Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore MK005-หนังสืออุเบกขา การวางเฉยอย่างถูกวิธี

MK005-หนังสืออุเบกขา การวางเฉยอย่างถูกวิธี

Description: MK005-หนังสืออุเบกขา การวางเฉยอย่างถูกวิธี

Search

Read the Text Version

พระนพิ นธ์ สมเด็จพระญาณสงั วร สมเด็จพระสงั ฆราช สกลมหาสงั ฆปรณิ ายก



ทร่ี ะลึกพธิ ที �ำบุญอทุ ศิ สว่ นกุศล แก่ผู้ป่วยที่เสียชวี ิต ในโรงพยาบาลสงขลานครนิ ทร์ ๒๒ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๕๗ โดย... โรงพยาบาลสงขลานครนิ ทร์



สารบญั ๑๓ ๑๘ ๑ ๑๙ อินทรียภาวนา อนตุ รอินทรียภาวนา ๒๔ ๒๗ ๒เสขปฏปิ ทา ๒๘ พรหมวหิ ารธรรม ๒๘ เมตตา ๒๙ กรุณา ๓๑ มุทิตา ๓๓ อุเบกขา ๓๔ พิจารณากรรม ดบั ราคะสิเน่หา ๔๓ ๔๔ ๓ ดับปฏฆิ ะ อเุ บกขาในสติปัฏฐาน ๔ อุเบกขาสัมโพชฌงค ์

อุเบกขาในปัญญา ๔๕ อุเบกขาในสังขาร ๔๗ ๔ ๕๑ ฉฬงั คเุ บกขา ๕๓ ธาตุอเุ บกขา ๕๔ ๕ ญาณอุเบกขา ๖๐ อายตนะ ๖ ๖๑ วิญญาณ ๖ ๖๑ สัมผสั ๖ ๖๒ มโนปวิจาร ทที่ ่องเทยี่ วไปของใจ ๑๘ ๖๔ เคหสิตะและเนกขัมมสิตะ ๖๕ เคหสิตโสมนัส ๖๖ เคหสิตโทมนัส ๖๖ เคหสติ อุเบกขา ๖๗ เนกขมั มสิตโสมนัส ๖๘ เนกขมั มสติ โทมนัส

เนกขมั มสติ อุเบกขา ๖๙ วิธีปฏบิ ตั ิละเคหสติ โสมนสั ๗๓ วิธปี ฏบิ ัตลิ ะเคหสิตโทมนสั ๗๗ ทุกขักขยญาณ ๘๑ วิธีปฏิบัตลิ ะเคหสติ อเุ บกขา ๘๖ วธิ ปี ฏบิ ตั ลิ ะเนกขัมมสติ โทมนสั ๙๑ วิธปี ฏบิ ัติละเนกขัมมสติ โสมนสั ๙๓ นานัตตสติ อุเบกขาและเอกตั ตสิตอเุ บกขา ๙๕ วิธปี ฏบิ ตั ลิ ะนานตั ตสติ อเุ บกขา ๙๖ วิธีปฏบิ ตั ิละเอกัตตสิตอเุ บกขา ๙๗ สรุปวิธปี ฏิบตั ิ ๙๘



๑ ธรรมปฏบิ ตั ขิ อ้ หนง่ึ ซง่ึ ผปู้ ฏบิ ตั พิ งึ ปฏบิ ตั ใิ หม้ ขี นึ้ ก็ คือ อเุ บกขา อเุ บกขาทีพ่ งึ ปฏบิ ตั นิ เี้ ปน็ อเุ บกขาสว่ นเหตุ เพอื่ ทจ่ี ะใหไ้ ดอ้ เุ บกขาทเี่ ปน็ สว่ นผล และคำ� วา่ อเุ บกขา นี้ ก็เป็นค�ำที่พูดกันในภาษาไทย และมีค�ำแปลทั่วไปว่า ความวางเฉย เมอ่ื ใหค้ ำ� แปลและเขา้ ใจกนั ดงั น้ี จงึ ทำ� ให้ เกิดความเขา้ ใจผิดก็มี เกดิ ความเขา้ ใจถูกกม็ ี สว่ นใหเ้ กดิ ความเขา้ ใจผดิ นนั้ กค็ อื เขา้ ใจวา่ อเุ บกขา เมอื่ เปน็ ความวางเฉยไปเสยี ทกุ สง่ิ ทกุ อยา่ ง กห็ มายความ วา่ ไมท่ ำ� อะไร ไม่เอาใจใสใ่ นอะไร จึงดูคล้ายๆ กับผู้ทม่ี ี ใจไมส่ มประกอบซงึ่ ไมร่ เู้ รอ่ื งราวอะไร กลายเปน็ ผทู้ มี่ ใี จ เลอื่ นลอย เปน็ ปญั ญาออ่ นหรอื ทำ� นองนี้ ดงั นเ้ี ปน็ ความ

10 อุเบกขา การวางเฉยอย่างถูกวิธี เข้าใจผิดในอุเบกขา ส่วนท่ีเป็นความเข้าใจถูกนั้นก็คือ เขา้ ใจอเุ บกขาทเ่ี ปน็ ธรรมปฏบิ ตั อิ นั ถกู ตอ้ ง ซงึ่ จะไดก้ ลา่ ว ตอ่ ไป แตว่ า่ ในขนั้ นก้ี พ็ งึ มคี วามเขา้ ใจเปน็ พน้ื ฐานไวก้ อ่ น ว่า ความวางเฉยด้วยความไม่ร้กู ม็ อี ยู่ แตว่ ่าเป็นความ วางเฉยทม่ี ใิ ชเ่ ปน็ ธรรมปฏบิ ตั ใิ นพทุ ธศาสนา แตอ่ าจเปน็ อุเบกขาที่มีเป็นธรรมชาติธรรมดา เหมือนอย่างความ ยนิ ดคี วามยนิ รา้ ย และความวางเฉยไมร่ จู้ กั ยนิ ดยี นิ รา้ ย ท่ีคนทั่วไปมีกันอยู่ คือเมื่อประสบอารมณ์อันเป็นท่ีตั้ง แห่งความยนิ ดีก็เกดิ ความยนิ ดี ประสบอารมณอ์ นั เป็น ทตี่ ง้ั แหง่ ความยนิ รา้ ยกเ็ กดิ ความยนิ รา้ ย ประสบอารมณ์ ท่ีเป็นกลางๆ มิใช่เป็นที่ต้ังแห่งความยินดีหรือความ ยินร้าย ก็เกิดความรู้สึกเป็นกลาง ซ่ึงก็เป็นอุเบกขา อาการของจิตเหล่าน้ีทุกคนย่อมมีอยู่โดยปรกติ ผู้ที่ไม่ เคยปฏบิ ตั ธิ รรมเลยกม็ อี เุ บกขาเชน่ นอ้ี ยดู่ งั นี้ เปน็ อเุ บกขา ที่มีอย่กู ันเป็นปรกติ มิใชเ่ ป็นธรรมปฏบิ ัติ แต่ที่เป็นธรรมปฏิบัติน้ันหมายถึงความวางเฉย ด้วยความรู้ คือรู้แล้วก็วางเฉย อันความวางเฉยด้วย

สมเด็จพระญาณสังวร 11 ความรู้นี้เกี่ยวแก่การท่ีต้องปฏิบัติท�ำจิตใจให้เกิดความ วางเฉยขึ้น และความวางเฉยด้วยความรูน้ ี้กเ็ ป็นอาการ ของจติ ทม่ี คี วามทนทานรแู้ ลว้ กว็ างเฉยได้ กบั เปน็ อาการ ของจิตท่ีประกอบด้วยปัญญาเพ่งพินิจรู้ จึงหมายถึง รเู้ รอ่ื งทเ่ี ปน็ ไป กบั ร้ทู ่ีเปน็ ปญั ญา ดงั จะยกตวั อย่าง อันเร่ืองที่เป็นไปนั้น ดังเช่น นินทา สรรเสริญ กลา่ วไดว้ า่ บคุ คลทกุ ๆ คนจะตอ้ งมผี นู้ นิ ทาบา้ ง สรรเสรญิ บา้ งอยดู่ ว้ ยกนั ทงั้ นน้ั และแตล่ ะคนจะตอ้ งมผี นู้ นิ ทามผี ู้ สรรเสริญไม่ใชน่ อ้ ย แต่ว่าไมไ่ ดย้ ิน จงึ ไม่ร้วู า่ เขานินทา อยา่ งไรบา้ ง เขาสรรเสรญิ อยา่ งไรบา้ ง จติ จงึ เปน็ กลางๆ ไมย่ นิ ดไี มย่ นิ รา้ ยเพราะไมร่ ู้ คอื ไมไ่ ดย้ นิ เขาพดู ไมท่ ราบ ว่าเขาพูดอย่างนี้ด่ังน้ี เป็นลักษณะท่ีวางเฉยด้วยความ ไมร่ จู้ รงิ ๆ แตอ่ นั ทจ่ี รงิ นนั้ เขานนิ ทาอยแู่ ลว้ เขาสรรเสรญิ อยแู่ ลว้ ซงึ่ ทกุ คนกจ็ ะเปน็ อยา่ งนดี้ ว้ ยกนั ทง้ั นน้ั ยงิ่ คนท่ี มชี อ่ื เสยี งมากตอ้ งทำ� การงานเกย่ี วขอ้ งกบั คนเปน็ อนั มาก ก็จะตอ้ งมีผสู้ รรเสรญิ มาก มีผ้นู ินทามาก แต่วา่ เขาพดู ลบั หลงั ไมร่ ู้ เมอื่ ไมร่ ูก้ ็เฉยๆ ดัง่ นี้เรียกวา่ เฉยๆ ดว้ ย ความไม่รจู้ ริงๆ

12 อุเบกขา การวางเฉยอย่างถูกวิธี คราวนี้ เมอื่ ไดย้ นิ เขาพดู ไดท้ ราบวา่ เขาพดู นนิ ทา บา้ ง สรรเสรญิ บา้ งกว็ างเฉยได้ ดง่ั นเี้ รยี กวา่ มคี วามทนทาน เปน็ การวางเฉยดว้ ยความรู้ คอื รเู้ รอื่ งทเ่ี ปน็ ไป ซง่ึ นา่ จะ ยินดีก็ไม่ยินดี น่าจะยินร้ายก็ไม่ยินร้าย วางเฉยได้ นี้เป็นความรู้เร่ืองท่ีเป็นไป มีจิตใจท่ีทนทาน ม่ันคง กว็ างเฉยได้ รวู้ า่ เขาวา่ กว็ างเฉยได้ เขานนิ ทา เขาสรรเสรญิ กว็ างเฉยได้ อกี อยา่ งหนง่ึ วางเฉยดว้ ยปญั ญา คอื วา่ โดยปรกติ นั้นก็จะต้องมีชอบใจไม่ชอบใจข้ึนมาก่อน แต่แล้วก็ พจิ ารณาใหเ้ กดิ ความรทู้ เี่ ปน็ ปญั ญาขนึ้ มา เมอื่ เกดิ ปญั ญา ข้ึนมาก็เกิดความวางเฉยได้ อันความวางเฉยได้ด้วย ความรู้ที่เป็นปัญญานี้ต้องอาศัยการปฏิบัติอันเรียกว่า โยนิโสมนสิการ ท�ำไว้ในใจโดยแยบคาย พิจารณาให้ เห็นเหตุเห็นผล เห็นสัจจะคือความจริง อันนี้แหละ เป็นข้อปฏิบัติให้เกิดอุเบกขาซึ่งเป็นท่ีมุ่งหมายในทาง ปฏบิ ตั ธิ รรม

สมเด็จพระญาณสังวร 13 อินทรียภาวนา ในพระสูตรหน่ึงพระพุทธเจ้าได้ทรงแสดงสั่งสอน ใหอ้ บรมอุเบกขาทางอนิ ทรยี ท์ ัง้ ๖ คอื ทางตา ทางหู ทางจมกู ทางลน้ิ ทางกาย และทางมนะคอื ใจ อนั เรยี ก ว่า อินทรียภาวนา คือการอบรมอินทรีย์ โดยที่ได้ ทรงปรารภถึงค�ำสอนในลัทธิอื่นที่มีเร่ืองเล่าว่า ศาสดา ของลัทธิน้ันแสดงอินทรียภาวนา อบรมอินทรีย์ทั้ง ๖ เหล่าน้ีอย่างไร ศาสดาของลัทธินั้นก็สอนสานุศิษย์ว่า ให้หลบั ตาเสียอย่ามอง ให้อุดหูเสยี อยา่ ฟัง เม่อื ปฏบิ ัติ ท�ำอนิ ทรยี ภาวนา พระพทุ ธเจา้ จงึ ได้ตรสั วา่ ถ้าเช่นน้นั คนท่ีตาบอดหูหนวกก็จะต้องเป็นผู้ที่ได้อบรมอินทรีย- ภาวนาแลว้ และไดท้ รงแสดงถงึ วธิ อี บรมอนิ ทรยี ภาวนา ในพระพุทธศาสนาโดยความวา่ อาศยั ตากบั รปู ทป่ี ระจวบกนั กเ็ กดิ อารมณท์ ชี่ อบใจ บ้าง ไมช่ อบใจบ้าง ท้ัง ๒ อยา่ งบา้ ง ก็ให้จับพจิ ารณา วา่ อนั ความชอบใจไมช่ อบใจหรอื ทง้ั ๒ อยา่ งนี้ เปน็ สง่ิ ที่ปรุงแต่งขึ้นมา เป็นของหยาบ เป็นของท่ีอาศัยเหตุ

14 อุเบกขา การวางเฉยอย่างถูกวิธี ปัจจัยบังเกิดข้ึน ส่วนส่ิงน้ีละเอียดประณีตคืออุเบกขา ความทว่ี างใจเปน็ กลางได้ เมอื่ เกดิ ปญั ญามองเหน็ ความ จริงดังน้ี ความชอบใจไมช่ อบใจหรอื วา่ ท้ัง ๒ นั้นย่อม ดับไปง่ายมาก ยากน้อย เหมือนอย่างหลับตาแล้วก ็ ลมื ตาขน้ึ ลมื ตาแลว้ กห็ ลับตาลง อาศัยหูกับเสียง ประจวบกัน ก็เกิดอารมณ์ที่ ชอบใจบา้ งไมช่ อบใจบา้ งหรอื ทง้ั ๒ อยา่ ง กใ็ หจ้ บั พจิ ารณา ความชอบใจไมช่ อบใจหรอื ทง้ั ๒ นน้ั เปน็ ของทปี่ รงุ แตง่ เป็นของหยาบ เป็นของท่ีอาศัยเหตุปัจจัยบังเกิดข้ึน ส่วนสงิ่ น้ีละเอียดประณตี คืออเุ บกขา เมอื่ พจิ ารณาเหน็ ดังนี้ ความชอบใจไม่ชอบใจหรือท้ัง ๒ น้ันก็จะดับไป งา่ ยมาก ยากนอ้ ย เหมอื นอย่างดดี น้วิ อาศัยจมูกกับกล่ิน เกิดอารมณ์ที่น่าชอบใจบ้าง ไม่ชอบใจบา้ งหรอื ท้งั ๒ นน้ั กใ็ ห้พิจารณาวา่ อนั ความ ชอบใจไม่ชอบใจหรือท้ัง ๒ น้ันเป็นของปรุงแต่ง เป็น ของหยาบ เป็นของท่ีอาศัยเหตปุ ัจจัยเกดิ ขึน้ สว่ นส่งิ นี้ ละเอียดประณีต คืออุเบกขา เมื่อพิจารณาเห็นดังน ้ี ความชอบใจไมช่ อบใจหรอื ทง้ั ๒ นนั้ กจ็ ะดบั ไปงา่ ยมาก

สมเด็จพระญาณสังวร 15 ยากนอ้ ย เหมอื นอยา่ งหยาดนำ้� ทต่ี กลงไปบนใบบวั ทเ่ี อยี ง หน่อยหน่งึ ก็จะไหลตกลงไปโดยเรว็ อาศยั ลน้ิ กบั รส เกดิ อารมณท์ ชี่ อบใจบา้ งไมช่ อบใจ บ้างหรือท้ัง ๒ นั้น ก็ให้พิจารณาว่า อันความชอบใจ ไมช่ อบใจหรอื ทง้ั ๒ นนั้ เปน็ ของปรงุ แตง่ เปน็ ของหยาบ เป็นของอาศัยเหตุปัจจัยบังเกิดข้ึน แต่ส่วนนี้ละเอียด ประณตี คอื อเุ บกขา เมอื่ พจิ ารณาเหน็ ดง่ั น้ี ความชอบใจ ไม่ชอบใจหรือท้ัง ๒ น้ันก็จะดับไปโดยง่ายมากหรือ ยากนอ้ ย เหมอื นอยา่ งรวมกอ้ นเขฬะทปี่ ลายลน้ิ กบ็ ว้ น ถ่มออกได้โดยง่าย อาศัยกายและส่ิงที่กายถูกต้อง ก็เกิดอารมณ์ ทชี่ อบใจบา้ งไมช่ อบใจบา้ งหรอื ทง้ั ๒ นนั้ กใ็ หพ้ จิ ารณา วา่ ความชอบใจไมช่ อบใจหรอื ทงั้ ๒ นน้ั เปน็ ของปรงุ แตง่ เป็นของหยาบ เป็นของอาศัยเหตุปัจจัยบังเกิดขึ้น ส่วนสิ่งท่ีเป็นของละเอียดประณีต คืออุเบกขา เมื่อ พิจารณาเห็นดั่งนี้ความชอบใจไม่ชอบใจก็จะดับไปโดย ง่ายมาก ยากน้อย เหมือนอย่างคู้แขนท่ีเหยียดเข้ามา หรอื วา่ เหยียดแขนทค่ี ู้ออกไป

16 อุเบกขา การวางเฉยอย่างถูกวิธี อาศยั มโนคอื ใจและธรรมคอื เรอ่ื งราว เกดิ อารมณ์ ทช่ี อบใจบา้ งไมช่ อบใจบา้ งหรอื ทง้ั ๒ นน้ั กใ็ หพ้ จิ ารณา ว่า อันความชอบใจไม่ชอบใจหรือท้ัง ๒ น้ันเป็นของ ปรงุ แตง่ เปน็ ของหยาบเป็นของอาศยั เหตุปัจจยั บงั เกดิ ขน้ึ แตส่ ว่ นนล้ี ะเอยี ดประณตี คอื อเุ บกขา เมอ่ื พจิ ารณา เห็นด่ังนี้ความชอบใจไม่ชอบใจหรือท้ัง ๒ อย่างนั้น กจ็ ะดบั ไปโดยงา่ ยมาก ยากนอ้ ย เหมอื นอยา่ งหยาดนำ�้ ๒-๓ หยดท่ตี กลงไปในกระทะท่รี อ้ น หยาดนำ้� น้ันกจ็ ะ แห้งเหอื ดหายไปโดยเรว็ ฉะนน้ั ตามพระพทุ ธภาษติ นจี้ งึ เปน็ การตรสั สอน ให้ปฏบิ ัตอิ เุ บกขาดว้ ยปญั ญาคอื ความรู้ คอื ใหใ้ ชป้ ญั ญา พจิ ารณาในขณะทป่ี ระสบอารมณท์ างอนิ ทรยี ท์ ง้ั ๖ เหลา่ น้ี อันเป็นอารมณ์ท่ีชอบใจไม่ชอบใจหรือทั้ง ๒ อย่างนั้น สว่ นการทจี่ ะดบั ความยนิ ดคี วามยนิ รา้ ยหรอื ทง้ั ๒ อยา่ งนนั้ ไดเ้ รว็ หรอื ชา้ เพยี งไรนนั้ กส็ ดุ แตป่ ญั ญาทม่ี องเหน็ เมอ่ื มีปัญญามองเห็นถนัดชัดแจ้งว่าความชอบใจไม่ชอบใจ หรือท้ัง ๒ อย่างนั้นเป็นของปรุงแต่งไม่ใช่เป็นของจริง เปน็ ของหยาบ ไมล่ ะเอยี ดประณตี เปน็ ของทอี่ าศยั ปจั จยั

สมเด็จพระญาณสังวร 17 บงั เกดิ ขนึ้ คอื เปน็ สง่ิ เกดิ -ดบั เมอื่ ปญั ญามองเหน็ ปรโุ ปรง่ ได้เร็วก็ดับได้เร็ว ถ้าปัญญามองเห็นปรุโปร่งได้ช้าก็ดับ ไดช้ า้ แตว่ า่ แมจ้ ะดบั ไดช้ า้ กด็ กี วา่ ไมใ่ ชป้ ญั ญาพจิ ารณา เพราะเมื่อใช้ปัญญาพิจารณา ความยินดีความยินร้าย หรือท้ัง ๒ อย่างน้ันก็ถูกเพ่งพินิจคือถูกดู เป็นการ ส่งจิตกลับเข้ามาดู ดูตัวความยินดีความยินร้ายหรือ ท้ัง ๒ อย่างนั้น ดูความชอบใจไม่ชอบใจหรือทั้ง ๒ อย่างน้ัน เมื่อมองเห็นว่าเป็นของปรุงแต่งเป็นของ หยาบ เป็นของอาศัยเหตปุ จั จยั บังเกดิ ขนึ้ อนั ท�ำจิตใจให้ เศรา้ หมอง ใหก้ ระสบั กระสา่ ยกระวนกระวายเดอื ดรอ้ น ยอ่ มจะมคี วามอดึ อดั ระอารงั เกยี จ รงั เกยี จตอ่ ความยนิ ดี ความยินร้ายหรือทั้ง ๒ อย่างน้ัน ระอาอึดอัดต่อ ความยินดีความยินร้ายท้ัง ๒ อย่างนั้น เม่ือเป็นดั่งน ี้ ก็จะท�ำให้ความยินดีความยินร้ายหรือท้ัง ๒ อย่างนั้น ไมเ่ พม่ิ ขน้ึ มแี ตจ่ ะลดนอ้ ยลงไป และเมอ่ื เพง่ พนิ จิ พจิ ารณา เข้าบ่อยๆ คือเพ่งดูบ่อยๆ ก็จะสงบลงไปจนดับหายใน ทส่ี ดุ เพราะวา่ สงิ่ ทไี่ มใ่ ชส่ จั จะคอื ความจรงิ นนั้ ยอ่ มไมท่ น ตอ่ ความเพง่ พนิ ิจ

18 อุเบกขา การวางเฉยอย่างถูกวิธี อนุตรอินทรยี ภาวนา การเพง่ พนิ จิ ดจู ติ อนั ประกอบดว้ ยความยนิ ดคี วาม ยินร้าย ความชอบใจไม่ชอบใจหรือท้ัง ๒ อย่างน้ัน จะท�ำให้พบลักษณะหน้าตาของความยินดีความยินร้าย ความชอบใจไมช่ อบใจหรอื ทงั้ ๒ อยา่ งนนั้ อนั มลี กั ษณะ ทน่ี า่ อดึ อดั นา่ ระอานา่ รงั เกยี จ กจ็ ะเกดิ ความอดึ อดั ระอา รงั เกยี จภาวะเหลา่ นขี้ องจติ ใจขนึ้ มาเอง จะทำ� ใหล้ ดถอย จนถึงสงบหายไปคือว่าดับไปได้ แม้จะช้าก็ยังดี ดีกว่า ปล่อยไว้โดยที่ไม่เพ่งกลับเข้ามาดู แต่ว่ามองออกไป ข้างนอก มองออกไปยึดถืออยู่ในตัวอารมณ์ท่ีเป็นท่ีต้ัง ความยินดีความยินร้าย ความชอบใจไม่ชอบใจ ความ หลงงมงายนั้น เมื่อเป็นด่ังนี้ ก็เป็นการท่ีเป็นเหมือน อยา่ งเสรมิ เชอื้ ใหแ้ กค่ วามยนิ ดคี วามยนิ รา้ ย ความชอบใจ ไมช่ อบใจ จะทำ� ใหเ้ พมิ่ มากขน้ึ และตง้ั อยนู่ าน สงบยาก ก่อความเดือดร้อนให้แก่จิตใจมาก ท�ำจิตใจให้ไม่สงบ มาก ฉะนน้ั วธิ ปี ฏบิ ตั ติ ามทพ่ี ระพทุ ธเจา้ ไดท้ รงสงั่ สอน ไวน้ ี้ จงึ เรยี กวา่ เปน็ อนตุ รอนิ ทรยี ภาวนา คอื การอบรม

สมเด็จพระญาณสังวร 19 อนิ ทรยี ์ ตา หู จมกู ลนิ้ กาย ใจ อนั เยยี่ ม กค็ อื ปฏบิ ตั ิ ใหไ้ ดอ้ ุเบกขาขนึ้ มาในอารมณ์นนั้ เอง เสขปฏปิ ทา การสง่ จติ กลบั เขา้ มาดเู มอ่ื บงั เกดิ ความยนิ ดคี วาม ยินร้าย ความชอบใจไม่ชอบใจหรือท้ัง ๒ อย่างน้ัน ขึ้นในอารมณ์ที่บังเกิด อาศัยอินทรีย์ท้ัง ๖ เหล่าน ้ี เพ่งพินิจดู บังเกิดความอึดอัด ระอา รังเกียจต่อ ความยินดียินร้าย ความชอบใจ ไม่ชอบใจหรือทั้ง ๒ อย่างนี้ท่ีตนเองเรียกว่าเป็น เสขปฏิปทา คือเป็นข้อ ปฏบิ ตั ขิ องพระเสขะ หรอื กลา่ วกลางๆ วา่ ของผทู้ ศี่ กึ ษา ปฏิบัติพระพุทธศาสนา ค�ำว่า เสขะ น้ันปรกติท่าน กห็ มายถงึ พระเสขะบคุ คลผบู้ รรลมุ รรคผลตงั้ แตข่ น้ั ที่ ๑ ไปขึ้นไป ค�ำเป็นกลางๆ ก็ว่าผู้ศึกษาพระพุทธศาสนา ทั่วไปก็พึงปฏิบัติดังน้ี คือเข้ามาดู เพ่งพินิจที่ตัวความ ยินดีความยินร้าย ความชอบใจไม่ชอบใจหรือท้ัง ๒ อย่างน้ัน ในขณะที่ประสบอารมณ์ทางตา หู เป็นต้น

20 อุเบกขา การวางเฉยอย่างถูกวิธี ให้เกิดความอึดอัด ระอา รังเกียจต่อความยินดีความ ยนิ รา้ ยหรอื ทง้ั ๒ อยา่ งนนั้ ดง่ั นเ้ี ปน็ วธิ ปี ฏบิ ตั ดิ บั และ แม้การปฏิบัติด่ังนี้ก็เป็นการปฏิบัติสติปัฏฐานของ พระพทุ ธเจา้ นน่ั เอง เพราะกร็ วมเขา้ ในกาย เวทนา จติ ธรรม และโดยเฉพาะการปฏบิ ตั พิ จิ ารณาซากศพกเ็ ปน็ วิธีปฏิบัติอย่างหนึ่ง อันจะท�ำให้เกิดความอึดอัดระอา รงั เกยี จตอ่ ความยนิ ดคี วามยนิ รา้ ย ความชอบใจไมช่ อบใจ หรอื ทงั้ ๒ อยา่ งนน้ั เพราะวา่ กายอนั นท้ี งั้ ทเี่ ปน็ กายตน บา้ ง กายผอู้ นื่ บา้ ง ย่อมเป็นที่ตั้งของความยินดีชอบใจ หรือความยนิ รา้ ยไม่ชอบใจ หรอื ท้ัง ๒ อย่างนน้ั ไดเ้ ป็น อยา่ งมาก แตเ่ มอื่ มาพจิ ารณาใหเ้ หน็ เปน็ ซากศพปลงใจ ลงไปได้ ก็จะสงบความชอบใจไม่ชอบใจหรือท้ัง ๒ อย่างนนั้ เปน็ อุเบกขาข้นึ มาได้





๒ อันจิตนี้เป็นท่ีเก็บอาสวอนุสัย คือตะกอนของ อารมณ์และกิเลสทั้งหลายอยู่เป็นอันมาก เม่ือตะกอน กเิ ลสเหลา่ นฟี้ งุ้ ขนึ้ มา จติ กย็ อ่ มขนุ่ มวั ฟงุ้ ซา่ น กระสบั - กระส่ายยากท่ีจะรวมได้ อุเบกขาเม่ือหัดปฏิบัติให้มี ในอารมณ์ท้ังหลายได้อยู่เป็นประจ�ำ ตลอดจนถึงอาจ ปฏบิ ตั แิ กไ้ ขเวทนาทบ่ี งั เกดิ ขนึ้ ในอารมณน์ นั้ ๆ โดยอาศยั เวทนาแกเ้ วทนา เปน็ ไปเพอ่ื ความสงบ เปน็ ไปเพอื่ อเุ บกขา ย่อมจะช่วยให้จิตใจได้รับความสงบในอารมณ์ท้ังหลาย ปอ้ งกนั มใิ หต้ ะกอนกเิ ลสเกา่ ฟงุ้ ขนึ้ มา และมใิ หอ้ ารมณ์ ใหมก่ อ่ กเิ ลสตกตะกอนเพมิ่ เตมิ เขา้ ไปอกี ทงั้ เปน็ เครอ่ื ง ผอ่ นปรนนำ� ตะกอนกเิ ลสเกา่ ออกไดด้ ว้ ย ฉะนนั้ จงึ เปน็ ธรรมปฏิบัตซิ ง่ึ ควรจะทำ� ความเขา้ ใจ

24 อุเบกขา การวางเฉยอย่างถูกวิธี พรหมวหิ ารธรรม จะได้แสดงอุเบกขาในอีกหมวดธรรมหนึ่ง คือ ในหมวดพรหมวิหาร ธรรมเป็นเครื่องอยู่ของพรหม ส�ำหรับในพระพุทธศาสนาก็หมายถึงผู้ท่ีมีจิตใจใหญ ่ เปน็ ไปไดท้ ง้ั ชายหญงิ เดก็ ผใู้ หญ่ เมอื่ ปฏบิ ตั พิ รหมวหิ าร ธรรมนี้ให้มีขึ้น ก็ย่อมเป็นผู้มีจิตใจใหญ่ เป็นผู้ใหญ ่ อนั กลา่ วไดว้ า่ เปน็ พรหมโดยธรรม คอื เมตตา ความรกั ใคร่ ปรารถนาใหเ้ ปน็ สขุ กรณุ า ความสงสาร คิดช่วย ให้พ้นทุกข์ มุทิตา ความพลอยยินดีในเมื่อผู้อ่ืนได้ด ี และ อเุ บกขา ความวางใจ มัธยัสถ์ เปน็ กลาง ทงั้ ๔ ขอ้ นเ้ี ปน็ ธรรมทค่ี นไทยเราไดย้ นิ ไดฟ้ งั กนั อยเู่ สมอ และ ไดร้ บั คำ� แนะนำ� ใหอ้ บรมใหม้ ขี น้ึ ในจติ ใจเสมอเชน่ เดยี วกนั และโดยเฉพาะกแ็ สดงกนั เนอื งๆ วา่ มารดาบดิ าเปน็ พรหม ของบตุ ร ก็เพราะประกอบด้วยพรหมวหิ ารธรรมทั้ง ๔ ประการนี้ กอ็ าจจะทำ� ใหเ้ ขา้ ใจวา่ สอนใหม้ จี ำ� เพาะบดิ า มารดาเทา่ นนั้ แตอ่ นั ทีจ่ รงิ หาเปน็ เช่นน้ันไม่ เปน็ ธรรม ทีพ่ งึ อบรมใหม้ ขี ้ึนในทุกๆ คน คอื ทกุ ๆ คนควรอบรม

สมเด็จพระญาณสังวร 25 ธรรมทง้ั ปวงนใี้ หม้ ขี น้ึ ดว้ ยการคดิ แผจ่ ติ ออกไปใหป้ ระกอบ ด้วยเมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขาโดยเจาะจงบ้าง โดยไม่เจาะจงบ้าง ที่เรียกว่า อัปปมัญญา คือไม่มี ประมาณบา้ ง การแผไ่ ปเปน็ อปั ปมญั ญาไมม่ ปี ระมาณนี้ ทา่ นสอนใหแ้ ผไ่ ปในทศิ เบอื้ งหนา้ ในทศิ เบอื้ งขวา ในทศิ เบื้องหลัง ในทิศเบื้องซ้าย ในทิศเบื้องบน ในทิศ เบ้ืองล่าง ในทิศขวางคือโดยรอบ คิดแผ่ไปด้วย เมตตา โดยคิดว่า สพฺเพ สตฺตา สัตวท์ ้ังหลายทัง้ ปวง อเวรา โหนตฺ ุ จงเป็นผู้ไมม่ เี วรเถดิ อพฺยาปชฌฺ า โหนฺตุ จงเปน็ ผไู้ มเ่ บยี ดเบยี นกนั เถดิ อนฆี า โหนตฺ ุ จงเปน็ ผไู้ มม่ ที กุ ขก์ ายทกุ ขใ์ จเถดิ สุขี อตฺตานํ ปรหิ รนฺต ุจงเปน็ ผมู้ สี ขุ รกั ษาตนเถดิ คดิ แผไ่ ปด้วย กรุณา โดยคดิ วา่ สพเฺ พ สตตฺ า สตั วท์ ง้ั หลายท้ังปวง ทกุ ฺขา ปมจุ ฺจนตฺ ุ จงพ้นจากทกุ ขเ์ ถิด

26 อุเบกขา การวางเฉยอย่างถูกวิธี คดิ แผ่ไปดว้ ย มุทิตา โดยคิดว่า สพเฺ พ สตตฺ า สตั ว์ท้ังหลายทัง้ ปวง มา ลทธฺ สมปฺ ตตฺ ิโต วคิ จฉฺ นฺตุ จงอยา่ ไปปราศจากสมบตั อิ นั ได้แลว้ เถิด คิดแผ่ไปด้วย อุเบกขา โดยคิดว่า สพฺเพ สตตฺ า สัตว์ท้ังหลายท้ังปวง กมมฺ สฺสกา เปน็ ผมู้ กี รรมเปน็ ของของตน กมมฺ ทายาทา เป็นทายาทรับผลของกรรม กมมฺ โยนี เป็นผมู้ กี รรมเป็นก�ำเนดิ กมฺมพนธฺ ู เปน็ ผมู้ กี รรมเปน็ เผา่ พนั ธุ์ กมฺมปฏิสรณา เปน็ ผมู้ กี รรมเปน็ ทพ่ี งึ่ อาศยั ยํ กมฺมํ กริสฺสนตฺ ิ จักทำ� กรรมอันใดไว้ กลยฺ าณํ วา ปาปกํ วา ดี หรือ ช่วั ตสสฺ ทายาทา ภวิสฺสนฺติ จักเป็นผู้รับผลของ กรรมนน้ั

สมเด็จพระญาณสังวร 27 การคิดแผ่ไปนี้ มิใช่คิดไปแต่เพียงความคิด แต่ ให้แผ่ไปด้วยจิตคือให้ถึงจิต คือให้จิตเป็นไปดังท่ีได้คิด แผไ่ ปน้ันจรงิ ๆ ดว้ ย เมือ่ เป็นดังนี้ จงึ จะเป็นการปฏิบัติ ทเ่ี รยี กวา่ เมตตาภาวนา อบรมเมตตาให้มขี นึ้ ให้เป็นขึ้น เป็นต้น และเมตตาเป็นต้นก็จะบังเกิดต้ังข้ึนในจิตได ้ ถ้าเปรียบเหมือนดังปลูกต้นไม้ ตั้งต้นแต่หว่านพืช การหัดปฏิบัติคิดแผ่ออกไปก็เหมือนอย่างเป็นการที่ หว่านพืชแห่งเมตตาลงไปในจิต และเม่ือปฏิบัติบ่อยๆ ต้นไม้คือเมตตาเป็นต้นก็จะบังเกิดข้ึนและงอกงามข้ึน ในจติ ได้ กระทำ� ใหจ้ ติ เปน็ จติ ทม่ี เี มตตา มกี รณุ า มมี ทุ ติ า มอี เุ บกขา เมตตา เมตตา น้นั เป็นเครอ่ื งดบั พยาบาท คือความ มุ่งร้ายปองร้ายด้วยอ�ำนาจของความโกรธ และเมตตา ที่บริสุทธ์นิ นั้ จะตอ้ งไม่ประกอบดว้ ยราคะสเิ นห่ าดว้ ย

28 อุเบกขา การวางเฉยอย่างถูกวิธี กรณุ า กรณุ า เปน็ เครอื่ งดบั วเิ หสา คอื ความเบยี ดเบยี น กรุณาที่บริสุทธนิ์ น้ั จะต้องไม่ประกอบดว้ ย โทมนัส คอื ความทุกขใ์ จ ความเสยี ใจ เพราะไดม้ องเห็นความทุกข์ ของผอู้ น่ื มองเหน็ ความทกุ ขข์ องบคุ คลผเู้ ปน็ ทร่ี กั โทมนสั ดงั กลา่ วนไี้ ดแ้ ก่ เคหสติ โทมนสั นน่ั เอง กรณุ าทบ่ี รสิ ทุ ธ์ิ จะต้องไม่ประกอบดว้ ยเคหสิตโทมนสั ดงั กล่าวดว้ ย มทุ ติ า มทุ ติ า เปน็ เครอื่ งดบั อรติ คอื ความไมย่ นิ ดดี ว้ ย หมายถงึ ความรษิ ยา และมทุ ติ าทบี่ รสิ ทุ ธน์ิ น้ั จะตอ้ งไม่ ประกอบดว้ ย โสมนสั คอื ความสขุ ใจดใี จ เพราะไดเ้ หน็ สมบตั คิ อื ความพรงั่ พรอ้ มของผอู้ น่ื อนั เปน็ ชนวนใหเ้ กดิ ความกระหย่ิมอยากได้ อยากมี อยากเป็นเช่นนั้น อนั เปน็ โลภะตณั หาดว้ ย โสมนสั ดงั กลา่ วนก้ี ค็ อื เคหสติ - โสมนสั ฉะนนั้ มทุ ติ าทบี่ รสิ ทุ ธก์ิ จ็ ะตอ้ งไมป่ ระกอบดว้ ย เคหสติ โสมนสั ดงั่ นดี้ ้วย

สมเด็จพระญาณสังวร 29 อเุ บกขา อเุ บกขา เปน็ เครอ่ื งดบั ราคะ ปฏฆิ ะ และอเุ บกขา ท่ีบริสุทธ์ิน้ันจะต้องมิใช่เป็นอุเบกขาอันบังเกิดข้ึนด้วย ความรหู้ รอื ดว้ ยความไมร่ อู้ นั เรยี กวา่ อญั ญาณอเุ บกขา กไ็ ดแ้ กเ่ คหสติ อเุ บกขา ฉะนน้ั อเุ บกขาทบี่ รสิ ทุ ธจิ์ ะตอ้ ง ไม่ประกอบดว้ ยเคหสิตอเุ บกขาดงั กลา่ ว อันอุเบกขาในข้อท่ี ๔ น้ีสมควรท่ีจะได้กล่าว อธบิ ายเพมิ่ เตมิ อกี สกั เลก็ นอ้ ย คอื ทเ่ี ปน็ เครอ่ื งดบั ราคะ ปฏิฆะนั้น ราคะ ก็ได้แก่ ความติดใจ ยินดี ชอบใจ อันเป็นไปในทางกิเลส และเม่ือมีความติดใจ พอใจ ชอบใจอนั เปน็ ตวั ราคะอยใู่ นบคุ คลใดกย็ อ่ มมี ฉนั ทาคติ ความลำ� เอยี งดว้ ยความพอใจ ในบคุ คลนนั้ เหมอื นอยา่ ง มารดาบิดาท่ีรักบุตรธิดา อันเป็นความรักอันเป็นราคะ สิเน่หา ย่อมจะเห็นว่าบุตรธิดาดีอยู่เสมอ ถูกต้องอยู่ เสมอ ในบางคราวแม้บุตรธิดาจะไปท�ำผิด มีผู้มาฟ้อง มารดาบดิ ากจ็ ะเขา้ กบั บตุ รธดิ าเสมอวา่ บตุ รธดิ าของตน

30 อุเบกขา การวางเฉยอย่างถูกวิธี เป็นฝ่ายถูก ฉะน้ัน เมื่อมีราคะอยู่ในบุคคลใด ก็ย่อม ทำ� ใหเ้ กดิ ความลำ� เอยี งในบคุ คลนนั้ ดว้ ยอำ� นาจของความ รัก จึงไม่มอี ุเบกขา ความทจ่ี ะวางใจเปน็ กลางในบคุ คล น้ันได้ ในดา้ นตรงกนั ขา้ ม ปฏฆิ ะ คอื ความกระทบกระทงั่ ไมช่ อบใจ ผดิ ใจ เมอื่ ปฏฆิ ะอยู่ในบคุ คลใด กย็ ่อมจะมี ความล�ำเอียงเพราะ โทสาคติ คอื ล�ำเอียงเพราะความ ชังในบุคคลน้นั จะไม่ใคร่มองเห็นความดีของบคุ คลน้นั จะมองเหน็ แตค่ วามไมด่ อี ยเู่ สมอ เมอื่ เปน็ เชน่ นนั้ จงึ ไม่ ไดอ้ เุ บกขาคอื ความทว่ี างใจเปน็ กลางได้ เพราะมคี วามชงั ไม่ชอบเป็นเครอื่ งปอ้ งกนั อยู่ ฉะนน้ั เมอื่ มรี าคะหรอื มปี ฏฆิ ะจงึ ไมอ่ าจวางใจเปน็ อุเบกขาได้ คือไม่อาจวางใจเป็นกลางได้ จะต้องเข้า ขา้ งหนงึ่ ดว้ ยอำ� นาจของความชอบ และผละออกจากอกี ข้างหนึ่งดว้ ยอ�ำนาจของความชัง ไม่มีความเป็นกลาง

สมเด็จพระญาณสังวร 31 พิจารณากรรม การปฏบิ ตั ใิ นอเุ บกขาจงึ เปน็ การปฏบิ ตั เิ พอ่ื กา้ วจติ ออกมาใหเ้ ปน็ กลาง ไมใ่ หเ้ ปน็ ไปในอำ� นาจของราคะหรอื ปฏิฆะในฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง เม่ือปฏิบัติน�ำใจออกมาให้ เป็นกลางได้ จึงหมายความว่าดับราคะหรือปฏิฆะได้ ถ้าดบั ราคะหรือปฏิฆะไม่ได้ การปฏิบตั อิ ุเบกขาในข้อน้ี ก็จะไม่ส�ำเร็จ ยังไม่ได้อุเบกขา ยังไม่เป็นอุเบกขา จะตอ้ งดบั ราคะปฏฆิ ะไดด้ ว้ ย จงึ จะเปน็ อเุ บกขาขนึ้ มาได้ ฉะนนั้ ในการทจ่ี ะปฏบิ ตั เิ พอื่ ใหเ้ ปน็ อเุ บกขาในขอ้ นี้ ทา่ น จงึ สอนให้คิดพจิ ารณาถึงกรรมว่า สัตว์ท้งั หลายมีกรรม เป็นของของตน เป็นทายาทรับผลของกรรม เป็นต้น ดงั ท่กี ล่าวแลว้ เม่อื น�ำจติ ออกมาก�ำหนดกรรม ปลงลง ในกรรมได้ส�ำเร็จ จึงจะท�ำจิตใหเ้ ปน็ อุเบกขาขึ้นมาได้ ตัวอย่างของมารดาบิดารักบุตรธิดาดังท่ียกข้ึน มานนั้ เมอื่ บตุ รธดิ าไปววิ าทกบั ใครและมผี มู้ าฟอ้ งมารดา บิดา มารดาบิดานั้นแม้จะมีราคะสิเน่หาในบุตรธิดา เขา้ ขา้ งบตุ รธดิ าอยู่ แตม่ ารดาบดิ าผมู้ งุ่ ปฏบิ ตั ธิ รรมยอ่ ม

32 อุเบกขา การวางเฉยอย่างถูกวิธี หักห้ามความเข้าข้างบุตรธิดาอันเป็นราคะสิเน่หาน้ัน ไวก้ อ่ น โดยมารบั พจิ ารณาคำ� ฟอ้ งวา่ เขาฟอ้ งวา่ บตุ รธดิ า ไปท�ำผิดอะไร และก็พิจารณาสอบสวนว่าไปท�ำผิดจริง หรอื ไม่ และเมือ่ พบความจริงว่าบตุ รธิดาไปท�ำผดิ ก็ว่า กล่าวและปฏิบัติไปตามควรแก่เหตุ เมื่อไม่ท�ำผิดจริงก็ ชแี้ จงใหเ้ ปน็ ทเ่ี ขา้ ใจกนั ตามหลกั ฐานเหตผุ ล การปฏบิ ตั ิ ดง่ั นช้ี อื่ วา่ เปน็ การปฏบิ ตั ทิ เ่ี พง่ ถงึ กรรมคอื การงานทกี่ ระทำ� ดงั กลา่ วนนั้ เป็นหลกั สำ� คัญ เม่ือมารดาบิดาปฏิบัตดิ ง่ั น้ี ก็ช่ือว่าเป็นผู้มีอุเบกขา รักษาอุเบกขา และเม่ือรักษา อเุ บกขาไวด้ งั่ นไ้ี ด้ กเ็ ปน็ การรกั ษาความยตุ ธิ รรมนน่ั เอง ฉะนั้น ความยุติธรรมน้ันจึงต้องประกอบด้วยอุเบกขา คอื มงุ่ กรรมการงานทก่ี ระทำ� นแ้ี หละเปน็ หลกั สำ� คญั โดย ไม่เขา้ ขา้ งบุคคลด้วยอำ� นาจของราคะหรอื ปฏฆิ ะ แมว้ ่า ชอบไม่ชอบใคร เม่ือมีหน้าท่ีจะต้องเป็นผู้รับฟ้องและ ตัดสินโดยเป็นผู้ใหญ่หรือโดยหน้าที่อย่างใดอย่างหน่ึง ก็ไม่ถือเอาความชอบไม่ชอบเป็นส่วนตัวนั้นมาเป็นข้อ สำ� คญั และมงุ่ พจิ ารณาถงึ กรรมตามทฟี่ อ้ งนน้ั พรอ้ มทงั้ หลกั ฐานเหตผุ ลต่างๆ เปน็ ข้อตดั สินช้ลี งไปวา่ ผดิ ว่าถกู

สมเด็จพระญาณสังวร 33 ด่ังน้ีก็คือมีอุเบกขา คือวางตนเป็นกลางได้ ไม่ถือเอา ชอบหรือชงั ส่วนตัวมาเป็นเหตสุ �ำคญั ดบั ราคะสิเนห่ า เมอ่ื มอี เุ บกขาดว้ ยพจิ ารณาปลงลงในกรรมไดด้ ง่ั นี้ สัตว์ทั้งปวงมีกรรมเป็นของของตนดังกล่าวน้ัน ก็ย่อม จะรวมเอาทง้ั คนทีช่ อบ ท้งั คนที่ชงั ท้ังคนทีเ่ ปน็ ผู้เนอ่ื ง อยู่ในครอบครัว ในหมคู่ ณะของตน ท้งั คนทไ่ี มเ่ นือ่ งอยู่ ดังกล่าวคือคนอ่ืน แปลว่าท้ังหมดไม่ว่าใคร ไม่ยกเว้น ใคร ก็รวมอยู่ในค�ำว่าสัตว์ทังหลายท้ังปวงซ่ึงมีกรรม เปน็ ของของตน เปน็ ทายาทรบั ผลของกรรมเปน็ ตน้ ไมม่ ี ยกเวน้ ใครผใู้ ด และเมอื่ เปน็ ดง่ั นแี้ ลว้ การอบรมเมตตา การอบรมกรุณา การอบรมมุทิตา ก็ย่อมจะเป็นไปโดย สะดวก จะท�ำให้ได้เมตตาที่บริสุทธ์ิ กรุณาที่บริสุทธิ์ มุทิตาท่ีบริสุทธ์ิด้วย ดังเช่นคิดแผ่เมตตาออกไปในคน ที่รัก อันคนที่รักน้ันทางโลกก็ย่อมเป็นบุคคลท่ีมีราคะ สเิ นห่ าอยเู่ ปน็ สว่ นมาก เมอื่ เปน็ ดงั่ น้ี ถา้ จติ ไมป่ ระกอบ

34 อุเบกขา การวางเฉยอย่างถูกวิธี ดว้ ยอเุ บกขาดงั กลา่ ว การแผอ่ อกไปดว้ ยเมตตาในบคุ คล เช่นนัน้ ก็อาจจะไปเพิม่ ราคะสเิ น่หาขึ้นโดยไม่รูต้ ัว คดิ ว่าราคะสิเน่หาน่ันแหละเป็นตัวเมตตาแต่อันท่ีจริงไม่ใช่ เป็นราคะสิเน่หาต่างหาก ต่อเม่ือมีใจเป็นอุเบกขาหยั่ง ลงในกรรมเสียได้ แยกออกมาเสียได้แล้ว แผ่เมตตา ออกไปแมใ้ นคนท่ีรักกเ็ ป็นเมตตาที่บรสิ ทุ ธ์ิ ดบั ปฏฆิ ะ การแผ่เมตตาดับปฏิฆะไปในบุคคลที่ไม่เป็นที่รัก เช่นในผู้ที่เป็นศัตรู ถ้าหากจิตยังไม่เป็นอุเบกขา คือ ยงั ดบั ปฏฆิ ะในใจไมไ่ ด้ การจะแผเ่ มตตาออกไปในบคุ คล ที่ชังกันน้ันจึงยากมาก จิตไม่ยอมท่ีจะเมตตา ยิ่งไป คดิ ถงึ บางทกี ลบั ไปเพม่ิ พยาบาท โทสะใหม้ ากขนึ้ ไปอกี เพราะฉะนนั้ ตอ้ งคดิ ดบั ปฏฆิ ะในใจ ทำ� ใจใหเ้ ปน็ อเุ บกขา ให้ได้โดยท่ีปลงลงในกรรม เป็นกรรมของบุคคลที่ตน ไมช่ อบนน้ั เองดว้ ย เปน็ กรรมของตนเองดว้ ย และไมว่ า่ จะเป็นศัตรูคือเป็นบุคคลที่ตนไม่ชอบหรือว่าเป็นตนเอง

สมเด็จพระญาณสังวร 35 เม่ือท�ำอะไรออกไปทางกาย ทางวาจา ตลอดจนถึง ทางใจ กรรมที่ท�ำน้ัน ถ้าเป็นอกุศลก็เป็นอกุศลกรรม ของตนเอง ของคนผู้ท�ำนั้นเอง ถ้าเป็นกุศลก็เป็น ของบุคคลผู้ท�ำน้ันเอง ของตนเองเช่นเดียวกัน เพราะ ฉะนน้ั พจิ ารณาดวู า่ ไมช่ อบเขาเพราะอะไร เขาเปน็ ศตั รู เพราะอะไร สมมติว่าไม่ชอบเขาเห็นว่าเขาเป็นศัตรู เขาท�ำร้าย เข้าพูดร้าย เขาแสดงอาการคิดร้ายต่อตน อย่างใดอย่างหน่ึง คราวนี้ เม่ือมาพิจารณาปลงลงไป ในกรรม ก็พจิ ารณาว่าการท�ำร้าย การพดู รา้ ย การคดิ ร้ายของเขานั้นใครเป็นคนท�ำ เขาทำ� หรอื ว่าเราท�ำ ก็จะ ต้องตอบว่าเขาท�ำ ก็เม่ือเขาท�ำก็เป็นกรรมของเขา เมื่อเขาท�ำร้าย เขาคิดร้าย เขาพูดร้ายจริง แม้ต่อเรา กรรมทเ่ี ขาทำ� นน้ั กเ็ ปน็ อกศุ ลกรรมของเขาเอง เราไมไ่ ด้ ท�ำ กไ็ มไ่ ด้เปน็ กรรมของเรา แม้วา่ จะเดือดร้อนเพราะ กรรมของเขาก็จริง แต่กรรมที่เขาท�ำก็เป็นกรรมของ เขาเอง กรรมชัว่ ของเขาเอง ไม่ใช่เปน็ กรรมชั่วของเรา เราอาจจะต้องเดือดร้อนเพราะกรรมช่ัวของเขาก็จริง แตว่ า่ กรรมชว่ั นน้ั เปน็ ของเขา ไมใ่ ชเ่ ปน็ ของเรา แบง่ ออก

36 อุเบกขา การวางเฉยอย่างถูกวิธี ได้ดั่งน้ีแล้ว ก็จะท�ำให้ปลงลงไปในกรรมได้ ไม่มาก ก็น้อย หรือว่าปลงลงไปได้คร่ึงหนึ่ง หรือว่าค่อนหน่ึง หรือว่าทั้งหมด ถ้าหากว่าสามารถจะพิจารณาให้เห็น จริงจังดั่งน้ันได้ และก็ดูถึงกรรมของตนเองว่า อาจจะ เป็นท่ีตนกระท�ำกรรมอันใดอันหนึ่งท่ีเป็นกรรมช่ัว ของตน แต่ว่าไปท�ำให้คนอื่นเขาเดือดร้อนในอดีตบ้าง หรือว่าในปัจจุบันบ้างก็ได้ เพราะฉะน้ัน ก็ให้อโหสิกัน ไปเสยี คดิ ปลงลงไปดง่ั นแ้ี ลว้ กจ็ ะทำ� ใหด้ บั ปฏฆิ ะลงไปได้ และเมื่อดับปฏิฆะลงไปได้แล้วคิดแผ่เมตตาไปแม้ในคน ทเ่ี ปน็ ศตั รูหรือคนที่ชงั กัน กย็ อ่ มจะท�ำไดง้ ่าย เพราะว่า ดบั ความชังในจติ ใจโดยท�ำจติ ใจใหเ้ ป็นอเุ บกขาได้ ในข้อกรุณา ขอ้ มุทิตาก็เชน่ เดยี วกัน และเมือ่ ได้ ปฏบิ ตั ิอบรมเมตตา กรุณา มทุ ติ าไปในกาละในบคุ คล ที่ควรอบรม ก็สามารถที่จะอบรมมาถึงอุเบกขาได้ ใน เมอื่ ไดม้ อี เุ บกขาเปน็ พน้ื อยตู่ ามสมควรแลว้ ดงั เชน่ ทเี่ ปน็ ไปในฝา่ ยดี ทา่ นแสดงอปุ มาถงึ วาระของการอบรมธรรม ท้ัง ๔ ข้อนี้ที่ควรเป็นไปในวาระเช่นไร อุปมาเหมือน อยา่ งมารดาบดิ ามบี ตุ ร ๔ คน บตุ รทยี่ งั เปน็ เดก็ คนหนง่ึ

สมเด็จพระญาณสังวร 37 บุตรท่ีป่วยไข้คนหนึ่ง บุตรที่บรรลุถึงความเจริญวัย คนหนึ่ง บุตรที่ขวนขวายในกิจการงานของตนได้แล้ว คนหนงึ่ มารดาบดิ ายอ่ มปรารถนาความเจรญิ แกบ่ ตุ รที่ ยังเป็นเด็ก น้ีคอื เมตตา มารดาบดิ ายอ่ มหวังความหาย ป่วยไข้ส�ำหรับบุตรที่ป่วยไข้ น้ีคือกรุณา มารดาบิดา ย่อมหวังความต้ังอยู่ตลอดกาลนานแห่งบุตรที่บรรลุถึง วยั เจรญิ นคี้ อื มทุ ติ า มารดาบดิ ายอ่ มไมข่ วนขวายอะไร คือวางใจเป็นอุเบกขา ได้ในบุตรท่ีขวนขวายในกิจการ ของตนเองไดแ้ ลว้ นค้ี อื อเุ บกขา เมอื่ มารดาบดิ ามอี เุ บกขา ยอ่ มสามารถทีจ่ ะอบรมธรรมทั้ง ๔ ข้อนจี้ นถงึ อเุ บกขา เพ่ิมเติมขึ้นอีกได้ แต่ถ้าหากว่ามารดาบิดาไม่สามารถ ทจ่ี ะดบั ราคะสเิ นห่ าในบตุ รไดต้ ามสมควร ยอ่ มไมส่ ามารถ ที่จะท�ำอุเบกขาได้แม้ว่าบุตรจะขวนขวายในกิจการงาน ของตนไดแ้ ลว้ กจ็ ะตอ้ งวนุ่ วายคอยดแู ลชว่ ยตา่ งๆ อยอู่ กี ไม่รู้จักแล้ว เป็นอันไม่ได้พักผ่อน ท้ังนี้เพราะเหตุว่า ถา้ มาพจิ ารณาถงึ กรรมดงั กลา่ วแลว้ วา่ ทกุ ๆ คนมกี รรม เปน็ ของของตน บตุ รกม็ กี รรมเปน็ ของของตน และบดั น้ี ก็มีกรรมดีสนับสนุนจนถึงสามารถประกอบการงาน ของตน ตงั้ ตนไดต้ ามสมควรแลว้ กแ็ ปลวา่ ปลอ่ ยวางได้

38 อุเบกขา การวางเฉยอย่างถูกวิธี อุเบกขาได้ หยุดขวนขวายช่วยเหลือได้ เมื่อเป็นดั่งน้ี ก็แปลว่ามารดาบิดาเป็นพรหมครบ ๔ หน้า คือมีท้ัง เมตตา กรุณา มุทติ า อุเบกขา ไมบ่ กพร่อง แตโ่ ดย มากนนั้ เมอื่ ไมป่ ฏบิ ตั ใิ หถ้ งึ อเุ บกขาแลว้ กม็ กั จะบกพรอ่ ง ในข้ออุเบกขาน้ี ในบคุ คลซ่งึ มีราคะสิเน่หาเปน็ อย่างยิ่ง คราวนี้ ในอีกด้านหน่ึง คือในด้านที่ไม่สามารถ จะช่วยได้ ดังเช่นบุคคลซึ่งเป็นที่รักเจ็บป่วยด้วยโรคท ี่ ไมส่ ามารถจะรกั ษาได้ มอี นั จะตอ้ งละโลกนไี้ ป ถา้ หากวา่ หกั ใจไมไ่ ดค้ อื ไมม่ อี เุ บกขากย็ อ่ มจะตอ้ งมคี วามเศรา้ โศก เปน็ อยา่ งยง่ิ แตถ่ า้ หากวา่ ปลงใจลงไปในกรรมไดว้ า่ ทกุ ๆ คนมกี รรมเปน็ ของของตน เปน็ ทายาทรับผลของกรรม เมอ่ื ตอ้ งเจบ็ ปว่ ยรกั ษาไมไ่ ดท้ ง้ั ทไี่ ดช้ ว่ ยรกั ษามาอยา่ งเตม็ ทแ่ี ลว้ กแ็ สดงวา่ ถงึ กาละตามกรรมอนั จะตอ้ งละโลกนไ้ี ป อันเป็นกรรมที่เขาท�ำไว้เอง ปลงใจลงในกรรมเหล่าน ้ี ก็จะท�ำให้ดับราคะได้คือความติดด้วยอ�ำนาจของราคะ จติ กจ็ ะเป็นอเุ บกขา คือวางเฉยได้ มธั ยัสถเ์ ป็นกลางได้ กจ็ ะดบั ความเสยี ใจได้ ดง่ั นกี้ เ็ ปน็ กาละทค่ี วรทำ� อเุ บกขา และจะตอ้ งหดั ทำ� ให้ได้

สมเด็จพระญาณสังวร 39 อเุ บกขาจงึ เปน็ สงิ่ ทเี่ ปน็ ประโยชนม์ ากและเปน็ สงิ่ ทจี่ �ำเป็น เปน็ หลกั การของพรหมวหิ ารทุกขอ้ สามารถ ทจี่ ะทำ� ใหป้ ฏบิ ตั ใิ นพรหมวหิ ารขอ้ อนื่ ไดด้ ว้ ย และสามารถ ทจี่ ะทำ� จติ ใหบ้ รรลถุ งึ ความสงบ ปลงใจลงไปในกรรมและ ผลของกรรมทที่ กุ ๆ คนกระทำ� ดงั ทไ่ี ดก้ ลา่ วมาแลว้ นค้ี อื อุเบกขาในพรหมวหิ าร



๓ อุเบกขาเป็นธรรมที่ประกอบอยู่ในหมวดธรรม ท้ังหลายเป็นอันมาก อันแสดงว่าเป็นธรรมข้อส�ำคัญที่ จะน�ำให้การปฏิบัติธรรมท้ังปวงโดยเฉพาะน�ำจิตใจไปสู่ ความหลดุ พน้ ได้ พจิ ารณาดเู ขา้ มาทจ่ี ติ จติ นโี้ ดยปรกติ ไม่มีอุเบกขาในอารมณท์ ง้ั หลาย เพราะว่าไมป่ ลอ่ ยและ ไม่หยุดในอารมณ์ทั้งหลาย ไม่ปล่อยก็คือว่ายึด ยึด อารมณ์ทั้งหลาย และเมอ่ื ยึดอารมณท์ ้งั หลายกไ็ มห่ ยดุ การปรงุ การแตง่ อารมณท์ งั้ หลาย จงึ นำ� ใหเ้ กดิ ความยนิ ดี ความยินรา้ ยความหลงงมงายต่างๆ ฉะน้นั การปฏิบัติ โดยสรุปหรือที่เรียกว่าเป็นทางลัดอย่างง่ายก็ให้ก�ำหนด เข้ามาดูจติ เมอ่ื รับอารมณท์ ัง้ หลายทางทวารทง้ั ๖ เม่อื ดจู ติ กย็ อ่ มจะพบวา่ จติ มปี รกตยิ ดึ ไมป่ ลอ่ ยอารมณ์ และ

42 อุเบกขา การวางเฉยอย่างถูกวิธี ไมห่ ยดุ คอื ว่าปรุงแต่งอารมณ์ เว้นไวแ้ ต่วา่ อารมณน์ น้ั ๆ จะไม่พอเป็นท่ีตั้งของความยินดีหรือความยินร้ายดังที่ เรียกในภาษาสามัญว่าไม่น่าสนใจ ใจไม่สนก็ปล่อยไป และกห็ ยดุ ไมป่ รงุ แตง่ อารมณเ์ ชน่ นน้ั ดงั่ นแี้ หละทเี่ รยี ก ว่า อัญญาณอุเบกขา ความปล่อยความหยุด หรือ ความวางความเฉยด้วยความไม่รู้ หรือมิใช่ด้วยความรู้ หรือทีเ่ รยี กวา่ เคหสิตอุเบกขา ดงั กลา่ วมาแลว้ อเุ บกขาดงั กลา่ วไมใ่ ชเ่ ปน็ ธรรมปฏบิ ตั ิ เปน็ ของที่ ทกุ คนกม็ อี ยู่ด้วยกนั คอื เร่อื งอนั ใดทีไ่ มส่ นใจ ใจไมส่ น ก็เฉยๆ ก็ปล่อยไม่ยึด แล้วก็หยุดคือไม่ปรุงแต่งต่อไป แต่ว่าเร่ืองที่ใจสนเช่นว่าอารมณ์อันเป็น สุภารมณ์ คืออารมณ์ที่งดงาม หรือตรงกันข้ามอารมณ์ที่เป็น อสุภารมณ์ คืออารมณ์ที่ไมง่ ดงาม ท่ีนา่ เกลยี ด ซึ่งถา้ จะเป็นสุภารมณ์ก็ชวนใจให้ยินดี ถ้าเป็นอสุภารมณ ์ ก็ชวนใจใหย้ ินร้าย ดงั่ นี้ใจก็สน ก็ยดึ ไมป่ ลอ่ ยและกไ็ ม่ หยุดกค็ อื ว่าจบั มาปรุงแตง่ ในใจต่อไป ดูจิตให้รู้ว่าจิตเป็นอย่างไรในเวลาท่ีรับอารมณ์ ทงั้ หลายอยเู่ ปน็ ประจำ� ดงั นใ้ี หร้ ู้ และเมอื่ จติ จบั ยดึ อารมณ์

สมเด็จพระญาณสังวร 43 ไมป่ ลอ่ ย และไมห่ ยดุ คอื วา่ ปรงุ แตง่ กจ็ ะเกดิ ความยนิ ดี บ้าง ความยนิ ร้ายบา้ ง ตลอดจนความหลงงมงายต่างๆ ดังกล่าว เมื่อเป็นดังน้ีก็ให้รู้ และให้รู้ว่าอาการด่ังน้ัน เป็นของปรุงแต่งเป็นของหยาบ ไม่ใช่เป็นของละเอียด สว่ นอเุ บกขาคอื ความทนี่ ำ� ใจออกมาเปน็ กลาง ทเ่ี รยี กวา่ มธั ยสั ถ์ ตงั้ อยใู่ นทา่ มกลาง ไมต่ กไปในฝา่ ยยนิ ดี ไมต่ ก ไปในฝา่ ยยนิ รา้ ย ตง้ั อยใู่ นทา่ มกลางดงั่ นเ้ี ปน็ ของละเอยี ด เพราะว่าภาวะของจิตด่ังน้ีเป็นลักษณะที่เรียกว่าปล่อย คอื ไมจ่ บั ยดึ เอาไว้ และหยดุ คอื ไมป่ รงุ แตง่ ตง้ั อยทู่ า่ มกลาง แต่ถ้าตกไปในฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งแห่งความยินดีหรือความ ยนิ รา้ ย กจ็ ะตอ้ งปรุงแตง่ ดูจติ ใหร้ ูด้ ่ังนี้ก็จะได้อเุ บกขา อเุ บกขาในสตปิ ฏั ฐาน ๔ อเุ บกขามคี วามสำ� คญั ในธรรมทงั้ หลาย และมกั จะ เปน็ ธรรมขอ้ สงู สดุ ในหมวดธรรมนน้ั ๆ เชน่ ในสตปิ ฏั ฐาน ทัง้ ๔ สตกิ �ำหนดดูกาย ดเู ทวนา ดจู ิต ดูธรรม ก็มิได้ มอี ุเบกขาแสดงไวโ้ ดยตรง แตใ่ นทางปฏบิ ตั นิ ั้น ท่านมี แสดงไวว้ า่ ในขนั้ ตงั้ สตกิ ำ� หนดธรรมนนั้ สรปุ เขา้ มากค็ อื

44 อุเบกขา การวางเฉยอย่างถูกวิธี เขา้ ไปเพง่ ดกู ารละความยนิ ดคี วามยนิ รา้ ย สงบอยภู่ ายใน ดว้ ยดี สตทิ กี่ ำ� หนดดงั่ นเี้ ปน็ ยอดธมั มานปุ สั สนาสตปิ ฏั ฐาน คอื การปฏบิ ตั สิ ตปิ ฏั ฐานนนั้ ปฏบิ ตั กิ นั มาโดยลำ� ดบั จนถงึ ละความยนิ ดีความยนิ ร้ายได้ เมือ่ ยงั ละไม่ได้ ก็ตอ้ งจับ การปฏิบัติไว้ปล่อยหยุดไม่ได้จนกว่าจะละความยินดี ความยินร้ายในอารมณ์ทั้งหลายได้ดังท่ีได้เร่ิมกล่าวมา คือการที่ได้เร่ิมกล่าวมาต้ังแต่ต้นน้ัน อันท่ีจริงก็เป็น การปฏิบตั สิ ติปฏั ฐานนั้นเองในอารมณท์ งั้ หลาย จนละ ความยินดีความยินร้ายได้ เม่ือละได้ จึงเข้าไปเพ่งด ู การละความยินดีความยินร้ายนั้นสงบอยู่ภายใน ด่ังนี้ เปน็ อุเบกขา ก็เปน็ สติปัฏฐาน ๔ สมบรู ณ์ อุเบกขาสัมโพชฌงค์ ในโพชฌงค์ ๗ ขอ้ สดุ ทา้ ยกค็ อื อเุ บกขาสมั โพชฌงค์ องค์แห่งความรู้คืออุเบกขา ในทางปฏิบัติก็มีอธิบายว่า คอื การเขา้ ไปเพง่ จติ ทเี่ ปน็ สมาธติ ง้ั มนั่ แลว้ ดว้ ยดี เมอ่ื จติ ตง้ั มน่ั เปน็ สมาธดิ แี ลว้ กไ็ มต่ อ้ งทำ� การตงั้ อกี แตว่ า่ เขา้ ไป เพง่ จิตอันเปน็ สมาธิท่ีตั้งมั่นแล้วนน้ั การเข้าไปเพง่ ดจู ิต

สมเด็จพระญาณสังวร 45 ที่เป็นสมาธิตั้งม่ันแล้วน้ันเป็นการปล่อย คือไม่ยึดการ ปฏิบัติในการตั้งเพราะว่าตั้งได้แล้ว และเป็นการหยุด คือไม่ต้องปรุงสมาธิให้บังเกิดขึ้นอีก เพราะเป็นสมาธิ เม่ือเป็นดั่งนี้ก็เป็นอันว่าเป็นโพชฌงค์ท่ีสมบูรณ์ เป็น การทจ่ี ะก้าวขึน้ สูป่ ัญญาในองคม์ รรคตอ่ ไป อุเบกขาในปญั ญา ในการปฏิบัติทางวิปัสสนาอันเป็นทางปัญญาน้ัน ก็ก�ำหนดนามรูปหรือขันธ์ ๕ หากปฏิบัติสืบต่อขึ้นมา จากสตปิ ฏั ฐาน โพชฌงค์ กค็ อื ตอ่ จากอเุ บกขาสมั โพชฌงค์ นนั่ เอง เมอื่ เขา้ ไปเพง่ จติ ทเ่ี ปน็ สมาธติ ง้ั มนั่ ดแี ลว้ ขนั ธ์ ๕ ยอ่ ลงเปน็ นามรปู กย็ อ่ มจะปรากฏในจติ นเี้ อง เพราะวา่ จิตนี้เองในข้ันนี้เป็นตัวสังขาร ประกอบอยู่ด้วยนามรูป หรอื ขนั ธ์ ๕ นามรปู หรอื ขนั ธ์ ๕ นร้ี วมกนั เขา้ เปน็ สมาธิ และแม้เป็นตัวอุเบกขาเอง เมื่อเข้าไปเพ่งดูจิตท่ีเป็น สมาธิ ขันธ์ ๕ นามรูปก็ย่อมจะปรากฏท่ีจิตนี้ ก็จับ พิจารณาทางปัญญา คือจบั เอานามรปู ขน้ึ พจิ ารณาโดย ไตรลักษณ์ คือลักษณะที่ไม่เที่ยงอันได้แก่เกิดดับ

46 อุเบกขา การวางเฉยอย่างถูกวิธี ลักษณะท่ีเป็นทุกข์คือต้ังอยู่คงที่ไม่ได้ ต้องแปรปรวน เปล่ียนแปลงไป ลักษณะที่เป็นอนัตตาคือบังคับให ้ เป็นไปตามปรารถนาไม่ได้ จึงต้องเกิดต้องดับ จึงต้อง แปรปรวนเปลี่ยนแปลงไป ดั่งนี้แปลว่าต้องจับข้ึนมา พิจารณาไม่ปล่อย และการท่ีไม่ปล่อยนั้นก็คือว่าต้อง ปรุงแต่งปรุงแต่งการพิจารณาโดยไตรลักษณ์ว่าเป็น อนจิ จะไมเ่ ทยี่ งอยา่ งนๆี้ เปน็ ทกุ ขะอยา่ งนๆ้ี เปน็ อนตั ตา อย่างน้ีๆ ต้องจับเอานามรูปข้ึนมา ต้องปรุงแต่งการ พจิ ารณาขน้ึ มาวา่ อยา่ งน้ๆี ดั่งน้เี รียกวา่ ยงั ไมม่ ีอเุ บกขา คือยังไม่ปล่อยยังไม่หยุด ต้องจับข้ึนมาพิจารณา การ พิจารณาก็ต้องปรุงแต่งปัญญาส่วนเหตุหรือวิปัสสนา ทเ่ี ป็นสว่ นเหตุ ตอ้ งเป็นไปดั่งน้ี เมอื่ ไตรลกั ษณป์ รากฏขน้ึ ชดั แกค่ วามรู้ คอื อนจิ จตา ทกุ ขตา อนตั ตตา ความเปน็ ของไมเ่ ทย่ี ง ความเปน็ ทกุ ข์ ความเป็นอนัตตาปรากฏขึ้นแก่ความรู้ เมื่อปรากฏขึ้น ชัดเห็นไตรลักษณ์แล้วก็ปล่อยได้ หยุดได้ ปล่อยก็คือ ไม่ต้องจับเอานามรูปข้ึนมาตรวจค้น ปล่อยก็คือหยุด หรือหยุดก็คือปล่อย อันหมายความว่าหยุดปรุงแต่ง

สมเด็จพระญาณสังวร 47 การพิจารณาว่าเป็นไตรลักษณ์อย่างไร เพราะว่าเห็น ไตรลักษณแ์ ล้ว อนจิ จตา ทุกขตา อนตั ตตาปรากฏขึ้น แล้วด่ังน้ี ตอนน้ีแหละเรยี กว่าเปน็ อุเบกขา เพียงเข้าไป เพง่ ดูอนจิ จตา ทกุ ขตา อนตั ตตา ปรากฏอยูใ่ นนามรูป ฉะน้นั ในขน้ั นี้จงึ เรยี กว่าเป็นปัญญาส่วนผล ปัญญาส่วนเหตุน้ัน ต้องจับ ต้องยึดเอานามรูป ข้ึนมาตรวจค้น คือไม่ปล่อยและก็ไม่หยุดการปรุงแต่ง คอื ตอ้ งปรงุ แตง่ การพจิ ารณา แปลวา่ ไมม่ อี เุ บกขาในเรอ่ื งนี้ เปน็ ปญั ญาสว่ นเหตุ ครนั้ ไดเ้ หน็ แลว้ ไดร้ แู้ ลว้ เปน็ ปญั ญา สว่ นผล กป็ ลอ่ ยได้ หยดุ ได้ ดง่ั นค้ี อื อเุ บกขาทางปญั ญา หรือในปัญญา อุเบกขาในสังขาร เม่ือได้อุเบกขาในปัญญาแล้ว ก็จะได้อุเบกขาใน สงั ขารตอ่ ไป แตว่ า่ กอ่ นทจ่ี ะไดอ้ เุ บกขาในสงั ขารนี้ กจ็ ะ ตอ้ งมีการปฏิบัติปล่อยวางสงั ขารเสยี ก่อน

48 อุเบกขา การวางเฉยอย่างถูกวิธี ในการปฏบิ ตั ปิ ลอ่ ยวางสงั ขารนก้ี ค็ อื ปลอ่ ยวางจาก ความยดึ ถอื เพราะวา่ เมอ่ื ยงั ไมเ่ หน็ ไตรลกั ษณ์ กย็ อ่ มมี ความยึดถือในสังขาร กล่าวโดยเฉพาะก็คือนามรูป น้ีแหละ ว่านามรูปน้ีเป็นของเรา เราเป็นนามรูปน ้ี นามรูปนี้เป็นอัตตาตวั ตนของเรา ย่อมจะมีความยดึ ถือ อยดู่ งั่ น้ี ตอ่ เมอ่ื เหน็ ไตรลกั ษณแ์ ลว้ ความยดึ ถอื ดงั กลา่ ว น้ีก็จะหายไปเป็นความปล่อยวางสังขารคือนามรูป ใน ช่วงขณะที่ปฏิบัติปล่อยวางนามรูปน้ี เรียกว่า ยังต้อง ยึดถือ ยึดถือเพ่ือปล่อยวาง คือยังไม่ปล่อยนามรูป ในขณะท่ียังมิได้วางลงแล้ว แต่ว่าในข้ันน้ีก็เรียกว่าจับ ขึ้นมาเพื่อปล่อย ก็ยังเรียกว่ายังไม่หยุดคือต้องปรุง การปลอ่ ยคอื การปฏิบตั ิ คร้นั จบั ขนึ้ มาเพอ่ื ปล่อย ปรงุ การปล่อยคือท�ำการปล่อย ปล่อยวางลงไปได้แล้วน่ัน กเ็ ปน็ อนั วา่ เสรจ็ กจิ ในการทจ่ี ะทำ� การปลอ่ ย กเ็ ปน็ อเุ บกขา ในสงั ขาร คอื ในนามรปู ก็เป็นอนั ว่าปลอ่ ยไดห้ ยุดได้ ท่านจึงมีอุปมาไว้ว่า เปรียบเหมือนงูเล้ือยเข้ามา ในบา้ นและมาขดซอ่ นตวั อยใู่ นมมุ แหง่ หนงึ่ เจา้ ของบา้ น ก็เท่ียวค้นหาว่างูอยู่ท่ีไหน คร้ันเห็นลายดอกจันทน์ท่ี