Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ผลงาน good practice ประจำปี 2562

ผลงาน good practice ประจำปี 2562

Description: good practice 62ฉบับสมบูรณ์

Search

Read the Text Version

กล่มุ นโยบายและแผน และกลมุ่ พัฒนาครูและบคุ ลากรทางการศึกษา สานกั งานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษากรุงเทพมหานคร ให้ความร่วมมือในการใชแ้ ก้วนา้ ส่วนตวั และถุงผ้าใสเ่ อกสาร แทนการใช้แกว้ พลาสติกและถุงพลาสตกิ เพ่อื ลดปัญหาขยะตามนโยบายรฐั บาล ผลงานเดน่ เปน็ ทปี่ ระจักษ์ Good Practice ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2562 หน้า 50

กล่มุ บริหารงานบคุ คล สานกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษากรงุ เทพมหานคร ใหค้ วามร่วมมือในการใช้แก้วนา้ ส่วนตวั และถงุ ผา้ ใสเ่ อกสาร แทนการใช้แก้วพลาสตกิ และถงุ พลาสตกิ เพ่ือลดปญั หาขยะตามนโยบายรฐั บาล ผลงานเดน่ เปน็ ทปี่ ระจักษ์ Good Practice ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2562 หน้า 51

กลมุ่ บริหารงานการเงินและสนิ ทรพั ย์ และกล่มุ ตรวจสอบภายใน สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศกึ ษากรงุ เทพมหานคร ให้ความร่วมมือในการใช้แก้วน้าสว่ นตัว และถุงผา้ ใสเ่ อกสาร แทนการใช้แก้วพลาสติกและถุงพลาสติก เพ่อื ลดปัญหาขยะตามนโยบายรฐั บาล ผลงานเดน่ เป็นทีป่ ระจักษ์ Good Practice ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2562 หน้า 52

กลุม่ อานวยการ สานักงานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศกึ ษากรงุ เทพมหานคร ใหค้ วามรว่ มมือในการใชแ้ ก้วน้าสว่ นตวั และถงุ ผ้าใส่เอกสาร แทนการใชแ้ ก้วพลาสติกและถุงพลาสติก เพ่อื ลดปัญหาขยะตามนโยบายรัฐบาล นางพิชญ์สกุ านต์ ธวัลหทยั กลุ ผรู้ ายงาน นักวิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ ผลงานเดน่ เปน็ ทป่ี ระจักษ์ Good Practice ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2562 หน้า 53

1๑.ช่ือผลงาน ลาดับที่ ๑๑ โครงการอาหารกลางวนั ในโรงเรียนประถมศกึ ษา ความเป็นมา โครงการอาหารกลางวัน เป็นโครงการท่ีเกิดจากความตระหนักของรัฐบาล ท่ีมุ่งแก้ปัญหาภา วะ ทพุ โภชนาการในเด็ก ซ่ึงพบว่านักเรียนประถมศึกษา จานวนมากขาดแคลนอาหารกลางวันหรือมีอาหารกลางวัน แต่ปรมิ าณไมเ่ พยี งพอ หรอื อาหารมีคณุ ค่าทางโภชนาการต่า ทาให้ภาวะการจริญเติบโต ไม่เป็นไปตามเกณฑ์ของ กระทรวงสาธารณสุข เร่ิมดาเนินการอย่างต่อเนื่องมาต้ังแต่ปี 2495 กระทรวงศึกษาธิการได้ทดลองจัดอาหาร กลางวันแก่นักเรียนในสังกัด ซึ่งพบว่า โรงเรียนขาดงบประมาณในการดาเนินงาน ทาให้ไม่สามารถ จัดอาหาร กลางวนั ให้นกั เรยี นขาดแคลนได้อยา่ งทวั่ ถงึ ในปี พ.ศ. 2530 สานกั งานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ ไดเ้ ลง็ เหน็ ความสาคัญของโครงการอาหารกลางวนั จึงกาหนดนโยบาย ให้โรงเรียนดาเนินโครงการอาหารกลางวัน ทุกโรงเรียน ก่อนวันท่ี 5 ธันวาคม 2530 ภายใต้คาขวัญ 60 พรรษามหาราชา เด็กประถมศึกษาไม่หิวโหย ต่อมา ในช่วงปลายปีงบประมาณ 2534 รัฐบาลเร่งรัดช่วยเหลือเด็ก ในระดับประถมศึกษาที่มีภาวะทุพ โภชนาการ และขาดแคลนอาหารกลางวัน กาหนดให้มีกฎหมาย พระราชบัญญัติกองทุนเพ่ือโครงการอาหาร กลางวัน ในโรงเรียนประถมศึกษา พ.ศ.2535 สาระสาคัญคือ จัดต้ังกองทุนเพื่อโครงการอาหารกลางวันใน โรงเรียนประถมศึกษา วงเงิน 6,000 ล้านบาท โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือเป็นทุนหมุนเวียนและใช้จ่าย สาหรับการ สนับสนุนและช่วยเหลือภาวะโภชนาการของนักเรียนในโรงเรียนประถมศึกษา และการประชาสัมพันธ์ปัญหา ภาวะทพุ โภชนาการของเด็ก ในปี พ.ศ. 2542 รัฐบาลได้ตระหนักถึงความสาคัญของอาหาร ปัญหา อุปสรรคต่างๆ ที่โรงเรียนไม่ สามารถดาเนินการแต่ลาพังได้ ส่งผลกระทบต่อนักเรียนขาดแคลน อีกจานวนหนึ่งยังไม่ได้รับประทานอาหาร กลางวัน คณะรัฐมนตรีจึงได้มีมติ เมื่อวันที่ 19 ตุลาคม 2542 ให้ถือว่าการส่งเสริมให้นักเรียนทุกคนได้ รบั ประทาน อาหารกลางวันอ่ิมทุกวนั เป็นนโยบายสาคัญของรัฐบาล โดยเห็นชอบไห้มคี วามร่วมมอื ในการส่งเสริม และสนับสนุนให้นักเรียนทุกคนได้รับประทานอาหารอิ่มทุกวัน ระหว่างกระทรวงศึกษาธิการกับกระทรวงเกษตร และสหกรณ์ และเห็นชอบให้กระทรวงมหาดไทย กระทรวงสาธารณสุข และทุกกระทรวง ทบวง กรม ให้การ สนบั สนุนการดาเนินงานตามโครงการ ต้ังแต่ปีงบประมาณ 2544 กระทรวงศึกษาธิการ ได้ถ่ายโอนงบประมาณ ค่าอาหารกลางวัน ไปให้กระทรวงมหาดไทย ตามพระราชบัญญัติกาหนดแผนและข้ันตอนการกระจายอานาจ ใหแ้ ก่องคก์ รปกครองปกครองส่วนทอ้ งถ่ิน พ.ศ. 2542 และกรมสง่ เสรมิ การปกครองทอ้ งถิ่นได้จัดต้ัง และจัดสรร งบประมาณด้วยตนเองมาตัง้ แต่ปงี บประมาณ 2546 จนถงึ ปัจจบุ นั โดยมีวตั ถปุ ระสงค์ ดงั น้ี 1. เพื่อพัฒนาร่างกายของนักเรียนให้มีสุขภาพพลานามัยสมบูรณ์แข็งแรง และมีน้าหนักส่วนสูงเป็นไป ตามเกณฑ์อา้ งอิง เพอื่ ประเมนิ ภาวะการเจริญเติบโต ของนกั เรียนของกรมอนามัย กระทรวงศกึ ษาธิการ 2. เพ่ือให้โรงเรียนบริหารจัดการให้เด็กทุกคนในโรงเรียนได้รับประทานอาหารกลางวัน โดยบูรณาการ กับผลผลิตทางการเกษตรเพอ่ื โครงการอาหารกลางวัน 3. เพอ่ื ใหน้ กั เรียนไดเ้ รียนรจู้ ากการปฏบิ ัตจิ รงิ ในโครงการสรา้ งผลผลติ เพื่อโครงการอาหารกลางวัน 4. เพอื่ จัดอาหารกลางวันทม่ี ีทง้ั ปริมาณ และคุณคา่ ทางโภชนาการสงู 2. วธิ ีดาเนินงาน – กระบวนการ ๒.๑ แจ้งให้ทุกโรงเรียนในสังกัดเข้าไปลงทะเบียนสร้างบัญชีผู้ดูแลข้อมูลโรงเรียนที่เว็บไซด์ของระบบ ลงทะเบียนแอดมินโรงเรียน https://www.thaieducation.net/lunchsystem/ เพ่ือดาเนินการรายงานข้อมูล ผา่ นระบบสารสนเทศและดิจิทัลของกองทุนโครงการอาหารกลางวันในโรงเรียนประถมศึกษาตามตัวชี้วัดสาหรับ ผลงานเด่นเป็นที่ประจักษ์ Good Practice ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2562 หน้า 54

เป็นข้อมูลรายงานกรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลังต่อไป โดยให้ผู้รับผิดชอบงานโครงการอาหารกลางวันทุก โรงเรียน ดาเนินการรายงานข้อมูล ดงั น้ี ๑.) รายงานภาวะโภชนาการนักเรยี น โดยใช้ขอ้ มูล ณ วนั ที่ ๑๐ มิถนุ ายน ๒๕๖๒ และวนั ที่ ๓๐ กนั ยายน ๒๕๖๒ ๒.) รายงานผลการดาเนินงานโครงการอาหารกลางวันในโรงเรียนประถมศึกษา (๒๐ บาท/คน/ วนั ) ปงี บประมาณ ๒๕๖๒ ๓.) รายงานผลการดาเนนิ โครงการอาหารเสรมิ (นม) โรงเรยี น ปีงบประมาณ ๒๕๖๒ และขอให้โรงเรียนซง่ึ ได้รับจดั สรรงบประมาณจากเงินดอกผลของกองทุน ฯ ดาเนนิ การ ดังน้ี ๑.) ประเมินความพงึ พอใจโรงเรียนทไี่ ดร้ บั งบประมาณจากเงินดอกผลของกองทุนฯ ๒.) รายงานผลการดาเนินงานตามโครงการสง่ เสรมิ ผลผลติ เพ่อื อาหารนกั เรยี นในโรงเรียน ๓.) รายงานผลการดาเนินงานตามโครงการพัฒนาระบบน้าด่มื สะอาดในโรงเรียน ๒.๒ กาหนดติดตามและประเมินผลการดาเนินงานของโรงเรียนประถมนนทรี โรงเรียนสายน้าทิพย์ โรงเรยี นวดั สังข์กระจาย (แจม่ วิชาสอน) และโรงเรียนทปี งั กรวิทยพฒั น์ (วดั โบสถ์) ในพระบรมราชูปถัมภ์ ระหว่าง วันท่ี ๒๔ – ๒๕ มกราคม ๒๕๖๒ ซึ่งดาเนินโครงการขยายผลเกษตรเพ่ืออาหารกลางวันอันเน่ืองมาจาก พระราชดาริ ฯ ๒.๓พิจารณาคัดเลือกโรงเรียนพญาไทเข้าร่วมประเมินคัดเลือกโรงเรียนต้นแบบอาหารกลางวัน ระดบั ประเทศ ๒.๔ แจ้งหนังสือคณะกรรมการวินิจฉัยปัญหาการจัดซ้ือจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ กรมบัญชีกลาง ด่วนที่สุด ที่ กค (กวจ) ๐๔๐๕.๒/ว๑๑๖ ลงวันท่ี ๑๒ มีนาคม ๒๕๖๒ เร่ือง แนวทางปฏิบัติใน การจัดซ้ือวัตถุดิบ เพ่ือใช้ในการประกอบอาหาร การจ้างบุคคลเพื่อประกอบอาหาร หรือการจ้างเหมาประกอบ อาหาร (ปรุงสาเร็จ) โดยแจ้งให้ทุกโรงเรียนในสังกัดรับทราบแนวทางปฏิบัติในการจัดซ้ือวัตถุดิบเพื่อใช้ในการ ประกอบอาหาร การจ้างบุคคล เพือ่ ประกอบอาหาร (ปรุงสาเร็จ) ในการปฏบิ ตั ิตามภารกิจของหนว่ ยงานของรฐั ๒.๕ จัดทาคาส่ังสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษากรุงเทพมหานคร ที่ ๑๒๑ / ๒๕๖๒ ลงวันท่ี ๑๗ ตุลาคม ๒๕๖๒ เรื่อง แต่งต้ังคณะทางานติดตามผลการดาเนินโครงการอาหารกลางวันในโรงเรียน สังกัด สานักงานเขตพน้ื ทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษากรงุ เทพมหานคร ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒ สัง่ ณ วันท่ี ๒๙ เมษายน ๒๕๖๒ ๒.๖ แจ้งหนังสือสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษากรุงเทพมหานคร ที่ ศธ ๐๔๒๓๐/๒๐๗๓ ลงวันท่ี ๒๙ เมษายน ๒๕๖๒ เรื่อง แผนการติดตามผลการดาเนินงานโครงการอาหารกลางวันในโรงเรียน ประถมศึกษา แจ้งให้ทุกโรงเรียนในสังกัดทราบและเตรียมความพร้อมรับการตรวจติดตามจากคณะกรรมการ ตามแผนที่กาหนดระหวา่ งวนั ที่ ๓ – ๒๖ มิถุนายน ๒๕๖๒ เนอื่ งจากเปน็ ชว่ งเปดิ ภาคเรียน ๒.๗ แจง้ หนงั สือสานักงานเขตพื้นทก่ี ารศึกษาประถมศึกษากรุงเทพมหานคร ที่ ศธ ๐๔๒๓๐/๒๓๗๖ ลงวันท่ี ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๖๒ เรื่อง แจ้งประกาศคณะกรรมการอาหารนมเพ่ือเด็กและเยาวชน เร่ือง หลักเกณฑ์และวิธีการดาเนินงานโครงการอาหารเสริม (นม) โรงเรียน ประจาปีการศึกษา ๒๕๖๒ ให้โรงเรียนใน สังกดั ทุกแหง่ ทราบและถือปฏิบตั ิ ในชว่ งเปิดภาคเรียนตั้งแต่วันที่ ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๖๒ เพื่อให้การดาเนินงาน เป็นไปอย่าง ถูกต้อง เหมาะสม นกั เรยี นได้ดื่มนมทมี่ ีคณุ ภาพ และเพอ่ื ความโปร่งใสเป็นธรรมตอ่ ผปู้ ระกอบการ ๒.๘ แจ้งหนังสือสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษากรุงเทพมหานคร ที่ ศธ ๐๔๒๓๐/๒๔๑๓ ลงวันท่ี ๒๔ พฤษภาคม ๒๕๖๒ เรื่อง เปลี่ยนแปลงแผนการติดตามผลการดาเนินงานโครงการอาหารกลางวันใน โรงเรียนประถมศึกษา แจ้งให้ทุกโรงเรียนในสังกัดทราบและเตรียมความพร้อมรับการตรวจติดต ามจาก ผลงานเดน่ เปน็ ทปี่ ระจักษ์ Good Practice ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2562 หน้า 55

คณะกรรมการ ตามแผนท่ีแก้ไขเพิ่มเติม จากเดิมระหว่างวันที่ ๓ – ๒๖ มิถุนายน ๒๕๖๒ เป็นระหว่างวันที่ ๑๗ มถิ นุ ายน ถงึ วันที่ ๙ กรกฎาคม ๒๕๖๒ เน่ืองจากคณะกรรมการมภี ารกิจเร่งดว่ นท่ตี ้องเร่งดาเนินการ ๒.๙ ส่งแบบติดตามผลการดาเนินงานของสถานศึกษาโครงการท่ีได้รับการสนับสนุนงบประมาณการ ดาเนินงานจากกองทุนเพื่อโครงการอาหารกลางวันในโรงเรียนประถมศึกษา โครงการอาหารกลางวัน โครงการ อาหารเสริม (นม) โรงเรียน และโครงการขยายผลเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน เพ่ือให้ทุกโรงเรียนรายงานข้อมูล ตามแบบที่กาหนด และส่งมอบให้คณะกรรมการติดตามผลการดาเนินงานโครงการอาหารกลางวันในวันลงพ้ืนท่ี ตรวจตดิ ตามโรงเรียนตามแผนท่ีกาหนด ๒.๑๐ แจง้ หนงั สอื สานักงานเขตพนื้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษากรุงเทพมหานคร ท่ี ศธ ๐๔๒๓๐/๒๗๕๗ ลงวนั ที่ ๑๘ มถิ ุนายน ๒๕๖๒ เร่อื ง ซักซอ้ มความเข้าใจการดาเนนิ งานโครงการอาหารเสรมิ (นม) โรงเรยี น ประจาปีการศึกษา ๒๕๖๒ เพ่ือส่งเสริมสนับสนุนพัฒนาการของนักเรียนให้เจริญเติบโตสมบูรณ์แข็งแรง มีความ พร้อมในการเรยี นหนงั สือได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ โดยแจง้ ให้โรงเรยี นในสังกดั ทกุ แหง่ ดาเนนิ การ ดงั นี้ ๑.) กาชับให้โรงเรียนจัดบริการอาหารกลางวนั ใหก้ บั นกั เรียนไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธภิ าพตามมาตรฐาน โภชนาการสุขาภิบาลอาหารและอาหารปลอดภัย อันจะส่งผลดีต่อนักเรียนให้มีสุขภาพดี สมวัยแข็งแรงสมบูรณ์ และปราศจากปญั หาภาวะทุพโภชนาการ โดยโรงเรยี นประถมศกึ ษา ต้องใช้โปรแกรม Thai School Lunch ในการจัดทาอาหารกลางวนั ๒.) โรงเรียนประถมศึกษาต้องตรวจสอบกากับ ดูแล ให้นักเรียนทุกคนได้ดื่มนมอย่างครบถ้วน ทุกวนั ๓.) ใหโ้ รงเรยี นประสานผปู้ กครองนักเรยี นใหเ้ ห็นความสาคญั ในการจัดอาหารเช้าสาหรบั นักเรียน เพ่อื ให้นักเรยี นมีความพรอ้ มในการเรยี นหนงั สอื ได้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ ๔. ใหส้ านกั งานเขตพนื้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษากรุงเทพมหานคร ดาเนนิ การสรา้ งเครือขา่ ย เพ่อื สนบั สนนุ อาหารเช้าให้กบั นกั เรียนท่ีขาดแคลน หรอื นกั เรยี นท่ไี ม่ไดร้ บั ประทานอาหารเชา้ ก่อนมาโรงเรยี น ๒.๑๑ แจ้งหนังสือสานักงานเขตพนื้ ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษากรงุ เทพมหานคร ที่ ศธ ๐๔๒๓๐/๒๘๗๒ ลงวนั ท่ี ๒๗ มิถนุ ายน ๒๕๖๒ เรื่อง การประเมินเชิงประจกั ษโ์ รงเรียนตน้ แบบอาหารกลางวัน ระดับประเทศ ประจาปี ๒๕๖๒ โดยแจ้งผลการประเมินคัดเลือกโรงเรียนต้นแบบอาหารกลางวัน ระดับประเทศ ๒๕๖๒ (รอบ ประเมินเอกสาร) ให้โรงเรียนในสังกัดทุกแห่งทราบ และขอความร่วมมือให้โรงเรียนร่วมกันพัฒนารูปแบบการ รายงานผลการดาเนนิ งานเชงิ ประจกั ษ์ เพอ่ื เตรียมความพรอ้ มเขา้ รบั การประกวดใหด้ ยี ่ิงข้ึนในปีถัดไป ๒.๑๒ เสนอขอพิจารณาอนุมัติการจัดกิจกรรมการประชุมปฏิบัติการจัดทารายงานข้อมูลในโปรแกรม school lunch System จานวน ๑ วัน วงเงินงบประมาณจานวน ๒๐,๐๐๐ บาท เพื่อให้ผู้รับผิดชอบประจา โรงเรียนในสังกัด ทั้ง ๓๗ แห่ง มีความเข้าใจในการจัดเมนูอาหารให้ได้รับโภชนาการครบถ้วน และดาเนินการ รายงานข้อมูลในโปรแกรม school lunch system ได้อยา่ งถูกต้อง ครบถว้ น สมบรู ณ์ ตามที่กาหนดต่อไป 3. ผลสาเรจ็ เชงิ ปรมิ าณ โรงเรยี นในสังกดั สพป.กทม. ๓๗ แห่ง เชงิ คณุ ภาพ ร้อยละ ๗๐ ของโรงเรียนในสงั กัด สพป.กทม. ไมพ่ บภาวะทุพโภชนาการนกั เรียน ผลงานเดน่ เป็นทป่ี ระจักษ์ Good Practice ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2562 หน้า 56

การวิเคราะห์ เทคนคิ /รูปแบบท่ที าให้เกดิ ความสาเรจ็ 1. การศกึ ษาระเบยี บวธิ กี ารจัดซ้ือจดั จ้าง และการเลอื กวิธีการปฏิบัตติ ามระเบียบพสั ดทุ ่เี กีย่ วข้อง 2. การใช้โปรแกรม thai school lunch ช่วยวิเคราะห์คุณค่าทางโภชนาการและการเลือกเมนูจัดสารับ อาหารใหเ้ หมาะสมกับพัฒนาการของนักเรยี นตามชว่ งวยั 3. การนิเทศ และเสนอแนะแนวทางดาเนินงานจากศึกษานเิ ทศกป์ ระจาโรงเรยี น 4. การตดิ ตามผลการดาเนินงานจากสานกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษากรุงเทพมหานคร ทั้งตาม แผนท่กี าหนด และการสุ่มตรวจเม่อื มโี อกาสลงพื้นท่เี พอ่ื ตรวจเยย่ี มหรือเข้าร่วมกิจกรรมกบั โรงเรยี นในสังกัด 5. การรายงานผลการดาเนินงานรายไตรมาสในระบบโปรแกรม School Lunch System ท่ีเว็บไซต์ www.thaieducation.net ข้อมูล ณ วันท่ี ๑๐ มิถุนายน ๒๕๖๒ และวันท่ี ๓๐ กันยายน ๒๕๖๒ เพ่ือ เปรยี บเทยี บข้อมลู พัฒนาการของนักเรียน และวิเคราะห์ภาวะทพุ โภชนาการนักเรียนในสังกดั ทกุ โรงเรียน ปจั จัยทส่ี ่งผลใหเ้ กิดความสาเร็จอย่างย่ิง 1. ผู้บริหารและครู มีความรู้ความเข้าใจด้านระเบียบพัสดุ วิธีการจัดซ้ือจัดจ้าง และการวางแผนจัด สารับเมนอู าหารรายสัปดาห์ ท่ีสง่ เสริม สนบั สนุนให้นักเรียนมภี าวะโภชนาการทด่ี ี 2. การส่ือสาร ประชาสัมพันธ์ให้ทุกภาคส่วน รับทราบและมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาภาวะทุพ โภชนาการของนักเรยี น 3. การประสานเครือขา่ ยความร่วมมือในการส่งเสริมภาวะโภชนาการและสุขภาพอนามัยจากหน่วยงาน ภาครฐั เอกชน และภาคเี ครอื ขา่ ย 4. การเพิ่มประสิทธภิ าพการบรหิ ารจัดการกองทุนและสนับสนุนพฒั นาระบบติดตามและประเมนิ ผล 5. การส่งเสริม สนับสนุน การนานวัตกรรมการจัดการอาหารนักเรียนให้มีสุขภาพดี สมวัย มาใช้ในการ พฒั นาคณุ ภาพอาหาร ข้อมูลทม่ี กี ารประชาสัมพันธ์/เผยแพร/่ แหลง่ ศกึ ษาดูงาน 1. โรงเรียนในสงั กดั ทงั้ ๓๗ แห่ง 2. มหาวิทยาลยั มหดิ ล ผู้พัฒนาระบบโปรแกรม Thai School Lunch และโปรแกรมวิเคราะห์ภาวะทุพ โภชนาการนกั เรียน โปรแกรม Thai Growth ผลงานเด่นเปน็ ที่ประจักษ์ Good Practice ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2562 หนา้ 57

ตัวอยา่ งภาพกิจกรรม – (อย่างนอ้ ย 4 ภาพกจิ กรรม) การเตรยี มอาหารเพ่อื รอนกั เรยี นมารบั ประทาน บรรยากาศการรับประทานอาหารของนักเรียน ท่ตี รวจติดตามตามแผนที่กาหนด ผลงานเดน่ เปน็ ทป่ี ระจักษ์ Good Practice ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2562 หนา้ 58

บรรยากาศการสมุ่ ตรวจตดิ ตามการดาเนินงาน โดยมไิ ดแ้ จง้ ให้ทราบล่วงหนา้ ผลงานเดน่ เป็นท่ปี ระจักษ์ Good Practice ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2562 หนา้ 59

การใช้โปรแกรม Thai School Lunch ในการเลือกจัดสารบั อาหาร ผลงานเด่นเป็นท่ีประจักษ์ Good Practice ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2562 หน้า 60

การรายงานข้อมูลในระบบ School Lunch System ท่ี www.thaieducation.net ผลงานเดน่ เปน็ ทป่ี ระจักษ์ Good Practice ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2562 หน้า 61

นางพชิ ญส์ ุกานต์ ธวัลหทัยกุล ผู้รายงาน นกั วชิ าการศึกษาปฏบิ ัตกิ าร ผลงานเด่นเปน็ ที่ประจักษ์ Good Practice ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2562 หนา้ 62

12.ชื่อผลงาน ลาดบั ที่ ๑๒ โครงการพัฒนาความสามารถทางวิชาการ ระดับนานาชาติ (รอบสอง ระดับประเทศ) ปีการศกึ ษา 2562 ความเปน็ มา ด้วย สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน มีนโยบายการดาเนินโครงการพัฒนาการเรียนรู้ สู่ สากล และมีโครงการยอ่ ยการพฒั นาความสามารถทางวชิ าการของนกั เรยี น ผ่านกระบวนการแข่งขันทางวิชาการ ระดับนานาชาติ โดยมอบหมายให้สานกั งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากรุงเทพมหานครเป็นเจ้าภาพในการ จัดสอบแข่งขันทางวิชาการของนักเรียนในสังกัดต่าง ๆ ในจังหวัดกรุงเทพมหานคร (ยกเว้นนักเรียนในสังกัด สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 และเขต 2) เพื่อสนองนโยบายดังกล่าวและสานักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษากรุงเทพมหานคร มีนโยบายในการยกระดับคุณภาพสถานศึกษาและคุณภาพผู้เรียน สู่ มาตรฐานการศึกษาชาติ พัฒนาครูและบุคลากรอย่างเป็นระบบ จัดกระบวนการเรียนรู้ในสถานศึกษาโดยเน้น ผู้เรียนเป็นสาคัญ ในการปฏิรูปการเรียนรู้ ทั้งยังเป็นการจัดกิจกรรมที่เป็นเวทีทางวิชาการให้นักเรียนได้เข้า สอบแข่งขันและใช้เป็นส่อื กลางในการพัฒนานวัตกรรมการสอนในเน้ือหาสาระทางคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ ให้เทา่ เทียมกับมาตรฐานสากล การพฒั นาความสามารถทางวิชาการผ่านกระบวนการแข่งขัน ระดับนานาชาติ ปี พ.ศ. 2562 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐานกาหนดการสอบแข่งขันทางวิชาการระดับนานาชาติ (รอบแรก ระดับเขตพื้นที่การศึกษา) สอบแข่งขันเมื่อวันอาทิตย์ที่ 13 มกราคม 2562 เพื่อคัดเลือกตัวแทน นักเรียนเข้าสอบแข่งขันในรอบสอง ระดับประเทศ ในวันเสาร์ที่ 2 มีนาคม 2562 โดยสานักงานเขตพื้นท่ี การศึกษาประถมศึกษากรุงเทพมหานครได้รับมอบหมายให้ทาหน้าที่เป็นศูนย์สอบที่ 05 ร่วมกับสานักงานเขต พนื้ ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต 1 และเขต 2 นน้ั เพื่อให้การดาเนินงานสามารถบริหารจัดการสนามสอบท่ีรับผิดชอบในสังกัดให้เป็นไปอย่างมี ประสิทธิภาพ กลุ่มส่งเสริมการจัดการศึกษา สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษากรุงเทพมหานคร จึง จัดทาโครงการพัฒนาความสามารถทางวิชาการ ระดับนานาชาติ (รอบสอง ระดับประเทศ) ปีการศึกษา 2562 นีข้ ึน้ 2. วิธีดาเนินงาน – กระบวนการ 1. รับนโยบายจาก สพฐ. และดาเนินการสอบรอบแรก ระดับเขตพน้ื ที่การศึกษา ๒. ประกาศผลนักเรียนที่สอบผ่านรอบแรก ระดับเขตพื้นที่การศึกษา และแจ้งยืนยันการเข้าสอบ รอบ สอง ระดบั ประเทศ 3. ดาเนนิ การจดั สอบแข่งขันรอบสอง ระดบั ประเทศ 4. สรุปผลการดาเนนิ การและรายงานผลให้สพฐ.ทราบ 3. ผลสาเร็จ เชงิ ปรมิ าณ ๑. นักเรียนระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาตอนต้น สังกัด สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ประถมศึกษากรุงเทพมหานคร สานักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา สานักงานส่งเสริมการศึกษาเอกชน สานัก การศึกษากรุงเทพมหานคร และนักเรียนสังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาอุบลราชธานี เขต 1 (ขอย้ายสนามสอบ) ที่สอบผ่านระดับเหรียญทองและเหรียญเงินในการสอบแข่งขันทักษะความรู้ความสามารถ ผลงานเดน่ เป็นทป่ี ระจักษ์ Good Practice ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2562 หน้า 63

ทางวิชาการ ระดับนานาชาติ (รอบแรก ระดับเขตพ้ืนท่ีการศึกษา) ปี พ.ศ. 2562 ที่ดาเนินการแจ้งยืนยันสิทธ์ิ การเขา้ สอบในรอบสอง ระดับประเทศ จานวนทัง้ สิน้ 898 คน 2. คณะกรรมการดาเนินการจัดสอบแข่งขันทักษะทางวิชาการ ระดับนานาชาติ (รอบสอง ระดบั ประเทศ) ปีการศกึ ษา 2562 จานวนท้งั สนิ้ 96 คน เชิงคุณภาพ นักเรียน ครูผู้สอนคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ได้รับประสบการณ์ในการร่วมกิจกรรมการสอบแข่งขัน ทางวิชาการ ระดับนานาชาติ และนาประสบการณ์ไปยกระดับในการพัฒนาความสามารถนักเรียน เกิดแรง บนั ดาลใจในการคน้ ควา้ ใฝ่รใู้ ฝเ่ รยี นและมีสมรรถนะเทา่ เทียมกับมาตรฐานสากล การวิเคราะห์ เทคนิค/รปู แบบท่ที าให้เกดิ ความสาเรจ็ 1. การประชาสมั พันธเ์ ชญิ ชวนให้นักเรียนทุกสังกัดท่ีสนใจสมัครอย่างทวั่ ถึง 2. การวางแผนระบบการลงทะเบยี นออนไลน์ โดยยงั ไม่บนั ทึกข้อมลู จนกว่าจะถงึ วนั ปดิ ระบบลงทะเบียน เพอ่ื มใิ ห้ลาดบั การสอบคลาดเคลือ่ นและเกิดความเข้าใจผดิ ของนักเรียน 3. การจัดเก็บฐานข้อมูลเดิมของโรงเรียนที่เคยสมัคร และการเพ่ิมข้อมูลของโรงเรียนที่ยังไม่เคยสมัคร เพือ่ งา่ ยตอ่ การค้นหารหัสผา่ นในการจัดการขอ้ มูลลงทะเบยี นและตรวจสอบผลการสอบผา่ นเว็บไซต์ 4. การจดั แผนผังที่นงั่ สอบโดยคานวณหอ้ งสอบละ 35 คน และจดั หอ้ งสารอง 2 ห้อง ตอ่ สนามสอบ 5. การประสานงานกบั โรงเรยี นทใี่ ชเ้ ป็นสนามจดั สอบและการอานวยความสะดวกในการจดั สอบ ปัจจยั ท่ีส่งผลให้เกดิ ความสาเร็จอยา่ งยิง่ 1. การสร้างเครอื ขา่ ยการทางานร่วมกนั เป็นทีม 2. ระบบโปรแกรมท่ใี ชบ้ รหิ ารจัดการขอ้ มูลมีประสทิ ธภิ าพ 3. ผู้ประสานงานท่ีเกี่ยวข้องทุกขั้นตอน ประกอบด้วยครู นักเรียน ผู้ปกครอง ผู้อานวยการโรงเรียนท่ี เป็นสนามจัดสอบ ใหค้ วามรว่ มมือทกุ เร่อื ง 4. การจัดอบรมติวเข้มให้นักเรียนท่ีผ่านการคัดเลือกเพื่อเป็นตัวแทนนักเรียนไทยไปแข่งขันระดับ นานาชาติ ขอ้ มลู ทีม่ ีการประชาสัมพันธ์/เผยแพร่/แหล่งศึกษาดูงาน เวบ็ ไซต์ www.obecimso.net ผลงานเด่นเปน็ ทป่ี ระจักษ์ Good Practice ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2562 หน้า 64

ตัวอย่างภาพกจิ กรรม – (อย่างน้อย 4 ภาพกิจกรรม) ท่านดร.วทิ ยา ประวะโข ผู้อานวยการสานกั งานเขตพื้นทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษากรงุ เทพมหานคร นานกั เรียนทผ่ี า่ นเวทีการสอบนานาชาติ เขา้ พบรฐั มนตรวี ่าการกระทรวงศกึ ษาธิการ (ทา่ นณฏั พล ทปี สวุ รรณ) ณ กระทรวงศกึ ษาธิการ ผลงานเด่นเป็นท่ปี ระจักษ์ Good Practice ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2562 หนา้ 65

รางวลั ต่าง ๆ ที่นักเรยี นไทยไปคว้าแชมป์จากเวทีนานาชาติ การเตรยี มความพร้อมสนามจดั สอบ ณ โรงเรยี นสายนา้ ทิพย์ นางพชิ ญ์สุกานต์ ธวลั หทัยกลุ ผรู้ ายงาน นักวิชาการศกึ ษาปฏิบตั กิ าร ผลงานเดน่ เป็นท่ปี ระจักษ์ Good Practice ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2562 หน้า 66

ผลงาน Good Practice ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 กลุม่ นิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศกึ ษา 13.ชื่อผลงาน การนเิ ทศดว้ ย เทคนคิ 3 ประสาน ความเป็นมา ตามยุทธศาสตร์ชาติข้อที่ 3 ของประเทศ ได้มีนโยบายในการพัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิตให้ สนับสนุนการเจริญเติบโตของประเทศ โดยพัฒนาคนไทยให้มีความพร้อมท้ังกาย ใจ สติปัญญา มีพัฒนาการท่ีดีรอบ ด้านและมีสุขภาวะท่ีดีในทุกช่วงวัย มีจิตสาธารณะ รับผิดชอบต่อสังคมและูผ้อื่น มัธยัสถ์อดออม โอบอ้อมอารี มีวินัย รักษาศีลธรรม และเป็นพลเมืองดีของชาติ มีหลักคิดท่ีถูกต้อง มีทักษะที่จาเป็นในศตวรรษที่ ๒๑ มีทักษะส่ือสาร ภาษาอังกฤษและภาษาท่ีสาม และอนุรักษ์ภาษาท้องถ่ิน มีนิสัยรักการเรียนรู้และการพัฒนาตนเอง อย่างต่อเนื่อง ตลอดชีวิต สู่การเป็นคนไทยที่มีทักษะสูง เป็นนวัตกร นักคิด ผู้ประกอบการ เกษตรกรยุคใหม่ และอ่ืน ๆ โดยมี สัมมาชีพตามความถนัดของตนเอง ซึ่งประกอบด้วย 1) การพัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิตให้สนับสนุนการ เจรญิ เตบิ โตของประเทศ โดยพัฒนาเริ่มตั้งแตใ่ นครรภแ์ ละต่อเน่ืองไปตลอดช่วงชีวิต ได้แก่ (1) ช่วงการต้ังครรภ์/ แรกเกดิ /ปฐมวยั (2) วัยเรียน (3) วยั รุ่น/นกั ศึกษา (4) วัยแรงงาน และ (5) วัยผู้สูงอาย 2) การยกระดับคุณภาพ การศกึ ษาและการเรียนรู้ให้มีคุณภาพ เท่าเทียมและทั่วถึง โดยการปฏิรูปโครงสร้างและระบบบริหารจัดการการศึกษา ในทุกระดับการเข้าถึงการศึกษาอย่างเท่าเทียม และทั่วถึง และการยกระดับสถาบันการศึกษาในสาขาท่ีมีความ เช่ียวชาญสู่ความเป็นเลิศ ปฏิรูประบบการคลังด้านการศึกษาเพ่ือเพ่ิมคุณภาพและประสิทธิภาพการจัดการศึกษา ส่งเสริมการมีส่วนร่วมจากภาคเอกชนในการจัดการศึกษา ปรับระบบการผลิตและพัฒนาครูผู้สอน พัฒนาระบบการ ประเมินและการรับรองคุณภาพ รวมทั้งให้มีการปฏิรูประบบการเรียนรู้ 3) การสร้างเสริมให้คนมีสุขภาวะที่ดีโดย มุ่งเน้นการป้องกันและควบคุมปัจจัยที่คุกคามสุขภาพ การพัฒนาสภาพแวดล้อมที่เอ้ือต่อสุขภาพ การส่งเสริม รูปแบบการดาเนนิ ชวี ิตท่สี นับสนนุ การคูม่ ือการตรวจสอบและประเมนิ ผลขอ้ เสนอการวิจัยของหน่วยงานภาครัฐที่ เสนอของบประมาณ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 ตามมติคณะรัฐมนตรี 56 มีสุขภาพกายและจิตท่ีดี สร้าง และเผยแพร่ความรู้ด้านสุขภาพเพ่ือนาไปสู่การปรับเปล่ียนพฤติกรรมสุขภาพ พัฒนารูปแบบการกีฬาเพ่ือสุขภาพที่ เหมาะสมกับแต่ละช่วงวัย 4) การสร้างความอยู่ดีมีสุขของครอบครัวไทย เสริมสร้างศักยภาพและบทบาทหน้าท่ีของ สถาบันครอบครัวในการบ่มเพาะวางรากฐานการพัฒนาจิตใจให้เข้มแข็ง มีคุณธรรม จริยธรรม ความซ่ือสัตย์ สุจริต จิตสานึกสาธารณะ ควบคู่ไปกับการสร้างค่านิยมหลักของไทยให้สมาชิกในครอบครัว สร้างความอบอุ่นและมั่นคงให้ สมาชกิ ในครอบครวั กลุ่มนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการจัดการศึกษา มีภารกิจหลักคือการนิเทศการศึกษา วเิ คราะห์ วิจยั ติดตาม ตรวจสอบและประเมินผล การพัฒนาระบบการบริหารและการจัดการศึกษาของโรงเรียน ในสงั กัดเพื่อพัฒนาใหส้ ถานศกึ ษามีความเขม้ แข็งในการบริหารและการจัดการเรียนการสอนได้อย่างมีคุณภาพได้ มาตรฐาน เท่าเทียมกัน ดังนั้น ศึกษานิเทศก์ซ่ึงมีหน้าท่ีส่งเสริมและสนับสนุนให้สถานศึกษาสามารถพัฒนา คุณภาพการศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล จึงต้องดาเนินการด้วยความพยายามทุกวิถีทางที่จะ ช่วยเหลอื ใหค้ รูผู้สอนและสถานศกึ ษาจดั การศกึ ษาให้บรรลมุ าตรฐานการศึกษา ขนั้ พน้ื ฐาน ส่งผลถึงผู้เรียนมี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น การนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการจัดการศึกษา จึงเป็นกิจกรรมที่จะนาไปสู่ ความสาเรจ็ ตามภารกิจดังกลา่ ว 2. วิธกี ารดาเนินงาน - กระบวนการ การพัฒนาโดยใช้เทคนิคการนิเทศ เทคนิค 3 ประสาน ที่เน้น “ร่วมคิด ร่วมมือร่วมใจ ก้าวไกล ย่ังยืน” โดยมุ่งการพฒั นาภาพความสาเรจ็ แบง่ ออกเปน็ 5 ระยะ ผลงานเด่นเปน็ ท่ีประจักษ์ Good Practice ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2562 หนา้ 67

เป้าหมายการพฒั นาไดม้ ีการกาหนดภาพความสาเร็จ โดยแบง่ ออกเปน็ 5 ระยะ ดังนี้ ระยะท่ี 1 โรงเรยี นที่มีผลการสอบ O-NET แต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ ได้ค่าคะแนนเฉลี่ยน้อย กว่าร้อยละ 50 ต้องตัง้ เปา้ หมายใหเ้ พิ่มค่าเฉลย่ี ผลสอบ O-NET ในปีการศึกษาถดั ไปใหเ้ ทา่ กบั รอ้ ยละ 50 ระยะที่ 2 โรงเรียนท่ีมีผลการสอบ O-NET แต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ ได้ค่าคะแนนเฉลี่ย เท่ากบั ร้อยละ 50 แลว้ ให้ตัง้ เปา้ หมายใหเ้ พิม่ คา่ เฉล่ียผลสอบ O-NET ในปีการศึกษาถดั ไปให้สงู ขน้ึ ร้อยละ 5 ระยะที่ 3 โรงเรยี นที่มผี ลการสอบ O-NET แตล่ ะกล่มุ สาระการเรยี นรู้ ได้คา่ คะแนนเฉลี่ยเท่ากับ ร้อยละ 60 แลว้ ให้ตัง้ เปา้ หมายให้เพิ่มค่าเฉลีย่ ผลสอบ O-NET ในปกี ารศึกษาถัดไปใหส้ ูงขึ้นรอ้ ยละ 3 ระยะที่ 4 โรงเรยี นทมี่ ีผลการสอบ O-NET แตล่ ะกลุม่ สาระการเรียนรู้ ได้คา่ คะแนนเฉล่ียเท่ากับ ร้อยละ 70 แลว้ ใหต้ ั้งเปา้ หมายใหเ้ พิม่ ค่าเฉลีย่ ผลสอบ O-NET ในปีการศกึ ษาถัดไปใหส้ งู ข้ึนร้อยละ 2 ระยะที่ 5 โรงเรยี นทีม่ ีผลการสอบ O-NET แตล่ ะกลุม่ สาระการเรยี นรู้ ได้ค่าคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ ร้อยละ 80 แลว้ ใหต้ งั้ เปา้ หมายใหเ้ พม่ิ ค่าเฉลี่ยผลสอบ O-NET ในปีการศกึ ษาถดั ไปให้สงู ขนึ้ รอ้ ยละ 1 แนวทางในการพฒั นา กลุ่มนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการจัดการศึกษา มีแนวทางในการพัฒนาเพ่ือยกระดับ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนท่ีเน้น กลมุ่ โรงเรยี นเป็นฐาน โดยใช้เทคนคิ 3 ประสาน ประสาน 1 สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากรุงเทพมหานคร โดยกลุ่มนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการจัดการศึกษา “ประสาน”กลุ่มโรงเรียน และโรงเรียน โดยน้อมนาพระราช ดารัสในหลวงรัชกาลท่ี 9 สูก่ ารปฏิบตั ิ “เขา้ ใจ เขา้ ถึง พฒั นา ” ประสาน 2 กลุ่มโรงเรียน 3 กลุ่ม ประกอบด้วย กลุ่มทวาราวดี กลุ่มรัตนโกสินทร์ กลุ่มกรงุ ธนบรุ ี “ประสาน” โรงเรียน โดยใช้วธิ กี าร “ รว่ มคิด ร่วมทา รว่ มพฒั นา ” ประสาน 3 สถานศึกษา/โรงเรียน “ประสาน”บคุ ลากรและครูและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องเพ่ือให้การ ดาเนินงานร่วมกันท้งั ครู ผ้บู รหิ าร กลุ่มโรงเรียนและเขตพื้นที่ โดยใชก้ ระบวนการ “รว่ มคดิ รว่ มมอื รว่ มใจ ก้าวไกล ย่ังยืน” แผนภมู ิ เทคนคิ 3 ประสาน การดาเนินงานพฒั นา หน้า 68 การดาเนนิ การพฒั นาตามเทคนิคการนเิ ทศ “เทคนคิ 3 ประสาน ” มดี งั นี้ ผลงานเด่นเปน็ ท่ีประจักษ์ Good Practice ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2562

 ระดับสถานศึกษา เนน้ กระบวนการ “ร่วมคดิ รว่ มมือรว่ มใจ กา้ วไกล ยง่ั ยืน” 1. ทุกสถานศึกษา/โรงเรียน วางแผนการพฒั นาและยกระดบั คณุ ภาพการศึกษา 2. ทุกสถานศึกษา/โรงเรียน จัดกระบวนการรู้โดยผ่านการแลกเปล่ียนเรียน (Knowledge Sharing) ตามแผนการยกระดับคุณภาพการศึกษา 3. ทุกสถานศึกษา/โรงเรียนดาเนินการจัดทาห้องแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (Knowledge Sharing Room) 4. ครูทุกโรงเรียน วิเคราะห์ผลและสภาพผู้เรียนเป็นรายบุคคล และจัดกลุ่มนักเรียนเป็นกลุ่ม พฒั นาท้งั 5 ระยะ ตามเป้าหมาย 5. ครูจัดกระบวนการจัดการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับกลุ่มพัฒนา ทั้ง 5 ระยะ และคุณลักษณะ อนั พึงประสงค์ คา่ นิยม 12 ประการ รวมถึงปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 6. จดั กิจกรรมท่ีเป็นโครงการและการลงมือปฏิบัติโดยเน้น “การเรียนรู้ผ่านโครงงานและการ เรยี นรู้ผ่านกจิ กรรม” 7. ผูบ้ รหิ ารนเิ ทศภายใน 8. ผู้บริหาร/ครู ประชุมวางแผนการพัฒนาในส่ิงท่ีบกพร่องและเพ่มิ ในการจัดการเรยี นรู้ (PLC)  ระดบั กลุ่มโรงเรยี น โดยเนน้ “ ร่วมคดิ ร่วมทา รว่ มพฒั นา ” 1. กลุ่มโรงเรียนประชุมวางแผนการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและการพัฒนาคุณภาพ การศึกษา 2. กาหนดการนิเทศโรงเรยี นในกลุ่มโรงเรยี นทุกโรงเรียน “นิเทศ 100 %” 3. นิเทศตามกาหนดการนิเทศแบบกัลยาณมิตรและสรุปการการนิเทศเพ่ือการพัฒนาและต่อยอด 4. จดั ประชมุ ปฏิบัตกิ ารตามความจาเป็นเรง่ ด่วนโดยเน้นกลุม่ โรงเรียนในการพัฒนา 5. สร้างศรัทธา ยกยอ่ ง เชิดชู และใหก้ าลงั ใจกบั โรงเรียนในกลมุ่  ระดับเขตพ้นื ทกี่ ารศกึ ษา โดยน้อมนาพระราชดารสั ในหลวงรัชกาลท่ี 9 สู่การปฏบิ ัติ “เขา้ ใจ เข้าถงึ พัฒนา ” 1. ศึกษานิเทศก์สรุปผลการดาเนินงานของปีท่ีผ่านมาและประชุมหาแนวทางในการพัฒนาและ ยกระดบั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นและคุณภาพการศึกษารวมท้ังกาหนดวิสัยทัศน์ของกลุ่มนิเทศ : พฒั นาคุณภาพการศึกษาให้ได้มาตรฐานด้วยกระบวนการนเิ ทศ 2. จัดทาคมู่ ือกล่มุ นเิ ทศ ติดตามและประเมนิ ผลการจัดการศึกษาเพื่อการมอบหมายงาน 3. แต่งตัง้ ศึกษานเิ ทศกป์ ระสานงานประจาโรงเรยี น (ศน.ป) 4. แต่งตั้งศึกษานเิ ทศก์กล่มุ โรงเรยี น 3 กลมุ่ 5. แต่งต้ังคณะกรรมการขับเคลื่อนการยกระดับคุณภาพการศึกษาโรงเรียนในสังกัด ระดับเขต พื้นท่ีการศึกษา ประกอบด้วย ประธานกลุ่ม รองประธานกลุ่มและเลขานุการกลุ่มโรงเรียนเป็นผู้ร่วมพัฒนาในการ ขบั เคล่อื น การยกระดับคณุ ภาพการศึกษา 6. ประชุมวางแผนกาหนดการนิเทศรว่ มกบั กลุม่ โรงเรยี น และโรงเรยี นทุกโรงเรยี น 7. นเิ ทศร่วมกบั คณะกรรมการขับเคลือ่ นการยกระดับคณุ ภาพการศกึ ษาและกลุ่มโรงเรียน 8. สรปุ ผลการนิเทศเพื่อวางแผนในการพัฒนาในครั้งต่อไป ผลงานเด่นเป็นท่ปี ระจักษ์ Good Practice ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2562 หนา้ 69

9. ยกย่อง เชิดชเู กียรติในระดับเขตพื้นที่ โดยการมอบประกาศเกียรติคุณ โล่รางวัล ให้กับโรงเรียน TOP TEN,TOP FIVE โลร่ างวลั โรงเรยี นท่มี พี ัฒนาการผูเ้ รียนทส่ี อบการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติ ( O-NET) ไดค้ ะแนนเตม็ 100 และครผู สู้ อน ระดับชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 6 10. 3. ภาคความสาเรจ็ ผลการดาเนินงานทาให้โรงเรียนสังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษากรุงเทพมหานคร 37 โรงเรียน ยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน (O-NET ) ต้ังแต่ปีการศึกษา 2557-2561 ประสบความสาเร็จ เป็นอนั ดบั ท่ี 1 มาเป็นระยะเวลา 5 ปีติดต่อกนั แผนภูมิ คะแนนเฉลยี่ การสอบ O-NET ระดบั ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ 6 ปกี ารศกึ ษา 2557-2561 วิชา ระดับประเทศ ระดับสงั กัด ระดบั เขตพื้นท่ี ปี ปี ปี ปี ปกี ารศกึ ษา ปี 2558 2559 ปี ปี ปี 2558 2559 ปี ปี ปี ปี ปี ปี ปี 2557 2560 2561 2557 2560 2561 2557 2561 ภาษาไทย 44.88 49.33 52.98 46.58 44.03 48.39 51.88 45.29 50.12 2558 2559 2560 คณิตศาสตร์ 55.90 54.61 65.13 วทิ ยาศาสตร์ 38.06 43.47 40.47 37.12 37.50 36.77 41.76 38.76 35.55 35.65 48.95 56.47 60.54 55.90 ภาษาอังกฤษ 50.98 เฉลีย่ รวม 42.13 42.59 41.22 39.12 39.93 40.97 41.55 40.27 38.12 38.83 48.79 56.25 52.29 47.18 39.24 35.47 46.32 36.02 40.31 34.59 36.34 43.14 32.88 36.61 31.11 32.73 41.14 47.72 49.55 47.50 45.28 53.16 40.27 43.93 42.32 39.79 38.66 42.08 40.51 37.92 48.90 54.08 46.63 49.37 53.90 54.09 51.74 49.43 คะแนนเฉลี่ยการสอบ O-NET ระดับชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2557-2561 70 60 50 40 30 20 10 ระดบั ประเทศ 2557 ระดบั ประเทศ2558 ระดบั ประเทศ2559 ระดบั ประเทศ2560 ระดบั ประเทศ2561 ระดบั สงั กดั 2557 ระดบั สงั กดั 2558 ระดบั สงั กดั 2559 0 ระดบั สงั กดั 2560 ระดบั สงั กดั 2561 ระดบั เขตพนื ้ ท่ี2557 ระดบั เขตพนื ้ ที่2558 ภาษาไทย ระดบั เขตคพณนื ้ ทิตี่2ศ5า5ส9ตร์ ระดบั เวขทิ ตยพานืศ้ ทาสี่25ต6ร์0 ระภดาบั ษเขาตอพงั กนื ้ ฤทษ่ี2561 เฉลย่ี รวม ผลงานเด่นเป็นท่ีประจักษ์ Good Practice ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2562 หน้า 70

เทคนคิ /รูปแบบทท่ี าให้เกิดความสาเร็จ การนเิ ทศ เทคนคิ 3 ประสาน “ร่วมคดิ ร่วมมอื รว่ มใจ ก้าวไกล ยง่ั ยนื ” แผนภูมิ เทคนคิ 3 ประสาน ปจั จยั ส่งผลให้เกดิ ความสาเร็จอยา่ งย่งิ ประสาน 1 สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษากรุงเทพมหานคร โดยกลุ่มนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการจัดการศึกษา “ประสาน”กลุ่มโรงเรียน และโรงเรียน โดยน้อมนาพระราชดารัสใน หลวงรชั กาลท่ี 9 สกู่ ารปฏิบัติ “เขา้ ใจ เข้าถึง พัฒนา ” ประสาน 2 กลุ่มโรงเรียน 3 กลุ่ม ประกอบด้วย กลุ่มทวาราวดี กลุ่มรัตนโกสินทร์ กลุ่มกรุง ธนบรุ ี “ประสาน” โรงเรยี น โดยใชว้ ิธกี าร “ ร่วมคิด รว่ มทา ร่วมพฒั นา ” ประสาน 3 สถานศึกษา/โรงเรียน “ประสาน”บคุ ลากรและครูและผู้มีส่วนเก่ียวข้องเพ่ือให้การ ดาเนนิ งานรว่ มกันทั้งครู ผบู้ ริหาร กลมุ่ โรงเรยี นและเขตพ้ืนท่ี โดยใช้กระบวนการ “ร่วมคดิ รว่ มมอื รว่ มใจ กา้ วไกล ยัง่ ยืน” ขอ้ มูลทม่ี ีการประชาสัมพนั ธ์/เผยแพร่/แหล่งศึกษาดูงาน เผยแพร่ในเว็ปไซต์ของกลุ่มนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการจัดการศึกษา สานักงานเขตพ้ืนท่ี การศึกษาประถมศกึ ษากรุงเทพมหานคร ผลงานเด่นเป็นท่ปี ระจักษ์ Good Practice ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2562 หนา้ 71

ตวั อย่างภาพกิจกรรม -(อย่างนอ้ ย 4 ภาพกจิ กรรม) – นางสาวบญุ ญลักษณ์ พมิ พา ผรู้ ายงาน ผู้อานวยการกลมุ่ นิเทศ ตดิ ตามและประเมนิ ผลการจดั การศึกษา ผลงานเด่นเป็นทป่ี ระจักษ์ Good Practice ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2562 หน้า 72

ผลงาน Good Practice ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.๒๕๖๒ กลุ่มอานวยการ ๑4. ช่อื ผลงาน การปรบั ปรุงภมู ทิ ศั น์ รกั ษ์ส่ิงแวดลอ้ ม ความเป็นมา สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษากรุงเทพมหานคร เป็นหน่วยงานทางการศึกษา มีโรงเรียนใน สังกัด จานวน ๓๗ โรงเรียน และเป็นหน่วยงานท่ีให้บริการแก่ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา และประชาชน ท่ีมาติดต่อราชการเป็นจานวนมาก เพื่อให้สานักงานเป็นหน่วยงานท่ีมีสภาพสิ่งแวดล้อมที่ดี สะอาด ร่มร่ืน มี บรรยากาศ ในการทางานทีด่ ี และเพ่ิมประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการของข้าราชการครูและบุคลากรทางการ ศึกษา และลกู จา้ งในสังกดั ๒. วธิ กี ารดาเนนิ งาน – กระบวนการ กล่มุ อานวยการ ดาเนนิ การ ดังน้ี ๑. ศกึ ษารายละเอียดในการดาเนนิ การ ๒. เสนอขออนุมัตดิ าเนินการปรบั ปรุงภมู ิทศั น์ ๓. ดาเนินการปรับปรุงภูมิทัศน์ โดยการจัดแบ่งพ้ืนที่ให้ข้าราชการ และบุคลากรในสังกัดเป็น ผรู้ ับผดิ ชอบ ดแู ลและรกั ษาความสะอาด ๓. ผลสาเร็จ เชงิ ปริมาณ ขา้ ราชการ และบคุ ลากรในสังกัด จานวน ๕๔ คน ดาเนนิ การดูแลและรักษาความสะอาด ตามที่รับผิดขอบ และมีความพึงพอใจ และสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากรุงเทพมหานคร มี ภาพลกั ษณ์ทีด่ ี เชงิ คุณภาพ ทาให้ข้าราชการ บุคลากร ข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษา ลูกจ้าง และผูม้ ารบั บริการจากหน่วยงานอ่ืน ๆ มีความพึงพอใจในสิ่งแวดล้อมท่ีดี มีบรรยากาศในการทางาน และทางานอย่างมี ความสุข การวเิ คราะห์ เทคนิค/รูปแบบทาใหเ้ กิดความสาเรจ็ ผบู้ ริหาร ข้าราชการและบุคลากรทางการศึกษา และลูกจ้างในสังกัด มีความร่วมมือช่วยกันปรับปรุงภูมิ ทศั น์ ของสานกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศึกษากรุงเทพมหานคร ปัจจยั ส่งผลใหเ้ กดิ ความสาเรจ็ อย่างยิ่ง ๑. ผู้บริหาร ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา และลูกจ้างในสังกัด มีความรัก ความสามัคคี และให้ความ ร่วมมือ ผลงานเด่นเปน็ ทปี่ ระจักษ์ Good Practice ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2562 หนา้ 73

๒. ผู้บริหาร ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา และลูกจ้างในสังกัด มีความต้องการ สภาพแวดลอ้ มท่ี ดขี องสานกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศึกษากรงุ เทพมหานคร เพ่อื เพ่ิมบรรยากาศในการทางานใหม้ ีความสุข ขอ้ มลู ที่มีการประชาสมั พันธ/์ เผยแพร่/แหลง่ ศึกษาดูงาน ขอความร่วมมอื ขา้ ราชการ และลูกจ้าง ในการดาเนินการ ตวั อยา่ งภาพกิจกรรม (อย่างนอ้ ย 4 ภาพกิจกรรม) ผลงานเด่นเปน็ ทป่ี ระจักษ์ Good Practice ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2562 หน้า 74

นางรงุ่ รัตน์ สงปาน ผ้รู ายงาน ผ้อู านวยการกลมุ่ อานวยการ ผลงานเด่นเปน็ ที่ประจักษ์ Good Practice ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2562 หน้า 75

ผลงาน Good Practice ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 กลุ่มบริหารงานบุคคล 15. ชอ่ื ผลงาน อนั ดับที่ 1 คือ การเลือ่ นเงินเดอื นข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ความเปน็ มา ดว้ ย ก.ค.ศ. ไดอ้ อกกฎ ก.ค.ศ. การเลอื่ นเงินเดอื นของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2561 โดยให้บังคับตั้งแต่วันท่ี 1 ตุลาคม 2561 เป็นต้นไป โดยมีสาระสาคัญให้เปล่ียนวิธีการเล่ือนเงินเดือนข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา จากระบบขั้นเงินเดือนเป็นระบบร้อยละตามแบบข้าราชการพลเรือนสามัญ ตามหนังสือ สานักงาน ก.ค.ศ. ท่ี ศธ 0206.7/ว 15 ลงวันที่ 27 กันยายน 2561 ประกอบกับ ก.ค.ศ. กาหนดหลักเกณฑ์และ วิธีการประเมินผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตามหนังสือสานักงาน ก.ค.ศ. ที่ ศธ 0206.7/ ว 20 ลงวนั ที่ 30 ตลุ าคม 2561 และตามหนังสือสานกั งาน ก.ค.ศ. ท่ี ศธ 0206.7/ว 6 ลงวันท่ี 28 มีนาคม 2562 เพ่ือประกอบการพิจารณาเลื่อนเงินเดือน และคณะกรรมการขับเคล่ือนการปฏิรูปการศึกษาของ กระทรวงศึกษาธิการในภูมิภาคมีมติเห็นชอบให้คณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัด ดาเนินการเกี่ยวกับการบริหารงาน บคุ คลสาหรบั ขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษา 2. วธิ ีดาเนนิ งาน – กระบวนการ 2.1 นับมีตัวและเงินเดือนข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ที่มีตัวอยู่จริง ณ วันที่ 1 มีนาคม หรือ 1 กนั ยายน 2.2 กรอกข้อมูลการนับมีตัวข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ที่มีตัวอยู่จริง ณ วันท่ี 1 มีนาคม หรือ 1 กันยายน ด้วยโปรแกรมของสานักเทคโนโลยีเพ่ือการเรียนการสอน สพฐ. และจัดส่งบัญชีรายละเอียดท่ีมีผู้ รบั รองความถูกต้องไปยงั สพฐ. 2.3 ประชุมคณะกรรมการบริหารวงเงินการเลื่อนเงินเดือนข้าราชการระดับ สพท. และจัดทาประกาศ หลักเกณฑก์ ารจดั สรรวงเงนิ ให้โรงเรยี นทราบ 2.4 สถานศกึ ษารายงานผลการปฏิบัตงิ านเพอ่ื เลื่อนเงนิ เดอื นต่อ สพท. 2.5 สพท. แต่งตั้งคณะกรรมการประเมิน เพ่ือประเมินผลการปฏิบัติงานสายงานบริหารสถานศึกษาและ สายงานนิเทศการศกึ ษา 2.6 สพท. จัดทาบัญชีรายละเอียดเสนอขอเล่ือนเงินเดือนข้าราชการต่อคณะกรรมการพิจารณาเลื่อน เงนิ เดือนระดบั สพท. 2.7 สพท. นาผลการพิจารณาเล่ือนเงินเดือนในสังกัด เสนอขอความเห็นชอบต่อ คณะอนุกรรมการ ศึกษาธกิ ารจังหวดั กรงุ เทพมหานครและคณะกรรมการศึกษาธิการจงั หวดั กรุงเทพมหานคร 2.8 สพท. จัดส่งเอกสารแสดงการเล่ือนเงินเดือนมายัง สพฐ. และกรอกข้อมูลในบัญชีแสดงการเลื่ อน เงินเดือนขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาดว้ ยโปรแกรมของสานกั เทคโนโลยีเพอื่ การเรียนการสอน สพฐ. 2.9 ออกคาส่ังเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ และแจง้ ผลการพจิ ารณาของข้าราชการครูให้โรงเรียนทราบ รวมถึง การแจง้ ผลการแจ้งผลการเลื่อนเงนิ เดอื นข้าราชการครู ทม่ี าช่วยราชการไปยัง สพท. ต้นสงั กัด 3. ผลสาเร็จ เชงิ ปรมิ าณ ผลงานเด่นเปน็ ทป่ี ระจักษ์ Good Practice ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2562 หนา้ 76

3.1 ผู้บริหารสถานศึกษาและครูผรู้ ับผดิ ชอบ รอ้ ยละ 90 มีทกั ษะ ความรู้ ความสามารถในการปฏิบตั งิ าน 3.2 ผบู้ รหิ ารสถานศึกษาและครผู รู้ บั ผิดชอบ รอ้ ยละ 90 มีความตระหนักถงึ ความยุตธิ รรมและความโปร่งใส เชิงคณุ ภาพ 3.3 ผ้บู ริหารสถานศกึ ษาและครผู ้รู บั ผดิ ชอบ มีทักษะ ความรู้ ความสามารถในการปฏิบัติงาน รวมไปถึงการ สรา้ งความเขา้ ใจให้กบั บุคลากรในโรงเรียนได้ 3.4 ผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้รับผิดชอบ มีความตระหนักถึงความยุติธรรมและความโปร่งใส สามารถ สรา้ งความเช่อื มั่นในผลการเลอื่ นเงนิ เดอื นได้ การวเิ คราะห์ เทคนิค/รปู แบบท่ีทาใหเ้ กดิ ความสาเร็จ 1. สร้างความรู้ ความเข้าใจให้กบั เจ้าหน้าทผ่ี ้รู บั ผิดชอบงานเงินเดือนของโรงเรยี น 2. การใชโ้ ปรแกรมในการเลอื่ นเลอ่ื นเงนิ เดือน เพื่อใหเ้ กดิ ความถกู ตอ้ งและรวดเร็ว 3. จัดตั้งกลุ่มไลน์ เพ่ือให้การประสานงานและให้คาปรึกษากับเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานเงินเดือนของ โรงเรียนไดอ้ ยา่ งถกู ต้องและรวดเร็ว ปจั จยั ที่ส่งผลใหเ้ กดิ ความสาเร็จอย่างยิ่ง 1. ผูบ้ รหิ ารให้ความสาคญั กบั การเลอื่ นเงนิ เดือน ตระหนักถงึ ความยุตธิ รรมและความโปร่งใส 2. การใหค้ วามร่วมมอื ของเจ้าหนา้ ท่ีผรู้ บั ผิดชอบงานเงินเดือนของโรงเรียนได้เปน็ อยา่ งดี ข้อมลู ที่มกี ารประชาสัมพนั ธ์/เผยแพร่/แหล่งศึกษาดูงาน 1. ประชุมทางไกลผ่านระบบ (VDO Conference) เร่ืองช้ีแจงการเล่ือนเงินเดือนของข้าราชการครูและ บุคลากรทางการศึกษา โดยมี ดร.อษุ ณีย์ ธโนศวรรย์ เลขาธิการ ก.ค.ศ. เป็นประธานการประชมุ 2. ประชุมทางไกลผ่านระบบ (VDO Conference) เร่ืองแนวทางปฏิบัติในการพิจารณาเล่ือนเงินเดือน ข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา จากสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน 3. จัดประชุมเรื่องแนวปฏิบัติในการพิจารณาเลื่อนเงินเดือนข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ระดับ สพท. ณ หอ้ งประชุมใหญช่ ้นั 3 สานกั งานเขตพ้ืนที่การศกึ ษาประถมศึกษากรงุ เทพมหานคร ผลงานเดน่ เป็นท่ปี ระจักษ์ Good Practice ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2562 หน้า 77

ตัวอยา่ งภาพกจิ กรรม – (อยา่ งน้อย 4 ภาพกิจกรรม) – 1. ผู้บริหารสถานศึกษา และบุคลากรทางการศึกษา สพป.กทม. ร่วมประชุมทางไกล (VDO Conference) ร่วมกับ สานักงาน ก.ค.ศ. เพื่อช้ีแจงการเลื่อนขั้นเงินเดือนข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตามกฎ ก.ค.ศ. พ.ศ. 2561โดยมี ดร.อุษณยี ์ ธโนศวรรย์ เลขาธิการ ก.ค.ศ. เป็นประธานการประชุม 2. พธิ ีลงนามในการบนั ทึกข้อตกลงความรว่ มมอื (MOU) การเล่อื นเงินเดือนและบุคลากรทางการศกึ ษา ผลงานเด่นเป็นทีป่ ระจักษ์ Good Practice ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2562 หน้า 78

3. ประชุมคณะกรรมการบรกิ ารวงเงินการเลือ่ นเงนิ เดอื นข้าราชการระดบั สพท. 4. ประเมนิ ผลการปฏิบัตงิ านสายงานบรหิ ารสถานศกึ ษา นางสาวสิรีธร แสงสว่าง ผู้รายงาน นกั ทรัพยากรบคุ คลปฏิบัติการ ผลงานเด่นเปน็ ที่ประจักษ์ Good Practice ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2562 หนา้ 79

หนว่ ยตรวจสอบภายใน 16.โครงการประชุมเชิงปฏิบตั กิ ารพัฒนาประสทิ ธภิ าพและติดตาม เจา้ หนา้ ท่ีการเงนิ บัญชี โรงเรียนในสังกัด สพป.กทม. ปีงบประมาณ 2562 ความเป็นมา ตามที่รัฐบาลได้ดาเนินการปฏิรูประบบบริหารภาครัฐ รวมถึงการปรับเปล่ียนการบริหารงาน ราชการ การปฏิรูประบบบริหารภาครัฐด้านหนึ่งคือการปรับเปล่ียนระบบงบประมาณการเงินและการพัสดุ เพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายและยุทธศาสตร์ในการพัฒนาประเทศและส่งเสริม ให้สถาน ศึกษา มี บทบาทในการตัดสินใจมากขึ้น พร้อมทั้งจัดให้มีประสิทธิภาพและโปร่งใส แต่สถานศึกษาไม่มีบุคลากรสาย สนับสนุนการสอนที่มาช่วยปฏิบัติงานด้านการเงิน การบัญชีโดยตรง ต้องอาศัยครูที่มีภาระการสอนมาปฏิบัติ หน้าที่ จึงทาให้การทางานล่าช้า และปฏิบัติไม่ถูกต้องตามระเบียบของทางราชการส่งผลให้เกิดความเสียหาย โดยรวม นนั้ หนว่ ยตรวจสอบภายใน มีหน้าท่ีดาเนินงานตรวจสอบความถูกต้องและเชื่อถือได้ของข้อมูลการ บริหารงบประมาณ บริหารการเงนิ บัญชแี ละอนื่ ๆ ของหน่วยงาน ตลอดจนใหค้ าแนะนา เสนอแนะ วิธีการให้กับ ผ้ปู ฏบิ ตั งิ าน รวมทง้ั การปอ้ งปรามมิใหเ้ กดิ ความเสยี หาย หรอื ทจุ ริตในการปฏบิ ตั งิ านตามกรอบงานที่เกี่ยวข้องกับ ระเบียบ ข้อบังคับและกฎหมายอื่น ๆ ท่ีเก่ียวข้องกับ การบริหารงานการเงิน การบริหารงานบัญชี จากเหตุผลดังกลา่ วจึงมีความจาเป็นอย่างย่งิ ที่จะตอ้ งให้ความรู้ ความเข้าใจ แก่ผู้ปฏิบัติงานด้านการเงิน และการ บญั ชี ในโรงเรียน ทั้งน้ี เพ่อื ให้การดาเนนิ การทางการเบกิ จ่ายเงนิ และจดั ทาบัญชีมปี ระสิทธิภาพ เป็นมาตรฐาน เดยี วกนั เกิดความโปร่งใส และมีกระบวนการตรวจสอบที่ชัดเจน ซึ่งจะช่วยลดปัญหาการทุจริต ในภาครัฐได้ใน อกี ทางหน่ึง วธิ กี ารดาเนนิ งาน –กระบวนการ - ประชมุ คณะทางานเพ่อื เตรยี มการจดั ทาเอกสารประกอบการประชมุ จัดทาแบบ ฝกึ ปฏิบตั กิ ารบนั ทกึ บญั ชี และตวั อยา่ ง และเตรยี มการจดั ประชมุ โครงการดังกลา่ ว (เดือนสิงหาคม2562) - แจ้งหนงั สอื เชิญเจ้าหนา้ ทท่ี ่ีเกย่ี วข้องใหม้ าประชุม ผลสาเร็จ เชิงปริมาณ 1. เจ้าหนา้ ที่การเงิน และเจ้าหนา้ ท่ีบัญชี ผไู้ ด้รบั มอบหมายให้ปฏิบัตหิ น้าที่ของโรงเรียน ในสังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษากรุงเทพมหานคร และบุคลากรในสานักงานเขตพ้ืนท่ีฯ รวมจานวน 85 คน 2. กาหนดการประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาประสิทธิภาพและติดตาม เจ้าหน้าที่การเงิน บัญชี โรงเรียนในสังกดั สานกั งานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษากรงุ เทพมหานคร ปงี บประมาณ2562เป็นเวลา1วัน เชงิ คณุ ภาพ เจ้าหนา้ ทกี่ ารเงนิ การบญั ชี ผู้ได้รบั มอบหมายใหป้ ฏบิ ัติหน้าท่ขี องโรงเรยี นในสงั กัด สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากรุงเทพมหานคร จะได้นาความรู้ท่ีได้รับไปใช้เป็นแนวทางในการ ดาเนนิ การเบิกจ่าย ตลอดจนการจดั ทาบัญชี อย่างถูกต้อง คล่องตวั และมีประสิทธิภาพ การวเิ คราะห์ ปัจจยั สาคญั ทส่ี ่งผลการดาเนินงานใหส้ าเร็จ ผ้บู รหิ าร เจา้ หน้าที่การเงนิ การบญั ชี ผ้ไู ดร้ ับมอบหมายใหป้ ฏิบัตหิ นา้ ที่ของโรงเรียน ผลงานเด่นเปน็ ทป่ี ระจักษ์ Good Practice ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2562 หนา้ 80

ในสังกัดสานกั งานเขตพื้นทีก่ ารศึกษาประถมศึกษากรุงเทพมหานคร และบุคลากรในสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา ประถมศึกษากรุงเทพมหานคร เห็นความสาคัญ และให้ความร่วมมือในการเข้าร่วมประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนา ประสิทธิภาพและติดตาม เจ้าหน้าท่ีการเงิน บัญชี โรงเรียนในสังกัด สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา กรุงเทพมหานคร ปีงบประมาณ 2562 โดยพร้อมเพียงกัน พร้อมทั้งได้ประเมินความพึงพอใจในการอบรม โดยสรุปผล การประเมินอยูใ่ นระดับความพึงพอใจ ปานกลาง มากถึงมากที่สุด ตวั อย่างภาพกจิ กรรม นางยุพา มงคลทิพยร์ ตั น์ ผรู้ ายงาน ผอู้ านวยการกลุ่มตรวจสอบภายใน ผลงานเด่นเปน็ ที่ประจักษ์ Good Practice ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2562 หน้า 81

ผลงาน GOOD PRACTICE ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2562 กลุม่ นโยบายและแผน 17.ช่ือผลงาน การบรหิ ารงบประมาณและการวางแผนท่ีมปี ระสทิ ธภิ าพ ความเป็นมา การวิเคราะหง์ บประมาณ หมายถึงกระบวนการค้นหาข้อเท็จจริงเกี่ยวกับฐานะทางการเงินและ ผลการดาเนินงานของสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษากรุงเทพมหานคร กิจการใดกิจการหน่ึงจากงบ การเงนิ ของกจิ การนั้น พร้อมทัง้ นาข้อเทจ็ จรงิ ด้งกลา่ วมาประกอบการตัดสนิ ใจ การวิเคราะห์งบประมาณรายจ่าย หมายถึงกระบวนการวางแผนทางการเงินว่าสานักงานฯ จะ บรรลุจุดมุ่งหมายตามเป้าหมายได้อย่างไรโดยพิจารณาเงินรายได้จากทุกแหล่งเป็นตัวกาหนดขีดจากัดในการ จดั สรรงบประมาณรายจา่ ยเพ่ือการบริหารจดั การ การจดั ทารายงานการวเิ คราะห์งบประมาณ หมายถึงการรายงานตัวเลขท่ีเกิดขึ้นจริงของรายได้ รายจา่ ย และเงนิ ทุนท่ีก่อหน้ผี ูกพันไว้ โดยเปรียบเทียบกับงบประมาณที่ได้รับ ซ่ึงผู้บริหารแต่ละคนต้องการได้รับ รายงานที่ต่างกัน ดังน้ันรายงานที่ดีจึงควรอ่านเข้าใจได้ง่าย แต่รายละเอียดท่ีควรมีต้องไม่ขาดตกบกพร่อง รายงานที่ดีทส่ี ดุ ตอ้ งใหข้ ้อมูลท่ผี ู้บริหารแตล่ ะระดับต้องการ โดยจดั ทาข้ึนอย่างนอ้ ยเดอื นละคร้ัง ๒. วธิ ีดาเนนิ งาน 1.สารวจขอ้ มลู 2.แต่งตั้งคณะกรรมการ 3. คณะกรรมการประชมุ ดาเนินการวิเคราะห์ขอ้ มลู แผนงาน งาน โครงการ วิเคราะห์ค่าใช้จ่าย แผนงาน งาน โครงการ ทีส่ ่งผลผลติ หลักของหนว่ ยงานและงบประมาณรายจา่ ยของหนว่ ยงาน 4. นาเสนอผบู้ ังคบั บญั ชาพิจารณา 5.จัดทารายงานผลการวิเคราะหง์ บประมาณรายจา่ ย เผยแพรข่ อ้ มูล 6. ดาเนนิ การตามแผนงาน โครงการ 7. รายงานผลการดาเนนิ งาน . กระบวนการ/ขั้นตอนการดาเนินงาน กลุ่มนโยบายและแผน กาหนดขั้นตอนการดาเนินการจัดทาแผนงบประมาณ ท่ีเน้นการมีส่วน ร่วมของบุคลากรทุกฝ่าย และบุคลากรภายนอกผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ได้แก่ ผู้อานวยการโรงเรียน ครู โดยยึด หลักการบริหารเชงิ ระบบ PDCA ดังน้ี 1 ขนั้ วางแผน 1) สรา้ งความตระหนกั แกค่ รแู ละบุคลากรทกุ คนทจ่ี ะต้องรู้และตระหนักรว่ มกนั 2 ขัน้ ดาเนนิ การ 1) วเิ คราะหส์ ภาพแวดล้อม 2) จัดระบบบริหารและสารสนเทศเป็น 4 งาน ให้เอื้อต่อการดาเนินงานพัฒนา คุณภาพ คือ กลุ่มบริหารวิชาการ กลุ่มบริหารงบประมาณ กลุ่มบริหารงานบุคคล และกลุ่มบริหารทั่วไป แต่ละ กลุ่มงานเปิดโอกาสให้ทกุ คนได้มีสว่ นรว่ มและมกี ารประสานสมั พนั ธไมตรีท่ดี ีตอ่ กัน เพ่ือการประสานงานท่ีราบรื่น ผลงานเด่นเปน็ ที่ประจักษ์ Good Practice ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2562 หน้า 82

กาหนดแนวทางปฏิบตั ิ ระยะเวลา งบประมาณ ผ้รู บั ผดิ ชอบ และจดั ใหม้ ขี ้อมลู คุณภาพการศกึ ษาที่ครอบคลุมการ ดาเนนิ ท้ัง 4 กลุม่ งาน 3) จดั ทาแผนงาน โครงการพฒั นาการศึกษา ของสานักงานท่ีมุ่งเน้นคุณภาพการศึกษา มีประชุมเพื่อจัดทาแผน จัดทาโครงการและกิจกรรม โดยผู้ท่ีมีหน้าท่ีรับผิดชอบ ในแต่ละงานวางแผนร่วมกัน บคุ ลากรทกุ คนมีส่วนรว่ มและนาเสนอตอ่ ผู้บงั คับบญั ชา เพอ่ื นาสู่การปฏิบัติ 4) ดาเนินงานตามแผนอย่างเป็นระบบ โดยกาหนดปฏิทิน รับรู้ร่วมกันว่าจะทาอะไร อย่างไร เมอ่ื ไร โดยมผี ้รู บั ผิดชอบโครงการเปน็ หลกั 3 ข้ันตดิ ตามและประเมินผล 1) กาหนดกรอบการประเมนิ จดั ทาเครื่องมอื เก็บขอ้ มูล และวเิ คราะห์ข้อมลู 2) รายงานผลรายไตรมาส หรอื หลงั จากดาเนนิ การเสร็จส้นิ ภายใน 15 วนั โดยผทู้ ่ีรับผิดชอบแต่ละโครงการ 4 ขัน้ พฒั นาและปรับปรงุ 1) เสนอข้อมูลย้อนกลับให้แก่ผู้ปฏิบัติงานอย่างสม่าเสมอ เพ่ือส่งเสริม พัฒนา และ ประเมินประสทิ ธิภาพการดาเนนิ งาน เตรียมการ ดาเนินการ ผลการดาเนินงาน -สร้ างความตระหนกั -คณุ ภาพ -กาหนดผ้รู ับผิดชอบ P การวางแผน -ประสทิ ธิภาพ -วเิ คราะห์สภาพแวดล้อม -จดั ทาแผนงาน โครงการ A การพฒั นา ปรับปรุง การสร้างนวตั กรรม D การดาเนินงาน -ให้ข้อมลู ย้อนกลบั การทางานแบบมี -ทาอะไร -พฒั นา ตอ่ ยอด -ทาอยา่ งไร สว่ นร่วม -ทาเมอ่ื ไร C การประเมินผลและตรวจสอบ ตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผล แผนภาพวงจรคณุ ภาพ PDCA หนา้ 83 3. ผลสาเรจ็ เชิงปรมิ าณ 1.ผู้บริหาร บุคลากรทางการศกึ ษาทกุ คนมีส่วนร่วม ผลงานเดน่ เปน็ ทีป่ ระจักษ์ Good Practice ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2562

เชิงคุณภาพ 1. ผู้บริหาร บุคลากรทางการศึกษา ให้ความร่วมมือในการดาเนินงาน และรายงานผลการ ดาเนินงานตามระยะเวลาทกี่ าหนด 2. การบริหารแผนสกู่ ารปฏบิ ัตมิ ปี ระสิทธภิ าพ ประสิทธผิ ล 4.การวเิ คราะห์ ปจั จัยสาคญั ที่สง่ ผลการดาเนินงานใหส้ าเร็จ ปัจจัยทที่ าให้ผลงานสาเร็จและมีผลการปฏิบตั ิงานทเ่ี ปน็ เลิศ ของวฒั นธรรมการทางานทีเ่ น้นการมีสว่ น ร่วม มีดงั น้ี 1)ผ้บู ริหารมภี าวะผ้นู า มีทักษะของภาวะผู้นาในศตวรรษท่ี 21 มกี ารสรา้ งทมี งานทีม่ ปี ระสทิ ธิภาพ มองเหน็ การเปล่ียนแปลงว่าเป็นโอกาส เปน็ นักคดิ นักพฒั นาท่ีทนั ต่อการเปล่ยี นแปลง บริหารงานระบบ ประชาธิปไตย 2) บคุ ลากรมคี วามพร้อมท่ีจะเปน็ ผู้นาการเปลย่ี นแปลง ยอมรบั ฟังและนาองค์ความรใู้ หม่ๆ มา ดาเนนิ งานในการทางาน มีจุดประสงค์และเปา้ หมายในการทางานที่เป็นไปในทศิ ทางเดยี วกนั 3) การไดร้ บั การสนับสนนุ ดา้ นวัสดุ อปุ กรณ์ ดา้ นเงินทุน ในการดาเนนิ งานอย่างเต็มที่ 4) การบรหิ ารจัดการองค์กรอยา่ งเป็นระบบ มีการแบง่ งานในแตล่ ะฝา่ ยอยา่ งชดั เจน บุคลากรมภี าวะ ผู้นา ผตู้ ามที่มีในการทางาน ทาใหง้ านท่ีไดร้ บั มอบหมายประสบความสาเร็จ 5) สถานศกึ ษามีความเข้มแข็งในการบริหารจัดการ 6) ผู้เรียนมคี ณุ ภาพตามคุณลักษณะผ้เู รยี นในศตวรรษท่ี 21 นางสาววิภาวดี เหลม็ เตะ๊ ผูร้ ายงาน ผ้อู านวยการกลุ่มนโยบายและแผน ผลงานเดน่ เป็นที่ประจักษ์ Good Practice ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2562 หนา้ 84

ผลงาน GOOD PRACTICE ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2562 กลมุ่ พัฒนาครูและบุคลากรทางการศกึ ษา 18.ชอ่ื ผลงาน การจัดงานยกย่องเชิดชูเกยี รติ “เรยี งรอ้ ยด้วยรัก ถกั ทอสายใย จากใจชาว สพป.กทม.62 ความเปน็ มา การสร้างขวัญและกาลังใจ หมายถึงการดาเนินการใดๆ ที่ให้บุคคลทางานสาเร็จตามเป้าหมาย ท่ีต้ังไว้ ส่ิงสาคัญอย่างหน่ึงคือความสุขกาย ความสบายใจ ในการทางานซ่ึงความรู้สึกดังกล่าวจะเกิดขึ้นได้ต้อง อาศัยปัจจัยตัวกาหนด หรือเป็นพลังผลักดันให้บุคคลเกิดความกระตือรือร้นในการปฏิบัติงาน เพราะขวัญที่ดีจะ เปน็ ตัวกาหนดหรือเป็นพลังผลัดกันให้บุคคลเกิดความกระตือรือร้นในการปฏิบัติงานเพื่อให้เกิดขวัญและกาลังใจ ซึง่ การสร้างขวัญและกาลังใจเปน็ ส่งิ จาเปน็ ทผี่ ู้บริหารจะต้องเอาใจใส่ผู้ใต้บังคับบัญชาอยู่เสมอ เพราะถ้าการบารุง ขวัญท่ีดีจะทาให้มีการสร้างผลงานที่มีคุณภาพให้แก่หน่วยงาน จึงต้องมีการเสริมสร้างขวัญและบารุงขวัญของ บุคลากรทุกระดับ เพื่อรักษาเสถียรภาพของผู้ปฏิบัติงานให้อยู่ในระดับสูงตามความต้องการ และส่งผลไปถึง ประสทิ ธิภาพของงานบรรลตุ ามวัตถปุ ระสงค์ขององค์การ ซงึ่ ความสาคัญของขวญั ในการปฏิบตั งิ าน มีดังนี้ 1.ก่อให้เกิดความรว่ มมอื ร่วมใจเพอื่ บรรลวุ ัตถปุ ระสงคข์ ององค์การ 2. เกิดความจงรักภกั ดี ซื่อสตั ยต์ ่อหมูคณะและองค์การ 3.ปฏบิ ัตอิ ยใู่ นกรอบแหง่ ระเบยี บวนิ ยั และศีลธรรมอนั ดงี าม 4.เกิดความสามัคคีในหมู่คณะและก่อให้เกิดพลังร่วม (GROUP EFFORT) และฝ่าฟันอุปสรรค ทั้งหลายขององค์กรได้ 5.เกดิ ความคดิ สร้างสรรคใ์ นกจิ การต่าง ๆ ขององคก์ ร 6. เกดิ ความเชอ่ื ม่นั และศรทั ธาในองคก์ รท่ีตนปฏบิ ตั อิ ยู่ ด้วยเหตุน้ี สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษากรุงเทพมหานคร จึงได้กาหนดจัดงานยก ย่องเชดิ ชเู กียรตแิ ก่ขา้ ราชการและบุคลากรทางการศึกษาขึ้นเปน็ ประจาทกุ ปี วิธดี าเนนิ การ จัดงาน ยกยอ่ งเชิดชเู กยี รติ ครู และบคุ ลากรทางการศึกษา เรียงร้อยด้วยรัก ถักทอสายใย จากใจชาว สพป.กทม.62” ในวันท่ี 14 กันยายน 2562 ณ โรงเรียนพิบูลอุปถัมภ์ โดยรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงศกึ ษาธิการ เปน็ ประธานในงาน มอบโลเ่ กยี รตคิ ณุ และมอบเกยี รตบิ ัตร ยกย่องเชิดชูเกียรติ จัดมุทิตา จิต และบายศรสี ู่ขวัญแก่ผู้เกษยี ณอายรุ าชการ โดยดาเนนิ การดังนี้ 1. แต่งต้ังคณะทางานดาเนนิ การ ประชมุ มอบหมายหน้าท่กี ารดาเนนิ การ 2. จดั ทาเกยี รตบิ ตั ร โลเ่ ชิดชูเกยี รตแิ กผ่ เู้ กษียณอายุราชการ 3. จดั พิธีสงฆ์เพอ่ื สิรมิ งคลแก่ผเู้ กษยี ณอายรุ าชการ และผู้รว่ มงาน 4. เรยี นเชิญรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการเป็นประธานในพิธี /มอบเกียรติบัตร และโล่ เชดิ ชเู กียรติ 5. จดั พธิ บี ายศรสี ขู่ วญั แกผ่ ้เู กษยี ณอายรุ าชการ 6. ประเมนิ ผลและรายงาน ผลงานเด่นเป็นทปี่ ระจักษ์ Good Practice ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2562 หนา้ 85

ผลสาเร็จ เชิงปรมิ าณ 1. ผ้บู ริหาร ขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษา สังกดั สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษา ประถมศกึ ษากรุงเทพมหานคร จานวน 600 คน เขา้ ร่วมงาน 2. ผบู้ ริหาร ขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา สังกดั สานกั งานเขตพนื้ ที่การศึกษา ประถมศกึ ษากรุงเทพมหานคร ท่ีเกษียณอายรุ าชการ จานวน 64 คน เชงิ คุณภาพ 1. ผู้บริหาร ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา สังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา ประถมศกึ ษากรงุ เทพมหานคร รว่ มมทุ ิตาจติ แก่ผู้เกษียณอายรุ าชการ 2. ผูเ้ กษยี ณอายุราชการได้รับการยกย่องเชดิ ชเู กียรติ 3. เปน็ การสร้างวฒั นธรรมองค์กรที่ดงี าม สบื ตอ่ ไป การวเิ คราะห์ ปจั จัยทีส่ ง่ ผลการดาเนนิ งานให้สาเรจ็ สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษากรุงเทพมหานคร ชมรมผู้บริหารโรงเรียนสังกัด สพป. กทม. สถานศึกษา ผู้บริหาร ครูและบุคลากรทางการศึกษา เห็นความสาคัญ และให้ความร่วมมือในการ ดาเนินงาน ภาพกิจกรรมในงาน นางสาววิภาวดี เหลม็ เตะ๊ ผู้รายงาน ผู้อานวยการกลุ่มนโยบายและแผน ผลงานเด่นเปน็ ท่ีประจักษ์ Good Practice ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2562 หนา้ 86

ผลงาน Good Practice ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2562 กลุ่มบรหิ ารงานการเงนิ และสนิ ทรพั ย์ 19.ช่อื ผลงาน แนวปฏบิ ตั ิทีด่ ี (Good Practice) ผลการบรหิ ารการเบิกจา่ ย งบประมาณ พ.ศ.2562 ความเป็นมา การบริหารการเบิกจ่ายงบประมาณท่ีได้รับจัดสรรในแต่ละงบรายจ่ายของแต่ละงานหรือโครงการ ภายใต้แผนงาน เดียวกันหรือต่างแผนงานกัน ตามค่าใช้จ่ายที่กาหนดให้จ่ายในการบริหารงานประจา ตามอานาจหน้าที่ของส่วนราชการ หรอื รายจา่ ยทเี่ ปน็ ผลสบื เนอ่ื งจากการปฏิบัติหน้าท่ีที่กาหนดไว้ในแผนงบประมาณ ซ่ึงเป็นการเบิกจ่ายทุกแผนงาน เช่นการ เบกิ จ่ายจากงบดาเนินงาน ลักษณะค่าตอบแทน ค่าใช้สอย ค่าวัสดุ และค่าสาธารณูปโภค หรืองบรายจ่ายอ่ืนใดท่ีเบิกจ่ายใน ลักษณะเดียวกนั โดยมีการตรวจสอบและควบคุมงบประมาณที่ได้รับจัดสรรในปีงบประมาณ เมื่อได้รับการโอนเปล่ียนแปลง งบประมาณรายจา่ ย กส็ ามารถเบกิ จา่ ยไดอ้ ยา่ งถูกต้องทุกรายการ อย่างต่อเนื่องตลอดปีงบประมาณ ซึ่งสอดคล้องกับภารกิจ กลุม่ บรหิ ารงานการเงนิ และสินทรพั ย์ ในการดาเนินการเกย่ี วกับงานบริหารการเงินงานบริหารงานบัญชี งานบริหารงานพัสดุ และบริหารงานสินทรัพย์ ให้ถูกต้อง โปร่งใส และตรวจสอบได้ซ่ึงการดาเนินการของการบริหารงานแต่ละด้านจะมีแนว ปฏิบัติตามระเบียบที่เก่ียวข้องอย่างชัดเจน โดยการดาเนินการดังกล่าวข้างต้นจะต้องมีสถานศึกษาท่ีเป็นหน่วยงานย่อยที่ เก่ียวข้องโดยตรง กลุ่มบริหารงานการเงินและสินทรัพย์ มีหน้าท่ีให้บริการ สนับสนุน ส่งเสริมให้สถานศึกษาบริหารจัดการ ตามระเบียบ และวิธปี ฏิบตั ิให้ถูกต้อง มปี ระสทิ ธภิ าพและมีประสิทธิผล 2.วิธกี ารดาเนนิ งาน – กระบวนการ การเบกิ จา่ ยเงินงบประมาณ 1.เจา้ หน้าที่รับหลกั ฐานขอเบิกและบนั ทึกในทะเบียนคุมหลักฐานขอเบิก 2.เจา้ หนา้ ท่ีตรวจสอบหลักฐานขอเบิก/ตรวจสอบงบประมาณที่ไดร้ ับจดั สรร 3.เจา้ หน้าที่จดั ทางบหนา้ รายการขอเบกิ และบันทึกขออนุมัติเบิกเงิน 4.เสนอ ผอ.สพป.อนมุ ตั ิ 5.เจ้าหน้าทบ่ี นั ทกึ รายการวางเบกิ ในทะเบียนคุมเอกสารการวางเบิก 6.เจ้าหนา้ ทบ่ี ันทกึ ขอเบิกเสนอ ผอ.สพป.หรอื ผ้ไู ดร้ ับมอบหมายอนุมัติ 7.กรมบญั ชกี ลางอนุมัติคาขอเบิกเงนิ ผา่ นระบบ GFMIS 8.เจ้าหน้าท่ีจดั พมิ พร์ ายงานการขอเบิกเงนิ จากคลัง 9.กากับติดตามให้ทุกกลุ่มงานใน สพป.กทม.และสถานศึกษาในสังกัด สพป.กทม.เร่งดาเนินการและ จัดสง่ หลกั ฐานการเบิกเงนิ เพอ่ื ใหก้ ารเบกิ จา่ ยงบประมาณประจาปี มีผลการเบกิ จา่ ยเงินได้ตามเป้าหมายท่ตี ้งั ไว้ ผลงานเด่นเป็นที่ประจักษ์ Good Practice ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2562 หนา้ 87

กระบวนการเบิกจา่ ยงบประมาณ รับเร่ืองเบิกจ่าย และตรวจสอบเอกสารเบ้ืองต้น บนั ทึกลงในทะเบียนคุมหลักฐานการขอเบิก ทารายการขอเบิกในระบบ GFMIS จดั พิมพ์รายงานจากระบบ GFMIS ผอู้ นมุ ตั ลิ งนามรับรองความถูกต้อง บันทกึ ในทะเบยี นคุมการเบกิ จา่ ยเงิน กากับติดตามการส่งหลักฐานขอเบิกเงิน 3.ผลสาเรจ็ เชงิ ปริมาณ 1.ปีงบประมาณ พ.ศ.2562 ได้รับจดั สรรงบประมาณทัง้ ส้ิน 224,827,592.98 บาท 2.จาแนกตามรายการจัดสรร 4 รายการ ดังน้ี 2.1 งบบคุ ลากร จานวน 23,515,090.-บาท 2.2 งบดาเนินงาน จานวน 54,890,236.73 บาท 2.3 งบลงทนุ จานวน 36,845,186.25 บาท 2.4 งบเงนิ อดุ หนุน จานวน 109,577,080.- บาท เชงิ คุณภาพ 1.ผลการเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2562 สามารถเบิกจ่ายได้ท้ังส้ิน 224,933,769.27 บาท คดิ เปน็ ร้อยละ 99.95 ของงบประมาณทไี่ ด้รับจดั สรร 2.ผลการเบิกจ่ายงบดาเนินงาน แผนงานบูรณาการต่อต้านการทุจริตและประพฤติมิชอบ มีผลการเบิกจ่าย ร้อยละ 93.09 อยใู่ นลาดบั ที่ 18 จาก 183 เขตพ้ืนการศึกษาประถมศกึ ษาทั่วประเทศ การวเิ คราะห์ ผลงานเดน่ เปน็ ที่ประจักษ์ Good Practice ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2562 หน้า 88

เทคนิค/รปู แบบทีท่ าให้เกดิ เทคนิคที่ทาให้ได้รับผลสาเร็จในการเบิกจ่ายงบประมาณ 2562 คือ การทางานเป็นทีม ประสาน ติดตามอย่างต่อเน่ือง และสมา่ เสมอ ผลสาเรจ็ ท่ไี ด้รบั อยู่ในระดบั ทเี่ กินร้อยละ 90 ทง้ั 2 รายการ เป็นทน่ี ่าพอใจอย่างยิ่ง ปัจจยั ส่งผลให้เกดิ ความสาเรจ็ อยา่ งยง่ิ ปัจจยั สาคญั ท่ีส่งผลให้เกิดความสาเร็จอย่างยิ่งในการบริหารการเบิกจ่ายงบประมาณปี 2562 คือ ความใส่ใจ เข้าใจ และรับฟังปัญหาท่ีเกดิ ขึ้นระหว่างปงี บประมาณ ช่วยใหแ้ กป้ ัญหาไดท้ ัน จงึ สามารถเบกิ จา่ ยได้ตามเป้าหมาย ผลงานเดน่ เป็นทีป่ ระจักษ์ Good Practice ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2562 หน้า 89

ผลงาน Good Practice ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 กลมุ่ นิเทศ ติดตาม และประเมินผลการศกึ ษา 20.ชอื่ ผลงาน คูม่ ือการจดั กจิ กรรมเสริมหลักสูตร หนนู อ้ ยปลอดภัย สร้างวนิ ัยจราจร ความเปน็ มา อุบัติเหตุจราจรเป็นสาเหตุสาคัญท่ีก่อให้เกิดการบาดเจ็บและเสียชีวิต ซึ่งมีแนวโน้มท่ีสูงขึ้นเรื่อย ๆ จนกลายเป็นปัญหาระดับชาติ กระทรวงศึกษาธิการ โดยสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน เล็งเห็น ความสาคัญของการสร้างการเรียนรู้ด้านวินัยจราจรให้เกิดข้ึนในสถานศึกษา เพ่ือปลูกฝังให้นักเรียนในสังกัดมี ความรู้เกี่ยวกับวินัยจราจรและนาไปสู่การปฏิบัติในชีวิตประจาวัน เป็นภูมิคุ้มกันความเส่ียงในการดาเนินชีวิตทั้ง ปัจจุบันและอนาคต สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากรุงเทพมหานคร เล็งเห็นควาสาคัญถึงปัญหาดังกล่าว จึงได้ ดาเนนิ โครงการ “หนูน้อยปลอดภัย สร้างวินัยจราจร” โดยร่วมกับ สถาบันนวัตกรรมและเทคโนโลยีซันชิโร่ บริษทั ไทย ยาซากิ เนต็ เวิรค์ เซอรว์ ิส จากดั บรษิ ทั ยามาโตะ อุนยู จากัด และ บรษิ ัทเอสซจี ี ยามาโตะ เอ็กซเ์ พรส จากดั จดั กิจกรรมดา้ นความปลอดภัยและสรา้ งวนิ ัยจราจรให้กบั โรงเรียนในสงั กัด จานวน ๑๐ โรงเรียน ซงึ่ เป็นโรงเรียน นาร่อง จากการดาเนินกิจกรรม ประสบผลสาเร็จและได้รับการตอบรับอย่างดีจากผู้ปกครองและชุมชน เพื่อให้ โรงเรียนในสังกัด อีก 20 โรงเรียน ได้ต่อยอด และจัดกิจกรรมด้านวินัยจราจรครบทุกโรงเรียน จึงจัดทาคู่มือ การจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรกิจกรรม “หนูน้อยปลอดภัย สร้างวินัยจราจร” เพ่ือเป็นแนวทางให้โรงเรียนได้ นาไปใช้จดั กจิ กรรมบูรณาการให้เกิดประโยชนส์ งู สดุ แก่นกั เรยี นตอ่ ไป 2. วิธีการดาเนินงาน - กระบวนการ ใช้วิธี (System Approach) ประกอบด้วย Input Process Output Feedback และทุกขั้นตอนจะ ควบคมุ โดยวงจรคณุ ภาพ PDCA โดยมีข้ันตอน ดงั นี้ 2.1 วางแผนและเตรีมการ 2.2 หาข้อมูล 2.3 ดาเนินการจัดทาคู่มือฯ 2.4 ทดสอบการใช้คู่มือ 2.5 ประชมุ ชี้แจงการใช้คู่มอื 2.6 การเผยแพร่คมู่ ือ 2.7 ประเมินผลและปรับปรุงคู่มือ 3. ผลสาเร็จ เชงิ ปริมาณ 3.1 โรงเรียนท้ัง 37 แห่ง นาคู่มือไปใช้เป็นแนวทางในการจัดกิจกรรม “หนูน้อยปลอดภัย สร้างวินัย จราจร” เชิงคณุ ภาพ 3.2. นักเรียนมคี วามรดู้ า้ นระเบยี บวินยั กฎจราจร การเคารพกฎจราจร การใช้รถใช้ถนนท่ีถูกต้อง และ สามารถนาไปปฏบิ ตั ขิ ณะใชร้ ถใช้ถนนอย่างปลอดภยั 3.3. นักเรียนมีสานึกความปลอดภัยทางถนนและมีวินัยจราจรสามารถใช้รถใช้ถนนอย่างถูกต้อง ปลอดภยั การวเิ คราะห์ เทคนิค/รปู แบบท่ที าใหเ้ กิดความสาเร็จ 1. การออกแบบคู่มือสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ มีแนวคิดสาคัญรองรับอย่างสมเหตุสมผล สามารถ อา้ งองิ ได้ นามาเป็นพืน้ ฐานในการออกแบบกจิ กรมได้ และทุกกจิ กรรมมีความเชื่อมโยงสอดคลอ้ งกนั ผลงานเด่นเป็นทปี่ ระจักษ์ Good Practice ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2562 หน้า 90

2. การดาเนนิ งานตามกจิ กรรม ดาเนินการตามกิจกรรมท่ีออกแบบไว้ทุกข้ันตอนและมีการปรับปรุงและ พัฒนาอย่างตอ่ เนอ่ื ง 3. ประสทิ ธภิ าพของการดาเนินงาน มกี จิ กรรมการปฏิบัติปรากฏชัดจนเป็นลาดับขั้นตอน สามารถนาไป ปฏบิ ัตไิ ดจ้ ริง มีวิธกี ารหรอื องคค์ วามรู้ใหม่ท่สี ง่ ผลต่อเปา้ หมายและการพัฒนาอย่างมีคุณภาพ 4. การใช้ทรัพยากร ประยุกต์ใช้ทรัพยากรท่ีมีอยู่อยู่อย่างเหมาะสมคุ้มค่าสอดคลองกับบริบทของ สถานศกึ ษา ปจั จยั ส่งผลให้เกิดความสาเรจ็ อยา่ งยงิ่ 1. ผู้บริหารใหค้ วามสาคัญและสนับสนนุ การพัฒนาระบบงาน 2. การมีส่วนรว่ มของบุคลากรท่ีมสี ว่ นเกีย่ วข้อง 3. การประยุกตใ์ ชเ้ ทคโนโลยที ่เี หมาะสม 4. ความพร้อมของอุปกรณท์ ี่นามาใช้ 5. ผูป้ ฏบิ ัตงิ านมีความพรอ้ มและความต้งั ใจในการพัฒนาและปรับปรงุ การทางานอยา่ งต่อเนอ่ื ง 6. ผูเ้ ชี่ยวชาญและองค์กรภายนอกให้ความชว่ ยเหลอื ชแี้ นะ สนบั สนุนอยา่ งเตม็ ที่ ขอ้ มูลที่มกี ารประชาสมั พันธ์/เผยแพร่/แหล่งศกึ ษาดูงาน 1. ทดสอบคุณภาพของคู่มือฯ 3 โรงเรียน ได้แก่ โรงเรียนอนุบาลพิบูลเวศม์ โรงเรียนอนุบาลวัดนาง นอง 3. โรงเรียนอนบุ าลนีโอชายด์หนนู อ้ ย 2. เผยแพรค่ ู่มือทางเวบ็ ไซต์ของสานักงานการศึกษาประถมศึกษากรงุ เทพมหานคร ตวั อย่างภาพกิจกรรม ผลงานเด่นเป็นที่ประจักษ์ Good Practice ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2562 หน้า 91

ผลงาน Good Practice ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๒ กลุ่มส่งเสริมการศึกษาทางไกล เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สาร สานกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษากรุงเทพมหานคร ๑. ชอ่ื ผลงาน การประชมุ ทางไกลผา่ นระบบ VDO Conference ความเปน็ มา สำนักงำนเขตพ้ืนท่ีกำรศึกษำประถมศึกษำกรุงเทพมหำนคร เป็นหน่วยงำนทำงกำรศึกษำ มีโรงเรียนใน สังกัด จำนวน ๓๗ โรงเรียน และเป็นหน่วยงำนที่ให้บริกำรแก่ข้ำรำชกำรครูและบุคลำกรทำงกำรศึกษำ สำนักงำนเขต พ้ืนท่ีกำรศึกษำประถมศึกษำได้นำเอำเทคโนโลยีด้ำนส่ือสำรโทรคมนำคมผ่ำนกำรเช่ือมโยงโครงสร้ำงพ้ืนฐำน สำหรับท่ีรองรับระบบกำรสื่อสำรข้อมูลระหว่ำงสำนักงำนเขตพ้ืนท่ีกำรศึกษำประถมศึกษำกรุงเท พมหำนครกับ โรงเรียนในสังกัดทั้ง ๓๗ โรงเรียน อีกทั้งมีกำรติดต้ังอุปกรณ์ระบบ VDO Conference เพ่ือเชื่อมโยงกับโรงเรียน ทกุ โรงเรยี นในสงั กดั ได้ และสำมำรถจัดประชุมและติดต่อสื่อสำรกันได้อย่ำงสะดวกสบำยโดยไม่ต้องเสียเวลำและ ค่ำใชจ้ ำ่ ยในกำรเดนิ ทำงมำประชมุ ทีส่ ว่ นกลำง อีกทั้งลดปัญหำกำรจรำจรอกี ดว้ ย จำกนโยบำยของกลุม่ ส่งเสรมิ กำรศึกษำทำงไกล เทคโนโลยีสำรสเทศและกำรส่ือสำร สำนักงำนเขตพื้นท่ี กำรศึกษำประถมศึกษำกรุงเทพมหำนคร ได้มีกำรติดตั้งอุปกรณ์สื่อสำรที่ใช้ประโยชน์ในรูปแบบของกำระชุม ทำงไกลโดยกำรจัดทำคู่มือให้กับโรงเรียนในสังกัดเพื่อใช้ประโยชนในกำรประชุมทำงไกล ทำให้กำรส่ือสำรติดต่อ ประสำนงำนกันง่ำยมำกขึ้น โดยส่งข้อมลู ผ่ำนระบบเครือขำ่ ยโครงสร้ำงที่มีอยู่ แต่เน่ืองจำกกำรใช้งำนระบบ VDO Conference ยังไม่แพร่หลำยเท่ำที่ควร อีกท้ังยังไมค่ ุน้ เคยในด้ำนกำรใช้งำนอุปกรณ์ดังกล่ำวทำใหไ้ มก่ ล้ำใช้งำนให้เกิดประโยชน์ สูงสุด และส่งผลผลให้ไม่สำมำรถใช้ประโยชน์จำกเทคโนโลยี VDO Conference ได้อย่ำงมีประสิทธิภำพ ดังนั้น กลุ่มส่งเสริมกำรศึกษำทำงไกล เทคโนโลยีและสำรสนเทศ ได้พัฒนำระบบอย่ำงต่อเนื่องได้มีกำรปรับแต่งค่ำของ อุปกรณ์บำงประเภทเพ่ือให้รองรับระบบกำรประชุมทำงไกล ให้สำมำรถใช้งำนได้อย่ำงมีประสิทธิภำพ มีภำพ และเสียงอยใู่ นระดับที่ยอมรับไดต้ ำมมำตรฐำนของระบบนน้ั ๆ ระบบประชุมทำงไกลด้วยระบบ VDO Conference คือ ระบบประชุมทำงไกลออนไลน์ผ่ำนเครือข่ำย อินเตอร์เน็ต ควำมเร็วสูง โดยสำมำรถทำกำรประชุมแบบเห็นภำพ ฟังเสียงของผู้เข้ำร่วมประชุม ตลอดจน นำเสนอข้อมูลต่อท่ีประชุม (Presentation) พร้อมรับ-ส่งข้อมูลในรูปแบบต่ำงๆ ได้ในเวลำเดียวกัน ด้วยกำรใช้ ช่องสัญญำณอินเตอร์เน็ต (Bandwidth) ได้ อย่ำงมีประสิทธิภำพ เหมำะสำหรับกำรประชุมทำงไกล กำรเรียน กำรสอน กำรฝกึ อบรม กำรประชำสมั พันธ์และกิจกรรม สนทนำตำ่ งๆ ๒. วตั ถุประสงค์ ๒.๑ เพ่ือใชใ้ นกำรจดั กำรประชมุ ทำงไกลออนไลน์แบบโตต้ อบได้ทันที (Real-Time Conference) ผลงานเดน่ เปน็ ทป่ี ระจักษ์ Good Practice ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2562 หนา้ 92

๒.๒ เพ่ือให้สำมำรถขยำยขอบเขตกำรประชุมไปยังจุดต่ำงๆ ทั้งภำยใน และภำยนอกองค์กรที่สำมำรถ ตอ่ เชอื่ มกับ Intranet หรอื Internet ๒.๓ เพ่ือใช้ในกำรจดั สมั มนำทำงไกลออนไลน์ ๒.๔ เพื่อใช้ในกำรจัดกำรเรยี นกำรสอนทำงไกลออนไลน์ (Distance Learning) ๒.๕ เพื่อใชค้ อมพวิ เตอรแ์ ละเครอื ขำ่ ยอินเตอรเ์ น็ตทีม่ ีอยูแ่ ลว้ ในองคก์ รใหเ้ กิดประโยชนม์ ำกขึ้น ๒.๖ เพอ่ื ขยำยผลนำเน้อื หำทใ่ี ช้ประชุมเปดิ ชมเพื่อทบทวนไดต้ ำมอัธยำศัย ๓. ประโยชนก์ ารประชุมทางไกลด้วยระบบ VDO Conference ๓.๑ ลดค่ำใช้จ่ำยในกำรจดั ประชุม และประสำนงำนนัดหมำย ๓.๒ ลดค่ำใชจ้ ่ำยในกำรเดนิ ทำงเพ่ือมำประชุม ๓.๓ เพิ่มประสทิ ธิภำพในกำรประชุมด้วยฟงั ก์ช่นั กำรใชง้ ำนท่จี ำเปน็ และหลำกหลำย ๓.๔ เพม่ิ ประสิทธภิ ำพของงำน ๓.๕ เพมิ่ ประสิทธภิ ำพกำรสอ่ื สำร ขององคก์ ร ๔. เปา้ หมายการทดสอบใชง้ าน ๒.๑ พัฒนำรปู แบบประชุมทำงไกลผำ่ นระบบเครือข่ำยดว้ ยอุปกรณร์ ะบบ VDO Conference ที่มอี ยู่ ของสำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำประถมศึกษำกรงุ เทพมหำนครได้อย่ำงมีประสทิ ธิภำพ ๒.๒ แก้ไขปัญหำท่ีเกิดข้ึนจำกกำรใช้อุปกรณ์ระบบ VDO Conference เพ่ือให้ใช้ประโยชน์ในกำร ประชุมไดอ้ ยำ่ งมปี ระสิทธภิ ำพสนับสนุนภำรกิจของหนว่ ยงำนได้ ๒.๓ บุคลำกรของสำนักงำนเขตพื้นท่ีกำรศึกษำประถมศึกษำกรุงเทพมหำนครมีควำมรู้ทำงด้ำน เทคโนโลยีสื่อสำรโทรคมนำคมทท่ี ันสมยั ๕. ขอบเขตการทดสอบ ในกำรดำเนินกำรน้ีจะเป็นกำรทดสอบใช้งำนระบบ VDO Conference ติดต่อกับโรงเรียนในสังกัดท้ัง ๓๗ โรงเรียน ให้สำมำรถใช้งำนและแก้ปัญหำที่เกิดขึ้นระหว่ำงใช้งำนได้เอง โดยทดสอบคุณสมบัติต่ำง ๆ ของ อปุ กรณ์ ซ่ึงมรี ำยละเอียดดังน้ี ๓.๑ ทดสอบระบบภำพและเสียงใหส้ ำมำรถใช้งำนได้อย่ำงมปี ระสทิ ธภิ ำพ ๓.๒ แกป้ ญั หำทีเ่ กดิ ขึน้ ระหวำ่ งกำรใชง้ ำนให้สำมำรถใช้งำนได้อยำ่ งมีประสทิ ธิภำพ ๓.๓ ทดสอบฟังก์ชัน่ กำรใช้งำนของอุปกรณ์ระบบ VDO Conference ๓.๔ สรปุ ประเมินผลกำรทดสอบระบบ VDO Conference ๖. สำระสำคญั และขน้ั ตอนกำรดำเนนิ กำร ๖.๑ ทดสอบระบบภำพและเสียงให้สำมำรถใช้งำนได้อย่ำงมีประสิทธิภำพ ในข้ันตอนน้ีต้องทำกำรศึกษำ ภำพรวมของระบบเครือข่ำยที่ติดต้ังอุปกรณ์ระบบ VDO Conference และระบบเครือข่ำยพื้นฐำนท่ีอุปกรณ์ ระบบ VDO Conference เชื่อมโยงอยู่ จำกน้ันตรวจสอบรำยละเอียดคุณสมบัติของอุปกรณ์ในระบบ VDO ผลงานเด่นเปน็ ทป่ี ระจักษ์ Good Practice ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2562 หน้า 93

Conference ท้ังหมด จำกนั้นทดสอบกำรรับ-ส่ง ข้อมูลทั้งภำพและเสียง ซึ่งจำกกำรศึกษำระบบเครือข่ำยทำให้ ทรำบรูปแบบกำรติดตั้งอุปกรณ์ท้ังหมดพบว่ำมีรูปแบบกำรติดต้ังตำมคู่มือ (คู่มือกำรประชุมทำงไกลผ่ำนระบบ VDO Conference) จำกกำรทดสอบระบบภำพและเสียงให้สำมำรถใช้งำนได้อย่ำงมีประสิทธิภำพ โดยทำกำรทดสอบจำก กำรใชง้ ำนจรงิ ตำมคณุ สมบัติของอุปกรณ์ท่ีติดตั้งในระบบทั้งหมด ทำให้ทรำบว่ำต้องมีกำรปรับแต่งค่ำเริ่มต้นกำร ใช้งำนของระบบใน ๓ จดุ ดว้ ยกนั ไดแ้ ก่ - ปัญหำระบบเสียงทีม่ ีกำรสะทอ้ นระหวำ่ งกำรประชมุ - ปญั หำควำมคมชัดของภำพทีแ่ สดงทหี่ น้ำจอ monitor ระหว่ำงกำรประชมุ - ปญั หำระบบภำพทไ่ี มเ่ ป็น Real Time เกิด Delay ขึ้นระหวำ่ งกำรประชมุ ๖.๒ กำรแกป้ ัญหำทเ่ี กิดขน้ึ ระหวำ่ งกำรใช้งำนให้สำมำรถใช้งำนได้อย่ำงมีประสิทธิภำพ จำกกำรทดสอบ โดยกำรใช้งำนนั้นพบปัญหำ ๓ ท่ีเกิดข้ึนระหว่ำงกำรใช้งำนของระบบ ๓ จุดด้วยกันซ่ึงมีวิธีกำรแก้ปัญหำ ดงั ตอ่ ไปนี้ ๖.๒.๑ ปัญหำระบบเสียงที่มีกำรสะท้อนระหว่ำงกำรประชุม เป็นปัญหำเบ้ืองต้นในกำรใช้งำน ระบบ โดยเกิดข้ึนจำกกำรท่ีมีผู้เข้ำร่วมประชุมจำนวนมำก เสียงในกำรพูดหรือสนทนำเข้ำมำในระบบแล้ววน กลบั ไปยงั ปลำยทำงทำใหไ้ มส่ ำมำรถพูดโต้ตอบกันได้ในลักษณะของกำรประชุมอย่ำงมีประสิทธิภำพ ๖.๒.๒ ปัญหำควำมคมชัดของภำพที่แสดงบนหน้ำจอ monitor ระหว่ำงกำรประชุม ซ่ึงเกิดใน ลกั ษณะ ภำพแตกหรอื ไม่คมชัด เนื่องมำจำกกำรปรับเลอื ก Call rate และปรมิ ำณกำรใชง้ ำนเครือข่ำยในขณะน้ัน แนะนำ ให้ทำกำรปรับลด Call rate ลงมำเรอื่ ยๆ จนกว่ำอำกำรดังกล่ำวจะหำยไป รวมถึงตรวจสอบปริมำณกำร ใชง้ ำน เครอื ขำ่ ยในขณะนัน้ ดว้ ยซ่ึงในเบื้องต้นได้แกป้ ัญหำโดยกำหนดคำ่ QoS ให้กบั ระบบ Video Conference ๖.๒.๓ ปัญหำระบบภำพทไ่ี มเ่ ปน็ Real Time เกดิ Delay ขนึ้ ระหว่ำงกำรประชุม เกดิ ควำมหน่วง ของภำพและเสียงทีป่ ลำยทำงได้รับ เมอื่ เปรยี บเทียบกับแหล่งกำเนิดสัญญำณภำพและเสยี งจรงิ จำกตน้ ทำง ๖.๓ ทดสอบฟังก์ชั่นกำรใช้งำนของอุปกรณ์ระบบ VDO Conference โดยในขั้นตอนน้ีได้ทดสอบกำร ทำงำนของอุปกรณ์ในระบบท้ังหมดด้วยกำรใช้งำนจริงระหว่ำงประชุมและ ปรับแต่งค่ำเพ่ือให้กำรประชุมมี ประสิทธิภำพสูงสุด สำมำรถทำได้โดยใช้โปรแกรมควบคุมกำรทำงำนอุปกรณ์ MCU ท่ีส่วนกลำง และปรับแต่งที่ Remote Control สำหรบั อปุ กรณช์ ุดประชมุ ๖.๔ สรุปประเมินผลกำรทดสอบระบบ VDO Conference จำกกำรดำเนินกำรโครงกำรพัฒนำระบบ VDO Conference กบั ๓๗ โรงเรียน ให้มีประสิทธิภำพ พบว่ำ อุปกรณ์ในระบบ VDO Conference ท่ีติดต้ังท้ัง ในสว่ นกลำง และโรงเรียนท้ังสังกัด พบวำ่ สำมำรถใช้ งำนได้อย่ำงมปี ระสิทธภิ ำพ โดยมกี ำรกำหนดผู้รับผิดชอบใน กำรดำเนนิ กำรประชุมอยำ่ งชัดเจนของแต่ละโรงเรียน และมีกำรปรับแต่งค่ำระหว่ำงกำรประชุมใช้งำนจริง ทำให้ ทรำบปัญหำในกำรใช้งำน และ ผู้รับผิดชอบในกำรดำเนินกำรประชุมสำมำรถแก้ปัญหำอุปกรณ์ชุดระบบ VDO Conference ใหส้ ำมำรถใชง้ ำน ได้อยำ่ งมปี ระสิทธิภำพได้ ผลงานเด่นเปน็ ที่ประจักษ์ Good Practice ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2562 หนา้ 94

๗. ผลทคี่ าดว่าจะไดร้ ับ สำนักงำนเขตพืน้ ท่กี ำรศึกษำประถมศึกษำกรุงเทพมหำนคร มีระบบประชุมทำงไกลผ่ำนเครือข่ำย VDO Conference ท่ีมีประสิทธิภำพท้ัง ๓๗ โรงเรียน โดยสำมำรถจัดประชุม อบรม ถ่ำยทอดข้อมูลภำพและเสียง โตต้ อบกันไดอ้ ย่ำงมปี ระสทิ ธภิ ำพ ๗.๒ สำนักงำนเขตพ้ืนที่กำรศึกษำประถมศึกษำกรุงเทพมหำนคร มีช่องทำงส่ือสำรทำงไกลผ่ำนระบบ เครือขำ่ ยในกำรปฏิบตั งิ ำนเพมิ่ ขนึ้ เปน็ กำรลดคำ่ ใชจ้ ่ำยในกำรเดินทำง อีกทั้งยังไม่ทำใหเ้ สียเวลำในกำรเดนิ ทำง ๗.๓ สำนักงำนเขตพื้นทก่ี ำรศกึ ษำประถมศกึ ษำกรุงเทพมหำนคร มีกำรพัฒนำระบบสื่อสำรโทรคมนำคม ทที่ ันสมัย รองรับกำรสอ่ื สำรระหว่ำง สำนักงำนเขตพน้ื ท่ีกำรศึกษำประถมศึกษำกรุงเทพมหำนครกับโรงเรียน ๘. ควำมยุ่งยำก ปญั หำ/อุปสรรค ๘.๑ กำรดำเนินกำรโครงกำรพัฒนำระบบ VDO Conference สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำ ประถมศึกษำกรุงเทพมหำนครให้มีประสิทธิภำพ จำเป็นต้องได้รับควำมร่วมมือจำกผู้ดูแลระบบของโรงเรียน โดยเฉพำะ จึงจำเป็นต้องกำหนดผู้รับผิดชอบ ในแต่ละโรงเรียน เพ่ือให้มีหน้ำที่เปิดอุปกรณ์ในระบบ VDO Conference เม่ือมีกำรจัดประชุม ดังนั้น ควำมยุ่งยำกจะอยู่ท่ีกำรติดต่อประสำนงำนกับผู้เก่ียวข้อง ซ่ึงต้องได้รับ ควำมรว่ มมอื จำกทกุ โรงเรยี นในกำรจดั ประชมุ อบรมในแตล่ ะครง้ั ผ่ำนระบบ VDO Conference ๘.๒ เจ้ำหน้ำที่ผู้ดูแลระบบ มีหน้ำที่ดูแลอุปกรณ์ระบบ VDO Conference ต้องประชำสัมพันธ์ หน่วยงำนของตน รณรงค์ให้มีกำรจัดอบรมและสัมมนำผ่ำนระบบ VDO Conference บ่อย ๆ เพื่อให้มีกำรใช้ งำนระบบ VDO Conference อย่ำงสม่ำเสมอ เป็นกำรทดลองกำรทำงำนของอุปกรณ์ในระบบ VDO Conference อย่ำงต่อเนื่องเพ่ือประสิทธิภำพในกำรบริหำรจัดกำรระบบ VDO Conference อย่ำงมี ประสทิ ธิภำพ ๙. ผลสาเร็จ เชิงปริมาณ สำนักงำเขตพ้ืนท่ีกำรศึกษำประถมศึกษำกรุงเทพมหำนคร และโรงเรียนในสังกัดทั้ง ๓๗ โรงเรียน สำมำรถร่วมประชุมทำงไกลด้วยระบบ VDO Conference อย่ำงมีประสิทธิภำพ ประหยัดเวลำในกำร ปฏบิ ัติงำนเน่อื งจำกไมจ่ ำเป็นตอ้ งเดินทำงมำประชมุ ทำให้ทำงำนได้อย่ำงเตม็ เวลำและเกิดประสทิ ธิผลเป็นอย่ำงดี เชิงคุณภาพ ทำให้ผู้บริหำรกำรศึกษำ ผู้บริหำรโรงเรียน ข้ำรำชกำรครู และบุคลำกรทำงกำรศึกษำ มคี วำมพึงพอใจในกำรจดั ประชมุ ทำงไกลด้วยระบบ VDO Conference การวิเคราะห์ เทคนคิ /รปู แบบทาใหเ้ กดิ ความสาเร็จ สำนักงำนเขตพ้ืนที่กำรศึกษำประถมศึกษำกรุงเทพมหำนคร ข้ำรำชกำรครูและบุคลำกรทำงกำรศึกษำ มีควำมเข้ำใจและให้ควำมร่วมมือในกำรจัดประชุมทำงไกลด้วยระบบ VDO Conference และมีกำรประเมินผล กำรใช้งำนทุกครงั้ เพื่อนำไปแก้ไขขอ้ บกพรอ่ งและปรบั ปรงุ กำรใชง้ ำนและกำรใหบ้ ริกำรที่มปี ระสิทธภิ ำพต่อไป ผลงานเดน่ เป็นทป่ี ระจักษ์ Good Practice ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2562 หน้า 95

ปจั จัยทส่ี ง่ ผลใหเ้ กิดความสาเรจ็ อย่างยงิ่ ผู้บริหำร ข้ำรำชกำรครู และบุคลำกรทำงกำรศึกษำ สังกัดสำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำประถมศึกษำ กรงุ เทพมหำนคร และโรงเรียนในสังกัดทุกโรงเรียน เข้ำใจในระบบ สนับสนุน และให้ควำมร่วมมือเป็นอย่ำงดีย่ิง ในกำรจดั ประชมุ ทำงไกลดว้ ยระบบ VDO Conference ทดสอบระบบกอ่ นเรม่ิ การประชุม ทางไกลด้วยระบบ VDO Conference ผลงานเดน่ เป็นทป่ี ระจักษ์ Good Practice ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2562 หนา้ 96

ภาพการแสดงการทางไกลดว้ ยระบบ VDO Conference ประชุมท้งั ระบบทกุ โรงเรยี นในสังกัด ๓๗ โรงเรยี น ผลงานเดน่ เปน็ ที่ประจักษ์ Good Practice ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2562 หน้า 97

ผลสารวจความพึงพอใจหลงั การประชมุ ทางไกล ดว้ ยระบบ VDO Conference ผลงานเดน่ เป็นท่ปี ระจักษ์ Good Practice ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2562 หนา้ 98

ผลงานเด่นเปน็ ที่ประจักษ์ Good Practice ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2562 หนา้ 99


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook