Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 2.-แนวทางการดำเนินงานxu2563

2.-แนวทางการดำเนินงานxu2563

Description: 2.-แนวทางการดำเนินงานxu2563

Search

Read the Text Version

แนวทางการดาเนินงาน ตามโครงการสนับสนุนค่าใชจ้ ่ายในการจดั การศึกษา ตัง้ แตร่ ะดบั อนบุ าลจนจบการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖3 สานักนโยบายและแผนการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พื้นฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร

คานา สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำข้ันพื้นฐำนได้จัดทำแนวทำงกำรดำเนินงำน โครงกำรสนับสนุน ค่ำใช้จ่ำยในกำรจัดกำรศึกษำต้ังแต่ระดับอนุบำลจนจบกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน ปีงบประมำณ พ.ศ. 256 3 เพื่อให้ผู้ท่ีเกี่ยวข้องทั้งระดับสำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำข้ันพื้นฐำน สำนักงำนเขตพ้ืน ที่กำรศึกษำ และสถำนศึกษำได้ใช้เป็นแนวทำงในกำรดำเนินงำนให้เกิดประสิทธิภำพ ประสิทธิผล เกิดควำมคุ้มค่ำ ประหยัด โปร่งใส เกดิ ประโยชน์ต่อผูเ้ รียนและทำงรำชกำรสงู สุด กำรจัดทำแนวทำงกำรดำเนินงำน โครงกำรสนับสนุนค่ำใช้จ่ำยในกำรจดั กำรศึกษำตั้งแต่ระดับอนุบำล จนจบกำรศกึ ษำขัน้ พื้นฐำน ปีงบประมำณ พ.ศ. 2563 มแี นวคดิ และหลกั กำรในกำรดำเนินกำร ดังนี้ ๑. ยึดหลักกำรแนวทำงกำรดำเนินงำนในปีงบประมำณ พ.ศ. ๒๕62 เป็นแนวทำงหลักและปรับปรุง แนวทำงกำรดำเนินงำนจำกกำรระดมควำมคิดเห็น ผลกำรติดตำม ตรวจสอบ และรำยงำนกำรวิจัยกำรดำเนินงำน ในปงี บประมำณ พ.ศ. 2563 2. สนองตอบต่อนโยบำยของคณะรัฐมนตรี พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชำ นำยกรัฐมนตรี กำรปฏิรูป กระบวนกำรเรียนรู้และกำรพัฒนำศักยภำพของคนไทยทุกช่วงวัย เพ่ือให้คนไทยมีกำรศึกษำและกำรเรียนรู้ โดยให้ควำมสำคัญทั้งกำรศึกษำในระบบและกำรศึกษำทำงเลือกไปพร้อมกัน สร้ำงคุณภำพของคนไทยให้สำมำรถ เรยี นรู้พัฒนำตนได้เตม็ ตำมศกั ยภำพ ประกอบอำชพี และกำรดำรงชวี ิตในศตวรรษท่ี 21 โดยมคี วำมใฝ่รู้และมีทักษะ ที่เหมำะสม เป็นคนดี มีคุณธรรม สร้ำงเสริมคุณภำพกำรเรียนรู้ โดยมีกำรเรียนรู้เพื่อสร้ำงสัมมำชีพในพ้ืนที่ ลดควำมเหล่ือมล้ำ และพัฒนำกำลังคน ให้เป็นที่ต้องกำรเหมำะสมกับพ้ืนที่ ส่งเสริมให้ภำคเอกชน องค์กรปกครอง ส่วนท้องถ่ิน และประชำชนทั่วไปมีโอกำสเข้ำมำมีส่วนร่วมในกำรออกแบบกำรศึกษำในพ้ืนท่ี เพื่อยกระดับคุณภำพ กำรศกึ ษำ และกระทรวงศึกษำธิกำรได้กำหนดนโยบำยเฉพำะสำหรับกำรศึกษำขัน้ พื้นฐำน ส่งเสรมิ กำรแก้ไขปัญหำ เด็กประถมศึกษำอ่ำนไม่ออก เขียนไม่ได้ กำรดูแลเด็กออกกลำงคันให้ได้รับกำรศึกษำภำคบังคับ ทบทวน ปรับปรุง หลกั สตู รกำรศึกษำ 3. แนวทำงกำรดำเนนิ งำนปงี บประมำณ พ.ศ. ๒๕63 เป็นแนวทำงกำรดำเนนิ งำนทีส่ ำมำรถใชร้ ่วมกัน สำหรับสถำนศึกษำที่จัดกำรศึกษำขั้นพ้ืนฐำน สังกัดสำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำข้ันพ้ืนฐำน สำระสำคัญ ของแนวทำงกำรดำเนินงำน โครงกำรสนับสนุนค่ำใช้จ่ำยในกำรจัดกำรศึกษำตั้งแต่ระดับอนุบำลจนจบกำรศึกษำ ขั้นพื้นฐำน ปีงบประมำณ พ.ศ. ๒๕63 ประกอบด้วย ควำมเป็นมำ วัตถุประสงค์ สำระสำคัญของนโยบำย วิสัยทัศน์ เป้ำหมำย ตัวช้ีวัด งบประมำณ เกณฑ์กำรจัดสรรและแนวทำงกำรดำเนินงำน ปฏิทินกำรดำเนินงำน ประโยชนท์ ค่ี ำดวำ่ จะไดร้ บั และเอกสำรทีเ่ กีย่ วข้อง สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำข้ันพื้นฐำนหวังเป็นอย่ำงยิ่งว่ำ แนวทำงกำรดำเนินงำน โครงกำร สนับสนุนค่ำใช้จ่ำยในกำรจัดกำรศึกษำต้ังแต่ระดับอนุบำลจนจบกำรศึกษำขั้นพ้ืนฐำน ปีงบประมำณ พ.ศ. ๒๕63 เอกสำรเล่มนี้จะเป็นประโยชน์ต่อกำรดำเนินงำนของผู้ท่ีเก่ียวข้องและเป็นประโยชน์ ต่อกำรขับเคล่ือนยุทธศำสตร์ ของสำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำข้ันพื้นฐำน ในด้ำนโอกำสทำงกำรศึกษำ คุณภำพกำรศึกษำ และประสทิ ธภิ ำพกำรบริหำรจดั กำร กำรมีสว่ นรว่ ม ซ่งึ จะสง่ ผลให้นักเรยี นเขำ้ ถงึ โอกำสทำงกำรศึกษำ มีควำมพร้อม ที่จะเรียนและได้รับกำรศึกษำท่ีมีคุณภำพ และสถำนศึกษำสำมำรถจัดกิจกรรมกำรเรียนรู้ท่ีส่งผลต่อกำรพัฒนำ ศักยภำพผูเ้ รยี น สอดคล้องกบั เจตนำรมณข์ องพระรำชบัญญัติกำรศึกษำแหง่ ชำตแิ ละนโยบำยของรฐั บำล (นำยอำนำจ วชิ ยำนุวตั ิ) เลขำธิกำรคณะกรรมกำรกำรศึกษำข้ันพื้นฐำน

สารบญั หนา้ คำนำ ควำมเปน็ มำ 1 วัตถุประสงค์ 3 เป้ำหมำย 3 ด้ำนปรมิ ำณ 3 ดำ้ นคุณภำพ 3 ตวั ชวี้ ัด 3 ด้ำนปริมำณ 3 ด้ำนคุณภำพ 4 นิยำมศพั ท์ 4 กำรจดั สรรงบประมำณ 5 เกณฑ์และแนวทำงกำรดำเนนิ งำน 5 ๑. คำ่ จดั กำรเรียนกำรสอน 5 ๒. คำ่ หนงั สอื เรียน 8 2.1 งบประมำณค่ำหนังสือที่ได้รับปีงบประมำณ พ.ศ. 2563 8 2.2 ลักษณะของหนงั สือที่ใช้ 9 2.3 กำรคดั เลอื กหนงั สือเรียนและแบบฝกึ หัด 10 2.4 แนวทำงกำรจดั ซอื้ หนงั สือเรียน แบบฝกึ หดั 10 2.5 วธิ ีดำเนินกำรจดั ซื้อ 11 ๓. คำ่ อุปกรณ์กำรเรยี น 12 ๔. คำ่ เคร่อื งแบบนักเรียน 13 - แบบหลกั ฐำนกำรจ่ำยเงนิ 15 - แบบหลกั ฐำนยืนยันกำรจดั หำ 16 ๕. คำ่ กจิ กรรมพัฒนำคุณภำพผ้เู รยี น 17 แนวทำงกำรดำเนนิ งำนโรงเรยี นกำรศกึ ษำพิเศษ ศูนยก์ ำรศึกษำพเิ ศษ และโรงเรียนศกึ ษำสงเครำะห์ 18 แนวทำงกำรจดั สรรงบประมำณ 5.1 กำรจัดสรรงบประมำณ 19 5.2 กำรกำกบั ติดตำม ประเมินผล และรำยงำน 21 5.3 แนวทำงกำรดำเนนิ งำนด้ำนกำรมสี ่วนรว่ ม 21 5.4 บรจิ ำคเงินที่ไดร้ ับสิทธ์ิค่ำเครอื่ งแบบนกั เรยี น/ค่ำอุปกรณ์กำรเรียน 23 - ใบแสดงเจตจำนงบริจำคค่ำเคร่ืองแบบนักเรียน/ค่ำอุปกรณ์กำรเรยี น 24 ปฏิทินกำรดำเนินงำน 25 ประโยชน์ท่ีคำดว่ำจะได้รบั 26

สารบัญ (ตอ่ ) หน้า ภำคผนวก 29 แนวทำงกำรบริหำรจดั กำรงบประมำณ งบเงนิ อุดหนุน ประเภทเงนิ อุดหนุนท่วั ไป เงนิ อดุ หนุนค่ำใช้จ่ำยในกำรจัดกำรศึกษำขน้ั พ้ืนฐำน 30 30 รำยกำรค่ำจัดกำรเรียนกำรสอน 32 - ค่ำใช้จำ่ ยรำยหัว 37 - เงินอุดหนุนปัจจยั พื้นฐำนสำหรับนกั เรียนยำกจน - คำ่ อำหำรนักเรียนประจำพักนอน 40 กำรบรหิ ำรงบประมำณ งบเงินอุดหนนุ ประเภทเงนิ อุดหนุนท่ัวไป 41 สำหรบั โรงเรยี นศึกษำสงเครำะห/์ โรงเรยี นกำรศึกษำพิเศษ/ศูนย์กำรศึกษำพเิ ศษ ลกั ษณะกำรใช้งบประมำณ 43 สำเนำหนังสือสำนกั งำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขั้นพ้ืนฐำน ท่ี ศธ ๐๔๐๐๒/ว ๒๙๘๓ ลงวันท่ี 23 พฤศจกิ ำยน 2555 44 เร่ือง หลกั เกณฑ์กำรเบกิ จ่ำยคำ่ ใช้จำ่ ยในกำรจัดกจิ กรรมเพ่ือเสริมสรำ้ งควำมรใู้ ห้กับนักเรียน 45 ท่ี กค. 0402.5/033273 ลงวันท่ี 7 สิงหำคม 2560 45 เรอื่ ง ขอหำรือเกี่ยวกบั กำรใช้เงนิ เหลอื จำ่ ยงบเงินอดุ หนุน ประเภทเงินอุดหนนุ ทั่วไป 49 แนวทำงกำรบรหิ ำรจดั กำรงบประมำณคำ่ กจิ กรรมพฒั นำคุณภำพผู้เรยี น 50 หลักเกณฑก์ ำรเบิกจำ่ ยค่ำใช้จำ่ ยในกำรจัดกจิ กรรมเพ่อื เสริมสรำ้ งควำมรใู้ หก้ บั นักเรียน 51 - แบบใบสำคัญรบั เงินสำหรบั วิทยำกร - แบบใบสำคัญรับเงินค่ำใช้จ่ำยในกำรจัดกิจกรรมสำหรับนักเรยี น 54 แนวทำงดำเนนิ กำรเลอื กซอ้ื หนงั สือเสริมประสบกำรณส์ ำหรบั เด็กปฐมวัย 56 ตำมกิจกรรมกำรสนบั สนนุ กำรจดั กำรศึกษำข้ันพนื้ ฐำน ตำมโครงกำรสนับสนนุ ค่ำใชจ้ ่ำย 56 ในกำรจัดกำรศึกษำต้ังแตร่ ะดับอนุบำลจนจบกำรศึกษำขน้ั พืน้ ฐำน ปงี บประมำณ พ.ศ. 2563 60 ข้ันตอนกำรจดั ซ้ือหนังสอื เรียน 62 ตำรำงแสดงกำรลดค่ำใชจ้ ำ่ ยของผปู้ กครอง/นักเรยี น 64 1.โรงเรยี นปกติ 2.โรงเรียนศกึ ษำสงเครำะห์ 3.โรงเรียนศกึ ษำพเิ ศษ 4.ศูนยก์ ำรศึกษำพเิ ศษ

สารบัญ (ต่อ) หนา้ หนังสอื สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน 65 ที่ ศธ ๐๔๐๐๖/พเิ ศษ ๒๒ ลงวนั ที่ 4 พฤศจิกายน 2554 เรอ่ื ง การเก็บเงินบำรงุ การศกึ ษาและการระดมทรัพยากร ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรอ่ื ง การเก็บเงินบำรุงการศึกษาของสถานศึกษา 66 สังกัดสำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน เร่ือง การระดมทรพั ยากรของสถานศึกษา 70 สงั กัดสำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พื้นฐาน สำเนาคำสั่งหัวหนา้ คณะรกั ษาความสงบแหง่ ชาติ ที่ 28/2559 72 เรือ่ ง ให้จดั การศกึ ษาขั้นพื้นฐาน 15 ปี โดยไม่เก็บค่าใชจ้ า่ ย สำเนาคำสง่ั กระทรวงศึกษาธิการ 74 เรอื่ ง ใหใ้ ช้มาตรฐานการเรียนรูแ้ ละตัวชวี้ ดั กลมุ่ สาระการเรียนรคู้ ณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ ในกลุ่มสาระการเรยี นร้สู งั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 คำสง่ั สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน ที่ 58/2563 75 เร่อื ง แตง่ ต้งั คณะทำงานประชมุ จดั ทำแนวทางการดำเนนิ งานและการบริหาร งบประมาณการสนบั สนุนค่าใชจ้ า่ ยในการจดั การศึกษาข้นั พน้ื ฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ศูนยป์ ระสานงาน 78

1 แนวทางการดาเนินงาน โครงการสนบั สนนุ คา่ ใช้จา่ ยในการจัดการศึกษา ตั้งแต่ระดบั อนุบาลจนจบการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖3 ก. ความเปน็ มา รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ได้บัญญัติสาระสาคัญในหมวด ๕ หน้าที่ ของรัฐด้านการศึกษา โดยมาตรา ๕๔ รัฐต้องดาเนินการให้เด็กทุกคนได้รับการศึกษาเป็นเวลาสิบสองปี ต้ังแต่ก่อนวัยเรียนจนจบการศึกษาภาคบังคับอย่างมีคุณภาพโดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย และบัญญัติเกี่ยวกับ การสนับสนุนค่าใช้จ่ายว่า ในการดาเนินการให้เด็กเล็กได้รบั การดูแลและพัฒนา หรือให้ประชาชนได้รับการศึกษา รัฐต้องดาเนนิ การใหผ้ ูข้ าดแคลนทนุ ทรัพยไ์ ดร้ ับการสนบั สนนุ คา่ ใชจ้ ่ายในการศึกษาตามความถนัดของตน ในส่วนของบทบัญญัติของพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และท่ีแก้ไขเพิ่มเติม ได้บัญญัติเกี่ยวกับสิทธิและหน้าท่ีทางการศึกษาในลักษณะเช่นเดียวกับรัฐธรรมนูญแห่งราชอา ณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ โดยมาตรา 10 วรรคหน่ึง ได้บัญญัติไว้ว่าการจัดการศึกษาต้องจัดให้บุคคลมีสิทธิ และโอกาสเสมอกันในการรับการศึกษาขั้นพื้นฐานไม่น้อยกว่าสิบสองปีทีร่ ัฐต้องจัดให้อยา่ งทั่วถึงและมีคุณภาพ โดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย ประกอบกับ มาตรา 14 บัญญัติว่า บุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันสังคมอื่น ซ่ึงสนับสนุนหรือจัดการศึกษา ข้ันพ้ืนฐานมีสิทธิได้รับสิทธิประโยชน์ตามควรแก่กรณี ดังต่อไปน้ี (1) การสนับสนุนจากรัฐให้มีความรู้ ความสามารถในการอบรมเล้ียงดูบุคคล ซ่ึงอยู่ในความดูแลรับผิดชอบ (2) เงินอุดหนุนจากรัฐสาหรับ การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานตามท่ีกฎหมายกาหนด (3) การลดหย่อนหรือยกเว้นภาษีสาหรับค่าใช้จ่าย การศกึ ษาตามทกี่ ฎหมายกาหนด นอกจากน้ี หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ เห็นว่านโยบายจัดการศึกษาไม่เก็บค่าใช้จ่าย เป็นเวลา 15 ปี สอดคล้องกับนโยบายด้านการศึกษาของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ และนโยบายปฏิรูป การศึกษาของรัฐบาล ท้ังสามารถลดความเหลื่อมล้า สร้างโอกาสทางการศึกษาและความเป็นธรรมในสังคม แก้ปัญหาความยากจน ตลอดจนส่งเสริมการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และสอดคล้องกับความต้องการ ของประชาชน จึงได้ออกคาส่ังหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ 28/2559 เร่ือง ให้จัดการศึกษา ข้ันพื้นฐาน 15 ปี โดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย มีผลบังคับใช้ต้ังแต่วันที่ 15 มิถุนายน พุทธศักราช 2559 ได้ยืนยัน แนวทางการจัดให้บุคคลได้รับการศึกษาข้ันพื้นฐานไม่น้อยกว่า 1๕ ปี โดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย และพัฒนาต่อไป ด้วยการยกระดับจากการเป็นโครงการตามนโยบายของแต่ละรัฐบาลให้เป็นหน้าที่ของรัฐและมาตรการ ตามกฎหมาย เพ่ือเป็นหลักประกันความยั่งยืนม่ันคง และเพ่ือให้สามารถจัดงบประมาณสนับสนุนได้อย่างต่อเนื่อง และได้ให้ความหมายของค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน 15 ปี การศึกษาพิเศษ และการศึกษาสงเคราะห์ ดงั น้ี ค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษา หมายความว่า งบประมาณท่ีรัฐจัดสรรให้แก่หรือผ่านทางสถานศึกษา หรือผู้จัดการศึกษา เพ่ือเป็นค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน 15 ปี และการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน 15 ปี หมายความวา่ การศึกษาต้ังแต่ระดับก่อนประถมศึกษา (อนุบาล) (ถ้ามี) ระดับประถมศึกษาจนถึงมัธยมศึกษาปีที่ 6 หรือระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช. 3) หรือเทียบเท่า และให้หมายความรวมถึงการศึกษาพิเศษและ การศึกษาสงเคราะห์ด้วย นอกจากน้ี ได้กาหนดความหมายของคาว่า การศึกษาพิเศษ หมายความว่า การจัดการศึกษาให้แก่บุคคลซ่ึงมีความผิดปกติอย่างหนึ่งอย่างใด ซ่ึงจาเป็นต้องจัดการศึกษาให้เป็นรูปแบบ

2 โดยเฉพาะ และอาศัยเทคนิคต่าง ๆ ในการสอนตามลักษณะความต้องการและความจาเป็นของแต่ละบุคคล และการศึกษาสงเคราะห์ หมายความว่า การจัดการศึกษาให้แก่เด็กที่ตกอยู่ในภาวะยากลาบากหรืออยู่ใน สถานภาพทดี่ ้อยกว่าเด็กทั่วไป หรือทมี่ ีลักษณะเป็นการกุศล เพ่ือให้มีชีวิตและความเป็นอยู่ที่ดขี ึ้น มีพัฒนาการ ทถี่ ูกต้องและเหมาะสมกบั วัย ท้งั น้ี คาส่ังหัวหนา้ คณะรักษาความสงบแหง่ ชาติ ที่ 28/2559 ได้กาหนดแนวทางการดาเนนิ งาน ให้จัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน 15 ปี โดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย ข้อ 2 ให้ส่วนราชการท่ีเก่ียวข้องตามที่คณะรัฐมนตรี กาหนดเตรียมการ เพื่อจัดให้เด็กเล็กก่อนวัยเรียนได้รับการดูแลและพัฒนาทางร่างกาย จิตใจ วินัย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา โดยส่งเสริมและสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินและภาคเอกชนเข้ามีส่วนร่วม ในการดาเนินการ ข้อ 3 ให้ส่วนราชการที่เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานดาเนินการจัดการศึกษา ข้ันพ้ืนฐาน 15 ปี ให้มีมาตรฐานและคุณภาพโดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย และให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ โดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี กาหนดอัตราค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาสาหรับการศึกษา ขั้นพื้นฐาน 15 ปี เพื่อเสนอตามกระบวนการจัดทางบประมาณรายจ่ายประจาปี โดยมีค่าใช้จ่าย ได้แก่ (1) ค่าจัดการเรียนการสอน (2) ค่าหนังสือเรียน (3) ค่าอุปกรณ์การเรียน (4) ค่าเครื่องแบบนักเรียน (5) ค่ากิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน และ (6) ค่าใช้จ่ายอื่นตามที่คณะรัฐมนตรีเห็นชอบ และข้อ 6 ให้อัตรา ค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาต้ังแต่ระดับอนุบาลจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่มีผลใช้อยู่ในวันก่อนวันท่ี คาสั่งน้ีใช้บังคับ ยังคงมีผลใช้บังคับต่อไปจนกว่าจะมีการกาหนดอัตราค่าใช้จ่ายสาหรับการจัดการศึกษา ขน้ั พน้ื ฐาน 15 ปี ตามขอ้ 3 โดยการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาตั้งแต่ระดับอนุบาลจนจบการศึกษาข้ันพื้นฐาน ได้มีมติคณะรัฐมนตรีท่ีเกี่ยวข้อง ประกอบด้วย มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันท่ี ๑๓ มกราคม ๒๕๕๒ ขออนุมัติ ตั้งงบประมาณเป็นรายปี เพ่ือดาเนินงานสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาตั้งแต่ระดับอนุบาลจนจบ การศึกษาขั้นพื้นฐานเป็นลาดับต่อเนื่องมาจนถึงปัจจุบัน และมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันท่ี 21 พฤศจิกายน 2549 อนุมัติให้ปรับอัตราค่าเงินอุดหนุนค่าใช้จ่ายต่อหัวสาหรับการศึกษาขั้นพื้นฐานทุกระดับการศึกษาทั้ งในระบบ โรงเรียนและนอกระบบโรงเรียน โดยแบ่งการปรับเพิ่มเป็น 3 ปีการศึกษาอย่างต่อเน่ือง ตั้งแต่ปีการศึกษา 2553 ใช้อัตราดงั กล่าวจนถึงปัจจุบนั อนึ่ง กระทรวงศึกษาธิการ ได้เสนอเรื่องการเพิ่มเงินอุดหนุนค่าใช้จ่ายต่อหัวสาหรับการศึกษา ขั้นพ้ืนฐาน เข้าท่ีประชุมคณะรัฐมนตรี เพื่อพิจารณาการปรับอัตราค่าเงินอุดหนุนค่าใช้จ่ายต่อหัวสาหรับ การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ทุกระดับการศึกษา ทั้งในระบบโรงเรียนและนอกระบบโรงเรียน โดยใช้ผลการวิจัย ของกระทรวงศึกษาธิการ การปรับเพ่ิมโรงเรียนขนาดเล็ก โดยใช้ผลการวิจัยของสานักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน และมติคณะรัฐมนตรีได้ประชุมหารือ เม่ือวันท่ี 21 พฤศจิกายน 2549 อนุมัติให้ปรับ อัตราค่าเงินอุดหนุนค่าใช้จ่ายต่อหัวสาหรับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานทุกระดับการศึกษา ท้ังในระบบโรงเรียน และนอกระบบโรงเรียน โดยแบ่งการปรับเพ่ิมเป็น 3 ปีการศึกษาอย่างต่อเนื่อง ต้ังแต่ปีการศึกษา 2553 ใชอ้ ัตราดงั กลา่ วจนถงึ ปจั จุบนั

3 ข. วตั ถุประสงค์ เพ่ือสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาข้ันพ้ืนฐานอย่างเสมอภาคและเป็นธรรม ในรายการ พ้ืนฐาน 5 รายการ ได้แก่ ค่าจัดการเรียนการสอน ค่าหนังสือเรียน ค่าอุปกรณก์ ารเรียน ค่าเครอ่ื งแบบนักเรียน และค่ากิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ให้นักเรียนทุกคนมีความพร้อมท่ีจะได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพ ตามมาตรฐาน โดยการบรหิ ารจดั การอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ ค. เป้าหมาย ๑. ด้านปรมิ าณ จานวนนกั เรียนท่ีไดร้ ับการสนบั สนนุ ค่าใช้จ่ายในการจัดการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน ในปีการศึกษา ๒๕๖3 จานวนทัง้ สิ้น ๖,668,322 คน จาแนกได้ ดงั นี้ จานวนนักเรียน จาแนกตามระดบั การศกึ ษา ดังน้ี ระดบั ก่อนประถมศกึ ษา 899,548 คน ระดับประถมศึกษา 3,097,713 คน ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน้ 1,706,821 คน ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย 941,386 คน ระดับ ปวช. (สถานประกอบการ) 7,973 คน นกั เรียนในศูนย์การศึกษาพิเศษ 14,881 คน จานวนนักเรียน จาแนกตามประเภทโรงเรยี น ดงั น้ี โรงเรียนปกติ (จานวน 29,669 โรง) 6,598,131 คน โรงเรยี นศกึ ษาสงเคราะห์ (จานวน 51 โรง) 34,304 คน โรงเรยี นการศกึ ษาพเิ ศษ (จานวน 48 โรง) 12,428 คน ศนู ยก์ ารศึกษาพเิ ศษ (จานวน 77 ศูนย์) 14,881 คน การจัดการศึกษาขน้ั พน้ื ฐานโดยครอบครวั /สถานประกอบการ 8,578 คน (จัดโดยครอบครวั 605 คน จัดโดยสถานประกอบการ 7,973 คน) ๒. ดา้ นคณุ ภาพ นักเรียนมีความรู้ ความสามารถ ทักษะ สมรรถนะ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรและการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนทุกระดับ โดยเน้นการเสริมสร้างความคิดสร้า งสรรค์ ผ่านกระบวนการเรียนรู้ ผ่านการใช้สื่อ อุปกรณ์การเรียนและกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน โดยการบริหาร จัดการแบบมีส่วนร่วม ให้องค์กรภาคประชาสังคม ภาคเอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และประชาชน ทั่วไปมีโอกาสรว่ มจัดการศกึ ษา การปฏิรปู การศกึ ษาและการเรยี นรู้ ง. ตวั ชี้วดั ๑. ดา้ นปรมิ าณ ร้อยละของนักเรียนการศึกษาขั้นพ้ืนฐานสังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่ไดร้ บั การสนบั สนุนค่าใชจ้ ่ายในการจัดการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน

4 ๒. ดา้ นคณุ ภาพ 2.1 ร้อยละของนักเรียนท่ีมีความรู้ ความสามารถ ทักษะ สมรรถนะและคุณลักษณะ อันพงึ ประสงคต์ ามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 2.2 ร้อยละของสถานศึกษาท่ีมีการจัดการศึกษาโดยการมีส่วนร่วมของนักเรียน ผู้ปกครอง ครู คณะกรรมการภาคี ๔ ฝา่ ย และคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐานในข้ันตอนต่าง ๆ ของการดาเนินงาน การสนบั สนุนคา่ ใชจ้ า่ ยในการจดั การศึกษาข้นั พื้นฐาน 2.3 ร้อยละของผู้ปกครองมีความพึงพอใจท่ีได้รับการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัด การศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน 2.4 ร้อยละของนักเรียนระดับก่อนประถมศึกษามีพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคมและสตปิ ัญญา สมวัยตามหลักสตู รการศกึ ษาปฐมวัย พทุ ธศกั ราช 2560 จ. นยิ ามศพั ท์ 1. การสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน หมายถึง งบประมาณท่ีรัฐจัดสรร ให้สถานศึกษา 5 รายการ ได้แก่ ค่าจัดการเรียนการสอน (ค่าใช้จ่ายรายหัวปัจจัยพื้นฐานสาหรับนักเรียน ค่าอาหารนักเรียนประจาพักนอน) ค่าหนังสือเรียน ค่าอุปกรณ์ การเรียน ค่าเครื่องแบบนักเรียน และค่ากิจกรรมพัฒนาคุณภาพผูเ้ รียน 2. การศึกษาภาคบังคับ หมายถึง การศึกษาช้ันปีที่หน่ึงถึงช้ันปีท่ีเก้าของการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ตามพระราชบัญญัติการศึกษาภาคบังคับ พ.ศ. 2545 โดยรับเด็กเข้าศึกษาซึ่งมีอายุย่างเข้าปีที่เจ็ด จนถงึ อายุยา่ งเขา้ ปที ่ีสบิ หก เว้นแต่เดก็ ทีส่ อบไดช้ ั้นปีทีเ่ กา้ ของการศกึ ษาภาคบังคบั แลว้ ๓. การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน หมายถึง การศึกษาก่อนระดับอุดมศึกษา ซ่ึงแบ่งออกเป็น 3 ระดับ คือระดับก่อนประถมศึกษา ระดับประถมศึกษา และระดับมัธยมศึกษา เร่ิมตั้งแต่อายุ 3 ปี แต่ไม่เกินอายุ 20 ปี ตามข้อมลู ที่รายงานเขา้ สู่ระบบขอ้ มลู นักเรียนรายบุคคล (Data Management Center : DMC) ๔. ระดับก่อนประถมศึกษา หมายถึง การจัดการศึกษาระดับช้ันอนุบาล 1 - 3 ให้แก่เด็กที่มี อายตุ ้ังแต่ 3 - 6 ปี 5. ระดับประถมศึกษา หมายถึง การจัดการศึกษาให้แก่นักเรียน เร่ิมตั้งแต่ระดับช้ันประถมศึกษา ปที ่ี 1 – 6 6. ระดับมัธยมศึกษา หมายถึง การจัดการศึกษาให้แก่นักเรียน ซ่ึงแบ่งออกเป็น 2 ช่วง คือ มัธยมศึกษาตอนต้น (ระดับช้ัน ม.1 ถึง ม.3) และมัธยมศึกษาตอนปลาย แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ ประเภทสามัญ (ระดับช้ัน ม.4 ถึง ม.6) หรือระดับ ปวช. ท่ีจัดโดยสถานศึกษา และประเภทอาชีวศึกษา ทีจ่ ัดโดยสถานประกอบการ (ปวช.) 7. การศึกษาพิเศษ หมายถึง การจัดการศึกษาให้แก่บุคคลซึ่งมีความผิดปกติอย่างใดอย่างหน่ึง ซ่ึงจาเป็นต้องจัดการศึกษาให้เป็นรูปแบบโดยเฉพาะ และอาศัยเทคนิคต่าง ๆ ในการสอนตามลักษณะ ความตอ้ งการและความจาเปน็ ของแต่ละบุคคล 8. การศึกษาสงเคราะห์ หมายถึง การจัดการศึกษาให้กับเด็กที่ตกอยู่ในภาวะยากลาบาก หรืออยู่ในสถานภาพท่ีด้อยกว่าเด็กทั่วไป หรือท่ีมีลักษณะเป็นการกุศล เพื่อให้มีชีวิตและความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น มพี ัฒนาการท่ีถูกต้องและเหมาะสมกับวยั

5 9. เด็กท่ีไม่มีหลักฐานทะเบียนราษฎรหรือไม่มีสัญชาติไทย หมายถึง เด็กวัยเรียนท่ีไม่มีสัญชาติ ไทยอาศัยอยู่ในประเทศไทย ท่ีเข้ารับการศึกษาระดับก่อนประถมศึกษาและการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ประกอบด้วย 9.1 เด็กที่ไม่มีหลักฐานตามกฎหมายว่าด้วยทะเบียนราษฎร หมายถึง เด็กที่อาศัยอยู่ใน ประเทศไทย และไมม่ หี ลกั ฐานตามกฎหมายวา่ ดว้ ยทะเบียนราษฎร 9.2 เด็กท่ีไม่มี ทร.13 หมายถึง เด็กต่างด้าวท่ีไม่มีสัญชาติไทยไม่อยู่ในทะเบียนกลาง ใช้รหัสนาหน้าด้วย G โดยได้รับรหสั ประจาตัวจากกระทรวงมหาดไทยแลว้ 9.3 เดก็ ท่ีมี ทร.13 หมายถึง เดก็ ทยี่ งั ไม่ได้รบั สญั ชาตไิ ทย แตม่ ชี ื่ออยู่ในทะเบียนกลาง 10. เด็กต่างชาติ หมายถึง เด็กท่ีมีสัญชาติต่างชาติท่ีอาศัยอยู่ในประเทศไทย และมีหลักฐาน แสดงตัวตน ฉ. แนวทางการดาเนินการ และเกณฑ์การจัดสรร ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖3 รฐั บาลได้จดั สรรงบประมาณตามพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖3 เพ่ือสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาข้ันพื้นฐาน โดยรัฐจัดสรร งบประมาณตามแผนงานยุทธศาสตร์สร้างความเสมอภาคทางการศึกษา โครงการสนับสนุนค่าใชจ้ ่ายในการจัด การศึกษาต้ังแต่ระดับอนุบาลจนจบการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน กิจกรรมการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษา ข้ันพ้ืนฐานงบเงนิ อดุ หนนุ จานวน 5 รายการ รวมงบประมาณทั้งสนิ้ 37,203,764,300 บาท ดงั นี้ ๑. คา่ จดั การเรียนการสอน 22,596,155,400 บาท ๒. คา่ หนังสือเรียน 5,062,019,700 บาท ๓. ค่าอุปกรณก์ ารเรียน 2,561,938,500 บาท ๔. ค่าเคร่ืองแบบนักเรียน 2,665,732,600 บาท ๕. คา่ กจิ กรรมพัฒนาคุณภาพผ้เู รียน 4,317,918,100 บาท โดยมแี นวทางการดาเนนิ การ และเกณฑ์การจดั สรร ดังน้ี 1. ค่าจัดการเรยี นการสอน ค่าจัดการเรียนการสอน หมายถึง เงินงบประมาณ งบเงินอุดหนุน ประเภทเงินอุดหนุนทั่วไป เงินอุดหนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ไดแ้ ก่ เงินอุดหนุนรายหัว ปัจจัยพ้ืนฐานสาหรับนักเรียนยากจน ค่าอาหารนักเรียนประจาพักนอน การจัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐานโดยครอบครัวและสถานประกอบการ โดยมีเกณฑ์และแนวทางการดาเนินการ ดังนี้ 1.1 เงินอุดหนนุ รายหัว สาหรบั นกั เรยี นทั่วไป 1.1.1 เงินอุดหนนุ รายหัว จดั สรรใหน้ ักเรียนทกุ คนตัง้ แต่ระดบั ก่อนประถมศึกษาจนจบการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน โดยมอี ัตราการจดั สรรจาแนกตามระดับ ดังน้ี ระดับกอ่ นประถมศึกษา ๑,๗๐๐ บาท/คน/ปี (ภาคเรยี นละ ๘๕๐ บาท/คน) ระดบั ประถมศกึ ษา ๑,๙๐๐ บาท/คน/ปี (ภาคเรียนละ ๙๕๐ บาท/คน) ระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น ๓,๕๐๐ บาท/คน/ปี (ภาคเรียนละ ๑,๗๕๐ บาท/คน) ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย ๓,8๐๐ บาท/คน/ปี (ภาคเรยี นละ ๑,๙๐๐ บาท/คน)

6 1.1.2 เงินอุดหนุนรายหัว เพ่ิมเตมิ 1.1.2.1 มติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันท่ี ๒๗ ตุลาคม ๒๕๕๒ เห็นชอบให้เพิ่ม เงนิ อดุ หนนุ รายหัวให้นกั เรียนในโรงเรียนขนาดเลก็ ดังนี้ 1) โรงเรียนประถมศึกษาขนาดเล็กที่มีนักเรียน ๑๒๐ คนลงมาให้เพ่ิม จากรายหัวที่ได้รบั ปกติ อกี ๕๐๐ บาท/คน/ปี (ภาคเรียนละ ๒๕๐ บาท/คน) 2) โรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดเล็กท่ีมีนักเรียน ๓๐๐ คนลงมาให้เพิ่ม จากรายหวั ท่ไี ด้รบั ปกติ อกี ๑,๐๐๐ บาท/คน/ปี (ภาคเรียนละ ๕๐๐ บาท/คน) 1.1.2.2 มติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันท่ี ๒ มิถุนายน ๒๕๕๓ เห็นชอบให้เพ่ิมเงินอุดหนุน ให้โรงเรียนขยายโอกาสท่ีมีนักเรียน ๓๐๐ คนลงมา ให้เพิ่มจากรายหัวท่ีได้รับปกติ โดยจัดให้เฉพาะนักเรียน ม.ต้น เพิม่ ใหอ้ กี ๑,๐๐๐ บาท/คน/ปี (ภาคเรียนละ ๕๐๐ บาท/ คน) 1.1.2.3 คา่ ปัจจยั พ้นื ฐานสาหรับนักเรียนยากจน มติคณะรัฐมนตรีเม่ือวันที่ 12 มิถุนายน 2550 เห็นชอบให้ปรับอัตรา เงนิ อดุ หนนุ ปจั จยั พ้ืนฐานนักเรียนยากจน ดังนี้ 1) ระดบั ประถมศึกษา ๑,๐๐๐ บาท/คน/ปกี ารศกึ ษา (ภาคเรียนละ ๕๐๐ บาท/คน) 2) ระดับมัธยมศึกษาตอนตน้ 3,0๐๐ บาท/คน/ปีการศกึ ษา (ภาคเรียนละ 1,500 บาท/คน) สาหรับการจัดสรรงบประมาณให้เป็นไปตามเกณฑ์ระบบการคัดกรอง ปัจจัยพ้ืนฐานนักเรียนยากจนที่สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐานกาหนด แนวทางและวิธีการ บรหิ ารจดั การ คา่ ปัจจยั พ้นื ฐานสาหรบั นักเรียนยากจน ตามภาคผนวก 1.1.2.4 ค่าอาหารนักเรยี นประจาพักนอน ตามหนังสือกรมบัญชีกลาง ที่ กค 0406.4/11297 ลงวันท่ี 24 มีนาคม 2559 อนุมัติใหเ้ บิกจา่ ยคา่ อาหารนกั เรยี นประจาพกั นอนตามทข่ี อทาความตกลงไว้ ดังน้ี 1) ระดบั ประถมศึกษา ๘,๐๐๐ บาท/คน/ปี (ภาคเรียนละ ๔,๐๐๐ บาท/คน) 2) ระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น ๘,๐๐๐ บาท/คน/ปี (ภาคเรียนละ ๔,๐๐๐ บาท/คน) 1.1.3 เงินอุดหนุนรายหัว สาหรับการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานโดยครอบครัวและ สถานประกอบการ เกณฑ์การจัดสรร ดงั นี้ ระดบั ก่อนประถมศกึ ษา ๗,๑๙๒ บาท/คน/ปี (ภาคเรียนละ ๓,๕๙๖ บาท/คน) ระดบั ประถมศึกษา ๗,๓๖๒ บาท/คน/ปี (ภาคเรียนละ ๓,๖๘๑ บาท/คน) ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน้ ๑๐,๒๗๖ บาท/คน/ปี (ภาคเรยี นละ ๕,๑๓๘ บาท/คน) ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย 10,606 บาท/คน/ปี (ภาคเรียนละ 5,303 บาท/คน) ระดับ ปวช. ๑-๓ ๑๑,๗๓๖ บาท/คน/ปี (ภาคเรียนละ ๕,๘๖๘ บาท/คน)

7 1.1.4 เงนิ อุดหนุนรายหัว สาหรับนักเรียนโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์ เกณฑ์การจัดสรร ดงั นี้ 1.1.4.1 ระดบั ก่อนประถมศกึ ษา 1) นกั เรียนประจา ๓๐,๖๐๐ บาท/คน/ปี (ภาคเรยี นละ 15,300 บาท/คน) 2) นักเรยี นไป-กลบั ๘,๙๒๐ บาท/คน/ปี (ภาคเรียนละ ๔,๔๖๐ บาท/คน) 1.1.4.2 ระดับประถมศกึ ษา 1) นักเรยี นเรยี นประจา ๓๐,๘๐๐ บาท/คน/ปี (ภาคเรียนละ ๑๕,๔๐๐ บาท/คน) 2) นกั เรยี นไป-กลบั ๙,๑๒๐ บาท/คน/ปี (ภาคเรยี นละ ๔,๕๖๐ บาท/คน) 1.1.4.3 ระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น 1) นกั เรียนประจา ๓๒,๒๐๐ บาทไ/คน/ปี (ภาคเรียนละ ๑๖,๑๐๐ บาท/คน) 2) นักเรยี นไป-กลบั ๑๐,๑๐๐ บาท/คน/ปี (ภาคเรยี นละ ๕,๐๕๐ บาท/คน) 1.1.4.4 ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย 1) นกั เรยี นประจา ๓๒,๕๐๐ บาท/คน/ปี (ภาคเรียนละ ๑๖,๒๕๐ บาท/คน) 2) นักเรียนไป-กลบั ๑๐,๔๐๐ บาท/คน/ปี (ภาคเรยี นท่ี ๕,๒๐๐ บาท /คน) 1.1.5 เงนิ อุดหนุนรายหวั สาหรบั นักเรียนโรงเรยี นการศกึ ษาพเิ ศษ มีเกณฑ์การจัดสรร ดงั นี้ 1.1.5.1 ระดบั ก่อนประถมศึกษา 1) นักเรียนประจา ๓๑,๐๒๐ บาท/คน/ปี (ภาคเรียนละ 1๕,๕๑๐ บาท/คน) 2) นกั เรยี นไป-กลบั ๘,๙๒๐ บาท/คน/ปี (ภาคเรยี นละ ๔,๔๖๐ บาท/คน) 1.1.5.2 ระดบั ประถมศึกษา 1) นกั เรยี นประจา ๓๑,๒๒๐ บาท/คน/ปี (ภาคเรยี นละ ๑๕,๖๑๐ บาท/คน) 2) นักเรยี นไป-กลับ ๙,๑๒๐ บาท/คน/ปี (ภาคเรยี นละ ๔,๕๖๐ บาท/คน) 1.1.5.3 ระดับมัธยมศึกษาตอนตน้ 1) นกั เรียนประจา ๓๒,๖๐๐ บาท/คน/ปี (ภาคเรียนละ ๑๖,๓๐๐ บาท/คน) 2) นกั เรียนไป-กลบั ๑๐,๕๐๐ บาท/คน/ปี (ภาคเรียนละ ๕,๒๕๐ บาท/คน)

8 1.1.5.4 ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย 1) นักเรียนประจา ๓๒,๕๐๐ บาท/คน/ปี (ภาคเรียนละ ๑๖,๒๕๐ บาท/คน) 2) นกั เรียนไป-กลับ ๑๐,๘๐๐ บาท/คน/ปี (ภาคเรียนละ ๕,๔๐๐ บาท/คน) 1.1.6 เงนิ อดุ หนุนรายหัว สาหรับนกั เรียนในศูนยก์ ารศกึ ษาพเิ ศษ 1.1.6.1 ค่าอาหารนกั เรยี นประจา ๒๗,๐๐๐ บาท/คน/ปี (ภาคเรยี นละ ๑๓,๕๐๐ บาท/คน) 1.1.6.2 ปัจจยั พนื้ ฐานนกั เรียนประจา ๑,๐๐๐ บาท/คน/ปี (ภาคเรยี นละ ๕๐๐ บาท/คน) 1.1.6.3 ค่าอาหารนกั เรียน ไป-กลับ ๖,๖๐๐ บาท/คน/ปี (ภาคเรยี นละ ๒,๙๗๐-๓,๖๓๐ บาท/คน) 2. ค่าหนังสอื เรยี น 2.1 งบประมาณค่าหนังสอื เรียนทีไ่ ด้รับปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐานได้รับงบประมาณปี พ.ศ. ๒๕๖3 เป็นค่าหนังสือ เสริมประสบการณส์ าหรับระดับก่อนประถมศึกษา ค่าหนังสอื เรียนทกุ ระดับชั้น และแบบฝึกหัดรายวิชาพน้ื ฐาน เฉพาะ ป.๑ - ป.๖ ใน ๓ กลุ่มสาระการเรียนรู้ในการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน เพื่อจัดสรรให้นักเรียนมีหนังสือใช้เรียน ครบทุกคน ดงั น้ี มลู คา่ หนงั สือต่อชุด กอ่ นประถมศกึ ษา ๒๐๐ บาท/คน/ปี ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ ๑ ๖๒๕ บาท/คน/ปี ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ ๒ ๖๑๙ บาท/คน/ปี ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ ๓ ๖๒๒ บาท/คน/ปี ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๔ ๖๗๓ บาท/คน/ปี ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๕ ๘๐๖ บาท/คน/ปี ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๖ ๘๑๘ บาท/คน/ปี ช้นั มัธยมศึกษาปที ี่ ๑ ๗๖๔ บาท/คน/ปี ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ ๒ ๘๗๗ บาท/คน/ปี ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี ๓ ๙๔๙ บาท/คน/ปี ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี ๔ ๑,๓๑๘ บาท/คน/ปี ช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ ๕ ๑,๒๖๓ บาท/คน/ปี ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ ๖ ๑,๑๐๙ บาท/คน/ปี ชน้ั ปวช. 1-3 ที่จัดโดยสถานประกอบการ ๒,๐๐๐ บาท/คน/ปี

9 2.2 ลักษณะของหนงั สอื ท่ใี ช้ กระท รวงศึกษ าธิการส นั บ ส นุ น งบ ป ระมาณ ให้ สถาน ศึกษาจั ด ซ้ือ ห นั งสื อ ต ามกิจ กรรม การสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ตามโครงการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษา ตง้ั แตร่ ะดับอนุบาลจนจบการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน ได้แก่ 2.2.1 ระดบั กอ่ นประถมศึกษา เป็นหนังสือเสริมประสบการณ์ระดับช้ันอนุบาลท่ีสอดคล้องตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ 2.2.2 ระดับประถมศึกษา (ป.๑ – ป.๖) เป็นหนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พ้ืนฐาน รายวิชาพ้ืนฐาน ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ คือ 1) ภาษาไทย 2) คณติ ศาสตร์ 3) วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 4) สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 5) สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา 6) ศลิ ปะ 7) การงานอาชีพ 8) ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) และแบบฝึกหัดในรายวิชาพื้นฐาน ๓ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ซ่ึงกระทรวงศึกษาธิการกาหนดให้มี เพื่อเสริมทักษะที่จาเป็นแก่ นักเรยี นเฉพาะระดับประถมศึกษาเท่านน้ั ได้แก่ 1) ภาษาไทย 2) คณิตศาสตร์ 3) ภาษาต่างประเทศ (ภาษาองั กฤษ) 2.2.3 ระดบั มธั ยมศึกษา (ม.๑ - ม.๖) เป็นหนังสือเรียน สาระการเรียนรู้พ้ืนฐาน รายวิชาพื้นฐาน ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ หมายเหตุ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และสาระ ภูมิศาสตร์ในกลมุ่ สาระการเรียนรสู้ งั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ปีการศกึ ษา 2563 ทุกระดบั ชั้นให้ใช้มาตรฐาน การเรียนรู้และตัวช้ีวัดกลมุ่ สาระการเรยี นร้คู ณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และสาระภูมศิ าสตรใ์ นกลุม่ สาระ การเรียนรสู้ ังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2560) ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 ตามคาสงั่ กระทรวงศึกษาธกิ าร ที่ สพฐ. 1239/2560 ลงวนั ที่ 7 สิงหาคม 2560

10 2.3 การคัดเลือกหนงั สอื เรียนและแบบฝึกหัด 2.3.1 หนังสือเสรมิ ประสบการณ์ระดบั ช้นั อนบุ าล ให้ครูผู้สอนระดับชั้นอนุบาล เป็นผู้คัดเลือกหนังสือตามหลักการจัดการศึกษาปฐมวัย โดยผา่ นความเห็นชอบจากคณะกรรมการภาคี 4 ฝ่าย (ผู้แทนครู ผแู้ ทนผปู้ กครอง ผู้แทนชุมชน และผู้แทนนกั เรยี น) และคณะกรรมการสถานศึกษาข้นั พ้นื ฐาน การพิจารณาคัดเลือกให้พิจารณาจากความสอดคล้องของหลักสตู รการศึกษาปฐมวัย และหลักสูตรสถานศึกษา ปลูกฝังให้เด็กมีนิสัยรักการอ่าน ส่งเสริมกระบวนการคิด คุณธรรม จริยธรรม รักษ์สิ่งแวดล้อม ฯลฯ ซึ่งสามารถดูรายชื่อตัวอย่างหนังสือที่ผ่านการประกวด/การคัดเลือกจากหน่วยงาน ภาครัฐและเอกชนจากเว็บไซต์สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา http://academic.obec.go.th หรือเว็บไซต์ฐานข้อมูลบัญชีกาหนดสื่อการเรียนรู้สาหรับเลือกใช้ในสถานศึกษา ตามหลักสูตรแกนกลาง การศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐานพทุ ธศักราช 2551 http://academic.obec.go.th/textbook/web/ 2.3.2 หนังสือเรียนและแบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ ให้ครูผู้สอนเป็นผู้พิจารณาคัดเลือกหนังสือตามเหตุผลเชิงคุณค่าทางวิชาการ เสนอคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและวิชาการ โดยผ่านความเห็นชอบจากคณะกรรมการภาคี ๔ ฝ่าย (ผแู้ ทนครู ผ้แู ทนผ้ปู กครอง ผ้แู ทนชมุ ชน และผูแ้ ทนนกั เรยี น) และคณะกรรมการสถานศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน การพิจารณาคัดเลือกให้พิจารณาจากหนังสือเรียนและแบบฝึกหัดรายวิชาพ้ืนฐาน พิจารณาคัดเลือกจากหนังสือท่ีสอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน หลักสูตรสถานศึกษา มีเน้ือหาสาระยากง่ายเหมาะสมกับผู้เรียน โดยปกติให้เลือกจากบัญชีกาหนดส่ือการเรียนรู้สาหรับเลือกใช้ ในสถานศึกษา ปีการศึกษา ๒๕๖3 จากเว็บไซต์ฐานข้อมูลบัญชีกาหนดสื่อการเรียนรู้สาหรับเลือกใชใ้ นสถานศกึ ษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒551 http://academic.obec.go.th/textbook/web/ หรือ เวบ็ ไซต์ของสานักวชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา http://academic.obec.go.th 2.4 แนวทางการจัดซ้อื หนังสอื เรยี นและแบบฝึกหัด 2.4.1 การจัดซื้อหนงั สือเสรมิ ประสบการณ์ระดับช้ันอนุบาล ให้จัดซ้ือเพื่อใช้สาหรับการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่สอดคล้องกับหลักสูตร การศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ควรมีหลากหลายประเภท หลากหลายในด้านของผู้แต่ง ผู้วาด ภาพประกอบและเน้ือหาการเรียนรู้ และมีจานวนเพียงพอกับเด็ก เหมาะสมต่อการจัดประสบการณ์ ในห้องเรียนระดับชั้นอนุบาล 2.4.2 การจัดซ้ือหนังสือเรียนและแบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขัน้ พื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ ใหด้ าเนินการจดั ซอื้ ดังน้ี 1) จัดซื้อหนังสือเรียนรายวิชาพ้ืนฐานทั้ง 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ให้นักเรียนครบทุกคน โดยหนังสือเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และสาระภูมิศาสตร์ในกลุ่ม สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ให้พิจารณาเลือกซ้ือฉบับท่ีสอดคล้องกับมาตรฐาน การเรียนรู้และตัวชวี้ ดั (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 กรณีการเปลี่ยนชื่อกลุ่มสาระการเรยี นรู้ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้ คือ 1) ชื่อเดิม วทิ ยาศาสตร์ เปน็ ช่ือใหม่ “วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี” และ 2) ชื่อเดิม การงานอาชีพและเทคโนโลยี เป็นชื่อใหม่ “การงาน อาชีพ” ตามคาสั่ง สพฐ ที่ 921/2561 ลงวันท่ี 3 พฤษภาคม 2561 แต่เน่ืองจากขณะน้ีอยู่ในช่วงรอยต่อ ของการเปลี่ยนผ่านช่ือกลุ่มสาระการเรียนรู้ดังกล่าว เพื่อมิให้เกิดผลกระทบต่อกระบวนการผลิต การตรวจ

11 ประเมินคุณภาพส่ือการเรียนรู้ และการใช้สื่อการเรียนรู้ในสถานศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษา ข้นั พนื้ ฐาน จงึ อนโุ ลมให้จัดซ้ือหรอื ใช้หนงั สือเรียนได้ทั้งฉบับท่ใี ชช้ ื่อกลมุ่ สาระการเรียนรูเ้ ดมิ และใชช้ ื่อกลมุ่ สาระ การเรียนรู้ใหมใ่ นปกี ารศึกษา 2563 ได้ สาหรับสือ่ การเรียนรู้ของสานักพมิ พ์เอกชน กลุ่มสาระการเรยี นรกู้ ารงานอาชีพและเทคโนโลยี (ชื่อเดิม) หรือกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ (ช่ือใหม่) ให้สถานศึกษาพิจารณาเลือกใช้หนังสือเรียน ที่สานักพิมพ์เอกชนจัดทาใหม่ โดยท่ีปกหลังของหนังสือเรียนจะมีใบประกันคุณภาพสื่อการเรียนรู้ ของสานักพิมพน์ ั้น ๆ 2) จัดซ้ือแบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐานระดับประถมศึกษาโดยให้จัดซื้อแบบฝึกหัด ใน ๓ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ได้แก่ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ และภาษาต่างประเทศ (ภาษาองั กฤษ) เพ่อื แจกให้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาทุกคน โดยไม่เรียกเก็บคืน ท้ังนี้ การจัดซ้ือแบบฝึกหัดคณิตศาสตร์ช้ันประถมศึกษา ให้พิจารณาเลือกซ้ือฉบับท่ีสอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 กรณีสถานศึกษาขนาดเล็กที่ไม่สามารถดาเนินการตามกระบวนการตามข้อ ๑) และ ๒) ข้างต้นได้ อาจรวมกลุ่มกับสถานศึกษาอ่ืนเพ่ือดาเนินการคัดเลือกหนังสือเรียน หรือร้องขอให้สานักงาน เขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษาชว่ ยดาเนนิ การแทนได้ กรณี ท่ี ได้ รั บแจ้ งจั ดสรรงบประมาณ ยั งไม่ ค รบตามวงเงิ นงบประมาณ ค่ าหนั งสื อ เรี ยน ให้สถานศึกษายืมเงินจากงบเงินอุดหนุน รายการค่ากิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนมาใช้เป็นลาดับแรกก่อน หากยังไม่พอให้ยืมเงินจากรายการค่าจัดการเรียนการสอนเป็นลาดับถัดไป และเมื่อได้รับการจัดสรร งบประมาณเพ่ิมเติมครบจานวนนักเรียนจริงให้ส่งใช้คืนรายการเดิม งบประมาณในการจัดซื้อหนังสือเรียน และแบบฝึกหดั สามารถถัวจา่ ยระหวา่ งกลุม่ สาระการเรยี นรแู้ ละระดบั ช้นั ได้ กรณีมีงบประมาณที่เหลือจากการจัดซื้อหนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐาน รายวิชาพื้นฐาน ให้แก่นักเรียนทุกคนแล้ว ให้สถานศึกษาสามารถนาไปจัดซื้อหนังสือเสริมประสบการณ์ ระดับปฐมวัย หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้เพิ่มเติม รายวิชาเพิ่มเติมที่เหมาะสมและสอดคล้องกับหลักสูตรสถานศึกษา หรือจัดทาสาเนาเอกสารประกอบการเรียนการสอน เช่น ใบงาน ใบความรู้ เป็นต้น โดยผ่านความเห็นชอบร่วมกัน ของคณะกรรมการภาคี ๔ ฝา่ ย และคณะกรรมการสถานศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน ท้ังน้ี ให้สถานศึกษาแจกหนังสือเรียนท่ีจัดซื้อให้แก่นักเรียนทุกคนโดยไม่เรียกเก็บคืน และสร้างวินัยใหน้ ักเรียนมคี วามรับผดิ ชอบ ตระหนักถงึ การใช้หนังสือให้คุ้มคา่ และเกิดประโยชน์สงู สุด 2.5 วธิ ดี าเนนิ การจดั ซอื้ 2.5.1 ให้สถานศึกษาดาเนินการจัดซ้ือโดยถือปฏิบัติตามพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้าง และการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐ ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้าง และการบริหาร พัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐ (หนังสือสานักงบประมาณ ที่ นร 0704/ว 37 ลงวันท่ี 6 มกราคม 2559 เรื่อง แนวทางการพิจารณาส่ิงของที่จัดเป็นวัสดุและครุภัณฑ์ตามหลักการจาแนกประเภทรายจ่ายตามงบประมาณ) และกฎกระทรวงท่ีเก่ียวข้อง โดยให้คานึงถึงคุณภาพท่ีเหมาะสมกับราคาและให้ต่อรองราคาจากผู้ขาย เพ่ือใหเ้ กดิ ประโยชน์สูงสุด กรณี หนั งสื อเรี ยนท่ี คั ดเลื อกมี ความจ าเป็ นต้ องระบุ ชื่ อส านั กพิ มพ์ และช่ื อผู้ แต่ ง เป็นการเฉพาะ ให้ดาเนินการโดยเปิดเผย โปร่งใส และเปิดโอกาสให้มีการแข่งขันกันอย่างเป็นธรรม โดยให้จดั ทาหนังสือแจ้งให้ผูม้ อี าชพี รา้ นค้า สานกั พมิ พ์ เขา้ แข่งขันราคาให้มากท่ีสุดเทา่ ท่จี ะทาได้ เม่ือมผี ู้เสนอ ราคาต่าสดุ แลว้ หากเห็นว่าราคายงั ไม่เหมาะสมใหท้ าการตอ่ รองราคาใหม้ ากท่ีสุดเท่าทีจ่ ะทาได้

12 2.5.2 ให้สถานศึกษาเตรียมดาเนินการหาผู้ขายไว้ให้พร้อม เพ่ือที่จะทาสัญญาได้ทันที เมือ่ ไดร้ ับแจ้งอนุมตั กิ ารโอนเงนิ งบประมาณเขา้ บญั ชเี งนิ ฝากธนาคารของสถานศึกษา 2.5.3 เมื่อได้รับเงินงบประมาณให้ ตรวจสอบจานวนเงินท่ี ได้รับแจ้งการโอนเงิน และจานวนเงินในสมุดคู่ฝากของธนาคารว่ามีจานวนเงินท่ีถูกต้องตรงกัน และออกใบเสร็จรับเงินตามแบบ ของทางราชการ ในนามของสถานศึกษาตามจานวนเงินที่ได้รับส่งสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาเพื่ อรวบรวม ไว้เปน็ หลกั ฐาน 2.5.4 เม่ือดาเนินการจัดซื้อหนังสือเรียนเรียบร้อยแล้วให้สถานศึกษาลงบัญชีวัสดุ หนงั สือเรยี น และให้นกั เรยี นลงชอื่ รบั หนังสอื ไว้เปน็ หลักฐานเพื่อการตรวจสอบ 2.5.5 การจัดซื้อหนังสือเรียนจะต้องดาเนินการด้วยความโปร่งใส สามารถตรวจสอบได้ ท้ังน้ี ได้กาหนดปฏิทนิ การดาเนินงานมาให้ดว้ ยแลว้ 3. ค่าอปุ กรณ์การเรียน 3.1 งบประมาณคา่ อุปกรณก์ ารเรียน ค่าอุปกรณ์การเรียน หมายถึง อุปกรณ์การเรียนท่ีจาเป็นและส่งผลต่อการพัฒนาคุณภาพ ผู้เรียน ได้แก่ สีเทียน สีน้า ดินน้ามันไร้สารพิษ กรรไกรสาหรับเด็กปฐมวัย กระดาษ สมุด ดินสอ ปากกา ยางลบ ไมบ้ รรทัด กระเป๋านกั เรียน ฯลฯ ในอัตราดงั นี้ ระดบั ก่อนประถมศึกษา ๒๐๐ บาท/คน/ปี (ภาคเรียนละ ๑๐๐ บาท/คน) ระดบั ประถมศกึ ษา ๓๙๐ บาท/คน/ปี (ภาคเรยี นละ ๑๙๕ บาท/คน) ระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น ๔๒๐ บาท/คน/ปี (ภาคเรยี นละ ๒๑๐ บาท/คน) ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ๔๖๐ บาท/คน/ปี (ภาคเรยี นละ ๒๓๐ บาท/คน) ระดับ ปวช.๑-๓ ๔๖๐ บาท/คน/ปี (ภาคเรยี นละ ๒๓๐ บาท/คน) ท่ีจดั โดยสถานประกอบการ ท้ังน้ี ผู้ปกครอง/นักเรียนสามารถถัวจ่ายระหว่างอุปกรณ์การเรียนและเครื่องแบบนักเรียนได้ 3.2 แนวทางการจัดซ้ือจดั หาอปุ กรณก์ ารเรยี น 3.2.1 สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน จะโอนงบประมาณคา่ อปุ กรณ์การเรียนให้แก่ หน่วยเบิกจ่าย (สพป. สพม. และโรงเรียนท่ีเป็นหน่วยเบิกจ่าย) เพื่อให้ดาเนินการโอนเงินงบประมาณ ค่าอุปกรณก์ ารเรยี น ซ่งึ เปน็ เงนิ อดุ หนนุ ทั่วไป เข้าบัญชีเงนิ ฝากธนาคารของสถานศึกษาในสงั กดั 3.2.2 สถานศึกษาจ่ายเงินสดให้กับนักเรียน และ/หรือผู้ปกครอง โดยดาเนินการขั้นตอน การจ่ายเงนิ การควบคุม ติดตามและตรวจสอบ ดงั นี้ 1) เม่ือสถานศึกษาได้รับเงินงบประมาณให้ตรวจสอบจานวนเงินที่ ได้รับแจ้ง การโอนเงินและจานวนเงินในบัญชีเงินอุดหนนุ ของสถานศึกษาว่ามีจานวนเงนิ ท่ีถกู ต้องตรงกัน 2) สถานศึกษาออกใบเสร็จรับเงินตามแบบของทางราชการในนามของสถานศึกษา ตามจานวนเงนิ ท่ไี ด้รับส่งสานักงานเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษาเพ่ือรวบรวมไวเ้ ปน็ หลกั ฐาน 3) สถานศึกษาแต่งตั้งผู้จ่ายเงินอย่างน้อย ๒ คน โดยมีครูประจาช้ันร่วมเป็น ผู้จ่ายเงินให้กับนักเรียนและ/หรือผู้ปกครอง โดยลงลายมือช่ือรับเงิน กรณีนักเรียนไม่สามารถลงลายมือชื่อ รับเงินได้ ให้ผู้ปกครองลงลายมือชื่อรับเงินแทนเพ่ือเก็บไว้เป็นหลักฐานการจ่ายเงิน ตามแบบหลักฐาน การจา่ ยเงินตวั อย่างเอกสารหมายเลข ๑ (ตามแบบฟอร์มหนา้ 15)

13 4) สถานศึกษาแจ้งให้นักเรียนและ /หรือผู้ปกครองจัดซ้ือ จัดหาอุปกรณ์การเรียน ได้ตามความต้องการ เช่น จัดซื้อจากร้านค้า ชุมชน ฯลฯ โดยดาเนินการให้ทันก่อนเปิดภาคเรียน สาหรับโรงเรียน ท่ี ห่ างไกลทุ รกันดาร โรงเรียนการศึ กษาพิ เศษ โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์ และศูนย์การศึกษาพิ เศษ ซึ่งผู้ปกครองหาซื้อได้ลาบาก สถานศึกษาสามารถดาเนินการช่ วยเหลืออานวยความสะดวกในการจัดหาได้ โดยความเหน็ ชอบของคณะกรรมการภาคี ๔ ฝ่าย และคณะกรรมการสถานศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน 5) สถานศึกษาติดตามใบเสร็จรับเงินหรือหลักฐานการจัดหาอุปกรณ์ การเรียน จากนกั เรียน หรอื ผู้ปกครอง กรณีไม่มใี บเสร็จให้ใช้แบบหลกั ฐานยนื ยันการจัดหา (กรณไี ม่มีใบเสร็จรับเงินใหใ้ ช้ หลกั ฐานการจัดหาแทน) ตวั อย่างเอกสารหมายเลข 2 (ตามแบบฟอรม์ หน้า 16) 6) สถานศึกษาดูแลให้นักเรียนมีอุปกรณ์ การเรียนจริง หากพบว่านักเรียนไม่มี อุปกรณ์การเรียน โดยนักเรียนหรือผู้ปกครองนาเงินไปใช้จ่ายอย่างอ่ืนท่ีไม่เป็นไปตามวัตถุประสงค์ ผู้ปกครอง จะตอ้ งคืนเงนิ ให้กับทางราชการ 7) นักเรียนและ/หรือผู้ปกครองสามารถใช้จ่ายเงินค่าอุปกรณ์การเรียนตามความต้องการ ให้เหมาะสมกับนักเรียนในแต่ละระดับชั้น โดยส่งผลต่อคุณภาพการเรียน ได้แก่ สีเทียน สีน้า ดินน้ามันไร้สารพิษ กรรไกรสาหรับเด็กปฐมวัย กระดาษ สมุด ดินสอ ปากกา ยางลบ ไม้บรรทัด เคร่ืองมือเรขาคณิต วัสดุฝึกตาม กลุ่มสาระการเรียนรู้ วัสดฝุ กึ อาชีพ วสั ดดุ า้ น ICT กระเปา๋ นักเรยี น ฯลฯ เปน็ ต้น 8) กรณีที่ผู้ปกครองบริจาคค่าอุปกรณ์การเรียนให้แก่สถานศึกษาดาเนินการตามแนวทาง การบริจาคเงินที่ได้รับสิทธิ์อุปกรณ์การเรียน โดยบริจาคเงินท่ีได้รับสิทธิ์ดังกล่าวให้กับโรงเรียนด้วยความสมัครใจ เพื่อให้โรงเรียนนาไปพัฒนาคุณภาพการศึกษาตามวัตถุประสงค์ของผู้บริจาค (ตัวอย่างตามแบบฟอร์มหน้า 24) เพอ่ื นาไปเลอื กซ้อื อปุ กรณ์การเรยี นทีจ่ าเป็นต้องใชใ้ นการเรยี นการสอนได้ 4. ค่าเคร่อื งแบบนกั เรยี น 4.1 งบประมาณคา่ เครื่องแบบนกั เรยี น ค่าเคร่อื งแบบนกั เรียน ประกอบดว้ ย เส้อื กางเกง กระโปรง ในอตั รา ดังนี้ ระดบั ก่อนประถมศกึ ษา ๓๐๐ บาท/คน/ปี ระดับประถมศึกษา ๓๖๐ บาท/คน/ปี ระดับมัธยมศกึ ษาตอนต้น ๔๕๐ บาท/คน/ปี ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ๕๐๐ บาท/คน/ปี ระดบั ปวช. ๑ - ๓ ทจี่ ดั โดยสถานประกอบการ ๙๐๐ บาท/คน/ปี ท้ังน้ี ผู้ปกครอง หรือ นักเรียนสามารถถัวจ่ายระหว่างเครื่องแบบนักเรียนและอุปกรณ์การเรียนได้ กรณนี ักเรยี นมีชุดนกั เรยี นเพียงพอแล้ว สามารถซื้อเขม็ ขัด รองเท้า ถุงเทา้ ชุดลกู เสือ/เนตรนาร/ี ยุวกาชาด/ชดุ กฬี าได้ 4.2 แนวทางการจัดซ้ือจดั หาเครอ่ื งแบบนกั เรยี น 4.2.1 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โอนงบประมาณค่าเคร่ืองแบบนักเรียน ให้แก่หน่วยเบิกจ่าย (สพป. สพม. โรงเรียนท่ีเป็นหน่วยเบิกจ่าย) เพ่ือให้ดาเนินการโอนเงินงบประมาณ ค่าเครื่องแบบนักเรียน ซ่ึงเป็นเงนิ อดุ หนุนทว่ั ไปเข้าบญั ชีเงินอุดหนนุ ของสถานศกึ ษาในสังกัด 4.2.2 สถานศึกษาจา่ ยเงนิ สดให้กับนักเรยี น และ/หรือผ้ปู กครอง

14 4.3 การใชจ้ ่ายเงนิ ค่าเคร่อื งแบบนกั เรียน สถานศึ กษาแจ้งให้ นั กเรียนและ/หรือผู้ ปกครองจัดซื้อ จัดหาเคร่ืองแบบนั กเรียน ได้ตามความต้องการ โดยดาเนินการให้ทันก่อนเปิดภาคเรียน สาหรับโรงเรียนที่ห่างไกล ทุรกันดาร โรงเรียน การศึกษาพิเศษ โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์ และศูนย์การศึกษาพิเศษ ท่ีผู้ปกครองหาซ้ือได้ลาบาก โรงเรียน สามารถดาเนินการช่วยเหลืออานวยความสะดวกในการจัดหาเคร่ืองแบบนักเรียนที่มีคุณภาพให้แก่นักเรียน ได้โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการภาคี ๔ ฝ่าย และคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน การจัดซ้ือ นักเรียนและ/หรอื ผ้ปู กครองสามารถจัดซ้ือได้จาก รา้ นคา้ ชุมชน กล่มุ แมบ่ ้านหรือตดั เยบ็ เอง ฯลฯ กรณีนักเรียนมีเคร่ืองแบบนักเรียนเพียงพอแล้ว นักเรียนและ/หรือผู้ปกครองอาจนาเงิน ที่ได้รับไปจัดซ้ือเข็มขัด รองเท้า ถุงเท้า ชุดลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาด ผู้บาเพ็ญประโยชน์ ชุดกีฬา ชุดฝึกงาน ชุดประจาทอ้ งถ่นิ และอปุ กรณ์การเรยี นที่จาเปน็ ได้ วิธีปฏิบัติในการจ่ายเงินการควบคุม ติดตาม และตรวจสอบให้ปฏิบัติเหมือนกับการจ่าย เงินค่าอปุ กรณ์การเรียน

15 เอกสารหมายเลข ๑ แบบหลกั ฐานการจ่ายเงิน ❏ ค่าเครื่องแบบนกั เรียน ❏ ค่าอปุ กรณ์การเรยี น ภาคเรยี นท่ี…............ ปีการศึกษา…............ ระดับชัน้ ❏อนุบาลปีท่ี….............. ❏ประถมศกึ ษาปที ี่……...................... ❏มธั ยมศกึ ษาปีท…่ี .......... ❏ปวช. ทจี่ ัดโดยสถานประกอบการ…........................ นกั เรยี นจานวนท้ังสน้ิ …………….........คน ไดร้ บั เงินจากโรงเรยี น…........................................................... สังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา…....................................................................ข้าพเจ้าขอรับรองว่าจะนาเงิน ท่ีได้รับไปดาเนินการตามวัตถุประสงค์ของทางราชการหากไม่ดาเนินการดังกล่าวข้าพเจ้ายินยอมชดใช้เงินคืน ใหก้ ับโรงเรยี นต่อไป ท่ี ชื่อ-สกุลนักเรยี น หมายเลข จานวนเงิน วันที่ ลายมือช่ือ หมายเหตุ ประจาตัว รับเงิน ผรู้ บั เงนิ นกั เรยี น ๑๓ หลกั รวมท้ังสิน้ ลงชอ่ื ...................................................ผ้จู า่ ยเงิน ลงช่ือ..................................................ครูประจาช้ัน (..................................................) (..................................................) ตรวจสอบแลว้ ถกู ต้อง ลงชอื่ ...................................................ผอู้ านวยการโรงเรยี น (.................................................)

16 เอกสารหมายเลข ๒ แบบหลักฐานยนื ยันการจดั หา (กรณีไม่มใี บเสรจ็ รับเงิน ใหใ้ ช้หลักฐานการจัดหาแทน) ❏ คา่ เครอื่ งแบบนกั เรียน ❏ คา่ อปุ กรณก์ ารเรยี น ภาคเรียนที่ …............... ปีการศึกษา…………………….... ระดับชนั้ ❏ อนุบาลปที ี่….................. ❏ ประถมศกึ ษาปที ่ี…................. ❏ มัธยมศึกษาปที …ี่ ........... ❏ ปวช. ท่จี ดั โดยสถานประกอบการ…................... นกั เรยี นจานวนท้งั สนิ้ …..................คน ได้รับเงินจากโรงเรยี น….................................................................. สังกัดสานกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษา…..................................................และขอรบั รองวา่ นักเรยี นทุกคน/ผู้ปกครอง ไดน้ าเงินไปดาเนนิ การตามวตั ถปุ ระสงค์ของโครงการสนับสนนุ คา่ ใช้จ่ายในการจัดการศึกษาตง้ั แตร่ ะดบั อนุบาล จนจบ การศึกษาขน้ั พื้นฐานจรงิ ที่ ชอื่ - สกุลนกั เรยี น หมายเลข จานวนเงนิ ลายมือช่ือ หมาย ประจาตัว ผูป้ กครอง/ เหตุ นกั เรยี น เครอื่ งแบบ อปุ กรณ์ รวม นักเรยี น ๑๓ หลกั รวมท้ังสนิ้ ลงชอ่ื ........................................................ ครปู ระจาชัน้ (....................................................) ตรวจสอบแลว้ ถกู ต้อง ลงชื่อ....................................................... ผู้อานวยการโรงเรยี น (....................................................)

17 5. คา่ กิจกรรมพัฒนาคณุ ภาพผู้เรียน 5.1 งบประมาณคา่ กจิ กรรมพฒั นาคุณภาพผ้เู รียน งบประมาณพฒั นากิจกรรมพัฒนาคณุ ภาพผู้เรยี นต่อนักเรยี น ๑ คน ดังน้ี กอ่ นประถมศึกษา ๔๓๐ บาท/คน/ปี (ภาคเรยี นละ ๒๑๕ บาท/คน) ประถมศกึ ษา ๔๘๐ บาท/คน/ปี (ภาคเรยี นละ ๒๔๐ บาท/คน) มัธยมศึกษาตอนต้น ๘๘๐ บาท/คน/ปี (ภาคเรียนละ ๔๔๐ บาท/คน) มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ๙๕๐ บาท/คน/ปี (ภาคเรียนละ ๔๗๕ บาท/คน) ปวช.๑-๓ ทจี่ ัดโดยสถานประกอบการ ๙๕๐ บาท/คน/ปี (ภาคเรียนละ ๔๗๕ บาท/คน) 5.2 แนวทางการดาเนนิ การกิจกรรมพฒั นาคุณภาพผ้เู รยี น การจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ให้โรงเรียนสามารถจัดกิจกรรมให้ครอบคลุม โดยวางแผนดาเนินการในแผนปฏิบัติการประจาปีของสถานศึกษา และสามารถใช้งบประมาณ งบเงินอุดหนุน รายการกิจกรรมพฒั นาคณุ ภาพผ้เู รียนในการดาเนินการตามกิจกรรมดงั กล่าวได้ กจิ กรรมพฒั นาคณุ ภาพผู้เรียน มสี าระสาคญั ดังตอ่ ไปน้ี 5.2.1 กจิ กรรมวชิ าการ เป็นกิจกรรมที่สถานศึกษาจัดเพิ่มเติมนอกจากการเรียนปกติในชั้นเรียน เพ่ือให้ นักเรียนทุกคนได้รับการพัฒนาเต็มตามศักยภาพ ส่งเสริมเด็กเก่งให้มีความเป็นเลิศ และแก้ไขข้อบกพร่อง ของนักเรียนท่ีเรียนอ่อนให้มีศักยภาพสูงข้ึน เน้นกิจกรรมท่ีเสริมสร้างจินตนาการให้โอกาสนักเรียนได้เรียนรู้ ได้แก่ กิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนด้านประชาธิปไตย ท้ังนี้ เพื่อเสริมสร้างสมรรถนะและการเรียนรู้ โด ย พั ฒ น า ค ว า ม ส า ม า ร ถ ด้ า น ก า ร สื่ อ ส า ร ด้ า น ก า ร คิ ด แ ล ะ ก า ร พั ฒ น า ก ร อ บ ค ว า ม คิ ด แ บ บ เปิ ด ก ว้ า ง (Growth Mindset) ด้านการแก้ปัญหา ด้านการใช้เทคโนโลยีและทักษะการเรียนรู้ที่ส่งเสริมการเรียนรู้ ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ และเพ่ือเสริมสร้างทักษะการทางาน การดารงชีพ และทักษะชีวิต โดยตอบสนอง ความสนใจ ความถนัด และความต้องการของผู้เรียนตามความแตกต่างระหว่างบุคคล ฝึกการทางาน ทักษะ ทางอาชีพ ทรัพยส์ ินทางปัญญา อยู่อย่างพอเพียงและมวี ินัยทางการเงิน พัฒนาความสามารถด้านการใช้ทักษะ ชีวิตและสร้างเสริมสมรรถนะทางกาย รวมทั้งการส่งเสริมการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทา โดยกาหนด ใหด้ าเนนิ การกิจกรรมดังกลา่ ว อย่างนอ้ ยปลี ะ ๑ ครั้ง 5.2.2 กจิ กรรมคุณธรรม จรยิ ธรรม /ลกู เสอื /เนตรนาร/ี ยวุ กาชาด/ผูบ้ าเพ็ญประโยชน์ เป็นกิจกรรมท่ีช่วยส่งเสริมให้นักเรียนมีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมที่ดีงาม และคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ เพ่ือเสริมสร้างคุณลักษณะและค่านิยม โดยปลูกฝังค่านิยมและจิตสานึก การทาประโยชน์ต่อสังคมมีจิตสาธารณะและการให้บริการด้านต่าง ๆ ทั้งที่เป็นประโยชน์ต่อตนเอง และต่อสว่ นรวม ปลูกฝังความรักชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ ปลูกฝงั คณุ ธรรม จริยธรรม (มีวินัย ซือ่ สัตย์ สุจริต เสียสละ อดทน มุ่งม่ันในการทางานความกตัญญู) และปลูกฝังความรักความภาคภูมิใจในความเป็นไทย และหวงแหนสมบัติของชาติโดยมสี าระสาคัญดงั ต่อไปนี้ 1) กิจกรรมคุณธรรม จริยธรรม จิตอาสา ได้แก่ ค่ายเด็กดีของชุมชน ค่ายรักษ์โลก ค่ายรักษ์สัตว์ ค่ายยุวชนคนดี ค่ายสันติวิธี กิจกรรมอาสาพัฒนา กิจกรรมอนุรักษ์ธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม กิจกรรมเสริมสร้างคณุ ธรรม จริยธรรม และค่านิยมหลกั 12 ประการ เปน็ ต้น

18 2) ลูกเสือ/เนตรนารี/ยุวกาชาด/ผู้บาเพ็ญประโยชน์ เป็นกิจกรรมภาคปฏิบัติ ในการเรียนลูกเสือ/เนตรนารี/ยุวกาชาด/ผู้บาเพ็ญประโยชน์ โดยให้นักเรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง ฝึกทักษะการจัดการเผชิญสถานการณ์การใช้ชีวิตร่วมกันเป็นหมู่คณะ ได้แก่ การเดินทางไกล การอยู่ค่ายพักแรม การผจญภยั (ไต่เขา ปนี ตน้ ไม้ ฯลฯ) โดยกาหนด ให้มีการดาเนนิ การกจิ กรรมดงั กล่าวอย่างนอ้ ยปลี ะ ๑ คร้งั 5.2.3 กิจกรรมทัศนศึกษา โดยเน้นภูมิศาสตร์และประวัติศาสตร์ของชาติและท้องถิ่น และ/หรือทัศนศึกษา ตามแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ เพื่อสร้างเสริมประสบการณ์ตรงให้กับนักเรียนที่เพ่ิมเติมจากการเรียนในห้องเรียน เพ่ือให้นักเรียนมีความรแู้ ละประสบการณ์อย่างกว้างขวาง โดยกาหนดให้ดาเนินการกิจกรรมดังกล่าวอย่างน้อย ปีละ ๑ ครง้ั 5.2.4 กิจกรรมการบริการเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสาร (ICT) เป็นกิจกรรมการให้บริการ ICT/บริการคอมพิวเตอร์แก่นักเรียนเพ่ิมเติม จากการเรียนคอมพิวเตอร์พื้นฐานตามหลักสูตรปกติ เช่น การให้บริการสืบค้นความรู้ผ่านระบบอินเทอร์เน็ต และการให้บริการคอมพิวเตอร์ในการจัดทาสื่อรายงาน การนาเสนอข้อมูล การออกแบบสร้างสรรค์ ดว้ ยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เป็นตน้ โดยกาหนดให้ดาเนินการกจิ กรรมดงั กลา่ วอยา่ งน้อย ๔๐ ชัว่ โมง/คน/ปี 6. แนวทางการดาเนนิ งานโรงเรยี นการศึกษาพิเศษ ศูนยก์ ารศึกษาพเิ ศษ และโรงเรยี นศึกษาสงเคราะห์ สาหรับโรงเรียนการศึกษาพิเศษ ศูนย์การศึกษาพิเศษ และโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์ ซ่ึงเป็น สถานศกึ ษาทม่ี ลี ักษณะพิเศษจากสถานศึกษาท่ัวไป ได้รับการอนโุ ลมนอกจากแนวทางการดาเนนิ การข้างต้น ดังนี้ 6.1 ค่าเครอื่ งแบบนักเรยี น 6.1.1 โรงเรียนการศึกษาพิเศษและโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์ รับนักเรียนในลักษณะประจา ได้รับการสนับสนุนงบประมาณเงินอุดหนุนเป็นปัจจัยพื้นฐานด้านค่าเครื่องแบบนักเรียน ชุดลูกเสือ ชุดเนตรนารี ชุดลาลอง ถุงเท้านักเรียน รองเท้า นักเรียน เข็มขัด ชุดนักศึกษาวิชาทหาร ตามหนังสือ สานักงบประมาณ ท่ี นร ๐๔๑๐/ ๑๙๓๔ ลงวันที่ ๒๗ สิงหาคม ๒๕๔๕ และจากแนวทางการดาเนินงาน การสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้รับงบประมาณค่าเคร่ืองแบบนักเรียนซึ่งมีลักษณะคล้ายกัน ให้นาไปจัดทากิจกรรมที่พัฒนาคุณภาพนักเรียน หรือซ้ือเข็มขัดรองเท้า ชุดกีฬา ท่ีไม่เพียงพอ เป็นต้น โดยให้โรงเรียนเป็นผู้ดาเนินการแทนผู้ปกครอง โดยมีหลักฐานแสดงความจานงไว้กับผู้อานวยการโรงเรียน ดว้ ยเหตผุ ลผูป้ กครองมีภูมิลาเนาอยู่หา่ งไกลและการคมนาคมลาบาก 6.1.2 โรงเรียนการศึกษาพิเศษและโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์ที่รับนักเรียนประเภทไป – กลับ สามารถดาเนินการตามแนวนโยบายได้ 6.1.3 ศูนย์การศึกษาพิเศษ ให้บริการเด็กพิการต้ังแต่แรกเกิดหรือแรกพบความพิการ ในการฟนื้ ฟแู ละพัฒนาสมรรถภาพ โดยจดั ซื้อเสอ้ื ผา้ หรือเคร่อื งแตง่ กาย (ชดุ ตา่ ง ๆ) ตามความเหมาะสม

19 6.2 ค่าหนงั สอื เรียน โรงเรียนการศึกษาพิเศษ ๔ ประเภท (โรงเรียนโสตศึกษา โรงเรียนบกพร่องทางร่างกาย หรอื สขุ ภาพ โรงเรียนสอนคนตาบอด และโรงเรยี นบกพร่องทางสตปิ ญั ญา) ดาเนินการดังนี้ 6.2.1 โรงเรียนโสตศึกษาและโรงเรยี นบกพร่องทางรา่ งกายหรือสุขภาพ ผลิตหนังสือเรียนเอง ในบางส่วน 6.2.2 โรงเรียนสอนคนตาบอด ไม่สามารถใช้หนังสือเรียนตามปกติให้จัดทาหนังสือ อกั ษรเบรลลไ์ ด้ 6.2.3 โรงเรียนบกพร่องทางสติปัญญา ให้จัดทาแบบเรียนในด้านพัฒนาศักยภาพ และ แบบเสรมิ ประสบการณ์ของเด็กแต่ละบุคคล 6.2.4 ศูนย์การศึกษาพิเศษ เป็นสถานศึกษาที่ให้บริการฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการ ตั้งแต่แรกเกิด หรือแรกพบความพิการ และบริการเด็กพิการประเภทต่าง ๆ ให้จัดทาเอกสารตาม แผน การจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล (Individualized Education Program : IEP) ของเด็กพิการแต่ละบุคคล และแบบเสริมประสบการณ์ รวมทงั้ ผลิตหนังสืออักษรเบรลล์ ช. แนวทางการบรหิ ารงบประมาณ + 1. การจดั สรรงบประมาณ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐานจัดสรรงบประมาณ แผนงานยุทธศาสตร์ สร้างความเสมอภาคทางการศึกษา โครงการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาตั้งแต่ระดับอนุบาลจนจบ การศึกษาข้ันพื้นฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖3 งบเงินอุดหนุน รายการค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน รวม ๕ รายการย่อย ได้แก่ ๑) ค่าจัดการเรียนการสอน (เงินอุดหนุนรายหัว/ปัจจัยพ้ืนฐานสาหรับนักเรียนยากจน /ค่าอาหารนักเรียนประจาพักนอน) ๒) ค่าหนังสือเรียน ๓) ค่าอุปกรณ์การเรียน ๔) ค่าเคร่ืองแบบนักเรียน และ ๕) ค่ากิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน มีข้ันตอนการจัดสรรงบประมาณ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖3 (ภาคเรียนท่ี ๒/๒๕๖2 และภาคเรยี นที่ ๑/๒๕63) รายละเอยี ดตามตาราง ดังน้ี ปีงบประมาณ การจดั สรรงบประมาณ ภาคเรียนท่ี ๒/๒๕๖2 จดั สรรงบประมาณภาคเรยี นละ ๒ ครั้ง ครงั้ ที่ ๑ จดั สรร ร้อยละ ๗๐ ของจานวนนกั เรียนในสงั กดั ทุกคน โดยใช้ขอ้ มูลนักเรยี นรายบคุ คลของภาคเรียนท่ี ๑/๒๕๖2 (ณ วันท่ี ๑๐ มถิ นุ ายน ๒๕๖2) คร้ังที่ ๒ จัดสรรเพม่ิ เตมิ ใหค้ รบ รอ้ ยละ ๑๐๐ ของจานวนนักเรียนทมี่ ีตวั ตน ในสถานศกึ ษา หลงั จากสถานศกึ ษารายงานและยนื ยนั ข้อมูลนกั เรยี น รายบุคคล ของภาคเรียนท่ี ๒/๒๕๖2 (ณ วันท่ี ๑๐ พฤศจิกายน ๒๕๖2)

20 ปงี บประมาณ การจัดสรรงบประมาณ ภาคเรยี นท่ี ๑/๒๕63 จัดสรรงบประมาณภาคเรยี นละ ๒ ครั้ง ครงั้ ท่ี ๑ จัดสรร ร้อยละ ๗๐ ของจานวนนักเรียนเดิมของภาคเรยี นท่ี ๒/๒๕๖2 (ณ วันที่ ๑๐ พฤศจิกายน ๒๕๖2) ท่เี ลื่อนช้นั ไปอีกระดับหนึ่ง เป็น อ.๒ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖ ม.๒ ม.๓ ม.๕ และ ม.๖ สาหรบั นกั เรียนเข้าใหม่ ชนั้ อ.๑ อ.2 ป.๑ ม.๑ และ ม.๔ จัดสรรร้อยละ ๗๐ ของจานวนนักเรยี นช้ัน อ.๑ อ.2 ป.๑ ม.๑ และ ม.๔ เดิม ปีการศึกษา 2๕๖2 คร้งั ท่ี ๒ เม่ือสถานศึกษารายงานและยนื ยันข้อมลู นกั เรยี นรายบุคคล ของภาคเรียนท่ี ๑/๒๕63 (ณ วันที่ ๑๐ มิถุนายน ๒๕63) แล้ว จงึ จดั สรรเพ่มิ เติมให้ครบ ๑๐๐% ของจานวนนกั เรยี นปัจจุบนั **ทงั้ นี้การโอนเงนิ ประจางวด ของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พื้นฐาน เป็นไปตามวงเงินท่ีได้รับอนุมัตจิ ากสานกั งบประมาณ** กรณีสถานศึกษาได้รับจัดสรรงบประมาณเกินจานวนนักเรียนจริง ข้อมูล ณ วันที่ ๑๐ มิถุนายน และวันท่ี ๑๐ พฤศจิกายน (นักเรียนลดลง) ให้สถานศึกษาเก็บเงินงบประมาณไว้สมทบ ในการจัดสรรคร้ังต่อไป ซ่ึงจะหักลบงบประมาณท่ีเกินในภาคเรียนถัดไป สาหรับกรณีนักเรียนย้าย ให้ ส ถ า น ศึ ก ษ า ต้ น ท า ง แ จ้ ง ร าย ล ะ เอี ย ด ร า ย ก าร พ ร้อ ม ห ลั ก ฐ า น ที่ นั ก เรี ย น ได้ รับ จั ด ส ร ร ให้ ส ถ าน ศึ ก ษ า ปลายทางทราบ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน แจ้ งจัดสรรงบประมาณ กิจกรรม การสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ตามโครงการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษา ต้ังแต่ระดับอนุบาลจนจบการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน เป็นรายสถานศึกษาจาแนกตามระดับการศึกษาให้สานักงาน เขตพ้ืนที่การศึกษาทราบและแจ้งให้สถานศึกษาทราบเพื่อเตรียมการจัดซื้อ จัดหา จัดกิจกรรมต่อไป สถานศึกษา สามารถเปิดดูรายละเอียดการจัดสรรได้จากเว็บไซต์สานักนโยบายและแผนการศึกษาขั้นพื้ นฐาน http://plan.bopp-obec.info/ ทง้ั น้ี จะโอนงบประมาณดงั กล่าวให้แกห่ นว่ ยเบิกจ่ายเพื่อดาเนินการโอนงบประมาณ เข้าบัญชีเงินอุดหนุนของสถานศึกษาทุกแห่ง เพ่ือให้สถานศึกษาดาเนินการให้นักเรียนได้รับหนังสือเรียน เคร่ืองแบบนักเรียน และอุปกรณ์การเรยี น สาหรับโรงเรียนที่เป็นหน่วยเบิก สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ได้โอนเงนิ ประจางวดให้เพื่อเบิกจากคลังจงั หวดั

21 2. การกากบั ติดตาม ประเมินผล และรายงาน 2.1 ระดบั สถานศกึ ษา 2.1.1 ให้สถานศึกษาจัดทาแผนปฏิบัติการประจาปี / แผนการใช้จ่ายงบประมาณ ให้สอดคล้องกับงบประมาณท่ีได้รับ ทั้งน้ี แผนปฏิบัติการประจาปีต้องผ่านความเห็นชอบของคณะกรรมการ สถานศึกษาข้ันพื้นฐาน และให้สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษากากับติดตาม ตรวจสอบการใช้งบประมาณ ให้เป็นไปตามแนวทางการดาเนินงานตามโครงการฯ และนโยบาย 2.1.2 สถานศึกษาตอ้ งใชจ้ า่ ยเงินภายในปีงบประมาณ กรณีมีเงินเหลอื อยูใ่ หร้ ีบดาเนนิ การ ให้เสร็จส้ินอย่างช้าภายในปีงบประมาณถัดไป ทั้งน้ี หากสถานศึกษาใช้จ่ายเงินไม่หมดตามระยะเวลา เงินที่เหลือต้องส่งคืนคลังเป็นรายได้แผ่นดิน (ตามหนังสือกระทรวงการคลัง ด่วนที่สุด ที่ กค 0409.6/ว126 ลงวนั ที่ 7 กนั ยายน 2548 เรือ่ ง การเบกิ จ่ายเงนิ งบประมาณงบเงนิ อุดหนุน) 2.1.3 สถานศึกษาแต่งต้ังคณะกรรมการกากับ ติดตาม และประเมินผล ซึ่งประกอบด้วย ผู้แทนคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ครู ผู้ปกครอง นักเรียน เป็นกรรมการกากับ ติดตามและประเมินผล การใช้จ่ายงบประมาณค่าจัดการเรียนการสอน หนังสือเรียน อุปกรณ์การเรียน เครื่องแบบนักเรียน และ กิจกรรมพัฒนาคณุ ภาพผู้เรียน 2.1.4 สถานศึกษารายงานผลการดาเนินงานต่อสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาและ รายงานผา่ นระบบบญั ชกี ารศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน ( National Education Account : NEA ) 2.2 ระดบั สานกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษา สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาแต่งต้ังคณะกรรมการกากับ ติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการดาเนินงานภายในเขตพ้ืนที่การศึกษา และกากบั ติดตาม ตรวจสอบการดาเนินงานของสถานศกึ ษา ให้เป็นไปตามแนวทางการดาเนินงานการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ตามโครงการ สนับสนุนคา่ ใช้จา่ ยในการจัดการศึกษาตัง้ แต่ระดับอนุบาลจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 2.3 ระดบั สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐานแต่งต้ังคณะกรรมการ กากับ ติดตาม และประเมินผลการดาเนินงานการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ตามโครงการสนับสนุน ค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาต้ังแต่ระดับอนุบาลจนจบการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 256 3 ของสานักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษาและสถานศกึ ษา และรายงานผลการดาเนนิ งาน 3. แนวทางการดาเนินงานดา้ นการมสี ว่ นรว่ ม การดาเนินงานการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจดั การศึกษาข้นั พื้นฐาน ตามโครงการสนับสนุน ค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาตั้งแต่ระดับอนุบาลจนจบการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 เน้นการมีส่วนร่วมของประชาชนในการร่วมคิด ร่วมทา ร่วมติดตามประเมินผลและร่วมรับผิดชอบ โดยกลุ่มเป้าหมายในการมีส่วนร่วมประกอบด้วย นักเรียน ผู้ปกครอง คณะกรรมการภาคี ๔ ฝ่าย และคณะกรรมการสถานศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน โดยมีบทบาท ดังนี้ 3.1 นักเรียน นั ก เรี ย น ทุ ก ค น มี บ ท บ า ท ใน ก า ร ร่ ว ม พิ จ า ร ณ า จั ด ซื้ อ จั ด ห า เค รื่ อ งแ บ บ นั ก เรี ย น และอุปกรณ์การเรียนของตน ตามความเหมาะสม โดยเงินท่ีได้รับสามารถถัวจ่ายได้ระหว่าง ๒ รายการ ซ่ึงรับผิดชอบการใช้ การรักษาหนังสือเรียนและอุปกรณ์การเรียนให้คุ้มค่าเกิดประโยชน์สูงสุดต่อการเรียน และรบั ผดิ ชอบในการเข้าร่วมกจิ กรรมพฒั นาคุณภาพผู้เรียน

22 3.2 ผู้ปกครอง ผปู้ กครองทกุ คนรับผิดชอบจัดหาเครอ่ื งแบบนักเรยี นและอุปกรณก์ ารเรยี นให้กบั นกั เรียน ในปกครองของตนให้เพียงพอ โดยเงินที่ได้รับสามารถถัวจ่ายได้ระหว่าง ๒ รายการ สรา้ งความตระหนักและปลูกฝัง นิสยั ให้นักเรียน ใช้หนังสือเรียนและอปุ กรณ์การเรียนใหค้ ุ้มค่าเกิดประโยชน์สูงสุด สง่ เสริมสนับสนุนให้นกั เรียน เขา้ รว่ มกิจกรรม พฒั นาคุณภาพผเู้ รยี น 3.3 คณะกรรมการภาคี ๔ ฝา่ ย ซึ่งประกอบดว้ ย ๑) ผแู้ ทนครู ๒) ผแู้ ทนผูป้ กครอง ๓) ผู้แทนชุมชน และ ๔) ผูแ้ ทนนกั เรียน มบี ทบาทหนา้ ท่ี ดังนี้ 3.3.1 รว่ มพิจารณาให้ความเห็นชอบในการคัดเลือกหนงั สือเรยี น 3.3.2 ร่วมกาหนดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้สอดคล้องกับความต้องการ นักเรียนและสถานศกึ ษา 3.3.3 ให้ความเห็นชอบในการใช้เงินท่ีเหลือจากการดาเนินการจัดซ้ือหนังสือเรียน และเงินกจิ กรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรยี นของสถานศกึ ษา 3.3.4 ร่วมให้ความคิดเห็นในการประเมินผลเพื่อพัฒนาแนวทางการดาเนินงาน ในเร่อื งจัดซือ้ หนงั สือเรียนและเงนิ กจิ กรรมพัฒนาคุณภาพผเู้ รยี น คณะกรรมการสถานศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน คณะกรรมการภาคี 4 ฝ่าย กรณีสถานศึกษาทมี่ ีนกั เรยี น กรณีสถานศกึ ษาที่มีนักเรียน ไม่เกนิ ๓๐๐ คน ตั้งแต่ ๓๐๑ คนข้นึ ไป ประกอบด้วย ประกอบดว้ ย ๑. ผแู้ ทนครู ไมน่ อ้ ยกวา่ ๑ คน 1. ผแู้ ทนครู ไมน่ อ้ ยกว่า ๒ คน ๒. ผ้แู ทนผปู้ กครอง ไมน่ อ้ ยกวา่ ๑ คน ๒. ผู้แทนผูป้ กครอง ไมน่ ้อยกวา่ ๒ คน ๓. ผแู้ ทนชุมชน ไมน่ ้อยกว่า ๑ คน ๓. ผู้แทนชุมชน ไมน่ อ้ ยกวา่ ๒ คน ๔. ผ้แู ทนนักเรยี น ไม่น้อยกว่า ๑ คน ๔. ผแู้ ทนนักเรียน ไม่น้อยกวา่ ๒ คน รวม ไม่นอ้ ยกว่า ๔ คน รวม ไม่น้อยกว่า ๘ คน สถานศกึ ษาจดั ทาประกาศรายชอ่ื คณะกรรมการภาคี 4 ฝ่าย เป็นรายปีแจ้งให้ผ้ปู กครองทราบท่วั กนั พร้อมระบุอานาจหน้าท่ี

23 3.4 คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน มีบทบาทและหนา้ ที่ ดังน้ี 3.4.1 ให้ความเห็นชอบในการคดั เลอื กหนังสอื เรียน 3.4.2 ให้ความเห็นชอบในการกาหนดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้สอดคล้อง กับความตอ้ งการของนกั เรียนและสถานศึกษา ของสถานศกึ ษา 3.4.3 ให้ความเห็นชอบในการใช้เงินที่เหลือจากการดาเนินการจัดซื้อหนังสือเรียน กรณีงบประมาณที่เหลือจากการจัดซื้อหนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้ นฐาน รายวิชาพ้ืนฐานให้แก่นักเรียนทุกคนแล้ว สามารถนาไปจัดซ้ือหนังสือเรียนสาระการเรียนรู้เพ่ิมเติม รายวิชาเพิ่มเติมท่ีสอดคล้องกับหลักสูตรสถานศึกษา หรอื จดั ทาสาเนาเอกสารประกอบการเรียนการสอน ได้แก่ ใบงาน ใบความรู้ เป็นต้น และเงินที่เหลือจากกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน โดยผ่านความเห็นชอบร่วมกัน ของคณะกรรมการภาคี ๔ ฝ่าย และคณะกรรมการสถานศึกษาข้นั พ้ืนฐาน 3.4.4 สังเกตการณ์ในการจัดซ้ือและตรวจรับหนังสือเรียนให้เป็นไปด้วยความโปร่งใส สามารถตรวจสอบได้ในทุกขั้นตอน 3.4.5 ร่วมใหค้ วามคิดเหน็ ในการประเมินผลการดาเนนิ งานการสนับสนุค่าใช้จา่ ยในการจัด การศึกษาข้ันพ้ืนฐานอย่างมีประสิทธิภาพ เกิดประโยชน์สูงสุดต่อการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน และนาไปใช้เพ่ือพัฒนา แนวทางการดาเนนิ งานตอ่ ไป ตารางแสดงการมสี ่วนรว่ ม ผมู้ ีส่วนได้สว่ นเสยี ร่วมคดิ รว่ มทา ร่วมติดตาม ร่วมรบั ผิดชอบ ประเมินผล   ๑. นักเรียน     ๒. ผปู้ กครอง     ภาค ๓. คณะกรรมการภาคี  -   ประชาชน ๔ ฝา่ ย   ๔. คณะกรรมการ    สถานศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน  ๑. สถานศกึ ษา  ภาคราชการ ๒. สพป./สพม. - 3. สพฐ. - 4. บรจิ าคเงินทไ่ี ดร้ บั สทิ ธคิ์ ่าเครื่องแบบนกั เรียน/ค่าอปุ กรณ์การเรียน กรณีท่ีผู้ปกครองและนักเรียนได้รับสิทธิ์ค่าเคร่ืองแบบนักเรียน และค่าอุปกรณ์การเรียนแล้ว มีความประสงค์ท่ีจะบริจาคเงินท่ีได้รับสิทธิ์ดังกล่าวให้กับโรงเรียนด้วยความสมัครใจ เพื่อให้โรงเรียนนาไป พฒั นาคณุ ภาพการศึกษาตามวัตถุประสงค์ของโรงเรียน ท้ังนี้ สามารถทาไดโ้ ดยทาใบสาคัญรบั เงินจากโรงเรียน และนาเงินบริจาคให้กับโรงเรียนในเอกสารฉบับเดียวกัน ตามแบบใบแสดงเจตจานงบริจาคค่าเครื่องแบบ นักเรียน/ค่าอปุ กรณ์การเรียน ตัวอยา่ งแนวทางการบริจาคเงินฯ (ตามแบบฟอรม์ หน้า 24)

24 แนวทางการบรจิ าคเงินท่ีได้รับสิทธ์ิค่าเครือ่ งแบบนกั เรียน / ค่าอุปกรณ์การเรยี น ........................................ ใบแสดงเจตจานงบรจิ าคคา่ เครือ่ งแบบนักเรยี น/ค่าอุปกรณก์ ารเรียน โรงเรียน........................................................... สพป./สพม...................................................... วันท่ี.................เดือน......................................พ.ศ. ...................... ข้าพเจ้า (นาย/นางนางสาว)..................................................................................................... ........ อยู่บ้านเลขที่...................ถนน..................................... ..................แขวง/ตาบล....................................................... อาเภอ/เขต..............................................จังหวัด..................................................รหัสไปรษณีย์. ............................. ผู้ปกครองนักเรียนชื่อ (ด.ช./ด.ญ./นาย/นางสาว)................................................................................................ หมายเลขประจาตัวนักเรียน (๑๓ หลกั ).................................................. ระดบั ชัน้ ...................ปกี ารศึกษา ๒๕๖3 มีความประสงค์ท่ีจะบริจาคเงินที่ได้รับสิทธิ์การสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาข้ันพื้นฐาน ตามโครงการขยายโอกาสการเขา้ ถึงบริการทางการศึกษาและการเรยี นร้ตู ลอดชวี ิตอย่างทวั่ ถึงและมคี ณุ ภาพทีเ่ ปน็ สทิ ธ์ิ ของขา้ พเจ้าดว้ ยความสมัครใจใหแ้ ก่โรงเรยี น ในรายการ ดังนี้  ค่าเคร่อื งแบบนักเรยี น จานวน.................................................บาท  ค่าอปุ กรณก์ ารเรยี น จานวน.................................................บาท รวมจานวนเงินทัง้ สน้ิ ..................................บาท(............................................................) เพ่ือใหโ้ รงเรยี นนาไปดาเนนิ การ ดังน้ี  พัฒนาคณุ ภาพการศึกษา  จดั หาวัสดุ อุปกรณก์ ารศึกษา  ปรบั ปรงุ ซอ่ มแซม จดั หาหรอื จดั สร้างอาคารเพื่อประโยชนท์ างการศึกษา ลงชือ่ .......................................................ผบู้ ริจาค ลงช่อื .................................................ผูร้ ับเงินบริจาค (..................................................) (................................................) หมายเหตุ โรงเรยี นออกใบเสรจ็ รับเงินของสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน เลม่ ท่.ี ............เลขที่.............ลงวันที่………………….............….. ให้กบั ผู้บรจิ าคแล้ว

25 5. ปฏิทนิ การดาเนนิ งาน เพอ่ื ให้การดาเนินงานสาเร็จลุล่วงตามวตั ถุประสงค์ที่ตั้งไว้ สานักงานคณะกรรมการการศึกษา ขน้ั พน้ื ฐานจงึ กาหนดปฏิทินการดาเนนิ งาน ดังน้ี ปฏทิ นิ การดาเนนิ งานการสนบั สนนุ ค่าใชจ้ า่ ยในการจดั การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน โครงการสนับสนุนคา่ ใชจ้ า่ ยในการจดั การศึกษาตงั้ แตร่ ะดบั อนุบาลจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ที่ รายการ วัน/เดือน/ปี ๑ สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐานกาหนด เดือนธนั วาคม 2562 หลกั การ และแนวทางการดาเนินงานตามโครงการฯ และ นโยบาย ๒ สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐานประกาศบัญชี รอบที่ 1 วนั ท่ี 31 มกราคม 2563 รายชือ่ หนงั สอื ลงในบญั ชีกาหนดส่อื การเรยี นรู้สาหรับใชใ้ น รอบที่ 2 วนั ท่ี 28 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 สถานศกึ ษา ๒.๑ หนังสือเรียนท่มี อี ยู่ (ชน้ั ป.๑ – ชั้น ม.๖) ๒.๒ หนงั สอื เรยี นทไี่ ด้รับอนุญาตเพ่มิ เติม (ชนั้ ป.๑ – ชั้น ม.๖) 3 สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน/สานักงาน เดอื นกุมภาพนั ธ์ 2563 เขตพนื้ ท่กี ารศึกษา/สถานศึกษาช้แี จงและประชาสมั พนั ธ์ การดาเนินงานโครงการ ภาคเรยี นที่ 2/2562 ภายในเดอื นมกราคม 2563 4 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พนื้ ฐานจดั สรร ภาคเรียนท่ี 1/2563 งบประมาณใหแ้ ก่ สพป. สพม. และโรงเรยี นที่เป็นหนว่ ย ภายในเดอื นมีนาคม 2563 เบิกจา่ ย เพื่อโอนงบประมาณดงั กล่าว ใหแ้ ก่สถานศึกษา เดือนกุมภาพนั ธ์–พฤษภาคม 2563 ในสังกัด ภายในวันท่ี 2 มีนาคม 2563 ๕ สถานศึกษารณรงค์การบริจาคเงินที่ไดร้ บั สิทธิ์ค่าเครือ่ งแบบ ภายในวนั ท่ี 20 เมษายน 2563 นักเรยี น / คา่ อุปกรณ์การเรียน ภายในวนั ท่ี 18 พฤษภาคม 2563 ๖ สถานศึกษาจดั ซื้อหนงั สือเรียน/สง่ ของ/ตรวจรบั ตามโครงการฯ และนโยบาย ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 6.1 ให้สถานศึกษาดาเนินการจัดซ้ือ 6.2 ใหร้ า้ นค้าส่งหนังสอื เรยี นถงึ สถานศึกษาเพื่อใหน้ กั เรียน มหี นังสือใชโ้ ดยพร้อมเพรียงกนั ก่อนเปดิ ภาคเรียน 7 สถานศึกษาจัดหนงั สือใหน้ กั เรยี นทุกคนทนั ก่อนเปิด ภาคเรยี นท่ี 1 ของปีการศึกษา 2563

26 ท่ี รายการ วนั /เดอื น/ปี ๘ สถานศึกษาจา่ ยเงนิ คา่ เคร่ืองแบบนักเรียน/อุปกรณ์ - ภาคเรยี นที่ 2/2562 ภายในเดือนพฤศจกิ ายน 2562 การเรยี นให้กบั นักเรียนหรอื ผู้ปกครองใหท้ นั ภายใน - ภาคเรียนที่ 1/2563 วนั เปดิ ภาคเรียน ภายในเดอื นพฤษภาคม 2563 ต้ังแต่เดือนมกราคม 2563 เปน็ ต้นไป ๙ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สานักงาน เขตพน้ื ทกี่ ารศึกษาและสถานศึกษาดาเนินการกากบั ครง้ั ท่ี ๑ ภายในวนั ท่ี ๑๕ ธันวาคม 2562 ตดิ ตาม ประเมนิ ผลและรายงานผลให้เปน็ ไปตามโครงการฯ ครง้ั ที่ ๒ ภายในวนั ที่ ๑๕ มิถุนายน 2563 และนโยบาย คร้งั ท่ี ๑ ขอ้ มลู ณ วันท่ี ๑๐ พฤศจิกายน 2562 ๑๐ สถานศึกษารายงานยอดการบริจาคเงนิ ที่ได้รับสิทธิ์ ภายในวนั ที่ 10 พฤศจิกายน 2562 ค่าเคร่ืองแบบนักเรียน / คา่ อุปกรณก์ ารเรียน ใหส้ านักงาน ครั้งท่ี ๒ ข้อมูล ณ วนั ท่ี ๑๐ มถิ นุ ายน 2563 เขตพน้ื ที่การศึกษา เพ่ือรายงานสานกั งานคณะกรรมการ ภายในวันที่ 10 มิถุนายน 2563 การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน โดยใช้แบบฟอร์มการบริจาค หนา้ 23 จาก http://www.bopp-obec.info 11 สถานศึกษารายงานข้อมูลจานวนนกั เรียน พรอ้ มทั้งยนื ยัน จานวนนกั เรียนในระบบขอ้ มูลนกั เรยี นรายบคุ คล (Data Management Center : DMC) 1๒ สถานศึกษารายงานผลการดาเนินงานโครงการสนบั สนุน ครัง้ ที่ ๑ ภายในเดือนเมษายน 2563 ค่าใชจ้ า่ ยในการจัดการศึกษาตง้ั แต่ระดบั อนบุ าลจนจบ ครง้ั ท่ี ๒ ภายในเดือนตุลาคม 2563 การศึกษาข้ันพ้นื ฐาน ต่อสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ซ. ประโยชน์ท่คี าดว่าจะได้รบั 1. นักเรียนได้รับโอกาสการเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพและลดความเหลื่อมล้าทางการศึกษา โดยการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐานตามโครงการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษา ต้งั แตร่ ะดับอนุบาลจนจบการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน 2. นกั เรยี นมีความรู้ ความสามารถ ทักษะ คุณลักษณะอนั พึงประสงค์และสมรรถนะตามหลกั สูตร แกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 รับผิดชอบต่อครอบครัว สังคม ประเทศชาติ และเป็นพลเมอื งดีของโลก 3. นักเรียน ผู้ปกครอง ครู คณะกรรมการภาคี ๔ ฝ่าย และคณะกรรมการสถานศึกษา ข้ันพื้นฐาน มีส่วนร่วมในการดาเนินงานตามโครงการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาตั้งแต่ระดับ อนุบาลจนจบการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐานของสถานศึกษาใหบ้ รรลวุ ตั ถุประสงค์ของโครงการ 4. ผู้ปกครองมีความพึงพอใจที่ได้รับการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ตามโครงการสนบั สนนุ คา่ ใชจ้ า่ ยในการจดั การศกึ ษาตัง้ แต่ระดับอนบุ าลจนจบการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน

27 5. ผู้ปกครองนักเรยี นสามารถลดค่าใช้จ่าย ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 แยกตามประเภทโรงเรียน ดังน้ี 5.1 โรงเรียนปกติ ชัน้ ภาคเรยี นท่ี ๒/๒๕62 ภาคเรียนที่ ๑/๒๕63 รวมงบประมาณ อ.๑ - อ.3 ๑,๑๖๕ บาท ๑,๖๖๕ บาท ๒,๘๓๐ บาท ป.๑ - ป.๖ นร.ทว่ั ไป ๑,๓๘๕ บาท ๒,๓70 บาท - ๒,๕๖๓ บาท ๓,755 – ๓,๙๔๘ บาท ป.๑ - ป.๖ นร.ยากจน ๑,๘๘๕ บาท 3,3๐๖ บาท - ๓,5๖๓ บาท 5,1๙๑ – ๔,๙๔๘ บาท ม.๑ - ม.๓ นร.ทว่ั ไป ๒,๔๐๐ บาท ๓,๕๕๐ บาท - ๓,806 บาท ๕,๙๕๐ – ๖,206 บาท ม.๑ - ม.๓ นร.ยากจน ๓,๙๐๐ บาท ๕,๐๐๐ บาท - ๕,๒๙๙ บาท ๘,๙๐๐ – ๙,๑๙๙ บาท ม.๔ - ม.๖ ๒,๖๐๕ บาท ๔,๓๖๒ บาท - ๔,๒๑4 บาท ๖,๙๖๗ – ๖,๘๑๙ บาท 5.2 โรงเรียนศกึ ษาสงเคราะห์ ชน้ั ภาคเรียนท่ี ๒/๒๕62 ภาคเรยี นท่ี ๑/๒๕63 รวมงบประมาณ อ.๑ - อ.3 นักเรยี นประจา 15,615 บาท 16,115 บาท 31,730 บาท อ.๑ - อ.3 นกั เรยี นไป-กลบั ๔,77๕ บาท 5,275 บาท 10,050 บาท ป.๑ - ป.๖ นกั เรยี นประจา ๑5,835 บาท ๑6,7๕๖ บาท - ๑7,0๑๓ บาท 32,591 - 32,848 บาท ป.๑ - ป.๖ นกั เรยี นไป-กลับ ๔,99๕ บาท ๕,916 บาท - 6,173 บาท 10,911 - 11,168 บาท ม.๑ - ม.๓ นักเรยี นประจา ๑6,7๕๐ บาท 17,905 บาท - ๑8,156 บาท 34,655 - 34,906 บาท ม.๑ - ม.๓ นกั เรยี นไป-กลบั ๕,70๐ บาท ๖,855 บาท - 7,099 บาท 12,555 - 12,799 บาท ม.๔ - ม.๖ นักเรยี นประจา ๑6,9๕๕ บาท 18,712 บาท - 18,564 บาท 35,667 - 35,519 บาท ม.๔ - ม.๖ นกั เรียนไป-กลบั ๕,905 บาท ๗,662 บาท - 7,514 บาท 13,567 - 13,419 บาท 5.3 โรงเรยี นการศึกษาพเิ ศษ ชน้ั ภาคเรยี นที่ ๒/๒๕62 ภาคเรยี นท่ี ๑/๒๕63 รวมงบประมาณ อ.๑ - อ.3 นักเรียนประจา 15,825 บาท ๑6,325 บาท ๓๒,๑๕๐ บาท อ.๑ - อ.3 นกั เรยี นไป-กลบั ๔,77๕ บาท 5,2๗๕ บาท ๑๐,๐๕๐ บาท ป.๑ - ป.๖ นักเรยี นประจา ๑6,045 บาท ๑6,9๖๖ บาท - ๑7,2๒๓ บาท ๓๓,๐๑๑ – ๓๓,๒๖๘ บาท ป.๑ - ป.๖ นักเรยี นไป-กลับ ๔,99๕ บาท ๕,916 บาท - 6,173 บาท ๑๐,๙๑๑ – ๑๑,๑๖๘ บาท ม.๑ - ม.๓ นกั เรียนประจา ๑6,9๕๐ บาท 8,105 บาท - ๑8,356 บาท ๓๕,๐๕๕ – ๓๕,306 บาท ม.๑ - ม.๓ นักเรยี นไป-กลับ ๕,900 บาท 7,0๕5 บาท - 7,299 บาท ๑๒,๙๕๕ – ๑๓,๑๙๙ บาท ม.๔ - ม.๖ นกั เรยี นประจา ๑6,9๕๕ บาท ๑8,7๑๒ บาท - ๑8,5๖4 บาท 35,667– 35,519 บาท ม.๔ - ม.๖ นักเรยี นไป-กลบั 6,105 บาท ๗,86๒ บาท - ๗,714 บาท 13,967 – 13,819 บาท 5.4 ศูนย์การศกึ ษาพเิ ศษ ชัน้ ภาคเรียนที่ ๒/๒๕62 ภาคเรียนท่ี ๑/๒๕63 รวมงบประมาณ เดก็ ท่ีมารับบริการทศ่ี ูนย์ฯ 14,315 บาท 14,815 บาท 29,130 บาท 3,785 บาท 7,730 บาท นักเรยี นประจา 3,945 บาท นกั เรียนไป-กลบั

28 5.5 การจดั การศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐานโดยครอบครัว/สถานประกอบการ ชั้น ภาคเรียนที่ ๒/๒๕62 ภาคเรยี นที่ ๑/๒๕63 รวมงบประมาณ อ.๑ - อ.3 ๓,๙๑๑ บาท ๔,๔๑๑ บาท ๘,๓๒๒ บาท ๙,๑๕๓ – ๙,๔๑๐ บาท ป.๑ - ป.๖ ๔,๑๑๖ บาท ๕,๐๓๗ บาท - ๕,๒๙๔ บาท ๑๒,๗๒๖ – ๑๒,๙๗๕ บาท ๑๓,๗๗๓ – ๑๓,๖๒๕ บาท ม.๑ - ม.๓ ๕,๗๘๘ บาท ๖,๙๓๘ บาท - ๗,๑๘๗ บาท ๑๖,๐๔๖ บาท ม.๔ - ม.๖ ๖,๐๐๘ บาท ๗,๗๖๕ บาท - ๗,๖๑7 บาท ปวช.๑ - ๓ (สถาน ๖,๕๗๓ บาท ๙,๔๗๓ บาท ประกอบการ) หมายเหตุ สาหรบั รายละเอียดดจู ากภาคผนวก หน้า 29

29 ภาคผนวก

30 แนวทางการบริหารจดั การงบประมาณ รายการคา่ จัดการเรยี นการสอน (เงินอดุ หนุนรายหวั ) ก. หลักการ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ หมวด ๕ มาตรา ๕๔ ได้บัญญัติไว้ว่า “รัฐต้องดาเนินการให้เด็กทุกคนได้รับการศึกษาเป็นเวลาสิบสองปี ต้ังแต่ก่อนวัยเรียนจนจบการศึกษา ภาคบังคับอย่างมีคุณภาพโดยไม่เก็บค่าใชจ้ ่าย” และคาสั่งหัวหน้าคณะรกั ษาความสงบแห่งชาติ ที่ 28/2559 เรื่อง ให้จัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน 15 ปี โดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย ข้อ 2 ให้ส่วนราชการท่ีเก่ียวข้องตามท่ี คณะรัฐมนตรีกาหนดเตรียมการเพื่อจัดให้เด็กเล็กก่อนวัยเรียนได้รับการดูแล และพัฒนาทางร่างกาย จิตใจ วินัย อารมณ์ สังคม และสติปัญญาโดยส่งเสริมและสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินและภาคเอกชน เข้ามีส่วนร่วมในการดาเนินการ ข้อ 3 ให้ส่วนราชการที่เก่ียวข้องกับการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานดาเนินการ จัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน 15 ปี ให้มีมาตรฐานและคุณภาพโดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย และรัฐจัดสรรงบประมาณ แผ่นดินให้กับการศึกษาในฐานะท่ีมีความสาคัญสูงสุดต่อการพัฒนาที่ยั่งยืนของประเทศ จึงเป็นหน้าที่ของ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐานที่จะต้องดาเนินการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานตามข้อบัญญัติ ดงั กล่าว ข. วตั ถปุ ระสงค์ เพื่อให้การจัดสรรงบประมาณ งบเงินอุดหนุน ประเภทเงินอุดหนุนท่ัวไป เงินอุดหนุน ค่าใช้จ่าย ในการจัดการศึกษาข้ันพื้นฐาน รายการค่าจัดการเรียนการสอน (เงินอุดหนุนรายหัว) แก่สถานศึกษาในการจัด การเรียนการสอนให้ได้ประโยชน์สูงสุดในการพัฒนานักเรียนคุณภาพผู้เรียน ให้เป็นไปตามเจตนารมณ์ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพุทธศักราช ๒๕๔๒ และท่ีแกไ้ ข เพิ่มเติม (ฉบบั ท่ี 4) พุทธศักราช ๒๕62 ค. แนวทางการใช้งบประมาณ เพ่ือให้การใช้จ่ายงบประมาณงบเงินอุดหนุน ประเภทเงินอุดหนุนทั่วไป เงินอุดหนุนค่าใช้จ่าย ในการจดั การศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน รายการค่าจดั การเรียนการสอน (เงินอดุ หนุนรายหวั ) เกดิ ประโยชนต์ อ่ การเรียน การสอนได้มากทีส่ ดุ จงึ กาหนดแนวปฏิบัติ ดงั น้ี 1. ให้สถานศึกษาจัดทาแผนปฏิบัติการประจาปีของสถานศึกษาที่สอดคล้องกับภารกิจของ สถานศึกษานโยบายและจดุ เน้นของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน 2. นาเสนอแผนปฏิบัติการประจาปีของสถานศึกษา เพ่ือให้คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน เห็นชอบ 3. รายงานผลการดาเนินงานของสถานศึกษาใหส้ าธารณชนไดร้ บั ทราบ 4. การใช้จ่ายงบประมาณต้องสอดคลอ้ งกับแผนปฏิบตั กิ ารประจาปีของสถานศกึ ษา 5. การเบิกจ่ายงบประมาณ งบเงินอุดหนุน ประเภทเงินอุดหนุนท่ัวไป ให้ถือปฏิบัติ ตามหนังสือ กระทรวงการคลัง ด่วนที่สุด ที่ กค 0409.6/ว 126 ลงวันท่ี 7 กันยายน 2548 เรื่อง การเบิกจ่ายเงินงบประมาณ งบเงินอุดหนนุ

31 ง. ลกั ษณะการใช้งบประมาณ การใช้งบประมาณงบเงินอุดหนุน ประเภทเงินอุดหนุนท่ัวไป เงินอุดหนุน ค่าใช้จ่ายในการจัด การศึกษาข้ันพื้นฐาน รายการค่าจัดการเรียนการสอน (เงินอุดหนุนรายหัว) ให้ปฏิบัติตามระเบียบของ ทางราชการทเ่ี ก่ยี วข้อง โดยสามารถใช้ในลักษณะ ๓ ประเภทงบรายจา่ ย ดังนี้ 1. งบบคุ ลากร คา่ จ้างชว่ั คราว เชน่ จา้ งครูอตั ราจา้ งรายเดือน พนักงานขบั รถ นักการภารโรง เปน็ ตน้ 2. งบดาเนินงาน 2.1 คา่ ตอบแทน เช่น ค่าตอบแทนวิทยากร คา่ ตอบแทนวิทยากรวิชาชพี ท้องถ่ิน เป็นตน้ 2.2 ค่าใช้สอย เช่น ค่าเบ้ียเลี้ยง ค่าเช่าที่พัก ค่าพาหนะ ค่าจ้างซ่อมแซม ค่าจ้างเหมาบริการ ค่าพาหนะพานกั เรียนไปทศั นศกึ ษาแหลง่ เรียนรู้ เป็นต้น 2.3 ค่าวัสดุ เช่น ค่าวัสดุการศึกษา ค่าเคร่ืองเขียน ค่าวัสดุ เวชภัณฑ์ ค่าซ่อมแซมบารุงรักษา ทรพั ย์สิน เปน็ ตน้ 2.4 คา่ สาธารณปู โภค เช่น ค่านา้ คา่ ไฟฟ้า ค่าโทรศัพท์ เปน็ ต้น 3. งบลงทนุ 3.1 ค่าครุภณั ฑ์ เชน่ จัดซอ้ื อุปกรณ์คอมพวิ เตอร์ เครื่องถา่ ยเอกสาร 3.2 ค่าท่ีดินและส่ิงก่อสร้าง รายจ่ายเพื่อประกอบดัดแปลง ต่อเติม หรือปรับปรุงที่ดิน และ/หรือส่งิ กอ่ สรา้ ง เช่น คา่ จัดสวนค่าถมดิน ถนน สะพาน บ่อน้า ฯลฯ ทั้งน้ี กรณีงบลงทุนและงบดาเนินงาน สามารถดาเนินการได้เพ่ิมเติมตามหนังสือของสานัก งบประมาณ ด่วนที่สุด ท่ี นร ๐๗๐๒/ว ๕๑ ลงวันท่ี ๒๐ มกราคม ๒๕๔๘ เร่ือง หลักการจาแนกประเภท รายจ่าย ตามงบประมาณตามหนังสือสานักงบประมาณที่ นร ๐๗๐๔/ว ๓๓ ลงวันท่ี ๑๘ มกราคม ๒๕๕๓ เรอ่ื ง การปรบั ปรงุ หลักการจาแนกประเภทรายจา่ ยตามงบประมาณ และด่วนทส่ี ุด ที่ นร ๐๗๐4/ว 68 ลงวันที่ ๒9 เมษายน ๒๕5๘เรื่อง การปรบั ปรุงหลกั การจาแนกประเภทรายจ่ายตามงบประมาณ

32 แนวทางการบริหารจัดการงบประมาณ รายการคา่ จดั การเรียนการสอน (เงนิ อดุ หนนุ ปจั จยั พื้นฐานสาหรับนักเรียนยากจน) ก. หลกั การ งบประมาณงบเงินอุดหนุน ประเภทเงินอุดหนุนท่ัวไป เงินอุดหนุน ค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษา ขั้นพ้ืนฐาน รายการค่าจัดการเรียนการสอน รายการ เงินอุดหนุนปัจจัยพื้นฐานสาหรับนักเรียนยากจน คือ เงินงบประมาณท่ีจัดสรรให้แก่สถานศึกษาที่มีนักเรียนยากจน เพื่อจัดหาปัจจัยพ้ืนฐานท่ีจาเป็นต่อ การดารงชวี ิตและเพิ่มโอกาสทางการศึกษา เปน็ การช่วยเหลือนักเรียนที่ยากจนในระดับชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๑ ถงึ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๓ ใหม้ ีโอกาสไดร้ ับการศึกษาในระดับทส่ี ูงขน้ึ นกั เรยี นยากจน หมายถึง นักเรียนยากจนที่มีรายไดเ้ ฉล่ียต่อครัวเรือนไม่เกนิ 3,000 บาท/เดือน และผ่านเกณฑ์ระบบการคัดกรองปจั จัยพ้ืนฐานนักเรยี นยากจนที่สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กาหนด ข. วตั ถุประสงค์ เพื่อให้สถานศึกษาสามารถบริหารจัดการ เงินอุดหนุนปัจจัยพื้นฐานสาหรับนักเรียนยากจน เปน็ ไปอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ นกั เรียนกลุ่มเป้าหมายได้รับประโยชน์ ส่งผลในการพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา ค. เกณฑก์ ารพจิ ารณาจดั สรร จัดสรรให้นักเรียนที่ยากจนในชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๑ ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี ๓ ของสถานศึกษา สังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ยกเว้นสถานศึกษาสังกัดสานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ โดยมีเกณฑใ์ นการพจิ ารณา ดังน้ี ๑. นกั เรียนยากจน ให้พิจารณาคัดกรองจากนกั เรยี น ดังนี้ 1.1 เบ้อื งตน้ ใหพ้ จิ ารณาจากครอบครวั ที่มรี ายไดเ้ ฉล่ียต่อเดือนไม่เกนิ 3,000 บาท 1.2 เมื่อผ่านเกณฑ์การพิจารณา ข้อ ๑.๑ แล้ว จะพิจารณาเกณฑ์สถานะครัวเรือนเพ่ือจัด ระดบั ความยากจน ดังน้ี 1.2.1 ครอบครัวมีภาระพึ่งพิง ได้แก่ ในครอบครัวมีคนพิการหรือผู้สูงอายุเกิน 60 ปี หรอื มคี นอายุ 15 - 65 ปี วา่ งงาน (ท่ีไม่ใช่นกั เรียน/นักศึกษา) หรอื เปน็ พอ่ แม่เล้ียงเดยี่ ว 1.2.2 สภาพที่อยู่อาศัย สภาพบ้านชารุดทรุดโทรม หรือบ้านทาจากวัสดุพื้นบ้าน เช่นไม้ไผ่ ใบจาก หรือวสั ดุเหลือใชห้ รอื อยบู่ ้านเช่า หรือไมม่ ีหอ้ งสว้ มในท่ีอยู่อาศยั และบรเิ วณ 1.2.3 ไม่มีรถยนต์ส่วนบุคคลหรือรถปิกอัพหรือรถบรรทุกเล็ก หรือรถตู้ หรือรถไถ/ รถเก่ียวข้าว/รถอีแตน๋ /รถอื่น ๆ ประเภทเดียวกัน เป็นเกษตรกรท่ีไม่มีที่ดนิ ทากิน (รวมเช่า) ไมเ่ กิน 1 ไร่ หรอื ไม่มีที่ดิน เปน็ ของตนเอง 1.3 ระดบั ความยากจน การพิจารณาคัดกรองนักเรียนยากจน จะพิจารณาด้วยวิธีการแบบวัดรายได้ทางอ้อม Proxy Means Tests หรือ PMTs ซึ่งเป็นประมาณการรายได้ตามสถานะของครัวเรือนนักเรียนและ ทาการสร้างตัวช้ีวัดความยากจนในรูปคะแนนความขาดแคลนทุนทรัพย์ของนักเรียน (ระดับความยากจน) ท่ีมีคะแนนความขาดแคลนทุนทรัพย์ มีค่าระหว่าง 0 (ยากจนน้อย) ถึง 1 (ยากจนมากที่สุด) ระดับความขาดแคลน ทนุ ทรัพย์ โดยแบ่งเป็น 3 กลุ่ม ได้แก่

33 1.3.1 กลุ่มท่หี น่งึ ระดบั ยากจนพเิ ศษ (คะแนน มากกว่า 0.91 ข้ึนไป) 1.3.2 กลมุ่ ท่สี อง ระดับยากจน (คะแนน 0.71 – 0.90) 1.3.3 กลุ่มทสี่ าม ระดบั ใกลจ้ น (คะแนน 0.51– 0.70) 2. การจัดสรรงบประมาณ การจัดสรรงบประมาณจัดสรรจะจัดให้นักเรียนยากจน ๒ กลุ่ม คือ กลุ่มระดับยากจน และระดับยากจนพิเศษ โดยจัดสรรระดับประถมศึกษา คนละ 500 บาท/ภาคเรียน (1,000 บาท/ปี) และ ระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน้ คนละ 1,500 บาท/ภาคเรียน (3,000 บาท/ป)ี ง. การใชจ้ า่ ยงบประมาณ 1. วิธีการใช้จ่ายงบประมาณเงินอุดหนุนปัจจัยพ้ืนฐานนักเรียนยากจน สามารถดาเนินการได้ ๒ วิธี ดงั น้ี 1.1 สถานศึกษาสามารถดาเนินการจ่ายเป็นเงินสดให้แก่นักเรียนโดยตรง โดยให้สถานศึกษา แต่งตั้งคณะกรรมการจ่ายเงนิ อย่างนอ้ ย ๓ คน โดยใชใ้ บสาคญั รับเงนิ เป็นหลกั ฐาน หรือ 1.2 สถานศึกษาจัดหาปัจจัยพื้นฐานท่ีจาเป็นให้แก่นักเรียนยากจนโดยตรง ตามรายช่ือ ทไี่ ด้รบั การจดั สรรงบประมาณจากสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน ดงั น้ี 1.2.1 คา่ หนังสือเรยี นและอุปกรณ์การเรียน 1.2.2 ค่าเส้ือผ้าและวัสดุเครื่องแตง่ กายนักเรยี น 1.2.3 ค่าอาหารหรือคปู องคา่ อาหาร 1.2.4 ค่าพาหนะในการเดินทางหรือจ้างเหมารถรับ – สง่ นักเรยี น 1.2.5 คา่ ใชจ้ ่ายท่นี กั เรียนยากจนต้องการจาเปน็ ในการดารงชีวติ ประจาวัน นอกเหนอื จาก 4 รายการข้างต้น 2. กรณีการดาเนินการจัดซื้อจัดจ้างต้องดาเนินการตามพระราชบัญญัติการจัดซ้ือจัดจ้าง และการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหาร พสั ดภุ าครัฐ พ.ศ. 2560 และกฎกระทรวงท่เี ก่ียวขอ้ ง 3. กรณีนักเรียนยากจนที่ได้รับจัดสรรตามรายช่ือในบัญชีจัดสรรนักเรียนยากจน มีการย้าย ลาออกและไม่สามารถรับเงินรายการปัจจัยพ้ืนฐานสาหรับนักเรียนยากจนได้ ให้สถานศึกษาส่งคืนเงินอุดหนุน ของนักเรียนท่ไี ดร้ บั จดั สรร ดังนี้ 3.1 โรงเรียนปกติให้ส่งคืนเงินอุดหนุนรายการดังกล่าวให้กับสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ตน้ สังกัด 3.2 เพ่อื สานักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาจะดาเนินการรวบรวมสง่ งบประมาณกลบั คนื สว่ นกลาง 3.3 โรงเรียนทีเ่ ปน็ หน่วยเบกิ จ่าย ให้สง่ คนื เงนิ อุดหนนุ รายการดังกลา่ วกลับคนื ส่วนกลาง ทั้งนี้ ขอให้สง่ หลักฐานการส่งคืนเงนิ (ระบุประเภทรายการและจานวนเงนิ แต่ละรายการ ที่สง่ คืน) พรอ้ มหนังสอื นาส่งแจ้งใหส้ านักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐานทราบ

34 จ. แนวทางการดาเนนิ งาน 1. ระดับสถานศกึ ษา 1.1 สารวจขอ้ มลู นักเรียนยากจน และรายงานข้อมูลในระบบจัดเก็บข้อมลู นักเรยี นรายบุคคล (Data Management Center : DMC) ประเภทเด็กด้อยโอกาส (เด็กยากจน) 1.2 รายงานข้อมูลในระบบคัดกรองปัจจัยพื้นฐานนักเรียนยากจน (C0nditional Cash Transfer : CCT) ตามแบบขอรับทุนการศึกษานักเรียนยากจน (แบบ นร.01) ในระยะเวลาท่ีกาหนด เพ่ือเสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณ 1.3 จัดสรรงบประมาณให้นักเรียนตามรายชื่อที่ได้รับจัดสรรและติดตาม ควบคุม กากับ ให้นักเรียนใชจ้ า่ ยงบประมาณใหเ้ ปน็ ไปตามความตอ้ งการจาเป็น 1.4 สง่ งบประมาณกลับคนื สานักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษากรณีนกั เรยี นไมส่ ามารถมารับเงนิ ได้ 1.5 รายงานผลการดาเนนิ งาน 2. ระดบั สานกั งานเขตพนื้ ท่ีการศกึ ษา 2.1 แตง่ ตง้ั คณะกรรมการ กากบั ตดิ ตาม ตรวจสอบและรายงานผลการดาเนินงาน 2.2 รวบรวมสง่ งบประมาณส่งกลับคืนสว่ นกลาง กรณนี กั เรยี นไม่สามารถมารับเงนิ ได้ 2.3 นอกจากนี้ ตามพระราชบัญญัติกองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา พ.ศ. 2561 มาตรา 5 (2) สานักงานกองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา (กสศ.) ได้ร่วมกับสานักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน จัดทาโครงการจัดสรรเงินอุดหนุนนักเรียนยากจนพิเศษแบบมีเงื่อนไข (Conditional Cash Transfer : CCT) สนับสนุนเงินอุดหนุนแบบมีเง่ือนไข โดยนาข้อมูลเด็กกลุ่มระดับยากจนพิเศษ มาคัดกรองเป็นนักเรียนยากจนพิเศษแบบมีเงื่อนไข ตั้งแต่ระดับชั้น ป.1 – ม.3 เพ่ิมเติมคนละ 3,000 บาท/ คน/ปี โดยเงินอุดหนุนดังกล่าว สานักงานกองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา (กสศ.) เป็นผู้ดาเนินการ จดั สรรและกาหนดแนวทางการบรหิ ารงบประมาณ

35

36

37 แนวทางการบรหิ ารจดั การงบประมาณ รายการคา่ จดั การเรยี นการสอน (เงนิ อดุ หนนุ ค่าอาหารนกั เรยี นประจาพักนอน) ก. หลกั การ เงินอุดหนุนค่าอาหารนักเรียนประจาพักนอน หมายถึง เงินงบประมาณ งบเงินอุดหนุน รายการ ค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ค่าจัดการเรยี นการสอน (ค่าอาหารนักเรียนประจาพักนอน) ท่ีจัดสรร ให้โรงเรียน เพื่อใช้จ่ายเป็นค่าอาหารนักเรียนประจาพักนอน สาหรับโรงเรียนท่ีดาเนินการจัดที่พัก ให้แก่นักเรียนท่ีอยู่ในถ่ินทุรกันดาร ห่างไกล เดินทางไม่สะดวก ไม่สามารถเดินทางไป – กลับได้ โดยโรงเรียน ได้ดาเนนิ การกากับ ดูแล และจัดระบบแบบเตม็ เวลา ข. นิยาม 1. โรงเรียนท่ีจัดการศึกษาสาหรับนักเรียนประจาพักนอน หมายถึง โรงเรียนปกติที่จัดการศึกษา ให้แก่นักเรียนท่ีมีที่อยู่ในถิ่นทุรกันดาร ห่างไกล เดินทางไม่สะดวก ไม่สามารถเดินทางไป –กลับได้ และเป็นโรงเรียนท่สี านักเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษาอนุญาตและประกาศใหเ้ ป็นโรงเรยี นที่มนี กั เรยี นประจาพักนอน 2. ที่พักนอนในโรงเรียน หมายถึง ท่ีพักสาหรับนักเรียนประจาพักนอนท่ีโรงเรียนจัดให้ ประกอบด้วย บ้านพักครู ที่พักนักเรียน และส่ิงปลูกสร้างอื่นที่โรงเรียนสร้างข้ึน โดยเงินงบประมาณ หรอื เงนิ บรจิ าค สาหรบั ใหน้ กั เรียนพักนอนในพนื้ ท่ีโรงเรียน 3. ถิ่นทุรกันดาร ห่างไกล หมายถึง พ้ืนท่ีซ่ึงอยู่ห่างไกลชุมชน มีสภาพภูมิประเทศกันดาร เป็นภเู ขา ทะเล เกาะ หรอื แม่น้าก้นั การคมนาคมไม่สะดวก หรือระยะทางหา่ งไกลจากโรงเรียน 4. เขตพ้ืนท่ีบริการ หมายถึง เขตพ้ืนท่ีบริการของโรงเรียนตามประกาศการรับนักเรียนของ สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน 5. พื้นที่โรงเรียน หมายถึง ขนาดของท่ีดินท่ีเป็นที่ต้ังของโรงเรียน ที่ดินที่โรงเรียนมีสิทธ์ิ ครอบครอง หรอื ใชป้ ระโยชนใ์ นการจดั การศกึ ษาจากท่ดี นิ น้นั 6. นักเรียนประจาพักนอน หมายถึง นักเรียนในเขตบริการตามประกาศเขตพ้ืนท่ีบริการของ โรงเรียน ที่มีทีอ่ ยู่ห่างไกลทไ่ี มส่ ามารถเดินทางไป-กลับได้ มาเรยี นและพักนอนในที่พักนอนที่โรงเรยี นจัดให้เป็น ประจา โดยโรงเรยี นจดั ให้แบบเต็มระบบเวลา ค. เกณฑก์ ารจดั สรร สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐานมีหลักเกณฑ์การพิจารณาจัดสรรงบประมาณ งบเงินอุดหนุน ประเภทเงินอุดหนุนทั่วไป เงินอุดหนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน รายการ ค่าจัดการเรียนการสอน (ค่าอาหารนักเรียนประจาพักนอน) ให้กับนักเรียนในโรงเรียนประจาพักนอน ตามหนังสือกรมบัญชีกลาง ท่ี กค 0406.4/11297 ลงวันที่ 24 มีนาคม 2559 อนุมัติให้เบกิ จ่ายค่าอาหาร นักเรียนประจาพั กนอนตามที่ ขอท าความตกลงไว้ใน อัตราที่ เพิ่ มขึ้นจากม้ือละ 1 3 บ าท /คน เปน็ ม้อื ละ 20 บาท/คน วนั ละ 2 มอ้ื จานวน 200 วัน/ปีการศึกษา โดยจดั สรรให้ ดงั น้ี ๑. จัดสรรให้นักเรยี นระดับประถมศึกษา (ระดับช้ัน ป.1 – 6) คนละ 8,000 บาท/ปกี ารศึกษา(ภาคเรียนละ 4,000 บาท/คน) ๒. จัดสรรใหน้ ักเรยี นระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน้ (ระดบั ช้นั ม.1 - 3 ) คนละ 8,000 บาท/ปกี ารศึกษา (ภาคเรยี นละ 4,000 บาท/คน)

38 ยกเว้น 1. นกั เรียนในโรงเรยี น ภ.ป.ร. ราชวิทยาลัย โรงเรยี นจุฬาภรณราชวทิ ยาลัย โรงเรียนประชามงคล จังหวัดกาญจนบุรี โรงเรียนพระราชทานเฉลิมพระเกยี รติ จังหวัดนา่ น และอิสลามวทิ ยาลัยแห่งประเทศไทย 2. นักเรียนในโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์ โรงเรียนการศึกษาพิเศษ และศนู ยก์ ารศึกษาพเิ ศษ ในสังกดั สานักบรหิ ารงานการศกึ ษาพเิ ศษ 3. นักเรียนในโรงเรียนที่ได้ดาเนินการจัดที่พักนอนในโรงเรียนและได้เรียกเก็บเงินค่าอาหาร นักเรียนประจาพักนอนทุกคนแล้ว กรณีที่ได้เรียกเก็บเงินไม่ครบทุกคน สามารถจัดสรรให้ได้เฉพาะจานวน นกั เรยี นส่วนท่ีเหลอื และตอ้ งเปน็ นักเรียนทเี่ ป็นไปตามหลักเกณฑ์ท่ีกาหนด 4. นักเรียนในโครงการต่าง ๆ เช่น โครงการห้องเรยี นกีฬา โครงการสานฝันชายแดนใต้ โครงการ โรงเรยี นพกั นอนในพน้ื ที่ 3 จังหวัดชายแดนใต้ 64 โรง ใน 37 อาเภอ ง. การใชจ้ ่ายงบประมาณ โรงเรียนมแี นวทางในการใชจ้ ่ายงบประมาณ ในการจดั หาอาหารให้แก่นักเรียนประจาพกั นอน ดงั น้ี 1. จัดซอื้ วตั ถุดบิ ประกอบอาหาร เช่น ข้าวสาร อาหารแห้ง อาหารสด เครื่องปรงุ สาหรับประกอบ อาหารเอง เปน็ ตน้ 2. จา้ งเหมาทาอาหาร 3. จ่ายเป็นเงินสดให้แก่นักเรียน โดยโรงเรียนแต่งต้ังคณะกรรมการอย่างน้อย 3 คน จา่ ยเงินสดใหน้ ักเรยี น ทง้ั นี้ ต้องมีใบสาคัญรับเงินเปน็ หลักฐาน ทั้งนี้ การดาเนินการตามข้อ 1 - 2 ให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและ การบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซ้ือจัดจ้าง และการบริหารพัสดุ ภาครัฐ พ.ศ. 2560 (ตามหนังสือ ด่วนท่ีสุด ท่ี กค (กวจ) 0405.2 / ว 116 ลงวันท่ี 12 มีนาคม 2562 เรื่องแนวทางปฏิบัติในการจัดซื้อวัตถุดิบเพื่อใช้ในการประกอบอาหาร การจ้างบุคคลเพ่ือประกอบอาหารหรือ การจ้างเหมาประกอบอาหาร (ปรงุ สาเร็จ) ) และกฎกระทรวงทีเ่ ก่ยี วข้อง

39 แผนภมู แิ สดงข้นั ตอนการดาเนนิ งาน โรงเรียน 1. แต่งตัง้ ผรู้ บั ผดิ ชอบ และคณะกรรมการดาเนินการ 2. สารวจ และจัดทาข้อมูล นร.ประจาพกั นอน ตามหลกั เกณฑ์ของ สพฐ. - ข้อมลู รายชอื่ นร.ประจาพกั นอน - ข้อมลู สถานที่พกั นอน - การบรหิ ารจัดการ นร.ประจาพักนอน 3. เสนอขอความเหน็ ชอบจากคณะกรรมการสถานศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน 4. รายงาน สพท. เพอื่ ขออนุญาตเป็น ร.ร.ประจาพกั นอนทุกปกี ารศึกษา 5. เมือ่ ไดร้ บั อนุญาต และประกาศจาก สพท.แลว้ ให้ ร.ร.ตรวจสอบ คัดกรอง และรายงานข้อมลู จานวนนกั เรียนพกั นอนให้ สพท. 6. ตรวจสอบและบรหิ ารงบประมาณท่ไี ด้รับจัดสรรให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ในการใช้จ่ายเงิน 7. รายงานรายช่ือ นร.ประจาพกั นอนที่ได้รับจัดสรรลงเว็บไซต์ เมอ่ื ร.ร.ได้รับแจ้งโอนเงินประจา งวด 8. กรณี นร.ประจาพักนอนเพิ่มจากที่รายงาน ใหร้ ายงานรายชื่อเพ่ิมในภาคเรียนถัดไป 9. กากบั ตดิ ตาม ดูแลการดาเนนิ งาน นร.ประจาพกั นอน ใหเ้ ป็นไปตามวัตถุประสงคแ์ ละแนวทาง 1. รวบรวม ตรวจสอบความถูกต้องของขอ้ มูลการขออนญุ าตเป็น ร.ร.ประจาพักนอน 2. แต่งต้ังคณะกรรมการพจิ ารณา 3. อนุญาต และจัดทาประกาศเป็น ร.ร.ประจาพกั นอนของ สพท. สานกั งานเขตพืน้ ท่ี 4. แจ้งประกาศให้ ร.ร.ทราบ และบันทึกข้อมูลรายชื่อ นร.ประจาพักนอน เพอ่ื ขอรับ การศกึ ษา การจัดสรร และจดั พิมพ์สรุปจานวน นร.รายคนของ ร.ร. จดั สง่ สพฐ. 5. แจ้งจดั สรร และใหโ้ รงเรียนยืนยนั ขอ้ มลู นร.ที่ไดร้ บั จัดสรรในเวบ็ ไซต์ สานักงาน 6. ตรวจสอบรายช่ือ นร.ที่ไดร้ บั จดั สรร หากไมเ่ ป็นไปตามทีจ่ ัดสรร สพฐ.จะดาเนนิ การ คณะกรรมการ ปรบั เพิ่ม-ลด ในภาคเรยี นถดั ไป การศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน 7. กากับ ติดตาม ตรวจสอบ และรายงานผลการดาเนินงาน 1. รวบรวมขอ้ มูล ประมวลผล และตรวจสอบความถูกต้องของขอ้ มูล นร.ประจาพักนอน ของเขตพื้นที่การศึกษา 2. พจิ ารณาจัดสรรงบประมาณเงนิ อุดหนุนคา่ อาหาร นร.ประจาพกั นอน ให้แกเ่ ขตพน้ื ที่ การศกึ ษาที่มโี รงเรียนที่ดาเนินการจัดทพี่ ักให้แกน่ กั เรยี น 3. กากับ ติดตาม ตรวจสอบผลการดาเนินงาน 4. สง่ เสรมิ สนับสนุนให้มีงานวิจยั เพอ่ื นาผลงานวจิ ยั มาใชป้ ระโยชน์

40 แนวทางการบรหิ ารจดั การงบประมาณ งบเงนิ อดุ หนนุ เงินอดุ หนนุ ทัว่ ไป สาหรบั โรงเรียนศกึ ษาสงเคราะห์/โรงเรียนการศกึ ษาพิเศษ/ศูนยก์ ารศึกษาพเิ ศษ ก. หลกั การ การสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาข้ันพื้นฐาน ตามโครงการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการ จัดการศึกษาต้ังแต่ระดับอนุบาลจนจบการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ปีงบประมาณ 2563 โรงเรียนการศึกษาสงเคราะห์ และโรงเรียนการศึกษาพิเศษ ได้รับจัดสรรงบประมาณ พ.ศ. 2563 งบเงินอุดหนุน เงินอุดหนุนทั่วไป จากโครงการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาต้ังแต่ระดับอนุบาลจนจบการศึกษาข้ันพื้นฐาน จานวน 5 รายการ ประกอบด้วย รายการค่าจัดการเรียนการสอน ค่าหนังสือเรียน ค่าอุปกรณ์การเรียน ค่าเครื่องแบบ นักเรียน และค่ากิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน สาหรับศูนย์การศึกษาพิเศษได้รับจัดสรรงบประมาณ งบเงินอุดหนุน ประเภทเงินอุดหนุนทั่วไป เงินอุดหนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน จากโครงการ สนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาตั้งแต่ระดับอนุบาลจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน จานวน 4 รายการ ประกอบด้วย รายการค่าหนังสือเรียน ค่าอุปกรณ์การเรียน ค่าเคร่ืองแบบนักเรียน และค่ากิจกรรมพัฒนา คุณภาพผู้เรียน และจากผลผลิตเด็กพิการได้รับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานและการพัฒนาสมรรถภาพ กิจกรรมการ พัฒนาสมรรถภาพเดก็ พกิ ารโดยศนู ย์การศึกษาพิเศษ รายการค่าอาหารนักเรยี นประจา คา่ อาหารนกั เรยี น ไป-กลบั และปจั จยั พ้ืนฐานสาหรับนักเรียนประจา ข. แนวทางการใชง้ บประมาณงบเงินอุดหนุน เงินอดุ หนุนทวั่ ไป 1. เม่ือสถานศึกษาได้รับแจ้งบัญชีจัดสรรงบประมาณจากสานักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน โดยสานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ ให้โรงเรียนตรวจสอบบัญชีจัดสรร ตามที่ระบุไว้ในบัญชี จดั สรรกบั เกณฑก์ ารจดั สรรงบประมาณท่ีสง่ มาพร้อมบัญชจี ัดสรร 2. เม่ือสถานศึกษาได้รับแจ้งการตัดโอนเงินงบประมาณ จากสานักงานคณะกรรมการการศึกษา ข้ันพื้นฐาน โดยสานักการคลังและสินทรัพย์ ให้สถานศึกษาจัดทาแผนการใช้จ่ายงบประมาณเพื่อส่งคาขอเบิก เงินอุดหนุนเข้าบัญชีเงินฝากธนาคารของโรงเรียน พร้อมจดั ทาทะเบียนคุมเงินอุดหนุนแยกตามรายการท่ีได้รับ จดั สรร 3. ให้สถานศึกษาจัดทาแผนปฏิบัติการประจาปีของสถานศึกษาที่สอดคล้องกับภารกิจของ สถานศึกษาตามนโยนบายและจุดเน้นของสานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ และสานักงานคณะการการศึกษา ขน้ั พื้นฐาน 4. นาแผนปฏิบัติการประจาปีของสถานศึกษา เพื่อให้คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน เห็นชอบ 5. ให้สถานศึกษาใช้จ่ายงบประมาณตามหนังสือกระทรวงการคลัง ด่วนที่สุด ที่ กค 0409.6/ว 126 ลงวันที่ 7 กันยายน 2548 เร่ือง การเบิกจ่ายเงินงบประมาณงบเงินอุดหนุน (ใช้จ่ายเงินภายในปีงบประมาณ กรณมี เี งนิ เหลืออยแู่ ละยังไม่สน้ิ สุดโครงการใหร้ ีบดาเนินการให้เสร็จสนิ้ อยา่ งช้าภายในปงี บประมาณถดั ไป) 6. สถานศกึ ษาใช้จา่ ยเงินไม่หมดตามระยะเวลาขอ้ 5 เงินทเ่ี หลอื ต้องสง่ คืนคลังเป็นรายได้แผน่ ดิน 7. ดอกเบี้ยท่ีเกดิ จากเงินฝากธนาคารสถานศึกษาตอ้ งนาสง่ คนื คลังเปน็ รายไดแ้ ผน่ ดิน

41 8. บนั ทกึ การรับ–จ่ายเงนิ ตามระบบควบคุมการเบิกจ่ายเงินเชื่อมโยงกับการปฏิบัติงานในระบบ GFMIS 9. การใช้จา่ ยเงินต้องเกิดประโยชน์ต่อนกั เรียนเปน็ ลาดบั แรก และใช้จา่ ยให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ ทีส่ านักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพื้นฐานกาหนด 10. หลกั ฐานการใชจ้ า่ ยเงิน สถานศกึ ษาเก็บไว้เพื่อให้ตรวจสอบได้ ค. ลักษณะการใช้งบประมาณ 1. งบประมาณเงินอุดหนนุ เงินอดุ หนนุ ท่ัวไป การสนับสนุนคา่ ใชจ้ ่ายในการจัดการศกึ ษา ขั้นพนื้ ฐาน ตามโครงการสนับสนุนคา่ ใชจ้ า่ ยในการจดั การศกึ ษาตง้ั แตร่ ะดับอนุบาลจนจบการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน 1.1 คา่ จดั การเรยี นการสอน ให้ปฏิบัตติ ามระเบียบของทางราชการทเี่ ก่ียวข้อง โดยให้ใช้ใน ลกั ษณะ 3 ประเภทงบรายจ่าย ดงั นี้ 1.1.1 งบบุคลากร หมายถึง รายจ่ายท่ีจ่ายในลักษณะเงินเดือน เป็นค่าจ้างชั่วคราว เชน่ ค่าจ้างครอู ัตราจา้ งรายเดือน พนกั งานขับรถ นกั การภารโรง ฯลฯ 1.1.2 งบดาเนินงาน หมายถึง รายจ่ายที่กาหนดให้จ่ายเพ่ือการบริหารงานประจา ไดแ้ ก่ รายจา่ ยท่จี า่ ยในลักษณะ - ค่าตอบแทน เช่น ค่าตอบแทนวิทยากร คา่ ตอบแทนวิทยากรวิชาชีพ-ท้องถ่นิ ฯลฯ - ค่าใช้สอย เช่น ค่าเบี้ยเล้ียง ค่าเช่าที่พัก ค่าพาหนะ ค่าจ้างซ่อมแซม ค่าจ้าง เหมาบริการ ค่าพาหนะพานกั เรยี นไปทัศนศึกษาแหล่งเรยี นรู้ ฯลฯ - ค่าวสั ดุ เช่น ค่าวสั ดุการศึกษา ค่าเคร่ืองเขยี น แปรงลบกระดาน กระทะ คา่ วัสดเุ วชภัณฑ์ ค่าซอ่ มแซมบารุงรักษาทรพั ยส์ ิน ฯลฯ - ค่าสาธารณปู โภค เชน่ คา่ นา้ ค่าไฟฟา้ คา่ โทรศพั ท์ ฯลฯ 1.1.3 งบลงทุน หมายถงึ รายจา่ ยทก่ี าหนดใหจ้ า่ ยเพ่ือการลงทุน ไดแ้ ก่ รายจา่ ยที่จ่ายในลักษณะ - ค่าครภุ ณั ฑ์ เชน่ เครอ่ื งถา่ ยเอกสาร เคร่อื งคานวณ เคร่ืองดดู ฝ่นุ ฯลฯ - ค่าทีด่ นิ และส่งิ กอ่ สรา้ ง รายจา่ ยเพอื่ ดดั แปลง ตอ่ เตมิ หรอื ปรบั ปรงุ สิ่งกอ่ สรา้ ง ซึง่ ทาให้ทดี่ ิน ส่งิ กอ่ สร้าง มีมูลค่าเพ่ิมขึน้ ฯลฯ ทัง้ นี้ กรณงี บลงทุนและงบดาเนนิ งาน สามารถดาเนินการไดเ้ พิ่มเตมิ ตามหนงั สือ สานักงบประมาณ ดงั น้ี - หนังสือ ด่วนที่สุดที่ นร 0702/ว 51 ลงวันที่ 20 มกราคม 2548 เร่ือง หลกั การจาแนกประเภทรายจา่ ย ตามงบประมาณ - หนังสอื ท่ี นร 0704/ว 33 ลงวนั ที่ 18 มกราคม 2553 เร่ือง การปรบั ปรุง การจาแนกประเภทรายจา่ ยตามงบประมาณ - หนังสือ ด่วนที่สุด ที่ นร 0704/ว 68 ลงวันที่ 29 เมษายน 2558 เร่ือง การปรับปรงุ หลักการจาแนกประเภทรายจ่ายตามงบประมาณ - หนังสือ ที่ นร 2704/ว 37 ลงวันท่ี 6 มกราคม 2559 เรื่อง แนวทาง การพจิ ารณาส่ิงของทีจ่ ดั เป็นวสั ดุและครภุ ณั ฑต์ ามหลกั การจาแนกประเภทรายจ่ายตามงบประมาณ - หลักการจาแนกประเภทรายจ่ายตามงบประมาณ แก้ไขปรับปรุงตามหนังสือ สานักงบประมาณ ท่ี นร 0704/ว33 และหนังสือสานักงบประมาณ ด่วนท่ีสุดท่ี นร 0704/ว 68 ท่ีมา : http://www.bb.go.th

42 1.2 ค่าหนังสือเรียน ค่าอุปกรณ์การเรียน ค่าเคร่ืองแบบนักเรียน และค่ากิจกรรมพัฒนา คุณภาพผู้เรียน ให้ปฏิบัติตามระเบียบของทางราชการที่เก่ียวข้อง และปฏิบัติตามแนวทางการดาเนินงาน การสนบั สนนุ ค่าใชจ้ ่ายในการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน ตามโครงการสนบั สนนุ ค่าใชจ้ ่ายในการจัดการศกึ ษาต้ังแต่ระดับ อนุบาลจนจบการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน ปงี บประมาณ 2563 เล่มน้ี 2. งบเงินอุดหนุน เงินอุดหนุนท่ัวไป ผลผลิต : เด็กพิการได้รับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานและการพัฒนา สมรรถภาพ กจิ กรรม : การพฒั นาสมรรถภาพเดก็ พิการโดยศนู ย์การศึกษาพิเศษ 2.1 เงินอดุ หนนุ คา่ อาหารนกั เรยี นประจา 2.2 เงนิ อดุ หนนุ คา่ อาหารนักเรยี นไป - กลับ 2.3 เงินอดุ หนนุ ปัจจยั พ้นื ฐานสาหรับนักเรยี นประจา ทั้ง ข้อ ๒.๑ ข้อ ๒.๒ และข้อ ๒.๓ ให้ปฏิบัติตามระเบียบของทางราชการที่เกี่ยวข้อง และใช้ตามวัตถุประสงค์ของรายการท่ีได้รับการจัดสรรงบประมาณ (หนังสือกระทรวงการคลัง ด่วนท่ีสุด ท่ี กค 0409.6/ว126 ลงวันที่ 7 กันยายน 2548 เรื่อง การเบิกจ่ายเงินงบประมาณงบเงินอุดหนุน และหนังสือหนังสือกรมบัญชีกลาง ที่ กค 0402.5/033273 ลงวันท่ี 7 สิงหาคม 2560 เร่ือง ขอหารือ เกีย่ วกบั การใช้เงินเหลือจ่ายงบเงนิ อุดหนุน ประเภทเงินอุดหนนุ ทั่วไป)

43 ท่ี ศธ๐๔๐๐๒/ว ๒๙๘๓ สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร กทม. ๑๐๓๐๐ ๒๓ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๕ เรือ่ ง หลักเกณฑก์ ารเบิกจา่ ยค่าใช้จา่ ยในการจัดกิจกรรมเพื่อเสริมสรา้ งความร้ใู หก้ ับนกั เรยี น เรยี น ผ้อู านวยการสานักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษา ผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นทก่ี ารศึกษามัธยมศกึ ษา ผอู้ านวยการศนู ยก์ ารศึกษาพิเศษที่เปน็ หน่วยเบกิ และผอู้ านวยการโรงเรยี นท่เี ป็นหนว่ ยเบิก อา้ งถงึ ๑. หนังสอื กระทรวงการคลงั ดว่ นทีส่ ดุ ท่ี กค ๐๔๐๙.๖/ว ๑๒๖ ลงวนั ท่ี ๗ กันยายน ๒๕๔๘ ๒. หนังสือสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน ที่ ศธ ๐๔๐๐๖/๒๒๗๙ ลงวนั ท่ี ๑๖ ธนั วาคม ๒๕๔๘ ส่งิ ท่สี ง่ มาด้วย หลักเกณ ฑ์การเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายในการจัดกิจกรรมเพื่อเสริมสร้างความ รู้ให้กับนักเรียน ดว้ ยงบเงินอดุ หนนุ สาหรบั หนว่ ยงานในสงั กัดสานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน ตามหนังสือที่อา้ งถึง ๑ ข้อ ๒.๑ กระทรวงการคลงั กาหนดใหห้ วั หนา้ ส่วนราชการเจา้ ของงบประมาณ กาหนด ระเบียบ ภายในควบคุมการใช้จ่ายเงินงบประมาณ งบเงินอุดหนุนเพ่ือให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ท่ีขอต้ังงบประมาณ และตามหนังสือท่ีอ้างถึง ๒ สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐานไดแ้ จง้ หลกั เกณฑ์ และแนวปฏบิ ตั ิการใชจ้ า่ ย งบประมาณงบเงนิ อุดหนุน เพอ่ื ใหห้ นว่ ยงานในสงั กดั ถอื ปฏบิ ตั ใิ หเ้ ปน็ แนวทางเดยี วกัน ความละเอียดแจ้งแลว้ น้นั สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานพิจารณาแล้ว เน่ืองจากปัจจุบันโรงเรียนได้กาหนดแผน ในการจัดกิจกรรมเพื่อเสริมสร้างความรู้เพิ่มเติมให้กับนักเรียน เช่น การจัดกิจกรรมเข้าค่ายทางวิชาการ กิจกรรม เข้าค่ายคุณธรรม/ลูกเสอื /เนตรนารี/ยุวกาชาด การพานักเรียนไปทัศนศึกษาตามแหล่งเรียนรู้ ท้ังในและนอกโรงเรียน รวมท้ัง การพานักเรียนไปร่วมกิจกรรมหรือร่วมแข่งขันทางการศึกษา กับโรงเรียนอ่ืน/หน่วยงานอื่น โดยใช้จ่ายจาก งบเงินอุดหนุนที่โรงเรียนได้รับ ซึ่งในการเบิกค่าใช้จ่ายต่าง ๆ โรงเรียนบางแห่ง ยังไม่ชัดเจนว่ารายการใด สามารถ เบิกจา่ ยไดแ้ ละรายการใดไม่สมควรเบกิ จ่าย ดังนนั้ เพ่ือให้การใชจ้ า่ ยงบเงนิ อดุ หนนุ ตามหนงั สอื ทอ่ี ้างถึง ๒ และแนวทาง การดาเนินงานตามนโยบายสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาตั้งแต่ระดับอนุบาลจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน ของโรงเรียนสาหรับเป็นค่าใช้จ่ายในการจัดกิจกรรมต่าง ๆ ให้กับนักเรียนเป็นไปในแนวทางเดียวกัน จึงกาหนด หลักเกณฑ์การเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายในการจัดกิจกรรม เพ่ือเสริมสร้างความรู้ให้กับนักเรียน ด้วยงบเงินอุดหนุน รายละเอียดตามสิ่งท่ีส่งมาด้วย ท้ังน้ี การพิจารณาเบิกจ่าย ค่าใช้จ่ายให้คานึงถึงความจาเป็น เหมาะสม ประหยัด ภายในวงเงินทอ่ี ยใู่ นความรับผิดชอบ และตอ้ งไม่เปน็ เหตใุ นการเรียกเก็บเงนิ จากผู้ปกครองเพิ่มเตมิ ดว้ ย จึงเรียนมาเพื่อทราบและพิจารณาแจ้งให้เจ้าหน้าท่ีที่เก่ียวข้องรวมทั้งโรงเรียนในสังกัดทราบ เพื่อถือปฏิบัติ ต่อไป ขอแสดงความนบั ถือ (นายชนิ ภัทร ภมู ริ ัตน) เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน สานักการคลังและสนิ ทรพั ย์ โทร. ๐ ๒๒๘๐ ๒๘๖๐, ๐ ๒๒๘๘ ๕๖๓๒, ๐ ๒๒๘๘ ๕๖๓๓ โทรสาร ๐ ๒2๖๒๘๕๑๑๒, ๐ ๒๖๒๘ ๘๙๘๘

44 ท่ี กค ๐๔02.5/033273 กรมบญั ชีกลาง ถนนพระราม 6 กทม. 10400 7 สงิ หาคม 2560 เรอื่ ง ขอหารือเก่ียวกับการใชเ้ งินเหลือจ่ายงบเงนิ อดุ หนุน ประเภทเงนิ อดุ หนุนทวั่ ไป เรียน เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน อา้ งถงึ 1. หนงั สือสานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน ที่ ศธ 04007/3176 ลงวนั ที่ 13 ตลุ าคม 2558 2. หนงั สือสานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน ท่ี ศธ 04007/1643 ลงวนั ที่ 21 กมุ ภาพนั ธ์ 2560 ตามหนังสือที่อ้างถึง 1 และ 2 แจ้งว่า สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน ได้รับจัดสรรงบประมาณ งบเงินอุดหนุน ประเภทเงินอุดหนุนท่ัวไป รายการเงินอุดหนุนค่าอาหารนักเรียนประจา นักเรียนไป - กลับ และเงินอุดหนุนปัจจัยพ้ืนฐานสาหรับนักเรียนประจา ให้กับศูนย์การศึกษาพิเศษ และได้จัดทาแผนการใช้จ่ายงบประมาณเพ่ือเบิกจ่ายเงินจากระบบ GFMIS เข้าฝากบัญชีเงินอุดหนุน ประเภทออมทรัพย์ของศูนย์การศึกษาพิเศษ เม่ือส้ินปีงบประมาณพบว่า มีเงินคงเหลือในบัญชีดังกล่าว สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จึงขอหารือว่า ศูนย์การศึกษาพิเศษสามารถนาเงินงบประมาณ ท่คี งเหลอื ในบัญชดี ังกลา่ ว ไปชาระหนี้คา่ สาธารณูปโภคได้หรอื ไม่ อย่างไร ความละเอียดแจง้ แลว้ นั้น กรมบัญชีกลางพิจารณาแล้ว ขอเรียนดังนี้ 1. หนังสือกระทรวงการคลัง ด่วนที่สุด ที่ กค 0409.6/ว 126 ลงวันที่ 7 กันยายน 2548 เรื่อง การเบิกจ่ายเงินงบประมาณ งบเงินอุดหนุน กรณีเป็นการเบิกจ่ายให้ส่วนราชการเป็นผู้ดาเนินการ ข้อ 2.6 กาหนดให้ การจ่ายเงินค่าใช้จ่ายในการดาเนินการท่ีเบิกไปแล้วให้จ่ายภายในปีงบประมาณ กรณีมีเงินเหลืออยู่ และยังไมส่ ิ้นสุดโครงการให้รีบดาเนนิ การให้เสร็จสิ้นอยา่ งชา้ ภายในปีงบประมาณถดั ไป กรณีสิ้นสุดหรือยบุ เลิก โครงการแล้ว ปรากฏว่า มีเงินคงเหลืออยู่ในบัญชเี งินฝากธนาคารให้นาสง่ คลงั เป็นรายได้แผน่ ดนิ 2. กรณีตามข้อหารือ เม่ือสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยศนู ยก์ ารศึกษาพิเศษ ได้ดาเนินการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ งบเงินอุดหนุน ประเภทเงินอุดหนุนทั่วไป รายการเงินอุดหนุนค่าอาหาร นักเรียนประจา นักเรียนไป – กลับ และเงินอุดหนุนปัจจัยพ้ืนฐานสาหรับนักเรียนประจา จนเสร็จสิ้นบรรลุ ตามวัตถปุ ระสงค์แล้ว หากมีเงินเหลอื จ่ายจะตอ้ งนาเงินท่ีเหลือส่งคลังเป็นรายไดแ้ ผน่ ดิน ตามหลักเกณฑ์ในหนังสือ กระทรวงการคลงั ขอ้ 1 ไม่สามารถนาเงนิ ทเี่ หลือจา่ ยไปชาระหนี้ค่าสาธารณูปโภคได้ จึงเรียนมาเพ่อื โปรดทราบ ขอแสดงความนับถือ (นางสาวอรนชุ ไวนสุ ทิ ธิ์) ปรกึ ษาด้านพัฒนาระบบการเงินการคลัง ปฏบิ ัติราชการแทน อธบิ ดีกรมบัญชีกลาง

45 แนวทางการบรหิ ารจดั การงบประมาณ ค่ากิจกรรมพัฒนาคณุ ภาพผู้เรียน หลักเกณฑ์การเบกิ จา่ ยค่าใช้จา่ ยในการจัดกจิ กรรมเพอ่ื เสริมสร้างความร้ใู หก้ บั นักเรียน เพ่ือให้การเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายในการจัดกิจกรรมเพ่ือเสริมสร้างความรู้ให้กับนักเรียน ได้แก่ การพานักเรียนไปร่วมกิจกรรมวิชา การกิจกรรมคุณธรรม/ลูกเสือ/เนตรนารี/ยุวกาชาด หรือทัศนศึกษา ตามแหล่งเรียนรู้ทั้งในและนอกโรงเรียน ตามนโยบายสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาตั้งแต่ระดับ อนุบาลจนจบการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน โดยใช้จ่ายจากงบเงินอุดหนุนที่โรงเรียนได้รับให้เป็นไปในแนวทางเดียวกัน สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จึงกาหนดหลักเกณฑ์การเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายในการจัดกิจกรรม เพื่อเสรมิ สร้างความรู้ให้กบั นกั เรียน ดังน้ี 1. การวางแผนกิจกรรมต่าง ๆ ต้องให้ภาคี ๔ ฝ่าย (ผู้แทนครู ผู้แทนผู้ปกครอง ผู้แทนชุมชน และผู้แทน นักเรียน) และคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐานมสี ่วนร่วมและพิจารณา 2. การพิจารณาสถานที่สาหรับการจัดกิจกรรมรวมทั้งการพักแรมให้เลือกใช้บริการสถานท่ีของ ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือหน่วยงานอื่นของรัฐ เป็นลาดับแรก กรณีจาเป็นต้องจัดกิจกรรมในสถานท่ี ของเอกชนให้อยู่ใน ดุลพนิ ิจของผู้อานวยการโรงเรียน โดยคานึงถึงความจาเป็นเหมาะสม ประหยัด และวงเงิน ที่อยู่ในความรับผิดชอบ สาหรบั ค่าใชจ้ า่ ยในการจดั กิจกรรม/การแขง่ ขนั แบ่งเป็น ๒ กรณี กรณีที่ ๑ โรงเรียนเป็นหน่วยงานผู้จัดกิจกรรม/การแข่งขันให้เบิกจ่ายค่าใช้จ่ายได้ เท่าที่จา่ ยจรงิ ดงั น้ี 1. ค่าใช้จา่ ยเกี่ยวกับการใช้และแตกตา่ งสถานทจี่ ดั กจิ กรรม 2. ค่าวัสดตุ ่าง ๆ สาหรับการจดั กิจกรรม 3. คา่ ถ่ายเอกสาร คา่ พิมพเ์ อกสารและสงิ่ พมิ พ์ 4. ค่าหนังสอื สาหรับการจัดกิจกรรม 5. ค่าเชา่ อปุ กรณ์สาหรับการจัดกจิ กรรม 6. คา่ อาหารว่างและเคร่อื งดมื่ ไมเ่ กนิ มอ้ื ละ ๕๐ บาทต่อคน 7. คา่ เขา้ ชมสถานที่แหล่งเรียนรู้ 8. ค่าสาธารณูปโภค 9. คา่ สมนาคุณวทิ ยากร 9.1 หลักเกณฑก์ ารจ่ายค่าสมนาคุณวิทยากร 1) กรณีเป็นการบรรยายให้ความรู้กับนักเรียน ให้จ่ายค่าสมนาคุณ วิทยากรไดไ้ มเ่ กิน ๑ คน 2) กรณีเป็นการแบ่งกลุ่มทากิจกรรม ซ่ึงได้กาหนดไว้ในโครงการหรือ หลักสูตรการจดั กิจกรรมและจาเปน็ ต้องมีวิทยากรประจากลุ่มให้จ่ายคา่ สมนาคุณวทิ ยากรได้ไมเ่ กินกลุ่มละ ๒ คน 3) การนับช่ัวโมงการบรรยายหรือทากิจกรรมให้นับตามเวลา ที่กาหนดในตารางการจัดกิจกรรมโดยแต่ละช่ัวโมงต้องกาหนดเวลาไม่น้อยกว่าสิบห้านาที กรณีกาหนดเวลา ไมเ่ กิน ๕๐ นาที แต่ไม่นอ้ ยกว่า ๒๕ นาที ใหจ้ า่ ยค่าสมนาคณุ วทิ ยากรได้ก่ึงหน่ึง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook