Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการสอนทางสุขภาพ การเลี้ยงลูกด้วยนมมารดา_(1)

แผนการสอนทางสุขภาพ การเลี้ยงลูกด้วยนมมารดา_(1)

Published by Amonrat Sumpuang, 2021-04-09 06:42:58

Description: แผนการสอนทางสุขภาพ การเลี้ยงลูกด้วยนมมารดา_(1)

Search

Read the Text Version

แผนการสอนทางสขุ ภาพ เร่ือง การเลีย้ งลกู ดว้ ยนมมารดา วันทีส่ อน วนั ที่...........เดือน กนั ยายน พ.ศ.2563 เวลา 30 นาที ผ้สู อน 1. นางสาวเพ็ญผกา แผงตนั เลขท่ี 47 2. นางสาวมธรุ นิ แช่มเพชร์ เลขท่ี 50 3. นางสาวรพีพรรณ ส่งเสริม เลขที่ 55 4. นางสาวอมรรตั น์ สุ่มพว่ ง เลขท่ี 84 กล่มุ เป้าหมาย หญงิ หลังคลอด จำนวน 10 คน วนั /เวลา/สถานท่ี วนั ท่ี..........เดอื น กันยายน พ.ศ.2563 เวลา..............น. ณ แผนกนรเี วชกรรม โรงพยาบาลอา่ งทอง ระยะเวลาทใ่ี ช้ 30 นาที แนวคิดสำคญั ทารกท่ีกนิ นมแมจ่ ะไดร้ ับสารอหารทด่ี ีกว่า และป่วยดว้ ยโรคตดิ เช้อื และโรคภมู แิ พน้ อ้ ยกว่ากล่มุ ทถ่ี ูกเลยี้ งด้วยอาหารอ่ืน และเตบิ โตอย่างมี พฒั นาการที่ดกี วา่ ทารกที่ถูกเลยี้ งดว้ ยนมผสมและอาหารอื่น ทุกคนควรได้รบั นมแมต่ ง้ั แต่แรกเกิด (เพราะการเลีย้ งลูกด้วยนมแม่ มปี ระโยชน์สงู สุดทัง้ ตอ่ สขุ ภาพและ พัฒนาการของลูก ตอ่ สายสมั พันธ์ทางใจระหว่างแม่และลกู และตอ่ สขุ ภาพของแม่ แมใ้ นครอบครัวทีส่ ามารถซื้อหานมผสม มีน้ำสะอาด ถูกอนามยั และสามารถตรียมนม ผสมไดอ้ ยา่ งถูกสุขลักษณะก็ตาม ดังนัน้ ทุกฝ่ายต้องรว่ มรณรงคก์ ารเลี้ยงลูกดว้ ยนมแม่ถงึ ๖ เดือน หรือให้นานท่สี ดุ เท่าทสี่ ภาวะครอบครวั จะทำได้ ปัจจุบันแมส่ ่วนใหญ่ จำเปน็ ตอ้ งประกอบอาชพี เพ่ือชว่ ยหารายได้ให้แก่ครอบครัว ทำใหม้ เี วลาสำหรบั ลกู น้อยลง ประกอบกับการมีความเช่อื บางอยา่ งไมถ่ ูกตอ้ ง และอทิ ธพิ ลของการโฆษณา สนิ คา้ ประเภทนมผสม อาหารสำหรับทารกและเดก็ ใน รปู แบบต่าง ๆ เหล่านี้ ล้วนมีสว่ นทำให้แมใ่ ห้อาหารไม่หมาะสมกับลูกก่อใหเ้ กิดปญั หาเด็กขาดสารอาหาร และเจ็บป่วยเป็นโรคได้ง่าย บางรายอาจรุนแรงถงึ ตาย ดงั นั้น ทุกคนควรจะไดร้ ับรู้ถึงประโยชนข์ องการเลย้ี งลกู ดว้ ยนมแม่ วิธปี ฏบิ ัติทท่ี ำไดง้ ่าย แมเ้ ม่ือแม่ต้องทำงานนอกบ้าน แม่ท่ีเลย้ี งลกู ด้วยนมแมค่ วรไดร้ ับกำลงั ใจ และความสนับสนุนจากสามี ครอบครวั ชุมชน เพื่อนรว่ มงาน รัฐและองค์กรท้องถิ่น จำเปน็ ต้องมนี โบาย และดำเนนิ การส่งสริมการใหค้ วามรู้และสนับสนุนการเล้ียงลูกดว้ ย นมแม่ โรงพยาบาลสายสัมพันธ์แม่ลกู และบริการให้คำปรึกษาแนะนำครอบครวั ทีม่ ี ประสทิ ธิภาพ

จดุ ประสงค์ท่ัวไป 1. เพ่ือส่งเสริมมารดาหลังคลอดบุตรเลยี้ งลูกด้วยนมมารดา 2. มารดาสามารถปฏิบตั ิตัวในการเลีย้ งลูกด้วยนมแม่อยา่ งถูกวธิ ี

วตั ถุประสงค์เชงิ พฤติกรรม เนื้อหา กิจกรรม สอ่ื การสอน เวลา การประเมนิ ผลการสอน กจิ กรรมผสู้ อน กจิ กรรมผู้เรียน วธิ กี าร/เกณฑ์ ผลการประเมนิ เมื่อฟังการบรรยาย บทนำ ข้นั นำ ฟิวเจอร์ 5 นาที วธิ ีการ ความสำคญั ของการเลี้ยงลกู นำ้ นมแม่มีประโยชน์และเปน็ แหล่งอาหารท่ีดีทส่ี ดุ - ผฟู้ งั เข้าใจ ด้วยนมมารดา สำหรบั ทารก เพราะชว่ ยทำให้ทารกมีการเจริญเติบโต -กลา่ วทักทาย - กลา่ วทักทาย บอร์ด เกี่ยวกบั และพฒั นาการทดี่ ทงั้ ทางร่างกาย สมอง และจิตใจ ทำ ผฟู้ ังแนะนำ ผู้สอน ความสำคัญของ ให้อารมณด์ ีเชาว์ปญั ญาดี ไม่เจ็บป่วยบอ่ ยเนอื่ งจาก การเลย้ี งลกู ดว้ ย น้ำนมแมม่ ีเอน็ ไซม์ และแอนตบิ อด้ี จำนวนมากท่ีคอย ตวั เอง - สนใจและ นมมารดา ซอ่ มแซมสุขภาพ โดยกระตนุ้ ให้ ทารกมีการสร้าง เกณฑ์ ภมู คิ มุ้ กนั ขน้ึ เองในร่างกายมภี ูมิคมุ้ กันต่อการติดเชื้อ -กลา่ วนำเข้าสู่ ต้ังใจฟงั -ผู้ฟงั อธิบาย ทางเดนิ อาหารและระบบทางเดนิ หายใจรวมท้งั ชว่ ยให้ หรอื ตอบคำถาม ทารกมโี อกาสเปน็ โรคอว้ น โรคเบาหวานและโรคภมู ิแพ้ บทเรียน -ตอบข้อซกั ถาม เกยี่ วกับ น้อยกวา่ ทารกที่ไดร้ บั นมผสม นำ้ นมแม่นอกจากมี ความสำคัญของ ประโยชนต์ ่อสขุ ภาพ ของทารกแล้วยงัมีประโยชนต์ ่อ -ถาม เกยี่ วกับ การเลี้ยงลูกด้วย สุขภาพของมารดา ช่วยใหม้ ดลูกหดรัดตัวดี ลด นมมารดา อุบัติการณก์ ารตกเลือด หลงั คลอด ประสบการณ์ ประสบการณ์ เดมิ เกี่ยวกบั การ เดิมเร่ืองการ เลย้ี งลูกดว้ ยนม เล้ยี งลกู ด้วยนม แมเ่ พ่ือเชือ่ มโยง แม่ เขา้ ส่บู ทเรียน 1. อธิบายวธิ กี ารเล้ียงลกู ด้วย เนอ้ื หา ฟิวเจอร์ บอรด์ นมแมไ่ ดถ้ กู ต้อง วธิ กี ารเลี้ยงลกู ด้วยนมแม่ การเตรยี มตวั มารดาเพ่ือใหน้ มทารก ควรเริ่มตง้ั แต่

วตั ถุประสงค์เชงิ พฤติกรรม เนอื้ หา กิจกรรม สื่อการสอน เวลา การประเมนิ ผลการสอน กจิ กรรมผู้สอน กิจกรรมผู้เรียน วธิ กี าร/เกณฑ์ ผลการประเมนิ ระยะตั้งครรภ์ เพื่อใหม้ ที ัศนคตทิ ี่ดตี ่อการเลยี้ งลกู ด้วย -บรรยาย - ฟังบรรยาย รว่ มกบั การ 20 วธิ กี าร นาที - ผู้ฟังเข้าใจ นมแม่ โดย -ซกั ถามมารดา - ตอบคำถาม สาธิต เกย่ี วกบั วธิ ีการ 1. ให้ความรแู้ กแ่ มแ่ ละครอบครวั ถงึ ประโยชน์ของนม และอธิบาย และรบั ฟงั เลย้ี งลูกดว้ ยนม แม่ เพม่ิ เติม อธิบายเพ่มิ เตมิ แม่ -สาธติ ท่าในการ เกณฑ์ 1. ประโยชน์ของนมแม่ต่อทารก -ผู้ฟงั อธิบาย หรือตอบคำถาม - มสี ารอาหารครบถ้วนจากการศึกษาคณุ ภาพ ใหน้ มแม่ - สาธิตทา่ ใน เกีย่ วกบั วิธีการ เลย้ี งลูกดว้ ยนม ของน้ำนมแม่ทม่ี ีสุขภาพดพี บวา่ มอี งคป์ ระกอบของ -ให้คุณแม่แสดง การใหน้ มแม่ แม่ ประโยชน์ อาหารสดั สว่ นเหมาะสมกบั ความต้องการของทารกแรก ท่าในการอุม้ ของนมแม่ ชนิด ทารกเวลาให้นม - แสดงท่าอมุ้ นองน้ำนม การ เกิดจนไปถึง 6 เดือน ทารกเวลาใหน้ ม ตรวจเตา้ นม - มีภูมิตา้ นทานโรคตดิ เช้อื ทารกที่ได้รับการเลยี้ ง หัวนมและ วธิ กี ารแกไ้ ขเต้า ด้วยนมแมจ่ ะมสี ขุ ภาพสมบูรณแ์ ข็งแรง มีการเจบ็ ป่วย นมและหัวนมท่ี ผดิ ปกติ การอุ้ม เปน็ โรคติดเชื้อนอ้ ย ลูกเข้าเต้า และ อาหาร ภมู ิ - ป้องกันการเกิดโรคภูมิแพ้ เพราะในนมแม่ไม่มี สว่ นประกอบของสารทกี่ ระตุ้นการเกิดภมู ิแพ้ - นมแมช่ ่วยพัฒนาขากรรไกของทารก การดูดนม แม่ ทารกต้องใช้พลังงานมากกวา่ การดูดจากหัวนมยาง ดังนนั้ ปากทารกต้องทำงานหนักจึงถือว่าการดดู นีช้ ่วย บริหารขากรรไกรให้แข็งแรงมีรูปร่างดีและทำให้ฟนั แข็งแรงดว้ ย 2. ประโยชนต์ ่อแม่

วตั ถุประสงค์เชงิ พฤติกรรม เน้อื หา กจิ กรรม สอื่ การสอน เวลา การประเมินผลการสอน กิจกรรมผ้สู อน กจิ กรรมผูเ้ รยี น วธิ ีการ/เกณฑ์ ผลการประเมนิ - ทำใหเ้ ว้นระยะเวลาในการมีบุตรแมท่ ี่ใหน้ ม ปัญญาไทยใน บตุ รมักจะไม่มีประจำเดอื นประมาณ ๘- ๑๒ เดอื น การบำรงุ นำ้ นม เนือ่ งจากร่างกายจะหลงั่ Prolactin ออกมาเพื่อยบั ยง้ั และการดูแล การตกไข่ของรังไข่จึงทำให้ไมเ่ กดิ การตั้งครรภ์ ทารกหลงั ดดู นม - ชว่ ยใหม้ ดลกู เขา้ อเู่ ร็ว จากการดูนมของเด็กจะ - สาธิต กระตุ้น Posterior pituitary gland หลงั่ ฮอรโ์ มน ย้อนกลบั oxytocin ซ่งึ จะช่วยใหม้ ดลกู หดรัดตัวเข้าช่องเชิงกราน ได้ดีจึงชว่ ยลดภาวการณ์ตกเลือดหลงั คลอดและทำให้ มดลูกเข้าอ่เู ร็วข้นึ - ช่วยลดการเส่ยี งตอ่ การเกดิ มะเร็งเต้านมและ รังไข่ได้ดีกว่าแมท่ ่ีไม่ได้เลี้ยงลูกตวั ยนมตนเอง - ทำให้แมไ่ มเ่ กิดโรคอ้วน เน่ืองจากไขมนั ท่ี สะสมในขณะตั้งครรภถ์ กู นำมาใชใ้ นการสร้างน้ำนม สำหรับทารก - ผลดดี า้ นจติ ใจ แมท่ ่เี ล้ียงบตุ รด้วยนมตนเองจะ เกดิ ความรักและความผูกพันธ์ต่อบตุ ร 2. ใหค้ วามร้เู กี่ยวกบั ชนิดของนำ้ นมแมใ่ นแต่ละระยะ ของการสร้างนำ้ นม 1. นมเหลอื งหรอื หวั น้ำนม colostrum เป็นน้ำนมที่ ออกมาใน 7 วันแรกหลังคลอด ระยะแรกจะมสี ใี สตอ่ มา จะขน้ เป็นสเี หลอื งเขม้ น้ำนมเหลอื งเกดิ จากสาร beta-

วตั ถุประสงค์เชงิ พฤติกรรม เนื้อหา กิจกรรม สือ่ การสอน เวลา การประเมินผลการสอน กจิ กรรมผูส้ อน กิจกรรมผ้เู รยี น วธิ ีการ/เกณฑ์ ผลการประเมิน carotine ทส่ี ามารถเปลย่ี นเป็นวิตามินเอได้ นำ้ นม เหลอื งจะอดุ มไปด้วยโปรตนี วติ ามนิ ที่ละลายในไขมันได้ (A D E K) สารท่ชี ่วยในการเจริญเติบโต และสาร ภูมคิ มุ้ กนั ในปริมาณสงู มาก 2. นำ้ นมระยะเปลีย่ นผา่ น (Transitional milk) ระยะเวลา : 4-14 วนั แรกหลังคลอด นำ้ นมในระยะต่อมาหลังจากหมดช่วงหัวนำ้ นม หรอื นำ้ นมเหลืองแล้ว นำ้ นมจะมลี ักษณะขาวข้นึ ทำให้ นำ้ นมช่วง 5-14 วนั หลงั คลอดวา่ น้ำนมใส หรือ นำ้ นม ช่วงเปล่ียนผา่ น (Transitional milk) คือ ระยะการ เปลย่ี นจากหัวนำ้ นมแมเ่ ปน็ น้ำนมแม่ น้ำนมในช่วงนีจ้ ะ ประกอบไปด้วยไขมัน แลคโตส และวิตามนิ ทล่ี ะลายนำ้ ไดค้ ่อนข้างสูง และจะมปี ริมาณแคลอร่ีมากกวา่ ชว่ งหัว นำ้ นม 3. น้ำนมแท้ (Mature milk) ระยะเวลา : ตง้ั แตส่ ัปดาหท์ ี่ 2 หลังคลอด เป็นต้นไป ระยะนน้ี ้ำนมจะเปล่ียนเป็นน้ำนมสขี าว นำ้ นมขาวนจี้ ะ มีไขมันมากขึ้น มโี ปรตนี เคซนี ชนดิ เบต้า แลคโตเฟอรนิ อิมมูโนโกลบูลนิ A (IgA) ไลโซไซม์ และซรี มั อัลบูมนิ ซึ่ง โปรตนี แตล่ ะชนิดจะช่วยยบั ย้ังการเจรญิ เตบิ โตของเช้ือ โรค เพ่มิ ภมู ิตา้ นทาน หรือชว่ ยลดการตดิ เช้ือตา่ ง ๆ

วตั ถุประสงค์เชงิ พฤติกรรม เน้ือหา กจิ กรรม สอ่ื การสอน เวลา การประเมนิ ผลการสอน กจิ กรรมผ้สู อน กิจกรรมผเู้ รยี น วธิ ีการ/เกณฑ์ ผลการประเมนิ ให้กบั ลูกท่ีไดด้ ื่มน้ำนมแม่ ในนำ้ นมแมม่ ีกรดไขมัน จำเปน็ ไดแ้ ก่ DHA และ AA เปน็ กรดไขมนั จำเป็นที่ สำคญั ต่อการพฒั นาระบบประสาทและการมองเหน็ ของ ลกู น้ำนมแม่มี 2 ส่วน 1. น้ำนมส่วนหนา้ Fore milk จะมไี ขมันต่ำ แต่ ปรมิ าณน้ำสงู ถึง 80% นำ้ นมสว่ นหนา้ มสี ่วนประกอบ ของพลงั งานจากน้ำตาลแลคโตส วติ ามิน เกลือแร่ ธาตุ เหลก็ และภมู คิ ุ้มกัน ชว่ ยกระตุ้นการขบั ถ่ายของทารก ทารกได้ขับสารมเี หลืองออกจากรา่ งกาย 2. น้ำนมส่วนหลงั hind milk จะมไี ขมนั อ่ิมตัวสูง แคลอรี่สูงทำให้ร่างกายเจรญิ เติบโตเร็ว ไขมนั สว่ นหลงั เป็นไขมันดี อดุ มไปด้วย Omega AA ARA ไขมนั เหล่านี้ มคี อเรสเตอรอลทช่ี ่วยสร้างใยสมอง ดังนัน้ เราจงควรให้ลกู ดูดนมให้เกล้ยี งเตา้ เพ่ือลูกจะ ไดร้ ับสารอาหารและพลงั งานที่เพยี งพอ โดยถ้าแมใ่ หล้ ูก ดูดนมข้างซ้ายก่อนข้างขวา คร้ังต่อไปจะให้ลูกดดู ขา้ ง ขวาก่อนขา้ งซ้าย สลับไปมา 3. ตรวจเตา้ นมและให้คำแนะนำ เพอื่ ประเมินความ ผดิ ปกตทิ ่ีอาจส่งผลกระทบตอ่ การเลย้ี งบตุ รตวั ยนม มารดาโดยประเมนิ ดงั นี้

วตั ถุประสงค์เชงิ พฤติกรรม เนอ้ื หา กจิ กรรม ส่ือการสอน เวลา การประเมนิ ผลการสอน กจิ กรรมผสู้ อน กิจกรรมผู้เรียน วธิ ีการ/เกณฑ์ ผลการประเมิน 1. เต้านม ประเมนิ ขนาดและรปู รา่ งของเตา้ นมทง้ั สองข้าง แผลบริเวณเต้านม อาการ คดั ตึง กดเจ็บ บวม แดง ร้อน 2. หวั นมและลานนม 2.1 ประเมินขนาดและรปู ร่างของหัวนม - วธิ ี pinch test คือ ใช้น้ิวช้ีและนิ้ว หวั แมม่ อื วางที่ขอบลานหวั นม กดนว้ิ ลงทีข่ อบลาน หัวนมเบา ๆ แปลผลการตรวจดังนี้ 1) หัวนมปกติ จะสามารถดึงจับหัวนมได้ งา่ ยและหวั นมมีลักษณะพุง่ ตรง(protraction) หลังถูก กระตุน้ บุตรจะสามารถดูดนมไดโ้ ดยไม่มปี ัญหา 2) หัวนมสั้น (short nipples) คอื หัวนมที่ สั้นกวา่ 0.7 เซนตเิ มตร แตถ่ ึงแมห้ ัวนมจะสัน้ แต่ถ้า ลานนมีความยดื หยุ่น ดี บุตรกจ็ ะสามารถ ดูดนมแม่ได้ แต่ถา้ ลานนมแข็งตงึ ยดึ หยุ่นไม่ดีบตุ รจะดดู นมลำบาก

วตั ถุประสงค์เชงิ พฤติกรรม เนอ้ื หา กิจกรรม ส่ือการสอน เวลา การประเมินผลการสอน กิจกรรมผสู้ อน กิจกรรมผู้เรียน วธิ ีการ/เกณฑ์ ผลการประเมิน 3) หัวนมแบน (flat nipples) คอื หวั นมที่ มีแบนราบไปกับลานนม หลงั การบีบกระตุ้นหรือดึง หัวนมอาจจะยน่ื ออกมา ยาวขน้ึ หรือไม่ยาวข้นึ ก็ได้ 4) หวั นมบุ๋ม (retracted nipple) คอื หัวนมที่ส่วนปลายหัวนมผลบุ เขา้ ไปจากการดึงของ พังผืดจนเหน็ เปน็ รอย บุ๋ม การบีบกระตุ้น หรือดงึ หวั นมให้ยืน่ ออกมาน้นั ทำได้ คอ่ นข้างยาก

วตั ถุประสงค์เชงิ พฤติกรรม เน้อื หา กิจกรรม สอ่ื การสอน เวลา การประเมนิ ผลการสอน - วิธี Waller’s test กจิ กรรมผูส้ อน กจิ กรรมผเู้ รยี น วธิ กี าร/เกณฑ์ ผลการประเมนิ 2.2. วธิ แี ก้ไขหัวนม - วธิ ี nipple rolling แก้ไขหวั นมส้ัน โดยใช้ นิว้ หวั แมม่ ือและนิ้วชี้จับด้านข้างของหวั นมยืดข้นึ และ คา้ งไว้หรอื นวดคลึงเบา ๆ ทำซ้ำ 10 คร้ัง วันละ 2 ครั้ง แตถ่ ้าหัวนมส้นั มากไมส่ ามารถใช้วิธี nipple rolling จะ ใช้วิธี Hoffman’s maneuver แทน

วตั ถุประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม เนอ้ื หา กิจกรรม ส่อื การสอน เวลา การประเมนิ ผลการสอน กจิ กรรมผูส้ อน กิจกรรมผ้เู รียน วิธกี าร/เกณฑ์ ผลการประเมิน - วิธี Hoffman’s maneuver แกไ้ ขหวั นมส้นั บอด บมุ๋ แบน ควรบริหารข้างละ 30 ครง้ั หลังอาบนำ้ - วธิ ใี ชป้ ทมุ แกว้ Brest cups แกไ้ ขหวั นมสน้ั บอด บมุ๋ แบน โดยจะใสไ่ วใ้ ต้ยกทรง ในไตรมาสสดุ ทา้ ย ของการตั้งครรภ์ เรม่ิ ตน้ ดว้ ยใสว่ ันละ 2-3 ชัว่ โมง เม่อื ค้นุ เคยแลว้ ใหใ้ ส่เฉพาะกลางวัน เมอ่ื คลอดลูกแล้ว ใหใ้ ส่ ก่อนใหน้ มบุตร 30 นาที - syringe puller โดยดงึ ลกู สบู ขึ้นประมาณ 1/3 ของกระบอก แล้วนำด้านท่ีมีปกี มาครอบหัวนมให้สนทิ ดึงลูกสบู ชา้ ๆ จนเหน็ หัวนมยื่นยาวออกมา - nipple puller ใช้นว้ิ มอื บบี กระเปาะยางแล้วไป ครอบหัวนม ปลอ่ ยนวิ้ ทบ่ี ีบกระเปาะเบา ๆ

วตั ถุประสงค์เชงิ พฤติกรรม เนอื้ หา กจิ กรรม สื่อการสอน เวลา การประเมนิ ผลการสอน กิจกรรมผูส้ อน กจิ กรรมผู้เรียน วิธีการ/เกณฑ์ ผลการประเมิน 4. การอุ้มลกู เข้าเตา้ 4.1 ทา่ ลกู นอนขวางบนตัก (Cradle hold) ท่าอมุ้ ให้นมแม่หรือการอุ้มลูกเขา้ เต้าแบบคลาสสิก การทีอ่ ุ้ม ลกู วางไวบ้ นตักหรืออาจรองด้วยหมอนบนตัก มือและ แขนประคองตวั ลกู ไว้ ใหต้ ัวของลูกนอนตะแคงเขา้ หา ตวั คุณแม่ และศีรษะลูกควรอยู่สูงกวา่ ลำตัวเล็กน้อย ท้ายทอยลูกวางอยบู่ ริเวณแขน ของแม่ มืออีกขา้ งของคุณแม่ให้ ประคองเต้านมไว้ เพื่อปอ้ งกัน การปดิ ก้ันจมูกของลกู ท่าให้นม ลักษณะนี้เหมาะสำหรบั คณุ แม่ ทค่ี ลอดธรรมชาติ เนื่องจากคุณ แมผ่ า่ คลอดอาจไปกดแผลบรเิ วณ หนา้ ท้องได้ 4.2. ท่านอนขวางบนตกั ประยกุ ต์ (cross-cradle hold) ท่าอุ้มใหน้ มน้ีคลา้ ยกบั ทา่ นอนขวางตัก เพียงแต่ เปล่ยี นมือ โดยใชม้ ือข้างเดียวกบั เต้านมทล่ี กู ดูดประคอง เตา้ นม มืออกี ข้างรองรบั ตน้ คอและทา้ ยทอยของลูก แทน ทา่ นเี้ หมาะสำหรับหดั ลูกเข้าเต้านม เพราะจะช่วย ในการควบคุมการเคล่อื นไหวของศีรษะลกู ได้ดกี ว่า ท่า อมุ้ ให้ลูกกินนมนี้เหมาะท่สี ดุ สำหรับทารกแรกเกดิ

วตั ถุประสงค์เชงิ พฤติกรรม เนอ้ื หา กิจกรรม สอ่ื การสอน เวลา การประเมินผลการสอน กิจกรรมผู้สอน กิจกรรมผู้เรยี น วธิ ีการ/เกณฑ์ ผลการประเมิน เด็กตัวเลก็ และทารกท่มี ปี ญั หาใน การดูดนมหรือลูกไมเ่ ข้าเต้า 4.3. ทา่ อมุ้ ลูกฟตุ บอล (Football hold) ท่าอุม้ ใหน้ มน้ี ตัวลูกจะอยู่ในท่ากึง่ ตะแคงกึง่ นอนหงาย โดยทข่ี าชี้ไปทางดา้ นหลังของแม่ และมือของแมจ่ บั ประคองที่ตน้ คอและทา้ ยทอยของลกู กอดลูกใหก้ ระชบั กับสขี ้างของคุณแม่ และลกู ดูดนมจากเต้านมขา้ ง เดียวกับมอื ท่ีจบั ลกู ไว้ มืออกี ข้างประคองเตา้ นมไว้ ท่าน้ี ใชไ้ ดด้ ีสำหรบั คุณแมผ่ ่าคลอดเพื่อ หลกี เล่ียงการกดทับแผลผ่าคลอด ลกู ตัวเลก็ หรอื มปี ัญหาในการเขา้ เตา้ นม คณุ แมห่ นา้ อกใหญห่ รือ หวั นมแบน คุณแมล่ ูกแฝดที่ต้อง ดูดนมพร้อมกัน

วตั ถุประสงค์เชงิ พฤติกรรม เนือ้ หา กิจกรรม สื่อการสอน เวลา การประเมนิ ผลการสอน กจิ กรรมผู้สอน กิจกรรมผู้เรยี น วธิ ีการ/เกณฑ์ ผลการประเมนิ 4.4. ท่าเอนตวั (laid-back hold) ทา่ เอนตัวใหน้ มเป็นหน่งึ ในตำแหน่งการให้นมท่ี สะดวกสบายทส่ี ุด โดยที่คุณแม่นอนเอนตวั วางลูกไว้บน หน้าอกใชม้ ือของคณุ แมโ่ อบลูก นอ้ ยไวเ้ พื่อป้องกันการ เคลอื่ นไหวและล้มลงของลูก ควรให้ศีรษะลูกเอียงเลก็ น้อย เพอ่ื ป้องกันการปิดก้นั ทางเดนิ หายใจ ทา่ นเ้ี ป็นทา่ ท่ปี ้องกัน การสำลกั นมไดด้ ี ร้สู กึ สบายท้ัง คณุ แม่และลูกน้อย 4.5. ท่านอน (Side lying position) ทา่ นอนใหน้ มเปน็ ท่าทแ่ี ม่และลกู นอนตะแคงเข้าหากัน แมน่ อนศีรษะสูง เลก็ น้อย หลงั และสะโพกตรง ให้ปากลูกอยู่ตรงกับ หัวนมของแม่ มือทอ่ี ยู่ด้านล่าง ประคองตวั ลกู ใหช้ ิดลำตวั แม่ อาจใชผ้ ้าขนหนูท่ีมว้ นไวห้ รอื หมอนหนุนหลังลกู แทนแขนแม่ ก็ได้ มือท่ีอยดู่ า้ นบนประคอง เต้านมในชว่ งแรกที่เร่ิมเอา หัวนมเข้าปากลูก เมอ่ื ลูกดดู ไดด้ สี ามารถขยบั ออกได้

วตั ถุประสงค์เชงิ พฤติกรรม เนือ้ หา กจิ กรรม สื่อการสอน เวลา การประเมนิ ผลการสอน กิจกรรมผูส้ อน กจิ กรรมผูเ้ รยี น วิธกี าร/เกณฑ์ ผลการประเมิน ท่านี้เหมาะสำหรับแม่ทผี่ า่ ตัดคลอดทางหนา้ ท้อง ตอ้ งการพักผอ่ น หรอื น่งั ลำบากน่ังไม่สบาย หรือสำหรบั ให้นมลกู เวลากลางคืน 4.6. ท่าตัง้ ตรง (Upright or standing baby) ท่าใหน้ มน่ังตรงคือ การอุ้มลูกนอ้ ยตง้ั ตรง ขาลกู น้อย ค่อมตน้ ขาคุณแม่ไว้ ศรี ษะและ ลำตวั ของลกู เอนเล็กน้อย ใชม้ ือ ประคองศีรษะของลูกและเต้านมไว้ ท่าอุ้มให้นมน้ีเหมาะสำหรับเด็กที่มี ปญั หาปากแหว่ง หรือมีแนวโนม้ ที่ จะหายใจไมอ่ อก หรือมีกรดไหล ย้อน จะชว่ ยใหล้ กู น้อยดูดนมได้งา่ ย 5. แนะนำวิธกี ารเลยี้ งบตุ รดว้ ยนมแมต่ ามหลกั 4 ดูด คือ ดดู เรว็ ดดู บอ่ ย ดูดถูกวิธี และดดู เกลยี้ งเตา้ ซ่ึงมี รายละเอยี ดดังน้ี 1. การดูดเร็วหมายถึงการนำบตุ รมาดดู นมโดยเร็ว ที่สุด คือ ดูดภายใน 1/2 ช่วั โมง หลังคลอด เพราะเปน็ ระยะท่ีบุตรตื่นตัวเตม็ ที่ สงบและ มกี ารรับรสู้ งู ส่วนระยะที่เหมาะสมรองตอ่ ไป คอื ระยะ 1-2 ชั่วโมงแรกหลังคลอด

วตั ถุประสงค์เชงิ พฤติกรรม เน้ือหา กจิ กรรม สอ่ื การสอน เวลา การประเมินผลการสอน กจิ กรรมผู้สอน กจิ กรรมผู้เรยี น วิธีการ/เกณฑ์ ผลการประเมนิ 2. การดดู บ่อย หมายถึงการที่แม่ใหบ้ ตุ รดูดนม บ่อยครง้ั โดยใน 2-3 วันแรกหลงั คลอดใหด้ ูดทุก 2-3 ชั่วโมงหรือ 8-10 ครั้งใน 24 ชัว่ โม สำหรบั ระยะเวลาใน การดูดนมในระยะแรก ๆไม่ควรนอ้ ยกวา่ 15-20 นาที เมื่อปรมิ าณน้ำนมมีมากและบุตรดูดนมก่งใหด้ ดู ตาม ความต้องการทุกครั้งท่ีหิวแต่ไม่ควรให้บุตรดูดหา่ งเกนิ 3 ชว่ั โมงเพราะเมื่อครบ 4 ชั่วโมงเตา้ นมจะสร้างนำ้ นม เตม็ ที่แรงดนั ในเตา้ นมจะสงู ข้ึนทำให้เตา้ นมคดั ตึงส่งผล ใหบ้ ุตรจะดูนมได้ลำบาก การให้บุตรดูดนมบ่อย จะกระตุ้นให้มีการสรา้ งและหลังนำ้ นมมากขึน้ และทำให้ บุตรตัวเหลืองน้อยลง 3. การดูดถกู วธิ ี เป็นสิง่ สำคญั มาก พราะการมี ปัญหาเร่อื งนำ้ นมไม่เพยี งพอสวนใหญ่เกิดจากการทบ่ี ตุ ร ดูดนมไม่ถกู วธิ มี ากท่สี ดุ 4. ดูดเกลยี้ งเต้า คือ การให้บุตรดูดนมมารดาให้ หมดเต้าใดเต้าหนึ่งก่อน แล้วจึงเริ่มดูดขา้ งตอ่ ไปหาก หลงั บตุ รดูดนมอ่ิมแล้วแต่ยังมีนำ้ นมเหลืออยู่ในเตา้ มารดาควรบีบน้ำนมออกใหเ้ กล้ียงเต้าซึ่งวธิ กี ารทจี่ ะทำ ใหบ้ ุตรดูดนมมารดาเกล้ยี งเต้ามดี งั นี้ - ควรให้บตุ รดูดนมทั้ง 2 เตา้ โดยเรม่ิ ดดู จาก เตา้ ท่ีคา้ งไว้จากมื้อกอ่ น และใหด้ ูดจนเกลี้ยงเตา้ หรอื ดูด

วตั ถุประสงค์เชงิ พฤติกรรม เนอื้ หา กจิ กรรม ส่ือการสอน เวลา การประเมนิ ผลการสอน กจิ กรรมผ้สู อน กิจกรรมผ้เู รียน วธิ กี าร/เกณฑ์ ผลการประเมนิ อยา่ งน้อยไม่ควรนอ้ ยกวา่ ข้างละ 15-20 นาทเี พ่ือ กระตนุ้ ให้มารดามีการหลงั่ นำ้ นมไดม้ ากพอ - เม่ือตอ้ งการจะเปล่ยี นข้างหรอื หยุดใหน้ ม ใชน้ ว้ิ กอ้ ยท่ลี า้ งสะอาดกดมุมปากกบั หัวนม หรือใช้กด คางบุตรเบา ๆ เม่ือบุตรอา้ ปากจึงค่อย ๆ ดงึ หวั นมออก - ภายหลังจากใหบ้ ุตรดูดนมทุกคร้ังมารดาควรทำให้ บตุ รเรอเพื่อไลล่ มในกระเพาะออก โดยการอุ้มพาดบ่า หรอื อ้มุ น่ังตัก - ไม่ควรใหน้ ำ้ หรอื นมผสมแกบ่ ุตร นอกจากมี ขอ้ บง่ ช้ีทางการแพทย์ - ไมค่ วรให้บุตรดูดหวั นมยาง เพราะอาจทำให้ สับสน (nipple confusion) แตใ่ นกรณีทีบ่ ตุ รไม่ สามารถดูดนมจากเตา้ นมมารดาได้ ควรป้อนนมด้วย ถ้วยแกว้ (cup feeding) หรือ ใช้หลอดหยอดยา (medicine dropper) 6. อาหาร ภมู ปิ ัญญาไทยในการบำรงุ นำ้ นมและการ ดูแลทารกหลงั ดดู นม 1. ใบกะเพรา กะเพราเป็นสมนุ ไพรฤทธิ์รอ้ นทสี่ ่งผลให้ระบบการ ไหลเวียนโลหติ ไดร้ บั การกระต้นุ และทำให้มีการผลติ น้ำนมออกมามากขน้ึ อีกท้ังในใบกะเพรายังอุดมไปด้วย

วตั ถุประสงค์เชงิ พฤติกรรม เน้อื หา กจิ กรรม สอื่ การสอน เวลา การประเมนิ ผลการสอน กจิ กรรมผ้สู อน กิจกรรมผูเ้ รียน วิธกี าร/เกณฑ์ ผลการประเมนิ ธาตุเหล็ก แคลเซียม ฟอสฟอรสั และเสน้ ใยอาหารสงู ซง่ึ จะชว่ ยขบั ลม ลดอาการท้องอดื ของลกู น้อยไดด้ ี คุณ แมท่ ่ใี หน้ มลูกจึงควรทานใบกะเพราะเปน็ ประจำ 2. ฟักทอง ฟักทอง ผักสเี หลืองท่ีอดุ มไปด้วยวิตามนิ เอ บี ซี เบต้า แคโรทีนและฟอสฟอรสั นอกจากจะกินเพิ่มการผลิต นำ้ นมใหแ้ กร่ า่ งกายได้ดี ชว่ ยผลติ คอลลาเจนใตผ้ วิ หนงั ทำให้ผวิ พรรณเปลง่ ปล่งั สดใส และยงั กระชบั ยืดหยุ่น ออ่ นเยาว์ได้อย่างง่ายดาย 3. หวั ปลี ในหวั ปลีมธี าตุแคลเซียมสูงกวา่ กล้วยน้ำวา้ 4 เท่า และ ยงั มีธาตุเหลก็ ฟอสฟอรสั วติ ามินซี เบตาแคโรทีน ซึ่ง จะช่วยบำรุงโลหติ และบำรุงน้ำนมไดด้ ีมาก เม่ือคุณแม่ รับประทานหัวปลีเปน็ ประจำจึงทำใหม้ นี ำ้ นมเยอะและ เพียงพอต่อลูกน้อย โดยสามารถนำหัวปลีมาลวกทาน เปน็ ผกั สดหรือนำมาประกอบอาหาร 4. ขิง ขิง มีสรรพคุณช่วยขบั ลม แก้วิงเวยี น คล่ืนไส้ เพ่ิมการ ไหลของโลหิต กระตนุ้ การสรา้ งนำ้ นม และยังมี สารสำคัญอย่างแคลเซียม วติ ามินเอ วิตามินบี 1 วติ ามนิ บี 2 จึงเปน็ อีกหนึง่ สมุนไพรเพิม่ นำ้ นมทีด่ มี าก

วตั ถุประสงค์เชงิ พฤติกรรม เน้อื หา กิจกรรม สือ่ การสอน เวลา การประเมนิ ผลการสอน กจิ กรรมผสู้ อน กิจกรรมผูเ้ รียน วธิ กี าร/เกณฑ์ ผลการประเมิน 5. พรกิ ไทย มรี สรอ้ น ทำใหน้ ้ำนมไหลได้ดี ขับลม ขบั เหงือ่ สามารถ ใส่ในอาหารได้หลายประเภท 6.ตำลงึ ผกั อกี หน่งึ ชนิดท่มี ีดีต่อการบำรุงน้ำนมคุณแมล่ กู อ่อนได้ ดีอย่างมากเชน่ กัน เพราะตำลึงมีโปรตนี และวิตามนิ หลายชนิด นอกจากนี้ ยังมธี าตเุ หลก็ แคลเซียมและเส้น ใยอาหารสงู 7. มะรุม มะรมุ ถูกนำมาใช้รักษาโรคขาดสารอาหารในเด็กแรก เกดิ ถงึ 10 ขวบ ในกรณีของเดก็ แรกเกดิ การใหม้ ะรุมทำ ไดด้ ีท่สี ดุ โดยผา่ นทางน้ำนมมารดาที่กนิ ใบมะรุมอย่าง สม่ำเสมอ สารอาหารสำคญั จะผา่ นสู่ทารกได้โดยงา่ ย อกี ท้ังยังเปน็ การเพ่ิมแคลเซียมเข้าไปเสริมกระดูก มารดาไดเ้ ป็นอย่างดี ใบและดอกของมะรมุ มสี รรพคณุ ในการขบั น้ำนม ซึง่ ปจั จุบนั มีการศกึ ษายืนยันฤทธิใ์ น การขบั นำ้ นมของมะรุมแล้ว อาหารแนะนำ คือ แกงส้ม มะรุม 8. มะละกอ ผลไมท้ ชี่ ว่ ยแก้ปัญหาทอ้ งผูก สำหรับมะละกอน้นั มี วติ ามนิ เอ บี ซี ธาตุเหลก็ แคลเซยี มสูง ฟอสฟอรัสและ

วตั ถุประสงค์เชงิ พฤติกรรม เนอื้ หา กิจกรรม สอื่ การสอน เวลา การประเมนิ ผลการสอน กิจกรรมผสู้ อน กจิ กรรมผเู้ รียน วิธีการ/เกณฑ์ ผลการประเมนิ เสน้ ใยอาหาร เมื่อคุณแม่กนิ แลว้ จะช่วยขบั นำ้ นม บทสรปุ ข้นั สรปุ -รว่ มกับผ้ฟู งั ใน วธิ กี าร การทบทวน 5 นาที -ผู้ฟังสามารถ น้ำนมแม่มีทุกสิ่งทุกอย่างท่ีลูกต้องการ ตงั้ แต่สารอาหาร -ทบทวน บทเรียน -รับฟังการ สรุปเก่ยี วกบั ที่เหมาะสมซง่ึ ปรบั เปล่ียนไปตามความต้องการของลูก บทเรียน บรรยาย วธิ กี ารเลี้ยงลูก -บรรยายสรุป -ซกั ถามข้อ ดว้ ยนมมารดา ทกุ ระยะการเจรญิ เตบิ โต รวมท้งั สารอื่น ๆอีกมากมาย -เปิดโอกาสให้ สงสยั เกณฑ์ ซ่ึงไม่อาจหาได้จากนมผสมในนมแม่ยังมีน้ำย่อย เพอ่ื ผ้ฟู งั ซักถามข้อ -ตอบข้อซกั ถาม - ผ้ฟู ังสามารถ ช่วยเสรมิ การยอ่ ยของลูกทย่ี ังมี ระบบการย่อยไม่ สงสยั สรปุ เกย่ี วกบั สมบูรณ์พอมีสารอนื่ ๆ ที่ไดย้ ินจากการโมษณานมผสม -ซักถามผู้ฟังว่า วิธกี ารเลยี้ งลกู ดว้ ยนมมารดา ไมว่ ่าจะเป็นทอรนี กรดไขมัน AA (arachidonic acid) จะนำความรู้ท่ี ถกู ต้องรอ้ ยละ 60 กรดไขมนั DHA (docosahexa enoic acid) ไดร้ บั ไปปรับใช้ โอลโิ กแซคคไรด์ แม้กระท่ังนิคลโี อไทด์ ก็ลว้ นแล้วแต่ ในการเลย้ี งดู เปน็ สารที่มีอยู่ในนมแมแ่ ต่ไม่มีในนมวัว จึงตอ้ งไปหามา บตุ รอย่างไร เติมลงไปในนมผสม เพ่ือเลียนแบบน้ำนมแม่ แตถ่ งึ ปัจจุบนั น้กี ย็ งั ไมส่ ามารถทำให้เหมือนนมแมไ่ ด้

อ้างองิ กสุ ุมา ชศู ิลป,์ ทรรณิกา มาขลานอ้ ยและศริ ิพฒั นา ศริ ธิ นารันกลุ .เล้ียงลกู ด้วยนมแม่. สืบคน้ วนั ท่ี 11 กนั ยายน 2563, จาก library.thaibf.com. บันได 10 ขัน้ เลี้ยงลกู ด้วยนมแมใ่ นเดก็ ทารกและเด็กป่วย.สบื ค้นวันที่ 11 กันยายน 2563, จาก http://www.childrenhospital.go.th ปิยนุช ชโู ต.(2562).การพยาบาลการผดุงครรภ์:สตรใี นระยะคลอดและหลังคลอด.เชยี งใหม:่ สมาร์ทโคตต้ิงแอนด์เซอร์วสิ . มาลีวลั เลิศสาครศิร.ิ (2562).การส่งเสรมิ การเลี้ยงลูกดว้ ยนมแม่ในมารดาวยั รุ่นหลงั คลอด : บทบาทพยาบาลและครอบครัว Breastfeeding Promotion in Adolescent Mothers : Roles of Nurses and Families.วารสารการพยาบาลและการศกึ ษา,19(12)1-13. มณทธ์ ภชั รด์ สนุ ทรกลุ วงศ์ ,นิตยา อนิ กล่ินพนั ธุ์ และบรรเจดิ มีทอง.(2559).ความสาํ เรจ็ ในการสง่ เสริมการเลีย้ งลกู ดว้ ยนมแมอ่ ย่างเดยี ว.โรงพยาบาลชยั นาทนเรนทร.


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook