College) การจดั หมวดหมูหนงั สอื ตามระบบทศนิยมของดว้ิ อ้ี แบงหนงั สอื ออกเปนหมวดหมต่าง ๆ จาก หมวดหมใหญ่ไปหาหมู่ย่อยตา่ งๆ ดงั นี้ คมู่ ือการดาเนินงานบรรณารักษ์อาสา กศน.อาเภอทับปดุ ประจาปงี บประมาณ 2565

1. หมวดใหญ่ (Classes) หรือการแบ่งคร้ังที่ 1 แบ่งสรรพวิชาออกเป็นประเภทใหญ่ ๆ 10 หมวด โดยใชต้ วั เลขหลักรอ้ ยเป็นสญั ลกั ษณ์ 000 เบ็ดเตล็ดหรอื ความรูท้ ่ัวไป (Generalities) 100 ปรัชญา (Pholosophy and Psychology) 200 ศาสนา (Religion) 300 สังคมศาสตร์ (Social Sciences) 400 ภาษาศาสตร์ (Language) 500 วทิ ยาศาสตร์ (Natural Sciences and Mathematics) 600 วิทยาศาสตรป์ ระยุกต์ หรอื เทคโนโลยี (Technology) 700 ศิลปกรรมและการบันเทงิ (Arts) 800 วรรณคดี (Literature) 900 ประวตั ิศาสตร์ (Geography and History) 2. หมวดย่อย (Division) หรือการแบ่งคร้ังท่ี 2 คือการแบ่งหมวดใหญ่แต่ละหมวดออกเป็น 10 หมวดยอ่ ย รวมเปน็ 100 หมวดย่อย โดยใชต้ ัวเลขหลกั สบิ แทนสาขาวิชาตา่ ง ๆ ดังต่อไปนี้ 000 เบด็ เตล็ดหรือความรู้ทั่วไป 010 บรรณานุกรม 020 บรรณารักษศาสตร์ และสารนิเทศศาสตร์ 030 สารานุกรมไทยท่วั ไป 040 ความเรยี งทั่วไป 050 วารสารท่ัวไป 060 สมาคมและพิพิธภณั ฑท์ ว่ั ไป 070 วารสารศาสตร์ การพิมพ์ หนงั สอื พมิ พ์ 080 ชุมนุมนิพนธ์ 090 ต้นฉบับตวั เขียนและหนงั สือหายาก ***************************************************************** 100 ปรัชญา 110 อภปิ รัชญา 120 ความรใู้ นดา้ นปรัชญา 130 จติ วิทยาสาขาตา่ ง ๆ 140 ปรชั ญาระบบตา่ ง ๆ 150 จติ วิทยา 160 ตรรกวิทยา คู่มือการดาเนินงานบรรณารักษอ์ าสา กศน.อาเภอทับปดุ ประจาปีงบประมาณ 2565

170 จริยศาสตร์ 180 ปรัชญาตะวันออก ปรัชญาสมัยกลางและสมัยโบราณ 190 ปรชั ญาสมัยปัจจบุ นั ***************************************************************** 200 ศาสนา 210 ศาสนาธรรมชาติ 220 คมั ภีร์ไบเบลิ 230 เทววิทยาเชงิ ครสิ ต์ศาสน์ 240 เทววิทยาเชงิ ปฏบิ ตั ิ 250 เทววิทยาเกี่ยวกับบรรพชิต 260 เทววทิ ยาทางการศาสนา 270 ประวตั ิครสิ ตศ์ าสนาในประเทศต่าง ๆ 280 คริสต์ศาสนาและนิกายตา่ ง ๆ 290 ศาสนาอ่นื ๆ ทีไ่ มใ่ ชค่ ริสต์ศาสนา ศาสนาเปรียบเทยี บ **************************************************************** 300 สังคมศาสตร์ 310 สถิติ 320 รฐั ศาสตร์ 330 เศรษฐศาสตร์ 340 กฎหมาย 350 รฐั ประศาสนศาสตร์ 360 สวัสดิภาพสังคม 370 การศกึ ษา 380 การพาณชิ ย์ 390 ขนบธรรมเนียมประเพณี นทิ านพ้นื เมือง **************************************************************** 400 ภาษาศาสตร์ 410 ภาษาศาสตร์ 420 ภาษาอังกฤษ 430 ภาษาเยอรมนั 440 ภาษาฝรงั่ เศส 450 ภาษาอติ าเลยี น คู่มือการดาเนินงานบรรณารกั ษอ์ าสา กศน.อาเภอทับปุด ประจาปีงบประมาณ 2565

460 ภาษาสเปนและโปรตเุ กส 470 ภาษาละตนิ 480 ภาษากรีก 490 ภาษาอนื่ ๆ **************************************************************** 500 วทิ ยาศาสตร์ 510 คณติ ศาสตร์ 520 ดาราศาสตร์ 530 ฟสิ กิ ส์ 540 เคมี 550 ศาสตรว์ ่าด้วยพืน้ โลก 560 ชวี วทิ ยา 570 วทิ ยาศาสตร์ชวี ภาพ 580 พฤกษาศาสตร์ 590 สตั ววิทยา **************************************************************** 600 วทิ ยาศาสตร์ประยุกต์ เทคโนโลยี 610 แพทยศาสตร์ 620 วศิ วกรรมศาสตร์ 630 เกษตรศาสตร์ 640 คหกรรมศาสตร์ 650 บริหารธุรกจิ 660 อุตสาหกรรมเคมี 670 โรงงานอุตสาหกรรม 680 สินคา้ ท่ผี ลติ จากเครอ่ื งจักร 690 การก่อสร้าง **************************************************************** 700 ศิลปกรรมและการบนั เทิง 710 สถาปัตยกรรมนอกอาคาร 720 สถาปัตยกรรม 730 ประติมากรรม 740 มัณฑนศิลป และการวาดเขยี น คู่มือการดาเนินงานบรรณารกั ษ์อาสา กศน.อาเภอทับปุด ประจาปีงบประมาณ 2565

750 จิตรกรรม 760 การจาลองภาพจติ รกรรม 770 การถา่ ยรปู และถา่ ยภาพ 780 ดนตรี 790 การบนั เทงิ และการแสดง **************************************************************** 800 วรรณคดี 810 วรรณคดีอเมริกัน 820 วรรคณดีองั กฤษ 830 วรรณคดเี ยอรมัน 840 วรรณคดฝี รัง่ เศส 850 วรรณคดอี ิตาเลียน 860 วรรณคดสี เปนและโปรตเุ กส 870 วรรณคดีละตนิ 880 วรรณคดกี รีก 890 วรรณคดภี าษาอื่น ๆ **************************************************************** 900 ประวัติศาสตร์ 910 ภมู ิศาสตร์และการทอ่ งเท่ียว 920 ชีวประวัติและสกุลวงศ์ 930 ประวตั ิศาสตรส์ มัยโบราณ 940 ประวตั ิศาสตรย์ ุโรป 950 ประวตั ิศาสตร์ทวปี เอเชยี 960 ประวตั ิศาสตรแ์ อฟรกิ า 970 ประวัติศาสตร์ทวปี อเมรกิ าเหนอื 980 ประวัติศาสตร์ทวปี อเมริกาใต้ 990 ประวตั ศิ าสตร์ประเทศแถบมหาสมทุ รและแถบขวั้ โลกท้งั สอง **************************************************************** คู่มอื การดาเนินงานบรรณารกั ษ์อาสา กศน.อาเภอทับปดุ ประจาปีงบประมาณ 2565

9.หมวดหลกั หมวดย่อย ชอื่ ยอ่ ผู้แต่ง 10. ชอ่ื ชุดหนงั สอื 11. ช่ือสานักพิมพ์ ให้ลงเฉพาะ ช่ือของสานักพิมพ์ หรือบษิ ัทหา้ งรา้ นผพู้ มิ พจ์ าหน่ายไมต่ อ้ งนาดว้ ยคาวา่ สานักพมิ พ์ หรือ บรษิ ทั ถาไม่ปรากฎ ชอื่ สานักพมิ พ์ ให้ใชช้ ่อื โรงพมิ พ์แทน 12. ครั้งท่ี พิมพ์ ปีที่พิมพ์ 13. หวั เรือ่ ง 14. ราคา คือราคาของหนังสือตอ 1 เลม ใหล้ งราคาเต็ม 15. จานวนหนา้ 16. ISBN คือ เลขมาตรฐานสากลประจาหนงั สอื 17. แหลง ทีว่ า่ ซอ้ื ดว้ ยงบประมาณ หรือบริจาค 18. สถานทีเ่ กบ็ ตัวอย่างแบบฟอร์ม ในระบบเชือ่ มโยงแหลงเรียนรู ค่มู ือการดาเนินงานบรรณารักษ์อาสา กศน.อาเภอทับปดุ ประจาปงี บประมาณ 2565

งานบริการห้องสมดุ หมายถึง งานท่ีห้องสมุดจดั ทาข้ึนเพ่อื อานวยความสะดวกแก่ผู้ใช้ในด้านการอ่าน การค้นคว้าหาความรู้และส่งเสริมการอ่านให้กว้างขวางและท่ัวถึง เพื่อให้ผู้ใช้ได้รับสารสนเทศอย่างรวดเร็ว และตรงตามความต้องการมากทสี่ ดุ รวมถึงการจดั บรรยากาศท่ีดี เป็นระเบียบ ทาให้ผู้ใช้เกิดความรู้สึกที่ดีและ ประทับใจเมอื่ เขา้ ใชบ้ รกิ าร ความสาคญั ของงานบรกิ ารห้องสมุด งานบริการเป็นหัวใจสาคัญของห้องสมุด เป็นงานท่ีเก่ียวข้องกับผู้ใช้ทุกระดับ สาหรับงานบริการของ หอ้ งสมุดโรงเรยี น มีสว่ นสาคัญท่ีทาใหน้ กั เรยี น ผปู้ กครองและชุมชน มาใช้ห้องสมดุ มากข้นึ งานบริการเป็นงาน ท่ีห้องสมุดทาข้ึน เพ่ือส่งเสริมสนับสนุนการเรียนการสอน ให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ รู้จักศึกษาค้นคว้าด้วย ตนเอง ใช้ประโยชน์จากการอ่านเพ่ือเพิ่มพูนความรู้ ตลอดจนนาความรู้ไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ใน ชวี ติ ประจาวันได้เปน็ อยา่ งดี วตั ถุประสงคข์ องการให้บรกิ ารหอ้ งสมุด 1. เพื่อส่งเสริมการอ่าน 2. เพอ่ื อานวยความสะดวกแกผ่ ้ใู ชห้ อ้ งสมุด 3. เพอื่ สนบั สนุนการเรียนการสอนใหเ้ กิดประโยชน์อย่างเตม็ ที่และคุม้ ค่า 4. เพ่ือใหเ้ กดิ ความรู้ ความเพลิดเพลิน พัฒนาสมองให้มสี ติปัญญาเฉลยี วฉลาด สามารถนาสิง่ ทไ่ี ดจ้ าก การอ่านไปปฏิบตั ิ เพ่อื บรรลุวัตถุประสงค์ท่ีตนต้องการ องคป์ ระกอบของงานบรกิ ารหอ้ งสมุด การที่ห้องสมุดแห่งใดแห่งหนึ่งจะสามารถจัดบริการท่ีมี ประสิทธิภาพเพียงใดขึ้นอยู่กับองค์ประกอบ ตา่ ง ๆ ได้แก่ ทรัพยากรสารสนเทศ ผู้ใช้บริการ ผู้ให้บริการ วิธีบริการ อุปกรณ์และเครื่องมือต่าง ๆ และการ จดั การงานบรกิ าร แต่ละองค์ประกอบมคี วามสาคัญดงั ต่อไปน้ี ทรัพยากรสารสนเทศ ทรพั ยากรสารสนเทศเป็น แหลง่ ของความรู้ ขอ้ มูล ข่าวสารท่ผี ู้ใช้บริการต้องการ ห้องสมุดจึงมีภารกิจในการจัดหาทรัพยากรสารสนเทศ ประเภทต่าง ๆ ที่ตรงตามความสนใจและต้องการของผู้ใช้มาจดั เกบ็ ไวใ้ ห้บรกิ าร โดยจะต้องพิจารณาตามความ เหมาะสมกับผู้ใช้ ทั้งคุณภาพและปริมาณให้เพียงพอ สนองความต้องการได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งต้อง พิจารณาทั้งในแง่ประเภทของทรัพยากร วิธีเสนอสาระที่เหมาะกับระดับความรู้ความสามารถของผู้ใช้เป็น ส่วนรวม ผู้ใช้บริการ ผู้ใช้บริการเป็นองค์ประกอบสาคัญท่ีทาให้งานบริการสามารถดาเนินไปได้ เพราะงาน บริการของห้องสมุดจัดขึ้นเพ่ือสนองความต้องการของผู้ใช้ และเพ่ือส่งเสริมให้มีการใช้ทรัพยากรสารสนเทศ ท่ีมีอยู่ให้เกิดประโยชน์ ผู้ใช้บริการแต่ละบุคคลหรือแต่ละกลุ่ม มีความสนใจและพฤติกรรมการใช้บริการ ห้องสมุดแตกต่างกัน การจัดบริการจะมีผลสัมฤทธ์ิสูงก็ต่อเม่ือบริการน้ันตรงกับความต้องการของผู้ใช้ คูม่ อื การดาเนินงานบรรณารักษอ์ าสา กศน.อาเภอทับปดุ ประจาปีงบประมาณ 2565

จึงจาเป็นตอ้ งมีการศึกษาความต้องการและพฤติกรรมการใช้บรกิ ารของผใู้ ชก้ ่อนการจัดบริการแต่ละชนิดเสมอ กล่าวได้ว่าผู้ใช้ห้องสมุดเป็นผู้กาหนดให้ห้องสมุดจัดวิธีบริการให้เหมาะสม นอกจากน้ีภารกิจงานบริการของ ห้องสมุดยังครอบคลุมถึงการให้การศึกษาแก่ผู้ใช้ เพ่ือให้ผู้ใช้รู้จักบริการต่าง ๆ ของห้องสมุดและใช้ให้เกิด ประโยชน์ไดอ้ ยา่ งสงู สุด งานบริการของห้องสมุดมีหลายอย่าง ข้ึนอยู่กับนโยบายและวัตถุประสงค์ของห้องสมุด สาหรับ ห้องสมดุ โรงเรียนโดยทั่วไป มดี งั น้ี 1. บรกิ ารการอา่ น เปน็ บรกิ ารหลกั ของห้องสมดุ ทีจ่ ดั หาและคัดเลือกหนงั สือ สิ่งพิมพ์ต่างๆ มาไวเ้ พอ่ื ให้บรกิ าร และจัดเตรยี มสถานท่ีใหอ้ านวยความสะดวกต่อการอา่ น เพือ่ ตอบสนองความตอ้ งการ และ ความสนใจของผู้ใชม้ ากทีส่ ุด 2. บรกิ ารยืม – คนื คอื บริการให้ยมื – คนื ทรัพยากรสารสนเทศประเภทต่างๆ ตาม ระเบียบการยมื ของหอ้ งสมดุ แต่ละแหง่ เพื่อให้ความสะดวกในการใช้ ในกรณที ยี่ ืมเกินกาหนด ผูย้ มื จะตอ้ งเสยี คา่ ปรับตามอตั ราท่หี ้องสมุดกาหนด 3. บริการหนงั สอื จอง เปน็ บรกิ ารทห่ี อ้ งสมุดจดั แยกหนังสือรายวชิ าตา่ ง ๆ ท่ีครูผสู้ อน กาหนดใหน้ กั เรียนอา่ นประกอบ รวมทง้ั เปน็ บรกิ ารพิเศษทจี่ ดั ขึน้ ในกรณที หี่ นงั สอื นัน้ มจี านวนน้อย แต่มผี ู้ใช้ ตอ้ งการจานวนมาก โดยแยกไว้ต่างหาก และมีกาหนดระยะเวลาใหย้ ืมสัน้ กว่าหนงั สือทัว่ ไป 4. บริการแนะนาการใช้ห้องสมุด เปน็ บริการเพือ่ แนะนาผใู้ ช้ให้ทราบวา่ หอ้ งสมุดจดั บริการ อะไรบา้ งให้กบั ผูใ้ ช้ เช่น การปฐมนเิ ทศแนะนาแก่นกั เรยี นทเ่ี ขา้ เรียนในชนั้ ปแี รก ห้องสมุดส่วนใหญจ่ ะจัดทา คมู่ ือการใช้หอ้ งสมดุ เพอ่ื ใหข้ ้อมูลเกีย่ วกับห้องสมุด เช่น ประวตั ขิ องห้องสมุด ระเบียบการยมื – คืนทรัพยากร สารสนเทศ มารยาทในการใช้ห้องสมุด บริการและกิจกรรมต่างๆของห้องสมดุ เป็นต้น 5. บรกิ ารตอบคาถามและชว่ ยการค้นคว้า เปน็ บรกิ ารท่คี รบู รรณารักษห์ รอื เจ้าหน้าท่ี หอ้ งสมดุ จะช่วยให้คาแนะนาและบรกิ ารตอบคาถามแกน่ กั เรียนและผใู้ ช้ ท้งั คาถามท่วั ไปเกีย่ วกับการใช้ หอ้ งสมุด และคาถามที่ตอ้ งค้นหาคาตอบจากทรัพยากรสารสนเทศต่างๆ ในหอ้ งสมุด 6. บรกิ ารแนะแนวการอ่าน เปน็ บริการสาคญั ทห่ี ้องสมดุ จดั ขน้ึ เพ่ือส่งเสริมการอา่ น พฒั นา นสิ ัยรกั การอา่ น และใช้เวลาว่างให้เปน็ ประโยชน์ นอกจากนย้ี ังเป็นการช่วยเหลือผู้ใช้ห้องสมุดที่มีปัญหาในการ อา่ น ผู้ที่ไม่อยากอ่านหนังสอื หรือเลือกหนังสอื อ่านไมเ่ หมาะสมกบั ความตอ้ งการของตน 7. บรกิ ารสอนการใช้ห้องสมดุ เป็นบริการของห้องสมุดในโรงเรียนทีจ่ ดั สอนใหแ้ กน่ ักเรียนที่ เขา้ เรียนใหม่ในชั้นปีแรก เพ่อื ใหค้ วามรู้เก่ียวกับการใช้หอ้ งสมดุ การเลือกใช้ทรัพยากรสารสนเทศแต่ละ ประเภท และบริการต่างๆ ของหอ้ งสมดุ ใหผ้ ู้ใชส้ ามารถใช้ประโยชน์จากหอ้ งสมุดได้อยา่ งเตม็ ท่ี 8. บริการสืบคน้ ฐานข้อมูล เป็นบรกิ ารสืบค้นฐานข้อมลู หนังสอื ของห้องสมดุ ชว่ ยให้ผู้ใช้ สามารถคน้ หาหนงั สอื ด้วยตนเองไดส้ ะดวก รวดเร็วขนึ้ คู่มือการดาเนินงานบรรณารักษอ์ าสา กศน.อาเภอทับปุด ประจาปงี บประมาณ 2565

9. บริการรวบรวมบรรณานุกรม เป็นการรวบรวมรายช่อื หนงั สอื สาหรับใช้ประกอบการ เรยี นการสอน ในรายวิชาต่างๆ รวมถึงการรวบรวมบรรณานกุ รมหนังสือใหม่ประจาเดอื นทหี่ ้องสมดุ ออก ให้บริการแกผ่ ู้ใช้ 10. บริการข่าวสารทันสมัย เป็นบริการที่ช่วยให้ผู้ใช้ห้องสมุดได้ทราบข้อมูลใหม่ๆ ในสาขาวิชาต่างๆ โดยการถ่ายสาเนาหน้าสารบัญวารสารฉบับล่าสุดที่ห้องสมุดได้รับรวบรวมไว้ในแฟ้ม เพ่ือใหบ้ รกิ ารแกผ่ ใู้ ช้ในการศกึ ษาค้นควา้ 11. บริการอินเทอร์เน็ต ผู้ใช้บริการสามารถสืบค้นข้อมูลบนอินเทอร์เน็ตท่ีสนใจได้ท่ัวโลก ซึ่งทาให้ผู้ใชส้ ามารถเข้าถึงสารสนเทศที่ทันสมยั ได้มากขึ้น ตรงตามความต้องการและสะดวกรวดเรว็ 12. บริการอ่ืนๆ ที่ห้องสมุดอาจจัดขึ้น เช่น บริการโสตทัศนวัสดุ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ บริการ ห้องสมุดเคลอ่ื นที่ บริการชมุ ชน บรกิ ารขอใช้สถานทป่ี ระชุม เป็นต้น 12.1 บริการส่ืออิเล็กทรอนิกส์ เป็นบริการค้นคว้าหาความรู้ด้วยสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ตา่ งๆ เช่น สอ่ื มัลตมิ เี ดีย ซีดรี อม ดีวีดี วซี ดี ี เปน็ ต้น 12.2 บริการห้องสมุดเคลื่อนท่ี เป็นบริการการอ่านท่ีห้องสมุดจัดไว้ตามมุมต่างๆ ของโรงเรยี น เพอ่ื สง่ เสริมการเรียนรู้ เชน่ ใต้บันได ระเบียงอาคาร สวน ศาลา ฯลฯ เป็นการให้บริการ อย่างไมเ่ ป็นทางการ งา่ ยๆ และตกแตง่ ด้วยธรรมชาติอย่างสวยงาม ตามสภาพของสถานท่ีน้ันๆ 12.3 บริการชุมชน เป็นบริการท่ีขยายโอกาสทางการศึกษาค้นคว้าให้กว้างออกไป โดยห้องสมุดจะจดั หนงั สือและส่ิงพิมพ์ ไปให้บริการแก่ชุมชนและหน่วยงานต่างๆ รอบโรงเรียน เช่น ที่วัด ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จุดบริการจักรยานยนต์รับจ้าง เป็นการปลูกฝังนิสัยรักการอ่านให้แก่เด็ก และประชาชนในชมุ ชนทุกเพศ ทกุ วัย เพ่อื เพมิ่ พนู ความรู้ ข่าวสาร และทนั ตอ่ เหตกุ ารณ์ 12.4 บริการขอใช้สถานที่ประชุม เป็นบริการเพ่ืออานวยความสะดวกให้แก่ฝ่าย บริหาร และครู-อาจารย์ ในการขอใช้หอ้ งสมดุ เพ่ือประชมุ เฉพาะกล่มุ ของโรงเรียน คมู่ ือการดาเนินงานบรรณารกั ษอ์ าสา กศน.อาเภอทับปุด ประจาปงี บประมาณ 2565

บทท่ี 4 แนวทางการจัดกจิ กรรมส่งเสรมิ การอา่ น 4 แนวทาง สานกั งาน กศน.จงั หวัดพังงา ไดมีนโยบายขับเคลื่อนการสงเสริม การอานใหครอบคลุมทุกพื้นท่ีและ ทั่วถึง โดยใช กลไกให บรรณารักษ ห องสมุดประชาชน และจัดให มีบรรณารักษ อาสา ทาหน าท่ี เปนผูชว่ ยบรรณารักษและ ครู กศน.ตาบล จัดกจิ กรรมสงเสริมการอาน โดยกาหนดแนวทางในการจัดกิจกรรม สงเสริมการอาน 4 แนวทาง ดังน้ี แนวทางที่ 1 สงเสรมิ การอ่านในห้องสมุดประชาชน การจดั กจิ กรรมสงเสริมการอานในหองสมุดประชาชน ซ่ึงสามารถจัดกิจกรรมไดหลากหลายรูปแบบ ใหก้ ับบกลุมเป้าหมายท้งั เด็กปฐมวัย วัยเยาวชน วัยทางาน วัย ผูสูงอายุ ซง่ึ การจัดกิจกรรมตองใหเหมาะสมกับ วัยและ สอดคลองกับความตองการของวัยนั้นๆ โดยกาหนดวัตถุประสงค กลุมเปาหมาย วิธีการดาเนินงาน ตัวชีว้ ดั ความสาเร็จดงั นี้ วัตถุประสงค 1) เพ่ือประชาสัมพนั ธใหประชาชนเขา้ ใชบ้ รกิ ารห้องสมุด 2) เพอ่ื สงเสริมการอานและการเรียนรู้ใหก้ บั ประชาชนทกุ กลุ่มวยั 3) เพอ่ื สง่ เสรมิ ใหเ้ ดก็ และ เยาวชนและประชาชน อา่ นหนังสอื เพิ่มมากขนึ้ กลมุ่ เปา้ หมายคอื ประชาชทุกวัยท่เี ปน็ ผู้ใชบ้ รกิ าร 1) ห้องสมดุ ประชาชนอาเภอทบั ปุด จานวน 1 แหง 3) หองสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี”อาเภอทับปุด จานวน 1 แห่ง วธิ ดี าเนินการ 1) การใหบริการ – คนื หนังสือไปอ่านทบี่ ้าน 2) การจัดบรรยากาศใหเหมาะสมกับการอ่าน ตลอดท้ังการจัดมุมหนังสือเฉพาะเพื่อ ให บริการการ อานได้สะดวกและรวดเร็วตามความสนใจ เช่น มุมสุขภาพ มุมอาชีพ มุมสนทนาภาษาอังกฤษ เปนตน 3) จัดกิจกรรมสงเสริมการอานในหองสมุด จัดตามวาระวันสาคัญ ตามโอกาส ตามกลมุ เปาหมาย ผูใชบริการ การจัดสงเสริมการอานท่ัวไป เลือกไดตามความเหมาะสม เชน กิจกรรมแนะนาหนังสือ ใหมแนะนา หนังสอื นาสนใจ หนงั สอื ดใี นดวงใจ การจัด นิทรรศการตามประเพณีและวันสาคัญคัญ กิจกรรม เลานิทาน แสดงละครหุนมือ แนะนาอาชีพจาก You tube และกิจกรรมคติธรรมสุขใจ ยาสมุนไพรใกลตัว การจัดกิจกรรมสามารถคิดออกแบบได้ตามความเหมาะสมและความตองการของผูจัดเพื่อใหสอดคลองกับ กลมุเปา้ หมาย 4) บรรณารกั ษเปนเจาภาพหลักในการขบั เคลือ่ นกจิ กรรมส่งเสริมการอานท้ัง 4 แนวทาง 5) รายงานผลการดาเนินงาน ใหสานักงาน กศน.จงั หวัด ทราบ ทุกเดือน คมู่ อื การดาเนินงานบรรณารักษ์อาสา กศน.อาเภอทับปุด ประจาปงี บประมาณ 2565

ตวั ชีวัดความสาเร็จ 1) ห้องสมุดมสี มาชิกเพ่มิ ขน้ึ ไม่นอ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 20 2), มผี ้ใู ช้บริการหอ้ งสมดุ ประชาชนโดยเฉล่ยี ไม่น้อยกว่า 30 คนต่อวนั 3) จดั กิจกรรมส่งเสริมการอ่านไมน่ อ้ ยกวา่ 1 คร้ัง/เดือน 4) ผู้รบั บริการมคี วามพงึ พอใจในระดบั มาก ไมนอยกวา รอยละ 80 แนวทางท่ี ๒ สงเสรมิ การอานในบานหนังสือชมุชน บานหนังสือชุมชน เปนบานท่ีจัดต้ังขึ้น ตามยุทธศาสตรและจุดเนนการดาเนินงาน สานักงาน กศน. ขอที่ 3 จัดการศกึ ษาสงเสริมการเรียนรูทุกชวงวัย และมีคุณภาพ มุงเนนการสงเสริมใหเกิดชุมชนรักการอาน “สราง การอานเสริมการเรียนรู” ในรูปแบบหมูบานแหงการอาน อาสาสมัครสงเสริมการอาน บานหนังสือ ชุมชน เพอ่ื ใหส่งเสริมการศกึ ษาตลอดชวี ติ แกประชาชนที่อยหู างไกล ไดมีความรทู ันโลกทันเหตุการณและการ พัฒนาตนเองใหมี คุณภาพ โดยกาหนดวัตถุประสงค กลุ่มเปาหมาย วิธีการดาเนินงาน ตัวช้ีวัด ความสาเร็จ ดงั น้ี วตั ถุประสงค 1) เพอ่ื สงเสรมิ ใหประชาชนในชุมชนมโี อกาสเข้าถึงหนงั สือ ประเภทตา งๆ ไดงายขน้ึ 2) เพื่อสงเสริมให้ประชาชนในชุมชนได้อ่านหนังสือท่ีมีความหลากหลายได้รับข่าวสาร ทันโลก ทนั เหตุการณ์ 3) เพอ่ื สง่ เสรมิ ให้เสรมิ ใหประชาชนใชเวลาวา่ งใหเ้ ปน็ ประโยชน์และมนี ิสยั รักการอ่าน 4) เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ ประชาชนในหมบู าน อานหนังสือไมออก อานไมคลอง และผู้สูงอายุไม่ หลงลมื หนงั สอื กลมุเปา้ หมาย 1) เดก็ เยาวชน 2) นักเรียน นักศกึ ษา 3) ประชาชนท้งั วัยทางาน และวัยสูงอายุ คมู่ อื การดาเนินงานบรรณารักษ์อาสา กศน.อาเภอทบั ปุด ประจาปงี บประมาณ 2565

วิธีดาเนินการ 1. จดั ประชุม นายกอบต. ผูนาชมุ ชน ครู กศน.ตาบล บรรณารักษ และเจาบ้าน เพ่ือชี้แจงทาความ ใจ ในการจดั กิจกรรมหรอื รวมคดิ ออกแบบกจิ กรรม ประยุกตใ์ หสอดคลองตามความตอ้ งการของกล่มุ เปา้ หมาย 2. จดั ทาปฏิทนิ กาหนดการปดิ ไว้ทบ่ี ้านหนงั สอื ชุมชน 3. มอบหมายหนาที่ปฏิบัติงาน 4. ประชาสมั พันธ์ 5. ดาเนินกิจกรรม กิจกรรมสงเสริมการอานที่จดั ในบานหนงั สอื ชมุ ชน สามารถจัดไดหลากหลายรปู แบบเชนเดียวกัน โดย เนนใหเปนธรรมชาติและงายๆไมซับซอน ตามความสนใจและความตองการในชุมชน ซ่ึงนากิจกรรม บาง กิจกรรมในหองสมุด/กศน.ตาบลไปจัดได เชนกัน กิจกรรมที่ควรจัด เชน กิจกรรมจัดหา/รับบริจาคหนังสือที่ หลากหลาย กจิ กรรมแนะนาหนังสือที่น่าสนใจ/นา่ อ่าน กิจกรรมหนังสอื เดนิ ทางสร้างปญญา กิจกรรมผสู ูงวัยใส ใจการอาน กิจกรรมอานสรางงานสรางอาชีพ กิจกรรมสภานักอาน กิจกรรมสาระนารู คบู านหนังสือชุมชน กจิ กรรมจดุ รวมพลคนนกั อาน กิจกรรมอานทันเหตุการณ กิจกรรมสดุ ยอดนักอานประจาหมูบาน กิจกรรมแลก กันอาน เปนตน การจัดกิจกรรมสามารถคิดออกแบบไดตามความเหมาะสมและความตองการของผู้จัดเพ่ือให้ สอดคลองกับกลุมเปาหมาย ตัวชีว้ ัดความสาเรจ็ 1) สถานศกึ ษารอยละ 80 มบี ้านหนังสอื ชมุ ชนครบทกุ ตาบล 2) มผี ใู ชบรกิ ารในบ้านหนังสอื ชมุ ชน ไม่นอ้ ยกวา่ 10 คนต่อวนั คมู่ อื การดาเนินงานบรรณารกั ษอ์ าสา กศน.อาเภอทบั ปุด ประจาปีงบประมาณ 2565

แนวทางท่ี 3 กิจกรรมสง่ เสริมการอา่ นเคลือ่ นที่ กิจกรรมส่งเสริมการอ่านเคล่ือที่ คือ กิจกรรมสงเสริมการอานเชิงรุก บรรณารักษจะตองนาหนังสือ จากหองสมุดหรือจาก กศน.ตาบล ไปจัดกิจกรรมสงเสริมการอานนอกสถานที่โดยรวมกับหนวยงาน ชุมชน โรงเรียน หรือโครงการ อื่นๆ ในกิจกรรมตางๆที่หนวยงาน ชุมชนหรือโรงเรียนจัดข้ึน เชน โครงการ อาเภอยิ้ม จงั หวดั เคลือ่ นที่ กจิ กรรมวันเด็ก วันพอแหงชาติ งานวิชาการของโรงเรียน จัดงานพลังชุมชนกระตุ นเศรษฐกิจ งานมหกรรมอาชีพ งานเดอื นสิบ หรือจดั กจิ กรรมสงเสริมการอานเคล่ือนท่ีไปรวมกับหนวยใดก็ได หากเห็นวา การส่งเสริมการอ่านเคล่ือนที่ ณ สถานที่น้ันมีคนจานวนมาก และต้องการสงเสริมการอานโดย กาหนด วัตถุประสงค กลุ่มเปาหมาย วธิ ีการดาเนินงาน ตวั ช้วี ดั ความสาเรจ็ ดงั น้ี วัตถุประสงค 1) เพอ่ื อสงเสรมิ ใหประชาชนไดอา่ นหนงั สือได้ท่ัวถงึ และกว้างขวาง 2) เพื่อสรา้ งนิสัยรักการอ่านให้แก่ประชาชน 3) เพื่อประชาสัมพันธโครงการสงเสริมการอานของ หองสมุดประชาชน กศน.ตาบล ของ สานักงาน กศน.จังหวัดพงั งา กลมุ เปาหมาย 1) เดก็ และเยาวชน 2) นักเรยี น นักศึกษา 3) ประชาชนทั่วไป วิธดี าเนนิ งาน 1) ประสานขอใชรถหองสมุดเคล่ือนท่ีจากสานักงาน กศน.จังหวัดพังงา หรือประสานกับ หน่วยงาน ชุมชน หรอ่ืนๆ ในการจัด กจิ กรรม 2) จัดกิจกรรมสงเสริมการอานเคลื่อนท่ี การจัดกิจกรรมสงเสริมการอาน สามารถจัดไดหลากหลาย รปู แบบเชนเดียวกนั โดยเนน้ ใหเ้ ปน็ บรรยากาศ สนุกสนาน เชญิ ชวน ชักจูงใหคนสนใจในการอาน นากิจกรรม บางกิจกรรมในหองสมุด/กศน.ตาบลไปจัดไดเชนกัน เชน กิจกรรมหนังสือเลมโปรด กิจกรรมภาษาพาสนุก กิจกรรมบิงโก..อาเซยี น กจิ กรรมอานไดอานดีมีอาชีพ กิจกรรมอานแลวตอบกิจกรรมแนะนาหนังสือนาอาน/ นาสนใจ การจัดกิจกรรมสามารถคิดออกแบบไดตามความเหมาะสมและความตองการของผูจดั เพ่ือใหสอด คลองกบั กลมุ่ เปาหมาย 3) รายงานผลการดาเนนิ งานใหสถานศึกษาทราบทกุ เดอื น ตวั ชีว้ ดั ความสาเรจ็ 1) สถานศึกษา รอยละ 80 เคลือ่ นทไี่ ปจัดกิจกรรมในชุมชนทกุ เดอื น 2) ผรู้ ่วมกจิ กรรม รอ้ ยละ 80 พึงพอใจอยใู่ นระดบั มาก คมู่ อื การดาเนินงานบรรณารกั ษ์อาสา กศน.อาเภอทับปดุ ประจาปีงบประมาณ 2565

แนวทางที่ ๔ สงเสรมิ การอานในศนู ย์พฒั นาเด็กเลก็ การจัดกิจกรรมสงเสริมการอาน ในศูนยพัฒนาเด็กเล็ก เปนการกระทาตางๆ เพื่อใหเด็กเกิดความ สนใจ ที่จะอาน เหน็ ความสาคัญของการอาน เกดิ ความเพลดิ เพลินที่จะอาน เกิดความมุงม่ันท่ีจะอาน และอาน จนเปนนิสยั เมือ่ ไดร้ ับการกระตนุ้ จากกิจกรรมท่ีจดั ง่าย สวยงาม ชวนใหดู ใหฟงั เราให้เกิดความคิด สร้างความ ประทับใจใหจดจา กอใหเกิดความสงสัยใครรูจนติด ตามเร่ืองราวนาไปสู่การอานตอไป โดยกาหนดวัตถุ ประสงค กลุมเปาหมาย วิธีการดาเนนิ งาน ตัวชี้วดั ความสาเร็จดังนี้ วตั ถุประสงค 1) เพอื่ ปลูกฝงนิสยั รกั การอ่านใหก้ ับเด็กปฐมวัย 2) เพ่อื สง่ เสริมการอา่ นให้เด็กและครอบครวั กลุ่มเป้าหมาย เดก็ ปฐมวยั หรือเด็ก 3-6 ขวบ 1) ในศูนยเด็กเลก็ (ตาบลละ 1 แหง) 2) ครัวเรือนแกนนาสงเสริมการอ่าน วิธดี าเนนิ งาน 1) จัดประชุมหัวหนาสวนราชการที่เกี่ยวของกับการสงเสริมการอานในระดับจังหวัดพังงา โดยมี รองผู้ว่าราชการจังหวัดเปน็ ประธาน 2) จัดประชุม ผูอานวยการ กศน.อาเภอ เพ่ือรับทราบนโยบายการดาเนินงานสงเสริมการ อานแก เด็กปฐมวัยในพ้ืนที่ ท่ีนารอง และวางแผนการดาเนินงานร่วมกันและขับเคลื่อนการดาเนินงาน เสรมิ การอานใหเหน็ ผลเปนรูปธรรม 3) จัดประชุมครู กศน.ตาบลเพื่อเพิ่มศักยภาพในการดาเนินงานสงเสริมการอานแกเด็ก ปฐมวัย ในพนื้ ที่นารอ่ ง และคัดเลอื กศูนย์พฒั นาเดก็ เลก็ ท่ีมีความพรอ้ ม 4) จัดประชุมนายกองคการบริหารสวนตาบลหรือนายกเทศมนตรีเทศบาลตาบลพ้ืนที่นารอง เพอ่ื ขอความรวมมือดาเนินงานสงเสริมการอานแกเด็กปฐมวัยและทาขอตกรวมกันในการดาเนินงานสงเสริม การอานแกเดก็ ปฐมวัย (MOU) ตวั ช้ีวัดความสาเร็จ 1) ศูนยพัฒนานาเดก็ เลก็ รอยละ 80 ใหความรว่ มมอื ในการดาเนนิ งานตามวธิ กี ารท่ี กาหนดไว้ 2) ครัวเรือนตน้ แบบ รอยละ 80 อ่านหนงั สือใหล้ ูกฟงั ทุกคืน คมู่ อื การดาเนินงานบรรณารกั ษอ์ าสา กศน.อาเภอทบั ปุด ประจาปงี บประมาณ 2565

ทีป่ รึกษา จัดทาโดย นางไพลนิ หยดยอย นายชาญชยั จนั ทรทอง ผอู านวยการ กศน.อาเภอทบั ปุด ครูผชู วย ผูเขียนและเรียบเรยี ง นางสาวจิรนันท์ ผลทวี ผูพมิ พ รวบรวมรปู เลม นางสาวจริ นนั ท์ ผลทวี คมู่ อื การดาเนินงานบรรณารกั ษ์อาสา กศน.อาเภอทบั ปุด ประจาปีงบประมาณ 2565

ค่มู อื การดาเนินงานบรรณารักษอ์ าสา กศน.อาเภอทับปดุ ประจาปงี บประมาณ 2565